Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore LK009-หนังสืออนุสรณ์

LK009-หนังสืออนุสรณ์

Description: LK009-หนังสืออนุสรณ์

Search

Read the Text Version

จดั พิมพโ์ ดย วทิ ยาลัยสงฆ์บรุ รี มั ย ์ มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ทป่ี รึกษา พระราชปรยิ ตั ิกวี, ดร. พระสนุ ทรธรรมเมธี, ดร. พระศรีปรยิ ัตธิ าดา (ป.ธ.๙) พระมหาบญุ ถนิ่ ปุญฺญสริ ิ คณะท�างาน พระครูศรีปัญญาวิกรม, ดร. อาจารย์ไว ชรึ ัมย์ อาจารย์รุ่งสรุ ยิ า หอมวัน อาจารย์ปยิ วฒั น ์ คงทรัพย์ พระมหาประเสริฐ สุเมโธ พระครูสังฆรักษป์ รีญาวัฒน์ จนฺทสาโร พระปลดั ณฏั ฐภ์ รณ ์ ติ ปญุ โฺ ญ นายรตั นจ์ โิ รจน์ วงศอ์ รัญ เออ้ื เฟอ้ื ภาพ นายปัณณรษั ฎ ์ ภาสดาปิยสวัสดิ์ นายกติ ติธ์ เนศ อ�าพรกติ ตพิ ฒั น์ บรรณาธิการ พระมหาพจน์ สวุ โจ, ดร. ออกแบบปก เอนก เออ้ื การุณวงศ์ จา� นวนพิมพ์ ๕๐๐ เล่ม พมิ พ์ท่ี สาละพมิ พการ ๙/๖๐๙ ซอยกระทุม่ ล้ม ๖ ถนนพทุ ธมณฑลสาย ๔ ต.กระทมุ่ ลม้ อ.สามพราน จ.นครปฐม ๗๓๒๒๐ โทร. ๐-๒๔๒๙๒๔๕๒, ๐๘๕-๔๒๙๔๘๗๑

สารบัญ ประวตั ิมหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๕ กา� เนดิ และพัฒนาการวิทยาลัยสงฆ์บุรรี ัมย์ Ø ช่วงที ่ ๑ (พ.ศ.๒๕๔๓-๒๕๔๗) ๑๙ Ø ช่วงที ่ ๒ (พ.ศ.๒๕๔๘-๒๕๕๒) ๓๓ Ø ช่วงที ่ ๓ (พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๘) ๔๗ พันธกิจ Ø ผลติ บณั ฑิต ๖๑ Ø วิจัยและพฒั นา ๗๓ Ø สง่ เสรมิ พระพุทธศาสนาและ บรกิ ารวิชาการแก่สงั คม ๘๕ Ø ทา� นุบา� รงุ ศลิ ปวฒั นธรรม ๙๗ วทิ ยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ : ปัจจบุ ันส่อู นาคต ๑๐๙ หลักสูตรพทุ ธศาสตรบณั ฑิต Ø สาขาวิชาพระพทุ ธศาสนา ๑๒๔ Ø สาขาวชิ าการสอนพระพุทธศาสนาและ จติ วทิ ยาแนะแนว ๑๒๕ Ø สาขาวิชารัฐศาสตร ์ ๑๒๖ Ø สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ ๑๒๗ โครงการหลักสตู รพุทธศาสตรมหาบัณฑิต Ø สาขาวชิ าพระพทุ ธศาสนา ๑๒๘

4

5 ประวัติ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั

มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั สถาปนาโดยพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๕ เม่ือ พ.ศ. ๒๔๓๐ ตง้ั อย ู่ ณ วดั มหาธาตยุ วุ ราชรงั สฤษฎ ์ิ เขตพระนคร กรงุ เทพมหานคร และโปรดใหเ้ รยี กวา่ “มหาธาตวุ ทิ ยาลยั ” เปดิ สอนครง้ั แรกเมอื่ วนั ท ี่ ๘ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๓๒ และต่อมาทรงพระราชทานนามใหม่ว่า “มหาจุฬาลงกรณราช วทิ ยาลัย” เม่ือวันที่ ๑๓ กนั ยายน พ.ศ.๒๔๓๙ โดยทรงมีพระราชปณธิ านให้ เปน็ สถานศกึ ษาพระไตรปฎิ กและวชิ าชน้ั สงู สา� หรบั พระภกิ ษสุ ามเณรและคฤหสั ถ์ ปีพทุ ธศักราช ๒๔๙๐ พระพิมลธรรม (ชอ้ ย ฐานทตั ตมหาเถระ) อธิบดีสงฆ์ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ ได้ประชุมพระเถรานุเถระฝ่ายมหานิกาย จ�านวน ๕๗ รูป เพื่อด�าเนินการจัดการศึกษาพระไตรปิฎกและวิชาการช้ันสูงระดับ อุดมศึกษา ตามพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั โดยเปดิ สอนระดับปริญญาตรคี ร้งั แรก เมอ่ื วันที่ ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๐ และดา� เนินการจดั การศกึ ษามาโดยล�าดบั จนกระทงั่ ถึงป ี พ.ศ. ๒๕๒๗ รฐั สภา ไดต้ ราพระราชบญั ญตั ริ บั รองวทิ ยฐานะหลกั สตู รปรญิ ญาตรขี องมหาจฬุ าลงกรณ ราชวิทยาลยั ในพระบรมราชูปถัมภ์ ต่อมาในปีพุทธศักราช ๒๕๔๐ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรภูมิพลอดุลย เดช ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มใหต้ ราพระราชบญั ญตั มิ หาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั พ.ศ. ๒๕๔๐ ขึน้ โดยมีสถานภาพเปน็ นติ บิ ุคคล เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ภายใต้การก�ากับดูแลของกระทรวงศึกษาธิการ และ ได้ขยายการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาไปยังทุกภูมิภาคของประเทศและ บางแห่งของตา่ งประเทศดว้ ย



8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19 ก�าเนิดและพัฒนาการวทิ ยาลัยสงฆ์บุรรี ัมย์ ชว่ งท่ ี ๑ (พ.ศ.๒๕๔๓-๒๕๔๗)

ปีพทุ ธศักราช ๒๕๔๓ คณะสงฆจ์ ังหวดั บรุ ีรมั ย ์ ภายใตก้ ารนา� ของพระราช ปริยัติยาลังการ เจ้าคณะจังหวัดบุรีรัมย์ ได้มีฉันทานุมัติให้ด�าเนินการขยาย หอ้ งเรยี นหลกั สตู รพทุ ธศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าพระพทุ ธศาสนา จากมหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์ มาด�าเนินการจัดการเรียนการ สอน ณ วดั พระพทุ ธบาทเขากระโดง ตา� บลเสม็ด อา� เภอเมอื ง จงั หวัดบุรีรมั ย ์ โดยสภาวชิ าการไดใ้ หค้ วามเห็นชอบในคราวประชมุ คร้งั ท่ ี ๑/๒๕๔๓ เมอ่ื วันที่ ๑๗ กมุ ภาพันธ ์ ๒๕๔๓ และสภามหาวิทยาลยั ไดอ้ นมุ ตั ิในคราวประชมุ ครง้ั ท่ี ๑/๒๕๔๓ เมื่อวันท ี่ ๒๔ กุมภาพนั ธ ์ ๒๕๔๓ เบือ้ งตน้ ได้รบั ความเมตตานเุ คราะห์ จากพระครูสัจจานุรักษ์ เจ้าอาวาสวดั พระพทุ ธบาทเขากระโดง โดยอนุญาตให้ ใชอ้ าคารคอนกรีตเสริมเหล็กสูง ๔ ชั้น กวา้ ง ๑๒ เมตร ยาว ๒๐ เมตร เปน็ สถานที่ส�าหรับจัดการเรียนการสอน ปีพุทธศักราช ๒๕๔๖ จ�านวนนิสิตเพ่ิม มากขึ้นพ้ืนท่ีอาคารใช้สอยไม่เพียงพอ ครั้งนั้นได้รับความเมตตานุเคราะห์จาก พระครูสัจจานุรักษ์ เจ้าอาวาสวัดพระพุทธบาทเขากระโดง ซื้อท่ีดินจ�านวน ๔ ไร ่ ๑ งาน ๘๐ ตารางวา มอบให้เป็นกรรมสทิ ธ์ิของมหาวทิ ยาลยั และได้ ดา� เนนิ การกอ่ สรา้ งอาคารสงั ฆประชาสรรค ์ สงู ๔ ช้ัน กวา้ ง ๑๑ เมตร ยาว ๘๒ เมตร ครัน้ แล้วไดเ้ ปิดหลกั สตู รประกาศนยี บัตรการบรหิ ารกจิ การคณะสงฆ์ (ป.บส.) และ หลักสตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี คร ู (ป.วค.) เพ่อื เปิดโอกาสให้ พระสงฆ์และคฤหสั ถผ์ ู้สนใจสามารถศึกษาเรียนรหู้ ลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา

21

22

23

24

25

26

27

28

29

30

31

32

33 ก�าเนิดและพัฒนาการวทิ ยาลัยสงฆ์บุรรี ัมย์ ชว่ งท่ ี ๒ (พ.ศ.๒๕๔๘-๒๕๕๒)

ปีพุทธศักราช ๒๕๔๘ อาคารสังฆประชาสรรค์สามารถเปิดท�าการเรียน การสอนไดอ้ ยา่ งเตม็ ท ่ี คณะผบู้ รหิ ารจงึ ไดเ้ ปดิ ทา� การเรยี นการสอนอกี หลายสาขา วชิ า เพอ่ื ใหเ้ พยี งพอตอ่ ความตอ้ งการของผเู้ รยี นทง้ั บรรพชติ และคฤหสั ถ ์ เรม่ิ จาก สาขาวิชาการสอนพระพทุ ธศาสนา เม่อื ปพี ทุ ธศักราช ๒๕๕๐ เพอ่ื พฒั นานสิ ติ ใหเ้ ปน็ ผมู้ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจดา้ นการสอนพระพทุ ธศาสนา สามารถพฒั นารปู แบบ การสอนและสอ่ื การสอนพระพทุ ธศาสนาได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ และเปน็ ผนู้ า� ที่ มีศลี ธรรม คณุ ธรรม จรยิ ธรรมตามหลกั พระพุทธศาสนา โดยได้รับความสนใจ จากผู้เรียนเป็นจา� นวนมาก ปีพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒ สาขาวิชารฐั ศาสตร ์ ได้เปิดท�าการเรียนการสอนเม่ือ ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒ เพอ่ื พฒั นานสิ ติ ใหม้ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจในหลกั การปกครอง และการบรหิ ารตามหลกั พทุ ธธรรมและทฤษฎรี ฐั ศาสตรส์ มยั ใหม ่ สามารถพฒั นา ตนเอง องค์กร ชมุ ชน และสังคมโดยรวม และประยกุ ต์ใชใ้ นการเผยแผ่พระพุทธ ศาสนาเพอ่ื แกป้ ญั หาและพฒั นาสงั คมไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ สาขาวชิ ารฐั ศาสตร์ นมี้ ผี สู้ นใจเขา้ เรยี นเปน็ จ�านวนมาก โดยเฉพาะขา้ ราชการระดบั ทอ้ งถน่ิ ถอื วา่ เปน็ สาขาทีต่ อบรับความตอ้ งการของชมุ ชนและสงั คมไดเ้ ป็นอยา่ งดยี งิ่

35

36

37



39

40

41

42

43

44

45

46

47 ก�าเนิดและพัฒนาการวทิ ยาลัยสงฆ์บุรรี ัมย์ ชว่ งท่ ี ๓ (พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๘)

ปีพุทธศักราช ๒๕๕๓ โครงการขยายห้องเรียนจังหวัดบุรีรัมย์ ได้รับ การยกสถานะข้ึนเป็นวิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ โดยความเห็นชอบของสภาวิชาการ ในคราวประชุมครง้ั ท่ ี ๓/๒๕๕๓ เมอ่ื วนั ท่ ี ๒๐ เมษายน ๒๕๕๓ และไดร้ ับ การอนุมัติจากสภาวิทยาลัย ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓/๒๕๕๓ เมื่อวันท่ี ๒๙ เมษายน ๒๕๕๓ ประกาศลงในราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๑๒๗ ตอนที ่ ๑๐๙ ง หน้า ๓๒๙ ลา� ดบั ที ่ ๒๑๘ ลงวนั ท ่ี กรกฎาคม ๒๕๕๓ ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๕๖ วิทยาลยั สงฆ์ไดเ้ ปดิ ท�าการเรยี นการสอนระดบั บณั ฑติ ศึกษา สาขาวิชาพระพุทธศาสนา (ป.โท) เพ่ือผลิตมหาบัณฑิตให้มีความรู้ ความสามารถและเช่ียวชาญในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา สามารถวิจัย ค้นคว้า และพัฒนาองค์ความรู้ เพ่ือส่งเสริมพระพุทธศาสนาและบริการสังคม อย่างมีประสิทธิภาพ มีศักยภาพที่จะพัฒนาตนเองให้เพียบพร้อมด้วยคุณธรรม และจริยธรรม เป็นผนู้ า� ทางปัญญา พัฒนาจิตใจและสงั คม โดยมบี ัณฑติ ทจ่ี บจาก วิทยาลัยสงฆบ์ ุรรี ีมย์และคฤหสั ถ์ภายนอกให้ความสนใจศึกษาเปน็ จ�านวนมาก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook