Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore LK008-หนังสือพระมาลัยเถระเป็นใคร มาจากไหน

LK008-หนังสือพระมาลัยเถระเป็นใคร มาจากไหน

Description: LK008-หนังสือพระมาลัยเถระเป็นใคร มาจากไหน

Search

Read the Text Version

เร่ืองก็ด�ำเนินตามแบบพระสูตรในพระไตรปิฎก กล่าวคือเริ่มต้น ด้วยพุทธาธิบายถึงคุณลักษณะอันโดดเด่นของพระกษิติครรภ์ โพธสิ ตั ว์ ตลอดจนอดตี ชาตเิ กา่ แตห่ นหลงั โดยเฉพาะการชว่ ยเหลอื มารดาจากขุมนรก และการสงเคราะห์สัตว์นรกผทู้ นทุกข์ทรมาน จากความเร่าร้อนของนรกภูมิ สุดท้ายพระศรีศากยพุทธเจ้าได้ชี้ ใหเ้ หน็ ถงึ อทิ ธานภุ าพของพระกษติ คิ รรภโ์ พธสิ ตั ว์ ตลอดจนอานภุ าพ แหง่ การฟงั พระกษิติครรภ์โพธิสัตว์มูลปณิธานสตู รด้วย 41

แมเ้ นอื้ หาของพระสตู รจะเนน้ ความสำ� คญั ของพระกษติ คิ รรภ์ โพธิสัตว์ก็จริง แต่ก็ท�ำให้ทราบถึงบริบทความเช่ือของชาวจีนใน สมัยน้ันเป็นอย่างดี โดยเฉพาะภาพแห่งการทนทุกข์ทรมานของ สตั วน์ รก เปน็ ไปไดห้ รอื ไมว่ า่ ความเชอื่ เรอื่ งพระอวโลกเิ ตศวรหรอื พระแมก่ วนอมิ ไม่สามารถตอบสนองความตอ้ งการของมนษุ ย์ได้ แม้ความเมตตาของท่านแผ่ขจายไปทั่วอนันตจักรวาลก็จริง แต่ สัตว์นรกผู้เสวยผลวิบากกรรมกลับไมม่ ีใครสนใจเหลียวแล เมอื่ มี การแต่งเรื่องพระกษิติครรภ์โพธิสัตว์ผู้ประทานพรแก่สัตว์นรก เน้ือหาจึงสอดรับสมบูรณ์ลงตัว เป็นผลให้มนุษย์สบายใจได้ว่า หากทำ� ผดิ จนถงึ ตกนรกหมกไหม้ พระกษติ คิ รรภโ์ พธสิ ตั วค์ งสามารถ เปน็ ที่พ่งึ ได้ ผู้เขียนเชื่อว่าเรื่องราวของพระกษิติครรภ์โพธิสัตว์ น่าจะมี อิทธิพลต่อพระมาลัยเถระแบบไทยแท้ไม่น้อย โดยเฉพาะเรื่อง การโปรดสัตว์นรกน้ันมีรายละเอียดค่อนข้างเหมือนกันอย่างแยก ไม่ออก ยิง่ การสนทนาระหวา่ งพระมาลยั กับพญายมราชดว้ ยแล้ว ถา้ ดรู ายละเอยี ดอยา่ งเจาะลกึ จะเหน็ วา่ มรี สชาตขิ องนำ�้ พรกิ ปลาทู อยู่ไม่น้อย ย่ิงการสอบถามด้วยความอยากรู้อยากเห็นยิ่งไม่ต้อง บรรยายเลยวา่ เป็นนิสยั ของชนชาตใิ ด 42

เปรยี บเทยี บพระอวโลกิเตศวร ความจรงิ พระโพธสิ ตั วม์ หายานทร่ี จู้ กั แพรห่ ลายมี ๔ พระองค์ ไดแ้ ก่ พระอวโลกเิ ตศวร (พระแมก่ วนอมิ ) พระสมนั ตภทั รโพธสิ ตั ว์ พระมัญชศุ รโี พธสิ ตั ว์ และพระกษิตคิ รรภโ์ พธิสตั ว์ แตท่ ีช่ าวพุทธ มหายานให้ความเคารพนับถือมากสุดคือ พระอวโลกิเตศวรและ พระกษติ ิครรภโ์ พธสิ ตั ว์ ชาวจนี ตา่ งรกู้ นั วา่ “พระแมก่ วนอมิ โปรดคนเปน็ พระกษติ คิ รรภ์ โปรดคนตาย” ดว้ ยเหตนุ นั้ ลกั ษณะเครอ่ื งทรงจงึ แตกตา่ งกนั อยา่ ง ชัดเจน แม้พิธีกรรมก็แตกต่างกันอย่างส้ินเชิง พระกษิติครรภ์ โพธิสัตว์นั้นนิยมกราบไหว้บูชาในงานศพ ส่วนงานมงคลผู้คนจะ พากันไปกราบไหวพ้ ระแมก่ วนอมิ หากเปน็ เช่นน้ีจึงสนั นิษฐานวา่ พระกษติ คิ รรภโ์ พธสิ ตั วน์ า่ จะมสี ว่ นเกย่ี วขอ้ งในการเปดิ ประตนู รก ใหส้ ตั ว์นรกออกมารับส่วนบญุ กุศลในเทศกาลสารทก็เป็นได้ เมื่อพระมาลัยฉบับศรีลังกาเน้นเรื่องภาคสวรรค์เป็นหลัก ส่วนเรื่องราวของพระกษิติครรภ์โพธิสัตว์เน้นภาคนรกเป็นพ้ืน คร้ันเรื่องสองอยา่ งมาผสมผสานกนั จึงทา� ใหเ้ หน็ ภาพของเร่อื งราว พระมาลัยฉบับไทยแท้ หากข้อสันนิษฐานดังกล่าวเป็นจริง ก็จะ สมด้วยค�าวา่ “ลงั กาจีน” หมายความว่า เรือ่ งพระมาลัยเป็นการ 43

บรรจบพบกนั ของสองวฒั นธรรม สว่ นหนง่ึ ไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากประเทศ ศรีลังกา ซึ่งเราท่านต่างรู้กันเป็นอย่างดี อีกส่วนหนึ่งมาจากจีน ซึ่งก็ปฏิเสธมิได้เช่นกันว่าบรรพบุรุษของเราชาวไทยโยกย้ายมา จากจนี แผน่ ดนิ ใหญ่ สงิ่ ทตี่ ดิ ตามมากบั บรรพบรุ ษุ กค็ อื คตคิ วามเชอ่ื ซึง่ ก็คือเร่อื งราวของมหายาน ผเู้ ขยี นจงึ เชอ่ื วา่ พระมาลยั เปน็ ตวั อยา่ งแหง่ การผสมผสานตา่ ง วฒั นธรรม อีกด้านหน่ึง พระกษิติครรภ์โพธิสัตว์มักคู่กับพระวัชรปาณิ โพธิสัตว์ เพราะทั้งสององค์เป็นภาคอวตารของพระอักโษภย 44

พุทธเจ้าเฉกเช่นเดียวกัน พระวัชรปาณิโพธิสัตว์ได้รับการยกย่อง ว่าเป็นสญั ลกั ษณแ์ ห่งอำ� นาจท้งั มวลของพระพทุ ธเจ้า เหตุเพราะ พระองค์ได้รับมอบหมายจากพระอักโษภยพุทธเจ้าให้ท�ำหน้าท่ี คุ้มครองรักษาพระศาสนาของพระโกนาคมนพุทธเจา้ แต่โดยภาระหน้าท่พี ระวชั รปาณโิ พธิสัตว์ช่อื ว่าเป็นผปู้ กปอ้ ง เหล่านาค เพราะนาคเหล่านี้เป็นผู้ดลบันดาลให้ฝนตกต้องตาม ฤดูกาล ท่านจึงได้รับการยกย่องในฐานะเทพแห่งฝนอีกต�ำแหน่ง หน่ึง ดูเหมือนวา่ ต�ำแหนง่ น้จี ะเปน็ ทร่ี ูจ้ ักแพร่หลาย คร้นั คติความ เช่ือมหายานแผ่ออกไปยังอาณาจักรน้อยใหญ่ ท่านก็ได้รับการ นบั ถอื อยา่ งแพร่หลาย อาจเป็นไปได้ว่าสมัยโบราณ ความสามารถด้านการกักเก็บ นำ้� ไวใ้ ชห้ รอื ชลประทานยงั ไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพพอ การทำ� เกษตรกรรม จำ� ตอ้ งอาศยั นำ�้ ฝนเปน็ เรอื่ งหลกั เมอ่ื พระวชั รปาณโิ พธสิ ตั วข์ น้ึ ชอ่ื ดา้ นการประทานฝน ยอ่ มเปน็ ธรรมดาวา่ จะตอ้ งไดร้ บั การสกั การะ เซน่ ไหว้เป็นปกตวิ สิ ยั ยงิ่ หากวเิ คราะห์ให้ลกึ ลงไปในลักษณะของ ประวัติศาสตร์ตามยุคสมัย ผู้เขียนเช่ือเหลือเกินว่าต้นตอของ พระโพธิสัตว์องค์นี้มิใช่อ่ืนไกล คงเป็นกษัตริย์ผู้เชี่ยวชาญด้าน ชลประทานเปน็ แน่ 45

คตคิ วามเชอ่ื เรอ่ื งพระกษติ คิ รรภโ์ พธสิ ตั วน์ า่ จะมกี ารดดั แปลง เข้ากับวิถีความเช่ือแบบไทยก่อนสมัยสุโขทัยเป็นแน่ คร้ันพุทธ ศาสนาลงั กาวงศเ์ ผยแผส่ มยั อาณาจกั รสโุ ขทยั แลว้ พระเถราจารย์ คงเห็นว่าหากยกเน้ือความจากพระกษิติครรภ์โพธิสัตว์มาทั้งหมด คงไม่เหมาะ จึงดัดแปลงปรับให้เป็นส�านวนของเถรวาทเสีย หลกั ฐานตรงนปี้ รากฏมใี นหนงั สอื ไตรภมู พิ ระรว่ งของพระมหาธรรม ราชาลไิ ท ลองเปดิ อา่ นดจู ะเหน็ นยั ดงั ผเู้ ขยี นอา้ ง (เปดิ เลยอยา่ ชา้ ) เมอ่ื เราไมส่ ามารถสบื คน้ หาหลกั ฐานทส่ี ามารถอา้ งองิ ไดอ้ ยา่ ง ถูกต้อง จึงจ�าต้องอาศัยวิธีวิเคราะห์ตามเส้นสายความเช่ือเท่าท่ี เป็นไปได้ ท้ังน้เี พื่อประเทืองปัญญาของผู้อา่ นเปน็ หลัก หากท่าน ใดไม่ชอบวิธีนี้ก็เลือกเอาเฉพาะประเด็นที่เห็นว่าน่าสนใจก็พอ เหมอื นเก็บผลไม้ท่รี ่วงหลน่ ตามพ้นื ดิน ผู้ปรารถนาจะหยบิ เสวยก็ สามารถเลือกเกบ็ เลือกกนิ ได้ตามใจชอบ ฉะน้นั 46

.



๔ เรอ่ื งราวตามคัมภีร เกริน่ นา� เมื่อบรรยายถึงเร่ืองราวของพระมาลัยแบบศรีลังกาและจีน เรยี บรอ้ ยแลว้ ทแี รกก็คิดว่าจะชวนทา่ นผอู้ า่ นตามรอยพระมาลยั เที่ยวท่องนรกและสวรรค์เสียเลย แต่นึกข้ึนได้ว่าเร่ืองราวของ พระเถระรปู นกี้ อ่ นทจี่ ะผา่ นมาถงึ บา้ นเรานนั้ กอ่ เกดิ การเปลย่ี นแปลง มาหลายศตวรรษ และผา่ นการขดั เกลาทางคตคิ วามเชือ่ มาหลาย เชื้อชาติ ไม่ต่างจากแม่น�้าเจ้าพระยากว่าจะไหลล่องลงทะเลที่ อ่าวไทยต้องพดั ผา่ นหลายสิบเมืองและหลายรอ้ ยชมุ ชน เมอ่ื ดา� รเิ ชน่ นจ้ี งึ เหน็ วา่ ควรหนั วเิ คราะหเ์ จาะลกึ คมั ภรี เ์ สยี กอ่ น ส่วนการนิราศนรกสวรรค์ค่อยมาว่ากันอีกที (หรือใครจะไปก่อน กไ็ ม่ได้ห้ามเพราะไมไ่ ด้จ่ายบตั รคิวอยแู่ ลว้ )

ทราบกันแล้วว่าพระมาลัยเถระนั้นถือสัญชาติสิงหลเป็นชน ชาวเกาะลังกา สมัยอยู่ศรีลังกานั้นเป็นผู้เลิศหรือทรงเอตทัคคะ ด้านการแสดงเทศนาธรรม กล่าวคือเทศน์แต่ละคร้ังมีคนบรรลุ มรรคผลนพิ พานเปน็ จำ� นวนมาก สว่ นเรอื่ งอทิ ธฤิ ทธปิ์ าฏหิ ารยิ น์ น้ั มีกล่าวถึงบ้างพอเป็นนัยให้เห็นว่าท่านเป็นพระอรหันต์ขีณาสพ รปู หน่งึ เท่านัน้ เหตทุ เี่ ปน็ เชน่ นสี้ นั นษิ ฐานวา่ อาจเปน็ เพราะจรติ ของชาวพทุ ธ ศรีลังกาไม่นิยมให้พระอรหันต์สาวกเสมอพระศาสดาเจ้าก็เป็นได้ แมป้ จั จบุ นั วนั นหี้ ากพระภกิ ษสุ งฆร์ ปู ใดอวดอา้ งวา่ เปน็ พระอรหนั ต์ ผ้ทู รงอภญิ ญา เห็นจะไม่พ้นถกู ชาวพทุ ธโจมตีด้วยผรสุ วาท บางที หนกั หน่อยถงึ ข้นั ท�ำร้ายรา่ งกายเลยทเี ดียว นถ้ี ือว่าเป็นกุสโลบาย เชงิ จารตี ประเพณอี นั ประสบความสำ� เรจ็ ยง่ิ (หากนำ� มาปรบั ใชบ้ า้ น เราคงดไี มน่ อ้ ย) ส�ำหรับเรื่องราวของพระมาลัยเถระนอกเกาะลังกานั้น หลักฐานบอกว่ามีกล่าวถึงครั้งแรกบนดินแดนพม่ารามัญในนาม ว่ามาเลยยสูตร โดยระบุว่ามีการเทศน์เรื่องพระมาลัยในวันข้ึน ๑๔ คำ่� เทศน์เรอ่ื งเวสสันดรชาดกในวนั ขึ้น ๑๕ ค�่ำ และเทศน์ เรื่องธรรมจักรกัปปวัตนสูตรในวันแรม ๑ ค่�ำ เดือนมฤคศิระ 50

นกั วชิ าการบางทา่ นบอกวา่ มาเลยยสตู รนเี้ องเปน็ ตน้ แบบใหเ้ กดิ มี คมั ภรี เ์ กี่ยวกับพระมาลัยหลายส�านวนในประเทศไทย ตรงนถี้ กู ตอ้ งหรอื ไมเ่ หน็ สมควรมาวเิ คราะหก์ นั ลงลกึ ในละเอยี ด มาเลยยเทวตั เถรวตั ถุ ส�าหรับคัมภีร์เก่ียวกับพระมาลัยเถระเล่มแรกที่แต่งบน แผ่นดินไทย ช่ือว่ามาเลยยเทวัตเถรวัตถุ นักวิชาการหลายต่อ หลายทา่ นลว้ นเชอื่ วา่ คมั ภรี เ์ ลม่ น้ี ไดร้ บั อทิ ธพิ ลมาจากมาเลยยสตู ร 51

ของพม่า อาจเป็นเพราะเห็นวา่ พม่าโดดเดน่ ด้านวรรณกรรมก่อน อาณาจักรไทยหลายศตวรรษ หรือเพราะลัทธิลังกาวงศ์ผ่านดิน แดนพมา่ ก่อนลว่ งเลยมาถงึ ประเทศไทย หรือว่าพทุ ธศาสนาลทั ธิ พุกามของพระเจ้าอโนรธามังช่อได้แผ่กระจายครอบคลุมบริเวณ สว่ นใหญข่ องแผ่นดนิ ไทย แต่การพูดเช่นน้ดี เู หมอื นจะให้น�้ำหนักความเปน็ ปราชญข์ อง พระสงฆไ์ ทยนอ้ ยไป พระสงฆไ์ ทยเรากเ็ ชย่ี วชาญแตกฉานในคมั ภรี ์ พระพุทธศาสนาไม่ด้อยกว่าพระสงฆ์พมา่ รามญั ผ้เู ขียนเชอ่ื แนว่ า่ คมั ภรี เ์ ลม่ นน้ี า่ จะเปน็ ผลงานของพระสงฆไ์ ทยนแ้ี หละ และอาจจะ ได้รับค�ำแนะน�ำช่วยเหลือจากพระสงฆ์ศรีลังกา ซ่ึงสมัยน้ันมีการ แลกเปลย่ี นเรยี นรกู้ นั และกนั แลว้ เพราะมหี ลกั ฐานวา่ พระสงฆไ์ ทย ได้เดินทางไปบวชแปลงเป็นลัทธิลังกาวงศ์หลายคร้ังหลายครา ตา่ งกรรมต่างวาระ คัมภีร์มาเลยยเทวัตเถรวัตถุเล่มแรกน่าจะแต่งที่อาณาจักร สโุ ขทยั อาจเปน็ การเรยี บเรยี งเรอื่ งราวเกย่ี วกบั พระมาลยั เถระพอ ให้เป็นอุปกรณ์การเทศน์สอนชาวบ้าน บางทีอาจผสมผสานคติ ความเชื่อมหายานเข้ามาด้วย และอาจกล่าวถึงนรกสวรรค์และ โลกแห่งพระศรีอาริย์ เพราะศิลาจารึกหลายแห่งก็กล่าวถึงคติ ความเชอ่ื เหลา่ น้ีเช่นเดยี วกนั 52

สันนิษฐานว่าเบื้องต้นเนื้อหาซ่ึงเป็นภาษาบาลี อาจขาด ความกลมกลืนสอดคล้องหรือเป็นไปในทิศทางเดียวกัน พูดแบบ ภาษาชาวบ้านคือไม่ตอบสนองความต้องการของผู้ฟัง จึงเป็น เหตุให้มีการเรียบเรียงขึ้นใหม่ท่ีอาณาจักรล้านนา ความสมบูรณ์ ลงตวั จงึ ปรากฏดงั รายละเอยี ดทีเ่ ราเหน็ กันในปจั จุบนั เมื่อพิจารณาเน้ือหาของคัมภีร์มาเลยยเทวัตเถรวัตถุอย่าง ละเอียดจะเห็นว่า ไม่ให้รายละเอียดของเหตุการณ์บ้านเมืองแต่ อย่างใด มุ่งเนน้ สารตั ถธรรมซ่งึ เป็นแก่นแกนของเร่ือง โดยยำ้� ให้ เห็นถึงกรรมดีและกรรมช่ัวตลอดถึงวิบากที่หมู่มนุษย์พากัน เสพเสวย หลังจากละกายสงั ขารไปส่ปู รภพโลกหน้าแล้ว เนื้อหา หลักจึงเน้นไปเรื่องกรรมดี อานิสงส์แห่งกรรมดี และการช้ีให้ 53

เหน็ ถึงผลการใหท้ าน การทำ� นุบ�ำรงุ พระศาสนา และการปฏิบัติ ตนเพอื่ ใหไ้ ดเ้ กิดในยคุ พระศรีอารยิ ์ ประเด็นที่ผู้เขียนกล้ายืนยันว่าคัมภีร์มาเลยยเทวัตเถรวัตถุ เปน็ ผลงานของพระสงฆไ์ ทยนนั้ มใิ ชใ่ ชก้ ำ� ปน้ั ทบุ ดนิ ใหเ้ จบ็ มอื เปลา่ แต่มเี หตุผลรองรับท้งั ดา้ นการเมอื งและการศาสนา ประวัติศาสตร์บอกไว้ว่าศรีลังกาและพม่าเป็นมิตรกันมา ยาวนาน นับต้ังแต่พระเจ้าวิชัยพาหุแห่งเกาะลังกากับพระเจ้า อโนรธามังช่อแห่งอาณาจกั รพุกาม แตค่ รัน้ ย่างเขา้ สูส่ มัยพระเจ้า ปรากรมพาหุมหาราชชาวลังกา กับเกิดความบาดหมางขัดแย้ง อย่างรุนแรงกับพระเจ้านรปติสินธุแห่งอาณาจักรพุกาม เป็นเหตุ ให้กษัตริย์ลังกายาตราทัพอันย่ิงใหญ่เข้าโจมตีอาณาจักรพุกาม ท�ำให้สองอาณาจกั รขาดสมั พันธไมตรีหลายทศวรรษ เม่ือการเมืองขัดแย้งการศาสนาก็ต้องเปล่ียนทิศทางเป็น ธรรมดา หลักฐานบอกไว้ว่าพระเจ้าปรากรมพาหุมหาราช ได้หันไป สร้างสัมพันธไมตรีกับอาณาจักรตามพรลิงค์ บริเวณดินแดน ภาคใตข้ องประเทศไทย จนอาณาจักรแหง่ นี้ก่อเกดิ และพัฒนามา เป็นอาณาจักรม่ันคงด้วยพระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ ความ 54

รุ่งเรืองดงั กลา่ วสามารถพบเห็นได้จากศาสนสถาน นทิ านพ้นื บา้ น หรือแม้แต่วรรณกรรมลายลกั ษณห์ ลายตอ่ หลายเล่ม หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษก์ ค็ อื พระบรมธาตเุ จดยี น์ ครศรธี รรมราช น้ันเอง อีกด้านหนึ่งการที่กษัตริย์ลังกาหันหน้ามาสร้างมิตรภาพกับ เพอื่ นใหมแ่ หง่ ดนิ แดนภาคใตข้ องไทยอาจมองไดอ้ กี ดา้ น กลา่ วคอื เม่ือเกิดความขดั แยง้ กบั พม่า ความส�ำคญั ทางการค้าก็ลดบทบาท ลงไป การหนั มาผกู มติ รกบั อาณาจกั รตามพรลงิ คจ์ งึ มใิ ชส่ าเหตอุ นื่ นอกจากเร่ืองการค้าเท่าน้ัน เป็นการเปิดเวทีการค้าแข่งกับพม่า รามัญนัน่ เอง 55

นบั แตน่ นั้ มา ความเปน็ ลงั กาทกุ สงิ่ อยา่ งไดห้ ลงั่ ไหลถา่ ยทอด ลงสู่อาณาจกั รแหง่ น้ี เรอ่ื งราวของพระมาลยั เถระฉบบั ศรลี งั กานา่ จะเปน็ ทรี่ จู้ กั ของ พระสงฆไ์ ทยนับแต่สมัยน้ันแล้ว แต่คงไมเ่ ปน็ ท่รี ู้จักแพร่หลายจน ซาบซึง้ ฝงั ใจ อาจเปน็ เพราะความโดดเดน่ ของความเชื่อพน้ื ถน่ิ ได้ บดบังเร่ืองราวของพระมาลัยเถระเสีย หรืออาจเป็นเพราะความ สนใจของชาวตามพรลิงค์มุ่งไปท่ีเร่ืองราวของเจ้าหญิงเหมมาลา และเจ้าชายทนั ตกมุ าร ซ่งึ เปน็ ผอู้ ญั เชิญพระเขี้ยวแก้วจากอนิ เดีย ประเทศมาประดิษฐานท่ีหาดทรายแก้ว (ปัจจุบันคือเมือง นครศรธี รรมราช) ต่อมาครั้นลัทธิลังกาวงศ์ได้เผยแผ่ไปยังอาณาจักรสุโขทัย เรอ่ื งราวของพระมาลยั เถระแบบศรลี งั กากต็ ดิ ตามไปดว้ ย และนา่ จะได้รับความนิยมจนมีการแต่งคัมภีร์และปรับปรุงเปลี่ยนแปลง สมยั ตอ่ มา เชน่ นเ้ี องจงึ เกดิ มคี มั ภรี ม์ าเลยยเทวตั เถรวตั ถฉุ บบั สโุ ขทยั และฉบบั ลา้ นนาตามล�ำดบั ครั้นเวลาเนน่ิ นานออกไปความนยิ มเรื่องพระมาลัยเถระ คง ไม่สามารถตอบสนองความสนใจของชาวพุทธได้ พระพุทธวิลาศ เถระชาวลา้ นนาจงึ แตง่ คมั ภรี อ์ ธบิ ายขน้ึ อกี เลม่ ชอ่ื วา่ ฎกี ามาลยั สตู ร 56

ดว้ ยการผสมแทรกเรอื่ งราวหลายอยา่ งเขา้ มา โดยเฉพาะภาพนรก นั้นว่ากันว่าพิสดารลึกซ้ึงย่ิงนัก จึงท�าให้เรื่องราวของพระมาลัย เถระฉบับไทยแท้สมบูรณ์ลงตัว แต่น่าเสียดายไม่สามารถหา หลักฐานมายืนยนั ว่า บรรยากาศของนรกในคมั ภรี ฎ์ ีกามาลยั สูตร กับคัมภีร์เตภูมิกถาถอดแบบมาจากเบ้าหลอมเดียวกันหรือไม่ แต่ช่างเหมาะเจาะลงตัวถูกจริตคนไทยแท้ เสมือนเป็นกฎหมาย เชงิ จริยธรรมของชาวไทยมานบั แต่บัดนนั้ เรื่องราวพระมาลัยเถระแบบไทย คมั ภรี ฎ์ กี ามาลยั สตู รเลม่ นเ้ี องเปน็ ตน้ แบบเรอ่ื งราวพระมาลยั หลายตอ่ หลายสา� นวน แพรห่ ลายกระจายไปทวั่ ดนิ แดนอษุ าคเนย์ 57

โดยเฉพาะเขมรและลาวนั้นต่างนิยมแพรห่ ลายต้งั แตส่ ามัญชนคน ชาวบ้านไปจนถึงเช้ือพระวงศ์ช้ันสูง ในขณะที่เมืองไทยเองมีการ น�ำมาปรับแต่งให้เป็นส�ำนวนพ้ืนถิ่น แต่หากตรวจสอบเนื้อหา อยา่ งละเอยี ดกไ็ มไ่ ด้แตกตา่ งกนั มากมายแต่อย่างใด เร่มิ ตน้ ท่ีพระมาลัยค�ำหลวงกอ่ น คมั ภรี ์เลม่ นเ้ี ป็นพระนพิ นธ์ ของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร พระโอรสของพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ขณะนั้นด�ำรงพระอิสริยยศเป็นพระมหาอุปราชวังหน้า ลักษณะ การแต่งใช้โคลงสี่สุภาพเป็นหลัก เน้ือหาถอดแบบมาจากคัมภีร์ มาเลยยเทวัตเถรวัตถุแทบท้ังหมด ต่างกันตรงท่ีเน้ือหาตอนภาค นรกเทา่ นั้น เพราะอธิบายไวเ้ พียงนอ้ ยนดิ วา่ กนั วา่ พระองคน์ พิ นธพ์ ระมาลยั คำ� หลวง เพอ่ื ลา้ งบาปกรณี พระองคเ์ คยฟนั กรมหลวงสุเรนทรพิทักษ์ขณะทรงผนวชเป็นภิกษุ จนจวี รขาด ซงึ่ กรมหลวงสเุ รนทรพทิ กั ษพ์ ระองคน์ เ้ี ปน็ พระราชโอรส ของพระเจ้าอยู่หวั ทา้ ยสระ (เร่อื งนซ้ี ับซอ้ นนักเหน็ ควรหาหนงั สือ อ่านประกอบ) ฉบับต่อมาคือพระมาลัยกลอนสวด ถือว่าเป็นวรรณกรรม ของภาคกลางมแี พรห่ ลายทกุ วดั แตล่ ะฉบบั มเี นอื้ หาคลา้ ยคลงึ กนั แตกต่างกนั บ้างก็เฉพาะถ้อยค�ำและสำ� นวนเทา่ นน้ั โดยสว่ นใหญ่ 58

เน้ือหาจะเนน้ ภาคนรกเปน็ หลัก ด้วยการบรรยายสภาพของนรก อย่างน่ากลัว เพ่ือให้เห็นวิบากของการท�ำบาป สันนิษฐานว่าผู้ ปรับแก้สำ� นวนคอื พระสงฆ์ ซง่ึ เชี่ยวชาญในการเทศนา ทัง้ น้ีเพือ่ ให้ง่ายต่อความเข้าใจของชาวบา้ น คัมภีร์เล่มนี้แต่งสมัยเดียวกับพระมาลัยค�ำหลวง โดยอาศัย หลกั ฐานจากคมั ภรี ม์ าเลยยเทวตั เถรวตั ถแุ ละคมั ภรี ฎ์ กี ามาลยั สตู ร เป็นหลัก อาจเป็นไปได้ว่าพระมาลัยค�ำหลวงแพร่หลายเฉพาะ ชาววังที่มีการศึกษาในการขีดเขียน ส่วนพระมาลัยกลอนสวดน่า จะเป็นที่นิยมของชาวบ้านผู้ไม่สามารถอ่านออกเขียนได้ และ 59

สำ� คญั เนอ้ื หาพระมาลยั กลอนสวดนา่ จะมกี ารนำ� ไปใชใ้ นการเทศนา ปจุ ฉาวิสัชนาเปน็ แน่ เพราะสามารถแพรห่ ลายได้ง่ายกว่าตำ� รา ถดั มาเปน็ มาลยั หมนื่ มาลยั แสน ซง่ึ ถอื วา่ เปน็ วรรณกรรมอสี าน เน้ือหาทั้งหมดถอดแปลมาจากคัมภีร์มาเลยยเทวัตเถรวัตถุ เพราะเนอ้ื หาเกอื บทั้งหมดไมไ่ ดผ้ ิดแผกแตกต่างอันใด และคมั ภรี ์ เลม่ นไี้ ดต้ น้ แบบมาจากอาณาจกั รลา้ นชา้ ง ซง่ึ นำ� มาจากอาณาจกั ร ลา้ นนาอกี ทอดหน่งึ เน้ือหาของคัมภีร์แบ่งเป็น ๒ ภาค กล่าวคือ ภาคแรก เรยี กวา่ มาลยั หมนื่ บรรยายถงึ พระมาลยั เถระสนทนากบั พระอนิ ทร์ ว่าด้วยเรื่องวิบากแห่งกุศลของเหล่าเทวดาผู้มาบูชาพระเจดีย์ จฬุ ามณี สว่ นภาคหลงั เรยี กวา่ มาลยั แสน กลา่ วถงึ พระเถระสนทนา กบั พระศรอี ารยิ ว์ า่ ดว้ ยมนษุ ยแ์ ละรายละเอยี ดเกยี่ วกบั ศาสนาของ พระองค์ คมั ภรี เ์ ลม่ นมี้ กี ลน่ิ อายของความเปน็ ชนชาวลา้ นชา้ งคอ่ นขา้ ง มาก แม้จะมีการปรับแต่งส�ำนวนมาหลายต่อหลายคร้ัง ความดี งามตามแบบของชาวลา้ นนากห็ าไดจ้ างหายไม่ ถอื ไดว้ า่ มาลยั หมน่ื มาลยั แสนเปน็ วรรณกรรมลำ้� คา่ อกี เลม่ หนง่ึ ของชาวอสี าน และยงั ทรงอทิ ธพิ ลถงึ ปัจจุบนั 60

ส่วนมาลัยต้นมาลัยปลายก็ส�ำคัญเช่นเดียวกัน เพราะเป็น วรรณกรรมสำ� คญั ของภาคเหนอื หากตรวจสอบเนอื้ หาอยา่ งละเอยี ด จะเหน็ วา่ มาลยั ตน้ มาลยั ปลายกค็ อื มาลยั หมน่ื มาลยั แสนของอสี าน นั้นเอง เพราะทั้งสองคัมภีร์ถอดแปลจากคัมภีร์มาเลยยเทวัตเถร วัตถุเช่นเดียวกัน บางทีอาจจะเป็นฉบับเดียวกันก่อนจะแยกย้าย มารจู้ ักแพรห่ ลายในอาณาจักรลา้ นช้างภายหลัง สุดทา้ ยคอื มาลยั สูตร ซ่ึงเป็นฉบับสำ� นวนเทศน์ปจุ ฉาวิสัชนา ส่วนใหญ่พบเห็นบริเวณภาคกลาง ไม่สามารถระบุได้แน่นอนว่า คัมภีร์เล่มน้ีคัดลอกส�ำนวนมาจากคัมภีร์เล่มใด เพราะโดยรวมมี 61

เน้อื หาคล้ายมาเลยยเทวตั เถรวตั ถุ พระมาลยั คำ� หลวง พระมาลัย กลอนสวด มาลัยหม่ืนมาลัยแสน หรอื แม้แตม่ าลยั ต้นมาลยั ปลาย สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นการถอดแบบมาจากคัมภีร์น้อยใหญ่ ดงั กลา่ ว แตม่ กี ารปรบั ปรงุ เนอื้ หาและสำ� นวนใหเ้ หมาะสมสำ� หรบั นำ� ไปเทศนส์ ง่ั สอนชาวบา้ น ลกั ษณะการเทศนน์ นั้ สาธกยกผเู้ ทศน์ เปน็ ๔ องค์ กลา่ วคอื พระมาลัยเถระ พญายมราช พระอนิ ทร์ และพระศรีอาริย์ แต่ละองค์ต่างท�ำหน้าท่ีถามตอบและอธิบาย เรือ่ งราวตามนยั แห่งคัมภีร์ 62

คมั ภรี ม์ าลยั สตู รเหน็ จะเปน็ ทรี่ จู้ กั แพรห่ ลายกวา่ คมั ภรี เ์ ลม่ อนื่ เพราะสามารถตอบสนองความต้องการของชาวบ้านได้ดีกว่า โดยผู้ท�าหน้าท่ีแสดงคือพระสงฆ์ แต่ส�านวนอาจแตกต่างกันไป เหตุเพราะเกิดจากการเสริมเนื้อความของพระนักเทศน์แต่ละรูป ซ่ึงต่างมีภูมิความรู้และวิธีการเทศนาแตกต่างกันออกไป ท้ังนี้มี จุดหมายเดียวกันคือเพ่ือต้องการให้ผู้ฟังได้ท้ังความรู้และความ บนั เทงิ ควบคกู่ ันไป เป็นทีน่ ่าสงั เกตอยา่ งหนึ่งคอื แมเ้ ร่อื งราวของพระมาลยั จะมี หลายส�านวน และแตกต่างพ้ืนที่ต้ังแต่เหนือจรดใต้ แต่เร่ืองราว กลับเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ไม่แปลกแยกหรอื เปลยี่ นแปลงจน หลงทาง และเป็นชื่นชอบของคนไทยไม่เส่ือมคลาย หรือเป็น เพราะจริตคนไทยชอบอิทธิฤทธ์ิปาฏิหาริย์และความหวังใน โลกหน้า จึงโหยหาพระอรหันต์แบบพระมาลัยเถระ ซ่ึงสามารถ ตอบโจทยท์ ง้ั โลกน้แี ละโลกหนา้ อยา่ งลงตัว 63



๕ พระมาลัยเถระท‹องนรกสวรรค พระเถระท่องยมโลก บอกผู้อ่านมาแต่บทแรกแล้วว่าจะน�าพาไปทัวร์นรกสวรรค์ กบั พระมาลยั เถระ แตเ่ ปน็ อนั ตอ้ งแวะออกนอกทางหยบิ เรอื่ งโนน้ เรื่องนี้มาเล่าจนกลายเป็นสัพเพเหระ บางคนหงุดหงิดร�าคาญรีบ ลว่ งหนา้ ไปกอ่ นกค็ งมี เอาเปน็ วา่ บทนเ้ี ราไปทวั รก์ นั แนน่ อน สา� หรบั ผอู้ า่ นทส่ี นใจไมต่ อ้ งมกี ารจองตวั๋ ไมต่ อ้ งเสยี คา่ ใชจ้ า่ ย แตม่ คี า� เตอื น ว่าไปแล้วใหร้ ีบตามมัคคเุ ทศกใ์ หท้ ัน หากมัวเถลไถลเพลิดเพลินดู ตามรายทางกลับมาไม่ทันโทษกนั ไมไ่ ด้นะ เราทราบกนั ดีแล้ววา่ พระมาลัยเถระนนั้ เปน็ พระอรหนั ต์ทรง อภญิ ญา หมายความวา่ ทรงฤทธจ์ิ ะเหาะเหนิ ไปไหนกเ็ พยี งกา� หนด จติ เขา้ ฌานกเ็ ปน็ อนั สา� เรจ็ ดงั มโนรถ ดว้ ยความเปน็ ผทู้ รงอภญิ ญา

อกี ทงั้ เมตตาสงเคราะหส์ รรพสตั ว์ จงึ เปน็ เหตใุ หพ้ ระเถระเดนิ ทาง เขา้ ออกสามโลกโดยไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งใชว้ ซี า่ เพราะไมว่ า่ จะไปยมโลก หรือสวรรคโลกก็ล้วนได้รับการต้อนรับอย่างดี ไม่ต่างจากแขก วไี อพีเหมอื นโลกมนษุ ยป์ จั จบุ นั เร่ืองราวของพระมาลัยเถระนั้นเลือกที่จะไปเยือนนรกก่อน ไมท่ ราบสาเหตวุ า่ เหตใุ ดพระเถระทา่ นจงึ เลอื กเชน่ นนั้ หากพเิ คราะห์ ดตู ามลกั ษณะของมนษุ ยส์ ามญั อยา่ งเราทา่ น ระหวา่ งคนสขุ สบาย กับคนทุกข์เพราะเจ็บไข้ได้ป่วย เราก็ต้องเลือกไปให้ก�ำลังใจคน ก�ำลังทุกข์ก่อน ส่วนคนสุขสบายค่อยหาเวลาไปเย่ียมที่หลัง (หรือว่าไม่จริง) หากตรงกันข้ามจากนี้แสดงว่าตัวเราต้องรีบ เปลีย่ นพฤติกรรมโดยไว ไมเ่ ช่นนั้นถอื ว่าเปน็ คนประเภทเลอื กคบ คนเพราะผลประโยชน์ การลงไปยังยมโลกนั้นจ�ำต้องพบกับพญายมราชก่อนเพราะ เป็นใบผ่านทาง พญายมราชน้ันเห็นจะรู้จักพระสงฆ์องค์เจ้าเป็น อย่างดี พอเหน็ ผา้ กาสาวพสั ตรก์ ็กม้ กราบโดยไม่สงสยั แตอ่ ย่างใด คร้ันสนทนาถามไถ่ชื่อเสียงเรียงนามและวัตถุประสงค์ของการ มาแล้ว ยิ่งศรัทธาพระมาลัยเถระมากข้ึนดีใจที่พระมาโปรด เพราะแตไ่ หนแตไ่ รมาไมเ่ คยมพี ระสงฆผ์ า่ นมาในลกั ษณะนี้ ยกเวน้ พวกท�ำกรรมช่วั ในผา้ เหลืองแลว้ มาเสวยผลกรรม 66

พระมาลัยเถระนั้นแจ้งพญายมราชว่าเหตุที่มาครั้งน้ี เพ่ือ ตอ้ งการนำ� เอาเรอ่ื งราวของสตั วน์ รกไปเทศนาสง่ั สอนใหม้ นษุ ยโ์ ลก ไดร้ บั รู้ถึงบาปกรรม จะไดเ้ กรงกลัวละอายต่อการท�ำบาป เพราะ ชาวโลกนนั้ หนักเร่อื งบาปมากกว่าเรอื่ งบุญ หากไดท้ ราบถงึ ความ ทุกข์ทรมานของสัตว์นรกแล้ว จะได้เกิดความเกรงกลัวหันมา ทำ� ความดมี ากขนึ้ ครนั้ ฟงั ดงั นน้ั พญายมราชไดย้ กมอื สาธเุ หน็ ดว้ ย อย่างย่ิง เพราะปัจจุบันนี้นรกภูมิก็แออัดยัดเยียดจนไม่มีท่ีจะ ยืนแลว้ พระมาลยั เถระถามพญายมราชวา่ จะรไู้ ดอ้ ยา่ งไรวา่ ใครสมควร เข้าคอร์สควบคุมพฤติกรรมในนรกภูมิ มีวิธีแสกนด้วยระบบ เทคโนโลยอี นั ล�ำ้ สมัยหรือไม่ 67

พญายมราชตอบพระเถระว่า พระคุณเจ้า ไม่มีอะไรสลับ ซบั ซอ้ น เพยี งแต่ตอบปญั หาว่าเทวทตู ๕ คอื อะไร และเมือ่ เหน็ เทวทตู ๕ แล้ว มีความรูส้ กึ อย่างไร? หากสามารถตอบปญั หาน้ี ได้อย่างกระจ่างชัดเจนก็เป็นอันผ่านด่านไม่ต้องมาทนทุกข์ใน นรกภูมิแล้ว “เทวทตู ๕ คืออะไรบา้ ง” พระเถระถาม พญายมราชตอบว่า เทวทูต ๕ คือ คนเกิด คนแก่ คนเจ็บ คนถูกจองจ�ำ และคนตาย หากเคยเหน็ แล้วคดิ ตรองตามด้วยเหตุ และผล กจ็ ะพบสาเหตแุ ล้วเกิดความสงั เวชใจ แตโ่ ดยมากผูผ้ า่ น เข้าสู่ประตูนรกจะตอบไม่ได้ เพราะสัญญาชาติเก่าแต่หนหลัง ตดั ขาดไป จงึ ตอ้ งเสวยกรรมทกุ ขท์ รมานในนรกภมู จิ นกวา่ จะหมด เวรหมดกรรม หากเราพิจารณาตามความเป็นจริง เห็นว่าเป็นเร่ืองยากนัก ท่ีคนไปยืนอยู่ตรงนั้นจะสามารถตอบปัญหาพญายมราชได้ เพราะภาพเบื้องหน้าล้วนแล้วแต่น่ากลัวหวาดเสียวสยดสยอง ท้ังเสียงกรีดร้องด้วยความเจ็บปวดทรมาน ทั้งเสียงค�ำรามของ เหล่ายมบาล อีกท้ังเสียงของอาวุธเหล็กที่กระทบกัน เพียงแค่ อ้าปากก็แทบจะไมม่ ีเสียงหลุดออกมาจากคอแล้ว 68

พระมาลัยเถระนั้นแจ้งพญายมราชว่าอยากจะเท่ียวชมนรก ทกุ ขมุ จะไดร้ แู้ จง้ เหน็ จรงิ พญายมราชยนิ ดอี ยา่ งยงิ่ พรอ้ มทำ� หนา้ ที่ เป็นมัคคุเทศก์กิตติมศักด์ิน�ำบรรยายถวายความรู้ทุกซอกทุกมุม ทกุ ขมุ โดยไมม่ กี ารปดิ บงั แตล่ ะขมุ ทพ่ี ระเถระผา่ นไปลว้ นเกดิ ความ สงั เวชสลดใจ เพราะมแี ตเ่ สยี งโหยหวนกรดี รอ้ งดว้ ยความเจบ็ ปวด ทรมานน่าเวทนา ด้วยความเมตตาปรารถนาสงเคราะห์พระเถระ จึงผ่อนหนักให้เป็นเบา ด้วยการบันดาลอิทธาภิสังขารให้ยมบาล หยดุ ทรมานสตั วน์ รกชวั่ คราว บางแหง่ กบ็ นั ดาลใหฝ้ นตก บางแหง่ ก็ดับไฟนรกชั่วคราว บางแห่งก็บันดาลให้เกิดสายฝนรสหวาน เพื่อสัตว์นรกผู้โหยหิวได้ด่ืมกิน บางแห่งก็แสดงเทศนาธรรมเพ่ือ ใหก้ �ำลงั ใจ 69

นรกแต่ละขุมที่พระมาลัยเถระผ่านไปก็จะได้ยินสัตว์นรกแต่ ละตวั ประกาศชอื่ โคตรตระกลู ของตวั เอง ยกมอื ไหวว้ านพระเถระ ไปบอกญาตพิ นี่ อ้ งใหช้ ว่ ยทา� บญุ ทา� ทานอทุ ศิ สว่ นกศุ ลถงึ ตน จะได้ รอดพ้นจากพันธนาการอันแสนโหดร้ายทรมาน และไปเกิดใน ภพภมู ทิ ีด่ ีกวา่ น้ี สถานภาพพญายมราช มีเร่ืองน่าสนใจอย่างหนึ่งคือ พระมาลัยเถระได้ถามถึงที่มา ที่ไปเก่ียวกับต�าแหน่งของพญายมราชว่าต้องผ่านการศึกษาและ ทดสอบจากสถาบันไหน ใครเป็นผู้ก�าหนดให้มาด�ารงต�าแหน่งนี้ และมีความพอใจมากน้อยแค่ไหน (ภาษาสมัยใหม่เข้าเรียกว่า การสมั ภาษณเ์ ชิงสังเกตการณ)์ พญายมราชคงเห็นว่าหากตอบไปจะเปน็ นทิ านเรือ่ งยาว จงึ อธิบายเพียงว่าสรรพสัตว์ด�าเนินไปด้วยกรรม กรรมเป็นตัวส่งให้ เปน็ การมาดา� รงตา� แหนง่ พญายามราชกเ็ ปน็ เพราะเศษเส้ียวของ กรรมน�าพามา และเม่ือด�ารงต�าแหน่งแล้วก็ต้องท�าหน้าท่ีไม่ให้ บกพร่อง ส่วนการทรมานสัตว์นรกก็เป็นหน้าที่ ค�าว่าสงสารน้ัน ย่อมมีไม่ต่างจากปุถุชนคนทั่วไป แต่หน้าท่ีรับผิดชอบไม่สามารถ หลีกเล่ียงได้ คร้ันได้ฟังเช่นน้ีพระมาลัยเถระยินดีนักได้สาธุการ พรอ้ มอ�าลากับโลกมนุษย์ 70

ใครมปี ญั หาตอ้ งการอยากรมู้ ากกวา่ นก้ี อ็ ยคู่ ยุ กบั พญายมราช ได้ หรือจะอยสู่ ังเกตการณ์เพิม่ เตมิ จนกว่าจะร้ลู ะเอียดแน่ชดั ก็ไม่ วา่ กนั เพราะนรกภูมิเปิดกวา้ งสำ� หรบั ทุกคนอยแู่ ล้ว หากเราศึกษารายละเอียดจะเห็นว่าเป้าหมายท่ีพระมาลัย เถระมงุ่ หนา้ ลงไปสยู่ มโลกนนั้ มไิ ดไ้ ปพบพระญายมราชเพอ่ื สนทนา ธรรม หรือมิได้ไปทัศนาสัตว์นรกที่ถูกจองจ�ำหรือทรมานเพราะ กรรมเก่าแต่หนหลัง แต่ต้องการเก็บข้อมูลรายละเอียดทั้งการ รบั รู้ดว้ ยสายตาและได้ยินเร่อื งราวจากปากเหลา่ ยมบาล เพื่อเปน็ 71

หลักฐานอ้างอิงในการแสดงเทศนาธรรมแก่ชาวโลก น้ีคือหลัก แห่งการเทศนาธรรมอย่างหน่ึงในพุทธศาสนา ลักษณะเช่นน้ีมี ตน้ แบบมาจากพระพทุ ธเจา้ ของชาวเราทงั้ หลาย เปน็ การเทศนใ์ น สิง่ ที่รู้และเห็นมา มิใช่มโนเอาตามคมั ภีร์และตา� ราเหมือนบางรูป กล่าวกันว่าคร้ันพระมาลัยเถระกลับมาจากนรกภูมิแล้ว ได้ น�าข่าวไปบอกแก่ญาติพี่น้องของสัตว์นรกทุกตัวตน จนเป็นเหตุ อศั จรรยใ์ จแกญ่ าตพิ นี่ อ้ งเหลา่ นนั้ ตา่ งศรทั ธาหนั มาถวายสกั การะ พระเถระเปน็ จา� นวนมาก ผคู้ นเหล่านี้เองเปน็ พยานบคุ คลยนื ยัน เวลาพระเถระแสดงธรรมเทศนาเร่ืองนิรยกถา จนมีผูค้ นเกรงกลวั ตวั บาปพากันหนั มาทา� ความดีเปน็ จา� นวนมาก นับได้ว่าการนริ าศ นรกภูมคิ ร้ังน้ีมิไดเ้ สยี ประโยชน์แตอ่ ยา่ งใด พระเถระท่องโลกสวรรค์ อยู่มาวันหน่ึงพระมาลัยเถระได้พบอุบาสกเข็ญใจคนหน่ึง ถอื ดอกบวั ชเู หนอื หวั กลา่ วคา� บชู าพระเขย้ี วแกว้ ซงึ่ ประดษิ ฐานบน สวรรคช์ ้นั ดาวดงึ ส์ ด้วยจติ เป็นกรุณาพระเถระจงึ อาสานา� ดอกบัว ไปถวายพระเข้ียวแก้วบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เพียงบันดาลอิทธา ภิสังขารพระเถระก็ไปปรากฏตัวบนสวรรค์ช้ันดาวดึงส์ ยังไม่ทัน เอ่ยปากถามอะไรใคร ก็มีบุรุษกายสีเขียวพร้อมเคร่ืองทรงสีเขียว 72

มายืนอยู่ด้านหน้า พร้อมยกมือพนมวันทาสอบถามชื่อเสียง เรยี งนาม ครนั้ ทราบว่าผยู้ ืนอยดู่ ้านหน้าตนเป็นพระอินทราธริ าช ผปู้ กครองสวรรคช์ ้ันดาวดึงส์ พระเถระกก็ ลา่ วสาธุการยินดี จากน้ันพระอินทราธิราชได้นิมนต์พระเถระไปยังไพชยนต์ ปราสาทอันสวยงามอลังการ พร่ังพร้อมด้วยนางฟ้านางอัปสร สวยสดงดงามเปน็ อนั มาก นอกจากน้ันยังได้ถามปัญหาอนั ลุ่มลกึ มากมายหลายข้อ เน่ืองจากพระมาลัยเถระเป็นพระอรหันต์ ประเภทปฏสิ มั ภทิ า จงึ มใิ ชเ่ รอ่ื งยากในการตอบปญั หาธรรม ไมว่ า่ 73

คำ� ถามจะเปน็ โลกยี วสิ ยั หรอื ลมุ่ ลกึ แบบโลกตุ ตระ พระเถระกล็ ว้ น สามารถอธบิ ายจนพระอนิ ทราธริ าชกระจา่ งชดั ถงึ ขนาดเปลง่ เสยี ง สาธกุ ารอันดงั คร้ันแล้วพระเถระได้ทดสอบเชาวน์ปัญญาพระอินทราธิราช บ้าง นบั ต้งั แตเ่ รือ่ งความมากช่ือเสยี งเรียงนาม ความมากภรรยา และความมากบญุ ญาธกิ าร ปญั หาทกุ ขอ้ พระอนิ ทราธริ าชสามารถ ตอบไดอ้ ยา่ งฉะฉาน แตพ่ อมาถงึ เรอ่ื งบญุ ญาธกิ ารเสยี งกลบั แผว่ ลง โดยสารภาพวา่ เรอ่ื งบญุ นน้ั ยงั เปน็ รองเทพบตุ รอกี หลายองค์ เวลา เทพบตุ รเหลา่ นนั้ เดนิ ทางมาใกล้ ตนตอ้ งรบี หลบเพราะรศั มสี ไู้ มไ่ ด้ จงึ เปน็ เหตุใหต้ ้องหาชอ่ งท�ำบญุ กับพระอรหนั ตห์ ลายคร้งั ส�ำนวนไทยว่า “แข่งเรือแข่งพายแข่งได้ แข่งบุญวาสนา แขง่ ไมไ่ ด้” เห็นจะมาจากตรงนี้ พระเถระสนทนากับพระอินทราธิราชจนสมควรแก่เวลา แล้ว จึงได้ถามว่าภายในพระจุฬามณีเจดีย์ประดิษฐานอะไร พระอินทราธิราชได้ตอบพระเถระว่า ประดิษฐานพระโมลีของ เจ้าชายสิทธัตถะสมัยอธิษฐานออกผนวชท่ีฝั่งแม่น้�ำอโนมานที และพระเขย้ี วแก้วสมัยโทณพราหมณ์แจกพระบรมสารรี ิกธาตุ พระเถระนน้ั ทราบวา่ พระอนิ ทราธริ าชไดข้ โมยพระเขย้ี วแกว้ มาจากมวยผมของโทณพราหมณ์ จึงถามว่า “พระโมลีไมส่ งสัย 74

แตใ่ คร่รู้วา่ พระเขีย้ วแกว้ ชื่อวา่ เปน็ กิริยาขโมยหรอื ไม่” คำ� ถาม เชน่ นท้ี ำ� ใหพ้ ระอินทราธิราชถึงกับไปไมเ่ ป็น กวา่ จะหาเหตผุ ลมา อ้างก็เหง่ือแทบแตก อาศัยว่าพระเถระช่วยหาอุปมาอุปไมยมา สนับสนุนจงึ รอดตวั ไป ครน้ั แลว้ พระเถระไดแ้ จง้ จดุ ประสงคข์ องการเดนิ ทางมาดาวดงึ ส์ เทวโลกครั้งน้ี พระอินทราธิราชแสดงความยินดีเป็นอย่างย่ิง พร้อมเสนอตัวเป็นมัคคุเทศก์กิตติมศักด์ิน�ำพระเถระไปไหว้ พระจุฬามณีเจดีย์ นอกจากนน้ั ยังได้แจ้งพระเถระวา่ พระศรอี ารย์ 75

จะเดินทางมาไหว้พระจุฬามณีเจดีย์เดือนละ ๓ คร้ัง กล่าวคือ วันข้นึ ๘ ค�่า วันแรม ๑๔ ค�่า และวนั ข้นึ ๑๕ ค�่า วันนีเ้ ปน็ วาระ ครบรอบอีกวันหนึ่ง เป็นโอกาสอันดีท่ีพระคุณเจ้าจะได้พบปะ สนทนากับพระศรอี ารย์เปน็ แน่ ขณะเดนิ ทางไปพระจฬุ ามณีเจดีย์นั้น พระมาลัยเถระได้พบ เทพยดาจ�านวนมากล้วนสวมผ้าแพรพรรณหลากหลายสี งดงาม วิจิตรวิลิศมาหราเกินเคร่ืองแต่งกายของโลกมนุษย์ ได้สอบถาม พระอนิ ทราธริ าชถงึ บรุ พกรรมเกา่ แตห่ นหลงั ของเทพยดาเหลา่ นน้ั ทราบวา่ เปน็ ผลแหง่ ทานศลี และภาวนาซงึ่ ลว้ นมอี านสิ งสม์ หาศาล ส่งผลให้มาเกิดในวิมานอันใหญ่โตรโหฐาน เป็นท่ีน่าสนใจว่าแม้ ทานเล็กน้อยกล่าวคือการให้อาหารสัตว์เดรัจฉานก็มีอานิสงส์ มากมาย เพราะมีหลักฐานปรากฏให้เห็นดังพระมาลัยเถระ กลา่ วอา้ ง พบพระศรีอารย์ ครั้นเดินทางถึงพระจุฬามณีเจดีย์และกราบนมัสการน้ัน พระอนิ ทราธริ าชแจง้ วา่ บดั นพ้ี ระศรอี ารยิ แ์ ละบรวิ ารไดเ้ ดนิ ทางมา ถงึ พระจฬุ ามณีเจดีย์แลว้ ครั้นพระศรอี ารยไ์ ด้เหน็ พระมาลยั เถระ ได้น้อมนมัสการพร้อมสอบถามช่ือเสียงเรียงนามและถ่ินก�าเนิด 76

ภมู ลิ ำ� เนา คร้นั แจ้งวา่ พระเถระเปน็ ชาวชมพทู วปี จงึ ถามวา่ ชาว ชมพทู วีปคร้นั ถวายทาน รักษาศลี และเจริญภาวนา ไดต้ ง้ั ความ ปรารถนาไว้อย่างไร พระเถระตอบว่า “ดูกรพระราชสมภารผ้ปู ระเสริฐ นรชาติ ชาติหญงิ สาธชุ นผเู้ ปน็ สมั มาทิฐหิ นุ่มแก่ปานกลางกด็ ี กระท�ำ การกุศลส่ิงใดสิ่งหนึ่ง โดยอย่างต่�ำเพียงข้าวทัพพีหน่ึงใส่ลงใน บาตรภกิ ษแุ ละสามเณรกด็ ี ตงั้ ดอกไมด้ อกหนง่ึ กระทำ� สกั การะบชู า พระรัตนตรัยก็ดี ใจปรารถนาแต่ล้วนจะขอพบพระศาสนา ของพระองคว์ า่ ดว้ ยเดชะผลทานศีลท่ีขา้ พเจ้าไดก้ ระทำ� ครัง้ น้ี 77

ขอใหไ้ ด้พบองค์พระบรมโพธิสตั วศ์ รอี ารยิ ์ เมื่อทา่ นไดต้ รสั เป็น พระสัพพญั ญูสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ในอนาคตกาล” คร้นั ทราบเชน่ นน้ั แลว้ พระศรอี ารยิ ไ์ ดส้ �ำแดงเร่ืองราวอนั จะ พึงเกิดมีในกาลแห่งพระองค์ว่ามีความสมบูรณ์พูนสุขพร่ังพร้อม ด้วยอะไรบ้าง และผูค้ นสมัยนั้นเป็นเช่นไร ตลอดทง้ั ความเปน็ อยู่ ของผคู้ นเปน็ อยา่ งไรบา้ ง (ใครสนใจมากกวา่ นเี้ หน็ วา่ ไปหาหนงั สอื อา่ นเอง) ครนั้ พระมาลยั เถระถามวา่ หากมนษุ ยป์ รารถนาจะพบศาสนา ของพระองคค์ วรทำ� เชน่ ไร พระศรอี ารยิ ต์ รสั วา่ “ผมู้ คี วามปรารถนา 78

จะพบซึ่งโยมอันบรรลถุ งึ พระสัพพญั ญตุ ญาณในอนาคต จงให้ จัดแจงเครื่องสักการบูชา คือประทับน้�ามันพันหนึ่ง รูปเทียน ดอกไม้พันหน่ึง ดอกอุบลเขียวพันหนึ่ง ดอกสามหาวพันหนึ่ง ดอกอญั ชนั พนั หนงึ่ ดอกคณู พนั หนง่ึ ธงผา้ พนั หนงึ่ ธงกระดาษ พันหน่ึง ฉัตรพันหนึ่ง ขนมกล้วยอ้อยพันหน่ึง ให้น�ามาท�า สักการบูชาพระธรรมเทศนามหาเวสสันดรชาดก แล้วน่ังสดับ ให้จบในเวลาวันเดียวกัน จ่ึงจะได้ส�าเร็จแก่พระอรหัตผล พร้อมด้วยพระปฏิสัมภิทาญาณ เฉพาะพระพักตร์แห่งพระ ศรีอารยิ ์ในอนาคต” จึงเทจ็ อยา่ งไรใหผ้ ู้อ่านใช้ปญั ญาพิจารณาเอง หากวิเคราะห์ เห็นทีคงเป็นนยิ ายเรื่องยาว พระมาลัยเถระนั้นได้รับรู้เร่ืองราวมากมายบนสวรรค์โลก ดังพรรณนามา คร้นั กลบั มายงั มนษุ ยโ์ ลกแล้ว ไดแ้ สดงพระธรรม เทศนาตามนัยที่ได้พบปะสนทนากับพระอินทราธิราชและ พระศรีอาริย์ จนมีมนุษย์ละเว้นบาปกรรมหันมาประกอบกรรม ทา� ดเี ปน็ จา� นวนมากจนตราบชวั่ อายขุ ยั ของพระเถระ 79

หนงั สอื อา่ นประกอบ ชฎาลักษณ์ สรรพานิช. “พระมาลัย: การศึกษาเชิงวิเคราะห์”, วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร, ๒๕๒๔. ชนิดา เรืองจรูญ. “การศึกษาเชิงวิเคราะห์เรื่องพระมาลัย”, วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวทิ ยาลัยบรู พา, ๒๕๔๖. เด่นดาว ศิลปานนท์. “จิตรกรรมฝาผนังเร่ืองพระมาลัยใน ภาคกลางของประเทศไทย”, วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร มหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๙. พูนศักดิ์ ศักดานุวัฒน์. พระมาลัยผู้เปดประตูนรก-สวรรค์. กรุงเทพมหานคร: ส�านกั พิมพ์อา� นวยสาสน์ , ม.ป.ป. มาลัยเทพนิทาน. นายมี ชูทองเปรียญ แปล ที่ระลึกในการ ฌาปนกจิ ศพคณุ แมก่ มิ ล้ี แกว้ สถติ ณ เมรวุ ดั โสมนสั วหิ าร ๓๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๐๙. 80

วัฒนา ณ นคร. “ลกั ษณะร่วมของเรือ่ งพระมาลัยในวรรณกรรม พ้ืนบ้านและพระมาลัยค�ำหลวง”, วิทยานิพนธ์อักษร ศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๒๖. สันทนี อาบวั รัตน์. “การศึกษาวรรณกรรมอีสานเรื่องมาลัยหม่นื มาลยั แสน”, วทิ ยานพิ นธก์ ารศกึ ษามหาบณั ฑติ , บณั ฑติ วทิ ยาลยั : มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ, ๒๕๒๘. สุภาพร มากแจ้ง. “มาเลยฺยเทวตฺเถรวตฺถุ: การตรวจสอบช�ำระ และการศึกษาเชงิ วเิ คราะห”์ , วทิ ยานพิ นธอ์ กั ษรศาสตร มหาบณั ฑติ , บณั ฑติ วทิ ยาลยั : จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , ๒๕๒๑. อดุ มพร คมั ภริ านนท์. “การศกึ ษาหลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา ที่ปรากฏในเรื่องพระมาลัยค�ำหลวง”, วิทยานิพนธ์พุทธ ศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัย มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๑. 81

รายนามผรู้ ่วมบริจาคพิมพห์ นงั สือ ท่านละ ๒๕,๐๐๐ บาท หลวงพ่อพระครปู ลัดไพรนิ ทร์ สิรวิ ฑฺฒโน วัดสังฆทาน นนทบุรี ท่านละ ๑๐,๐๐๐ บาท ทพญ.อัจฉรา กลิน่ สวุ รรณ์ ทา่ นละ ๕,๐๐๐ บาท คุณรตั ติยา แกว้ โสวฒั นะ ทา่ นละ ๓,๐๐๐ บาท อุทศิ ใหค้ ุณพอ่ เขียว-คุณแมส่ มร ศรีใส ท่านละ ๒,๕๐๐ บาท คณุ ทัศนยี ์ สรุ วิชยั ทา่ นละ ๒,๐๐๐ บาท คณุ บญุ สม จนั ทรก์ ระจา่ ง คณุ กานดา อเนกลาภากจิ ทา่ นละ ๑,๐๐๐ บาท ดร.ชยาภรณ์ สุขประเสริฐ

ทา่ นละ ๕๐๐ บาท คุณยอบ-คณุ ส�าเนียง โลประโคน คุณเบญจมา สืบสง่า ทา่ นละ ๑๐๐ บาท คณุ พ่อช่วง จะแรมรัมย์ คณุ แมบ่ ญุ มา จะแรมรมั ย์ คณุ แม่ลด จะแรบรมั ย์ คุณพ่อสเุ ทพ ศิรพิ งษ์ คณุ แม่พูนสุข ศริ ิพงษ์ คณุ พอ่ เกตุ จริตรัมย์ คณุ แมแ่ ฉลม้ อไุ รรกั ษ์ คุณพ่อสอึ อะโรคา คณุ แม่จุรี จรดรมั ย์ ทา่ นละ ๖๐ บาท คณุ แมเ่ พิม่ นราชรมั ย์ ท่านละ ๕๐ บาท คุณแมส่ ุภาพ บุญศรรี ัมย์ คณุ พอ่ ลอย บุญศรีรมั ย์ คณุ แมป่ ระกอบ แก่นนอก คณุ แมท่ องมว้ น อไุ รรกั ษ์ คณุ แมส่ พุ รรณี นพิ รรมั ย์ คณุ แมก่ รองแกว้ ยนิ ดรี มั ย์ คณุ แมส่ ภุ าพ ใบเงนิ คณุ แมป่ ระนอม การกระสงั คุณแมร่ อย ชัยศรรี ัมย์ คณุ สะเถียร กะเกงิ สุข

คุณพอ่ พชิ ติ อพรรมั ย์ คณุ พอ่ บวั จะแรบรัมย์ คณุ พอ่ แจง้ จรตรมั ย์ คณุ พ่อเตียน ฉายศรี คณุ พ่อเหลือ บญุ ศรรี ัมย์ คณุ พอ่ สนอง บญุ ศรรี มั ย์ คุณพอ่ วฒุ ชิ ยั ศริ ิรมั ย์ คุณพ่อธปู ศิรริ มั ย์ คุณแม่วรรณดี เจรญิ รัมย์ คณุ พอ่ ประวตั ิ เจรญิ รมั ย์ คุณพ่อหล่า นุเรศรัมย์ คุณแม่สอง นุเรศรัมย์ คุณพอ่ ลอย จะแรบรัมย์ คณุ พอ่ ชะออ้ น ขาลรัมย์ คุณแมท่ องศรี เชือ่ มนอก คณุ พอ่ ประยรู เชอ่ื มนอก คณุ แม่บญุ เพียร นพรมั ย์ คุณพ่อยาด นพรัมย์ คณุ แม่ชอุม นรินรัมย์ คุณแม่จนั ทร เจรญิ รมั ย์ คณุ แม่สังข์ จรติ รมั ย์ คณุ พ่อมี จริตรัมย์ คุณแมส่ ะมวน อะโรคา คณุ พอ่ เลศิ อะโรคา

บนั ทกึ ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ......................................................................................................

บนั ทกึ ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ......................................................................................................

บนั ทกึ ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ......................................................................................................

บนั ทกึ ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ......................................................................................................