Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 13บทที่ 10 พัฒนาการของคนในวัยต่าง ๆ ตั้งแต่ระยะคลอดถึงวัยสูงอายุ

13บทที่ 10 พัฒนาการของคนในวัยต่าง ๆ ตั้งแต่ระยะคลอดถึงวัยสูงอายุ

Published by chawanon, 2021-02-16 10:32:55

Description: 13บทที่ 10 พัฒนาการของคนในวัยต่าง ๆ ตั้งแต่ระยะคลอดถึงวัยสูงอายุ

Search

Read the Text Version

124 บทที่ 10 พฒั นาการของคนในวยั ต่าง ๆ ต้งั แต่ระยะคลอดถงึ วยั สูงอายุ การศึกษาพฤติกรรมตา่ งๆ มีความสัมพนั ธ์กบั อินทรียอ์ ยา่ งใกลช้ ิดโดยเฉพาะพฤติกรรมของ มนุษยน์ ้นั ตวั มนุษยเ์ ป็นอินทรียท์ ี่มีลกั ษณะซบั ซอ้ นน่าศึกษายงิ่ เริ่มต้งั แต่การปฏิสนธิ ไปจนกระทง่ั เจริญเติบโตและตายในท่ีสุด พฒั นาการชีวติ มนุษยจ์ ะทาใหเ้ ราเขา้ ใจถึงข้นั ตอนและแบบแผนของ การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของมนุษยใ์ นแต่ละช่วงชีวิต ตลอดจนทาใหเ้ ราเขา้ ใจถึงปัจจยั ตา่ งๆ ท่ีมี อิทธิพลต่อพฒั นาการของชีวิตมนุษย์ ความหมายของพฒั นาการและการเจริญเติบโต โดยทวั่ ไปเมื่อพดู ถึงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของมนุษย์ มกั จะมีคา 2 คาท่ีนิยม ใชแ้ ทนกนั คาแรกคือ พฒั นาการ (Development) และ คาวา่ การเจริญเติบโต (Growth) ซ่ึงตาม ความจริงแลว้ คาสองคาน้ีมีความหมายแตกตา่ งกนั พฒั นาการ หมายถึง การเพิม่ หรือการเปลี่ยนแปลงทางดา้ นคุณภาพ เช่น การพฒั นาการ ตามลาดบั ของการเคลื่อนไหวของทารกจากการท่ีทารกสามารถควา่ ต่อมาสามารถคลาน สามารถ ยนื และสามารถเดินได้ เป็ นพฒั นาการที่สัมพนั ธ์ต่อเน่ืองกนั และตอ้ งอาศยั ความพร้อมร่วมกนั ของ ระบบหลายๆ อยา่ งในร่างกาย เช่น ระบบกลา้ มเน้ือ ระบบประสาท เป็นตน้ พฒั นาการเป็นการ เจริญเติบโตเพ่ือนาไปสู่การมีวฒุ ิภาวะ (Maturation) วฒุ ิภาวะเป็นขบวนการเปลี่ยนแปลที่เกิดข้ึน ตามวถิ ีทางของธรรมชาติ ไมจ่ าเป็นตอ้ งอาศยั การเรียนรู้ และไม่ข้ึนกบั ส่ิงแวดลอ้ มอยา่ งใดอยา่ ง หน่ึงโดยเฉพาะ (Bernstein. 1999 : 330) กล่าวคือ เม่ือมีความพร้อมการเปล่ียนแปลงน้นั จะเกิดข้ึน เองได้ เช่น เด็กอายปุ ระมาณ 3 เดือน สามารถหมุนตวั คว่าได้ อายปุ ระมาณ 6 เดือน สามารถนงั่ ได้ อายปุ ระมาณ 12 เดือน สามารถเดินได้ ถึงแมจ้ ะอยใู่ นส่ิงแวดลอ้ มใดก็ตาม การเจริญเติบโต หมายถึง การเพิม่ หรือการเปล่ียนแปลงทางดา้ นปริมาณ เช่น การเพม่ิ ของส่วนสูง การเพิ่มของน้าหนกั การเพิม่ ขนาดของอวยั วะ เช่น แขน ขา ลาตวั หรือขนาดของ สมอง เป็นตน้

125 พฒั นาการของมนุษยจ์ ะมีระยะวกิ ฤติ (Critical Period) คือ ช่วงระยะสาคญั ท่ีลกั ษณะ บางอยา่ งควรจะเกิดข้ึนตามพฒั นาการปกติ ถา้ ไม่เกิดข้ึนในช่วงน้ีแลว้ ความบกพร่องอาจจะเกิดข้ึน ได้ ซ่ึงมีผลเสียต่อพฒั นาการในช่วงตอ่ ไป การพฒั นาการของมนุษย์ ตอ้ งอาศยั ท้งั วฒุ ิภาวะ การเรียนรู้และเกิดข้ึนในระยะเวลาที่ เหมาะสม ถา้ ขาดอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง อาจจะทาใหม้ ีพฒั นาการที่ล่าชา้ หรือไมเ่ กิดข้ึน ไดม้ ี นกั จิตวทิ ยาพยายามศึกษาอิทธิพลของวฒุ ิภาวะและการเรียนรู้ที่มีต่อพฒั นาการของมนุษยแ์ ละ สรุปวา่ 1. เด็กจะสามารถเรียนรู้ทกั ษะที่เกิดจากแบบแผนของพฤติกรรมที่สืบเนื่องมา จากพฒั นาการไดเ้ ร็วท่ีสุด เช่น เดก็ สามารถพดู คาวา่ แม่ ไดเ้ ร็วท่ีสุดเพราะคาออกเสียงคลา้ ยเสียง ธรรมชาติของเด็ก คือ เสียงออ้ แอ้ เป็ นตน้ 2. อตั ราของพฒั นาการจะยงั คงเป็นไปอยา่ งสม่าเสมอ แมจ้ ะจดั ประสบการณ์ การเรียนรู้อยา่ งกวา้ งขวางเพียงใดก็ตาม 3. ยงิ่ มีวฒุ ิภาวะมาก การฝึกฝนกย็ งิ่ ใชน้ อ้ ยลง 4. การฝึกหรือการเรียนรู้ก่อนช่วงที่มีวฒุ ิภาวะอาจจะไมไ่ ดผ้ ลดีข้ึนเลย ถึงจะดีข้ึนก็ เป็นอยใู่ นช่วงระยะเวลาชว่ั คราวเทา่ น้นั 5. ถา้ ในระหวา่ งการฝึกก่อนการวฒุ ิภาวะ มีสถานการณ์ที่ทาใหบ้ ุคคลมีความคบั ขอ้ ง ใจ จะก่อใหเ้ กิดผลเสียมากกวา่ ผลดีเพราะเป็ นการเร่งก่อนที่บุคคลจะมีความพร้อม ขบวนการพฒั นาการ (The Process of Development) ในช่วงชีวติ ของแตล่ ะบุคคล การเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งท่ีมีอยตู่ ลอดเวลา ไม่มีอะไรอยนู่ ิ่ง ต้งั แต่เกิดจนตาย ในช่วงชีวติ การเปลี่ยนแปลงบางอยา่ งอาจเริ่มข้ึน บางอยา่ งอาจถึงจุดยอดเตม็ ที่ และบางอยา่ งอาจเริ่มถอยหลงั แต่ทุกอยา่ งยอ่ มเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา การเปลี่ยนแปลง ในช่วงชีวติ ของแตล่ ะคนอาจแบง่ ออกไดเ้ ป็น 4 ลกั ษณะคือ 1. การเปล่ียนแปลงเกี่ยวกบั ขนาด (Changes in size) เป็นการเปลี่ยนแปลงทางดา้ น ขนาด เช่น รูปร่างที่สูงใหญ่ข้ึน น้าหนกั ที่มากข้ึน อวยั วะท้งั ภายนอกและภายในมีขนาดใหญข่ ้ึน เป็ นตน้ 2. การเปลี่ยนแปลงทางสัดส่วน (Changes in Proportion) สดั ส่วนของมนุษยจ์ ะมีการ

126 เปลี่ยนแปลงในช่วงระยะต่างๆ ของอายุ เช่น ในผใู้ หญจ่ ะมีสดั ส่วนของส่วนต่างๆ แตกตา่ งไปจาก เด็ก เช่น เมื่อแรกเกิดส่วนศรีษะจะมีขนาด 1 ใน 4 ของส่วนสูงท้งั หมด แต่เมื่อโตเป็ นผใู้ หญ่ สดั ส่วนของศรีษะจะเปล่ียนแปลงไปเป็น 1 ใน 7 ของส่วนสูงของร่างกาย นอกจากน้นั ส่วนลาตวั เม่ือเจริญเติบโตเตม็ ที่จะยาว 3 เทา่ ของความยาวของลาตวั เมื่อแรกเกิด เป็นตน้ 3. การเปล่ียนแปลงทางดา้ นความซบั ซอ้ น (Changes in complexity) โดยทวั่ ไป เม่ือ มนุษยม์ ีการเจริญเติบโตเพิม่ ข้ึน ลกั ษณะต่างๆ จะมีความซบั ซอ้ นเพ่ิมมากข้ึนดว้ ย ไมว่ า่ จะเป็น ลกั ษณะทางดา้ นร่างกาย อารมณ์ สงั คมและสติปัญญา ทางดา้ นร่างกายเช่น การเคลื่อนไหวของ มือสามารถท่ีจะหยบิ จบั ดึง และบิดส่ิงตา่ งๆ ได้ ทางดา้ นอารมณ์ มีการแสดงออกทางอารมณ์ต่างๆ ไดเ้ พ่มิ มากข้ึนจากช่วงวยั เด็กท่ีแสดงไดเ้ พียง 2-3 อยา่ ง พอโตข้ึนสามารถแสดงอารมณ์ไดเ้ พม่ิ ข้ึน และซบั ซอ้ นข้ึน ทางดา้ นสังคมรู้จกั สร้างความสมั พนั ธ์กบั คนแปลกหนา้ หรือคนที่ไมค่ ุน้ เคย ทางดา้ นสติปัญญาสามารถคิดสิ่งที่ซบั ซอ้ นข้ึนไดเ้ ช่น สิ่งที่เป็นนามธรรรม หรือตอ้ งใชเ้ หตุผลเชิง ตรรก 4. ความสามารถเก่าๆ หายไป พร้อมกบั มีความสามารถใหมๆ่ เขา้ มาแทนที่ (Disappearance of old feature and acquisition of new features) การเปล่ียนแปลงน้ีเกิดจากสิ่งเก่าท่ี เคยมีหายไป แลว้ มีสิ่งใหม่เกิดข้ึนมาแทนที่ เช่น การเปล่ียนของฟันน้านมไปสู่การมีฟันแท้ เส้น ผมท่ีหลุดแลว้ งอกใหมท่ ุกวนั หรือหนงั กาพร้าท่ีหลุดแลว้ เกิดใหม่ข้ึนมาทดแทน เป็นตน้ หลกั การของพฒั นาการของมนุษย์ (Principles of Growth Development) 1. การพฒั นาการเป็นไปตามแบบแผน (Pattern) ของมนั เองในการพฒั นาการของมนุษย์ หรือสัตวก์ ต็ าม จะมีแบบแผนของมนั เองเป็นระยะๆ มิไดเ้ กิดข้ึนโดยบงั เอิญ เช่น เดก็ สามารถควา่ ไดก้ ่อนคลาน คลานไดก้ ่อนเดิน เป็นตน้ หลกั การพฒั นาการของเด็กจะแบ่งออกเป็น 2 ทิศทาง (Directions) คือ 1.1 Cephalo – caudal direction คือ การพฒั นาจากส่วนบนลงมาหาส่วนล่าง เช่น เดก็ ทารกจะสามารถใชอ้ วยั วะบริเวณศรีษะก่อน แลว้ ค่อยๆ เล่ือนลงมาท่ีลาตวั และลงมาส่วน ขาเป็ นตน้ 1.2 Proximo – distal direction คือ การพฒั นาการท่ีเร่ิมจากแกนกลางตวั ออกไป ยงั ขา้ งลาตวั เช่น เดก็ ก่อนท่ีจะใชม้ ือหยบิ จบั อะไร จะใชท้ ่อนแขนก่อน แลว้ จึงคอ่ ยๆ

127 พฒั นาการการใชม้ ือ และนิ้วมือตามลาดบั 2. การพฒั นาการเร่ิมจากส่วนใหญไ่ ปหาส่วนยอ่ ย หรือจากพฤติกรรมทวั่ ไปไปหา พฤติกรรมท่ีเฉพาะเจาะจงมากข้ึน เช่น ในเดก็ ทารกมีการเคล่ือนไหวท้งั ตวั ก่อนการเคลื่อนไหว ส่วนใดส่วนหน่ึงของร่างกาย หรือการออกเสียง จะออกเสียงอือ ออ ก่อนท่ีจะเป็นคา เฉพาะเจาะจงลงไป 3. พฒั นาการจะตอ่ เน่ืองกนั โดยไมม่ ีการหยดุ หรือขาดตอน การพฒั นาการของอวยั วะเกิด ข้ึนมาต้งั แตย่ งั อยใู่ นครรภม์ ารดา และพฒั นามาเรื่อยไมม่ ีการหยดุ ย้งั การที่เรามีฟันข้ึนไม่ใช่เพง่ิ มา พฒั นาตอนที่เรามีฟันข้ึน แตพ่ ฒั นามาต้งั แต่เราอยใู่ นครรภ์ โดยฟันอยใู่ นเหงือกซ่ึงเรามองไมเ่ ห็น การพฒั นาเป็ นสายตอ่ เนื่องจึงเป็นส่ิงที่อาจไดร้ ับอิทธิพลจากส่ิงแวดลอ้ มที่มีผลตอ่ พฒั นาการ เช่น การขาดสารอาหารต้งั แตอ่ ยใู่ นครรภม์ ารดา หรือขาดอาหารตอนเป็นทารกจะส่งผลต่อพฒั นาการ ทางสมองและสติปัญญาเมื่อเติบโตข้ึน 4. อตั ราการพฒั นาของเด็กแต่ละคนจะแตกตา่ งกนั ข้ึนอยกู่ บั องคป์ ระกอบท่ีสาคญั 2 ประการคือ พนั ธุกรรมและสิ่งแวดลอ้ ม ดงั น้นั เราจะไดพ้ บวา่ เดก็ บางคนมีการเจริญเติบโตเร็ว บางคนโตชา้ เพราะมีพนั ธุกรรมต่างกนั หรืออยใู่ นสภาพแวดลอ้ มตา่ งกนั 5. อตั ราการพฒั นาการของส่วนตา่ งๆ ของร่างกายแตกตา่ งกนั อวยั วะหรือส่วนตา่ งๆ ของร่างกายมีอตั ราการเจริญเติบโตต่างกนั เช่น มือ เทา้ จะเจริญเติบโตถึงขีดสุดในวยั รุ่น การคิด คานึง การคิดสร้างสรรคจ์ ะเจริญอยา่ งรวดเร็วในระหวา่ งวยั เด็กและถึงขีดสุดเม่ือเขา้ สู่วยั หนุ่มสาว 6. พฒั นาการทุกดา้ นจะสมั พนั ธ์กนั และเราสามารถทานายพฒั นาการของเด็กได้ พฒั นาการทุกดา้ น ท้งั ดา้ นร่างกาย อารมณ์ สงั คม สติปัญญา มกั จะมีการเก่ียวขอ้ งสัมพนั ธ์กนั หมด ถา้ ดา้ นหน่ึงดา้ นใดบกพร่อง ดา้ นอ่ืนก็จะบกพร่องไปดว้ ย เช่น ถา้ มีพฒั นาการทางร่างกายไม่ ดี กย็ อ่ มมีผลกระทบกระเทือนต่อการพฒั นาการทางอารมณ์ เช่น อารมณ์เสียบอ่ ย หงุดหงิด มี ผลกระทบตอ่ พฒั นาการทางสังคม เช่น ไมก่ ลา้ ติดตอ่ สัมพนั ธ์กบั คนอื่น ขาดความมนั่ ใจในตนเอง มีผลกระทบต่อพฒั นาการทางสติปัญญา เดก็ จะไม่กลา้ คิดวเิ คราะห์ จะเห็นวา่ เราสามารถทานาย พฒั นาการของเด็กไดว้ า่ เดก็ จะมีปัญหาอะไรไดบ้ า้ งและเติบโตข้ึนจะเป็นคนที่มีลกั ษณะอยา่ งไร โดยอาศยั แนวโนม้ ของพฒั นาการท่ีเกิดในปัจจุบนั 7. การพฒั นาการแต่ละวยั มีลกั ษณะเฉพาะตวั ของมนั เอง ในเด็กแตล่ ะวยั จนถึงวยั ผู้

128 ใหญพ่ ฤติกรรมในแตล่ ะวยั ยอ่ มแตกตา่ งกนั ไป เช่น ในวยั เด็กการกระโดดโลดเตน้ การถามซ้าๆ เป็นพฤติกรรมท่ีเป็นลกั ษณะเฉพาะวยั เมื่อโตข้ึนเป็นผใู้ หญ่ลกั ษณะเหล่าน้ีจะหายไปแตจ่ ะมี ลกั ษณะเฉพาะวยั อยา่ งอื่นเกิดข้ึนมาแทน เช่น มีลกั ษณะสุขมุ รอบครอบ เป็ นตน้ 8. เด็กปกติทวั่ ไป จะผา่ นการพฒั นาการทุกข้นั ตอนอยา่ งสะดวก จนอายปุ ระมาณ 21 ปี จึงจะเจริญเตม็ ท่ีทุกๆ ดา้ น การพฒั นาการข้ึนอยกู่ บั วุฒิภาวะและการเรียนรู้ วฒุ ิภาวะทาใหเ้ กิด ความพร้อมของร่างกาย ท่ีจะทาใหม้ ีความสามารถในการกระทาอยา่ งหน่ึงได้ การเรียนรู้จะช่วย ฝึกฝนทาใหเ้ กิดความชานาญ ท้งั วฒุ ิภาวะและการเรียนรู้เป็นของคูก่ นั การเรียนรู้ตอ้ งอาศยั วฒุ ิ ภาวะอยมู่ าก เช่น ถา้ เราฝึกหดั เด็ก 2 ขวบใหเ้ ขียนหนงั สือยอ่ มเป็ นไปไดย้ ากมาก ท้งั น้ีเพราะเดก็ ยงั ไมม่ ีวฒุ ิภาวะในความสามารถที่จะเขียนได้ เนื่องจากร่างกายยงั ไม่พร้อม กลา้ มเน้ือมือ นิ้วยงั ไม่ แขง็ แรงพอ ความสมั พนั ธ์ของส่วนต่างๆ ของร่างกายเช่น การเคล่ือนไหวของมือและตายงั ไม่ สมั พนั ธ์กนั ดีพอ ถึงจะสอนใหเ้ ขียนก็ไมม่ ีประโยชน์ เนื่องจากเดก็ ยงั มีวฒุ ิภาวะไมพ่ ร้อม ดงั น้นั เรา ควรดูวา่ เด็กพร้อมหรือยงั ท่ีจะฝึกหดั ทางานอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง การเร่งสอนไมใ่ ช่สิ่งท่ีเป็นประโยชน์ เสมอไป แตอ่ าจทาใหเ้ กิดผลเสียได้ เช่น อาจทาใหเ้ ดก็ ทอ้ หรือวติ กกงั วลในเรื่องการเรียนมี ทศั นคติที่ไม่ดีต่อการเรียนในอนาคตได้ ข้นั ของพฒั นาการ (Stages of development) นกั จิตวทิ ยาหลายทา่ นไดศ้ ึกษาลาดบั ข้นั ในการพฒั นาการของมนุษย์ โดยที่แตล่ ะทา่ นจะ ใหค้ วามสนใจพฒั นาการในดา้ นต่างๆ เป็ นพเิ ศษต่างกนั ทฤษฎีที่กล่าวถึงข้นั ของพฒั นาการของ มนุษยท์ ่ีสาคญั มีดงั น้ี 1. Freudian Theory ซิกมนั ด์ ฟรอยด์ ( Sigmund Freud) เป็นแพทยท์ ่ีใหค้ วามสนใจดา้ นจิตใจมนุษย์ จนไดซ้ ื่อ วา่ เป็นบิดาแห่งจิตวเิ คราะห์ (Psychoanalysis) แนวความคิดของฟรอยดม์ ีอิทธิพลตอ่ การศึกษา พฒั นาการชีวติ มนุษยม์ ากในสหรัฐอเมริกา (ระหวา่ งปี ค.ศ 1920 ถึง 1950 ) ทฤษฎีพฒั นาการชีวิต ของฟรอยดเ์ นน้ ใหเ้ ห็นความสาคญั ดา้ นแรงผลกั ดนั ทางเพศในวยั เด็กที่พฒั นาตามวยั ต่อๆไป แรง ผลกั ชนิดน้ีมีชื่อเฉพาะวา่ ลิบิโด(Libido) เป็นพลงั จิตสาคญั ในการผลกั ดนั และการกาหนดทิศทาง

129 ใหค้ นเราแสดงกริยาอาการต่างๆ ไดม้ ีการเปรียบเทียบวา่ ลิบิโดเปรียบเหมือนเช้ือเพลิงในหอ้ ง เครื่องยนตท์ ี่เผาไหมเ้ พ่ือใหร้ ถยนตว์ งิ่ ไดฟ้ รอยดแ์ บง่ ข้นั พฒั นาการชีวิตมนุษยด์ งั น้ี Genital Phallic Anal Oral Latency Puberty and adulthood 18 เดือน 3 ปี 6 ปี 12 ปี เวลา รูปที่ 10-6 ภาพแสดงข้นั พฒั นาการชีวติ มนุษยต์ ามแนวคิดของฟรอยด์ ที่มา : ไพบูลย์ เทวรักษ.์ 2537 : 37 ข้นั ที่ 1 เรียกวา่ “ Oral State” เป็นข้นั ท่ีเด็กอยใู่ นวยั ทารก ซ่ึงเดก็ จะมีความสุขความ พงึ พอใจในการใชป้ าก หากไมไ่ ดร้ ับการตอบสนองที่ปากอยา่ งเหมาะสม เดก็ จะมีลกั ษณะนิสัย Orial Fixation ในวยั อื่นต่อไป เช่น ดูดนิ้วมือ อมหรือเค้ียวสิ่งของเสมอ ข้นั ที่ 2 เรียกวา่ “Anal State” อายปุ ระมาณ 2-3 ขวบ เด็กจะมีความสุขความพอใจใน การกล้นั และขบั ถ่าย หากไมไ่ ดร้ ับการตอบสนองในการกล้นั และขบั ถ่าย เดก็ จะมีลกั ษณะนิสยั Anal Fixation ในวยั อื่นตอ่ ไปเช่น เจา้ ระเบียบ กา้ วร้าว ข้นั ท่ี 3 เรียกวา่ “Phallic State” อายปุ ระมาณ 3-6 ขวบ เด็กมีความสุขความพอใจใน การจบั อวยั วะเพศของตนเองเล่น หากไมไ่ ดร้ ับการตอบสนองในการจบั อวยั วะเพศของตนเองแลว้ เด็กจะมีนิสยั Phallic Fixation ในข้นั ต่อไป เช่น มีความวิตกกงั วลเม่ือมีเพศสัมพนั ธ์ อาจถึงข้นั ชา เยน็ หรือหมดความรู้สึกทางเพศกเ็ ป็นได้ และในวยั น้ีจะมี Oedipus Complex ซ่ึงเป็นปมชีวติ ท่ี เดก็ ชายจะรักแม่มากกวา่ พอ่ และเดก็ หญิงจะรักพ่อมากกวา่ แม่ ข้นั ท่ี 4 เรียกวา่ “Latency State” อายปุ ระมาณ 6-12 ขวบเดก็ มีความสุข ความพอใจ

130 ในการเล่น สมมุติบทบาทเป็ น พอ่ แม่ ลูก จึงเป็ นลกั ษณะแฝงหรือเลียนแบบชีวิตครอบครัวในวยั ผใู้ หญ่นน่ั เอง หากเดก็ ไมไ่ ดร้ ับการตอบสนองก็จะมี Latency Fixation ในวยั ต่อไป คือไม่กลา้ จะ แตง่ งานมีชีวติ ครอบครัว กลวั ความลม้ เหลวในชีวติ สมรส ข้นั ที่ 5 เรียกวา่ “Genetal Stage” อายตุ ้งั แต่ 12 ปี ข้ึนไป โดยเฉพาะในช่วงวยั รุ่นน้นั เดก็ จะมีความพอใจ และความตอ้ งการตอบสนองจากเพศตรงขา้ ม หากเดก็ ไม่ไดร้ ับความสนใจและ ความรู้เร่ืองเพศอยา่ งเหมาะสมแลว้ จะทาใหเ้ ดก็ ประสบปัญหาเรื่องเพศเป็นอยา่ งมาก เป็นที่น่าสงั เกตวา่ ทฤษฎีน้ีพยายามอธิบายถึงหลกั พฒั นาการชีวติ มนุษยโ์ ดยทวั่ ไป ซ่ึงช้ี ใหเ้ ห็นข้นั ตอนของการเจริญเติบโตในวยั ต่างๆ ที่มีปัญหาอยบู่ า้ ง แตฟ่ รอยดไ์ ดเ้ นน้ ประเด็นท่ี เกี่ยวกบั ปัญหาทางดา้ นจิตใจ โดยเฉพาะอารมณ์ที่ขมขื่น ปวดร้าวตา่ งๆ อนั อาจจะก่อใหเ้ กิดปัญหา ทางดา้ นจิตใจเช่น ความตอ้ งการมีรักร่วมเพศ เป็ นปมปัญหามาจาก Fixation ในข้นั Anal หรือ Phallic เป็นตน้ อยา่ งไรกต็ ามเดก็ ทุกคนมิใช่วา่ จะตอ้ งมีปัญหา ถา้ ไม่พฒั นาตามข้นั ตอนน้ี แต่ ทฤษฎีฟรอยดเ์ ป็นแนวคิดหน่ึงท่ีช่วยกาหนดขอบเขตของรูปแบบพฒั นาการชีวติ มนุษยท์ ่ีมีค่าแก่ การศึกษายง่ิ 2. Erikson’s Theory อีริค อีริคสนั (Erik Erikson) เคยอยใุ่ นกลุ่มจิตวเิ คราะห์ของฟรอยด์ คร้ันถึงปี ค.ศ. 1964 อีริคสนั ไดส้ ร้างแนวคิดทฤษฎีเก่ียวกบั พฒั นาการชีวติ เรียกวา่ “Psychosocial development” อธิบายลกั ษณะพฒั นาการชีวติ มนุษยท์ ุกวยั วา่ ไดร้ ับอิทธิพลจากสงั คมที่เด็กอาศยั อยแู่ ละโดยเฉพาะ อยา่ งยงิ่ ผคู้ นที่ทาหนา้ ท่ีเป็นพ่อเป็นแม่ ตลอดจนญาติพี่นอ้ ง เพื่อนฝงู ท้งั ท่ีทางานและท่ีตนเองอาศยั อยู่ พฒั นาการชีวติ มนุษยต์ ามแนวคิดน้ีสามารถแสดงข้นั ตอนต้งั แต่เกิดจนตา

131 Interprity v.s Despair Generativity V.S Self-Absorption Intimacy V.S Isolation Identy V.S Role confusion Industry V.S Inferiority Initiative V.S Guilt Autonomy V.S Shame Trust V.S Mistrust แรกเกิด 2 ปี 3 ปี 5 ปี 11ปี 18 ปี วยั ผใู้ หญ่ วยั กลาง วยั ชรา รูปที่ 10-7 ภาพแสดงข้นั พฒั นาการชีวติ มนุษยต์ ามแนวคิดของอีริคสัน ท่ีมา : ไพบลู ย์ เทวรักษ.์ 2537 : 40 ข้นั พฒั นาการชีวติ มนุษย์อธิบายโดยย่อดังนี้ ข้นั ท่ี 1 ความไวว้ างใจ-ความไมไ่ วว้ างใจ (Trust V.S Mistrust) วยั ทารก 1 ปี แรกของ ชีวติ เดก็ เรียนรู้ท่ีจะเกิดความรู้สึกไวว้ างใจหรือเกิดความรู้สึกไมไ่ วว้ างใจจากส่ิงที่มีอยรู่ อบตวั จาก การท่ีเด็กไดร้ ับการตอบสนองในสิ่งที่เขาตอ้ งการ บุคคลท่ีมีบทบาทสาคญั ในพฒั นาการข้นั ้ีคือ มารดาและเง่ือนไขสาคญั ที่จะทาใหเ้ กิดความรู้สึกไวว้ างใจกค็ ือการท่ีมารดาสามารถที่จะบาบดั ความ ตอ้ งการที่ทารกตอ้ งการได้

132 ข้นั ที่ 2 ความเป็นตวั ของตวั เอง-ความไมม่ นั่ ใจในตวั เอง (Autonomy V.S Shame and Doubt) เด็กอายุ 2 ปี เด็กเรียนรู้ที่จะทดลองและเลือกที่จะทาสิ่งต่างๆดว้ ยตนเองและเรียนรู้ที่จะ ควบคุมกลา้ มเน้ือและการเคลื่อนไหวของกลา้ มเน้ือและการเคล่ือนไหวของตนเอง ถา้ เดก็ ไม่ไดร้ ับ การสนบั สนุนท่ีเหมาะสมในการที่จะใหเ้ ด็กทาสิ่งต่างๆในลกั ษณะของการทดสอบความสามารถใน การควบคุมกลา้ มเน้ือของตนเองจะทาใหเ้ ดก็ เกิดความไม่มนั่ ใจในตนเองวา่ เขามีความสามารถทาสิ่ง ต่างๆโดยตนเองได้ ข้นั ที่ 3 ความคิดริเริ่ม-ความรู้สึกผดิ (Initiative V.S Guilt) เด็กอายุ 3-5 ปี เดก็ เรียนรู้ที่จะมีความคิดริเร่มท่ีจะทากิจกรรมตา่ งๆและมีความสนุกสนานกบั สิ่งท่ีไดค้ ิดริเริ่ม หากเด็ก ไดร้ ับการสนบั สนุนและไดร้ ับความสาเร็จกจ็ ะยง่ิ ทาใหเ้ ด็กมีความกระตือรือร้นและกลา้ คิดริเร่ิมส่ิง ใหมๆ่ ตอ่ ไปอีก ในทางตรงกนั ขา้ มถา้ เดก็ ไมไ่ ดร้ ับการสนบั สนุนหรือไม่ไดร้ ับการอนุญาติให้คิด ริเริ่มจะทาใหเ้ ด็กเกิดความรู้สึกผดิ ในความพยายามที่จะทาสิ่งต่างๆดว้ ยตนเอง ข้นั ที่ 4 ความขยนั หมน่ั เพียร-ความรู้สึกต่าตอ้ ย (Industry V.S Inferiority) เดก็ อายุ 6- 11 ปี เดก็ จะพฒั นาความรู้สึกขยนั หมน่ั เพียรและความรู้สึกอยากรู้อยากเห็นและกระตือรือลน้ ท่ี จะเรียนรู้ ผปู้ กครองควรใหก้ ารสนบั สนุน ใหเ้ ด็กไดม้ ีโอกาสไดท้ างานที่มีความหลากหลายและทา้ ทาย แตก่ ไ็ ม่ควรเป็นงานที่ยากจนเกินไป ควรมีการใหก้ ารเสริมแรงเม่ือเด็กทางานเสร็จสมบูรณ์ ใน ข้นั น้ีเด็กท่ีไม่ประสบความสาเร็จจะรู้สึกต่าตอ้ ย และหมดความสนใจท่ีจะทางานต่างๆและจะ ประเมินตนเองวา่ เป็ นคนท่ีไม่มีความสามารถ ข้นั ที่ 5 ความเป็นเอกลกั ษณ์-ความสบั สนในบทบาท (Identy V.S Role confusion) เดก็ เขา้ สู่วยั รุ่นคือ อายรุ ะหวา่ ง 12-18 ปี ในข้นั น้ีเขาจะทบทวนประสบการณ์ต่างๆในชีวติ เพ่ือที่จะ พฒั นาความรู้สึกท่ีวา่ “ฉนั เป็ นใคร” (Who am I) และคนท่ีทบทวนประสบการณ์ท่ีผา่ นมาในชีวติ และไม่สามารถบอกไดว้ า่ ฉนั เป็นใครจะมีความรู้สึกสบั สนในบทบาท ข้นั ท่ี 6 ความผกู พนั -การแยกตวั (Intimacy V.S Isolation) ผา่ นจากวยั รุ่นเขา้ สู่วยั ผใู้ หญต่ อนตน้ อายรุ ะหวา่ ง 19-40 ปี ตามความคิดของอีริคสัน คนท่ีประสบความสาเร็จคือคน้ พบ เอกลกั ษณ์ของตนเองในข้นั ท่ีแลว้ ส่วนใหญจ่ ะมีความสามารถในการสร้างความสนิทสนม สร้าง ความสัมพนั ธ์อยา่ งมีความหมายกบั บุคคลท่ีเป็นคนสาคญั สาหรับเขาเช่น คนรัก ส่วนคนท่ีไม่ สามารถที่จะปรับตวั เองในการอยรู่ ่วมกบั บุคคลอื่นและสร้างความสัมพนั ธ์ที่ใกลช้ ิดจนกลายเป็นคน

133 ท่ีมีความสาคญั ต่อชีวติ เขาไดก้ จ็ ะเกิดความรู้สึกอา้ งวา้ งโดดเดี่ยว และเกิดความรู้สึกไม่เตม็ ใจในการ ท่ีจะสร้างความสัมพนั ธ์ท่ีใกลช้ ิดกบั บุคคลสืบต่อไป ข้นั ท่ี 7 การทาประโยชน์ใหส้ ังคม-การเห็นแก่ตวั (Generativity V.S Self- Absorption) วยั ผใู้ หญ่กลางคน อายรุ ะหวา่ ง 40-60 ปี คนที่ประสบความสาเร็จในข้นั น้ีจะเป็น ผใู้ หญท่ ่ีเตม็ ใจที่จะมีบุตรและดูแลบุตร จะอุทิศตนเองใหก้ บั การทางานและการทาประโยชน์ใหก้ บั บุคคลอ่ืนๆโดยเฉพาะเดก็ ๆ ส่วนคนท่ีไม่ประสบความสาเร็จในข้นั น้ีจะมีลกั ษณะยดึ ตวั เองเป็น ศูนยก์ ลาง (Self-centered) ทาอะไรจะคิดถึงแต่ตวั เองโดยไมค่ ิดถึงผอู้ ่ืนและไม่มีความกระตือรือลน้ ท่ีจะทาส่ิงต่างๆ ข้นั ท่ี 8 บรู ณาภาพ-ความสิ้นหวงั (Integrity V.S Despair) วยั ชรา อายุ 60 ปี ข้ึน ไป เป็นช่วงของการทบทวนส่ิงต่างๆที่ผา่ นเขา้ มาในชีวติ ถา้ ทบทวนแลว้ เห็นวา่ สิ่งต่างๆท่ีตวั เอง กระทามาในชีวติ เป็ นส่ิงที่มีคุณค่า มีความหมายและตนเองพร้อมท่ีจะเผชิญกบั ความตายและการ ยอมรับที่จะเผชิญกบั ความตายอยา่ งมีศกั ด์ิศรีกจ็ ะเป็นคนที่ประสบความสาเร็จในข้นั น้ีแต่ในทาง ตรงกนั ขา้ มคนที่สิ้นหวงั เพราะไม่ประสบความสาเร็จในจุดมุ่งหมายของชีวิตก็จะรู้สึกลม้ เหลวและ เสียดายเวลาที่ผา่ นมา จากภาพหลายเส้นแสดงข้นั ตอนพฒั นาการชีวิตมนุษย์ อีริคสันไดอ้ ธิบายเนน้ ความ สมั พนั ธ์และความตอ้ งการทางสังคมและถา้ หากเด็กไม่ไดร้ ับการตอบสนองใหพ้ อเหมาะ ปัญหาจะ เกิดข้ึนและจะต่อเนื่องไปเรื่อยๆ 3. Piaget’s Theory จีน เพยี เจท(์ Jean Piaget) เจา้ ของกิจการงานเกษตรกรรมแถบเทือกเขาแอลฟ์ (Alps) สวสิ เซอร์แลนด์ แต่หนั มาสนใจและทาความเขา้ ใจพฤติกรรมเด็ก การศึกษาคน้ ควา้ เก่ียวกบั พฤติกรรมเด็กไดด้ าเนินการตามวธิ ีสังเกตพฤติกรรมตรง กล่าวคือ ในแต่ละวนั ของแตล่ ะวยั น้นั เพียเจทไ์ ดศ้ ึกษาและบนั ทึกพฤติกรรมอยา่ งละเอียด จนสามารถกาหนดเป็นบรรทดั ฐานแบบ แผนพฤติกรรมของเด็กและไดส้ รุปเป็นแนวคิดทฤษฎีพฒั นาการทางสติปัญญาของชีวิตมนุษยท์ ่ี รู้จกั กนั แพร่หลายในช่ือ“Cognitive Development Theory” เพยี เจทแ์ บง่ ข้นั ตอนพฒั นาชีวติ เป็น 4 ข้นั ดงั น้ี

134 Formal Operations Concrete Operations Preoperational Sensory Motor แรกเกิด 2 ปี 7 ปี 11 ปี รูปที่ 10-8 ภาพแสดงข้นั พฒั นาการชีวติ มนุษยต์ ามแนวคิดของเพียเจท์ ที่มา : ไพบลู ย์ เทวรักษ.์ 2537 : 43 ข้นั ท่ี 1 Sensory-motor period ช่วงอายตุ ้งั แต่แรกเกิดจนถึงอายุ 2 ขวบ โดยประมาณ คาวา่ Sensory หมายถึง การสมั ผสั ต่างๆ เช่นการเห็น การไดย้ นิ การรู้รส และการรู้สึกท่ีผวิ หนงั ส่วนคาวา่ Motor เป็นกิริยาอาการเคล่ือนไหวต่างๆ เช่น การลูบคลา การคืบคลาน การเอ้ือม หยบิ ฉวยตลอดจนการเสาะแสวงหาท้งั หลาย รวมความวา่ วยั Sensory-motor น้ีเป็นระยะท่ีเดก็ มี การซุกซนเคล่ือนไหวอยไู่ มส่ ุข ซ่ึงเพียเจทอ์ ธิบายวา่ เป็นความพยายามเขา้ ใจส่ิงแวดลอ้ มของเดก็ โดยอาศยั ประสาทสัมผสั และอวยั วะมอเตอร์ ท้งั น้ีเป็นการเรียนรู้พ้ืนฐานในการสร้างสติปัญญา ของเด็กและเป็ นการเรียนรู้ความแตกตา่ งระหวา่ งตนเองกบั สิ่งแวดลอ้ ม ข้นั ที่ 2 Preoperational period อายใุ นช่วง 2-7 ขวบ ซ่ึงเป็นวยั ที่เดก็ เริ่มพฒั นาการใช้ สัญลกั ษณ์ต่างๆ ในการทาความเขา้ ใจและแสดงออกกบั ส่ิงแวดลอ้ ม มีการเรียกช่ือสิ่งของแมว้ า่ บางคร้ังเด็กจะสับสนเก่ียวกบั ส่ิงของตา่ งๆ อยบู่ า้ ง แต่เดก็ จะพยายามใชภ้ าษาในการส่ือสาร อน่ึงเด็กในวยั น้ีจะเร่ิมใชเ้ หตุผลบางประการซ่ึงแตกต่างจากผใู้ หญ่ เช่นเก่ียวกบั ปริมาณของน้า ในภาชนะท่ีมีขนาดตา่ งกนั เดก็ จะรับรู้วา่ ปริมาณมากนอ้ ยตามระดบั น้าท่ีมองเห็น โดยไม่ คานึงถึงส่ิงแวดลอ้ มอ่ืนๆ นอกจากน้ีเดก็ วยั น้ียดึ ถือตวั เองเป็นศนู ยก์ ลาง (Ego centric Behavior) และไมร่ ับรู้รับทราบความคิดผอู้ ื่น

135 ข้นั ที่ 3 Period of Concrete Operations ช่วงอายปุ ระมาณ 7-11 ขวบ การเรียนรู้เก่ียวกบั เรื่องคิดคานวณตวั เลขจะเริ่มจากการบวกลบจานวนต่างๆ เดก็ มีความคิดเขา้ ใจสิ่งแวดลอ้ มที่เป็น รูปธรรมได้ โดยสามารถสร้างความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสิ่งหรือเหตุการณ์ต่างๆ ท่ีเกี่ยวเน่ืองกนั เช่น ความเยน็ -น้า-เปี ยกเป็นตน้ ข้นั ที่ 4 Period of Formal Operations อยใู่ นช่วงอายุ 11-15 ปี ซ่ึงเป็นวยั ที่เดก็ ใชเ้ หตุผลเชิง ตรรกและคิดทบทวนไปมาไดอ้ ยา่ งวอ่ งไว เด็กจะมีความคิดสร้างสรรค์ โดยเร่ิมต้งั แต่นาขอ้ มูล มาสร้างสมมติฐาน และสร้างขอ้ สรุปกฎเกณฑต์ า่ งๆ จากการทดสอบขอ้ สันนิษฐานของตน กระบวนการคิดท่ีแตกฉานและการเรียนรู้ส่ิงแวดลอ้ มที่เป็ นนามธรรมจะปรากฎเด่นชดั ข้ึน ใน วยั น้ีจะมีการคาดคะเนปรากฎการณ์หรือเหตุการณ์ตา่ งๆ อยเู่ สมอ ท้งั น้ีเป็นพ้ืนฐานการคิดหา คาตอบเมื่อเกิดปัญหาข้ึนในชีวติ ของมนุษย์

136 ตารางสรุปลกั ษณะพฒั นาการในแตล่ ะข้นั ตามแนวคิดของเพยี เจท์ (ที่มา : สงคราม เชาวน์ศิลป์ . 2535 : 72-73) ข้นั พฒั นาการ ลกั ษณะพฒั นาการ 1. ข้นั ใชป้ ระสาทสมั ผสั และกลา้ มเน้ือ - รู้วา่ นนั่ เป็ นวตั ถุ ซ่ึงแตกตา่ งจากตวั ฉนั ( Sensorimotor period ) ต้งั แต่เกิดถึง 2 ปี - รู้จกั แสวงหาส่ิงเร้า รู้จดจาสิ่งน่าสนใจ 2 ข้นั เริ่มคิดเร่ิมเขา้ ใจ - ภาษาพดู ยงั พฒั นาไม่เตม็ ท่ี เขา้ ใจเรื่องราวเพราะ (Preoperational thought period) ไดใ้ ชป้ ระสาทสัมผสั รู้วา่ วตั ถุท่ีมีอยตู่ อ้ งทรง สภาพเดิมเสมอ แมว้ า่ จะมีการเปล่ียนแปลง สถานท่ีและทิศทาง ก. คิดเบ้ืองตน้ (Preopertional) อายุ 2 – 4 ปี - คิดเอาแต่ใจตวั - ไม่เขา้ ใจความคิดของผอู้ ่ืน ข. คิดออกเอง โดยไมต่ อ้ งใชเ้ หตุผล - เห็นความเหมือน แตไ่ มเ่ ห็นความแตกตา่ ง (Intuitive) อายุ 4-7 ปี ฉะน้นั ถา้ วตั ถุสองอยา่ งมีความคลา้ ยกนั ในบาง ลกั ษณะ วตั ถุท้งั สองอยา่ งน้นั ยอ่ มเหมือนกนั ใน ลกั ษณะอื่น ๆ ท้งั หมด - รู้จกั แยกประเภทและแบ่งช้นั เขา้ ใจเร่ืองความ เกี่ยวพนั เขา้ ใจเลขจานวน สามารถคิดออกโดย ไมต่ อ้ งใชเ้ หตุผล แตใ่ ชค้ วามคล่องแคล่วในเชิง เปรียบเทียบแทน เพราะรู้จกั แบง่ พวกแบง่ ช้นั แลว้ เริ่มพฒั นาการความคิดเรื่องการทรงสภาวะ ของวตั ถุ การทรงสภาวะของสาร ( อายุ 5 ปี ) การทรงสภาวะของน้าหนกั ( อายุ 6 ปี ) การทรงสภาวะของปริมาตร ( อายุ 7 ปี )

137 ข้นั พฒั นาการ ลกั ษณะพฒั นาการ 3. ข้นั ใชค้ วามคิดเชิงรูปธรรม รู้จกั คิดอยา่ งใชเ้ หตุผล สามารถคิดยอ้ นกลบั ได้ (Concrete operation) อายุ 7 – 11 ปี ( ในเชิงเลขคณิต) รู้จกั แบง่ แยก จดั หมวดลาดบั ข้นั รู้จกั จดั องคป์ ระกอบตามลดหลน่ั จากเลก็ ไปหาใหญ่ 4. ข้นั ใชค้ วามคิดเชิงนามธรรม รู้จกั คิดโดยไมต่ อ้ งใชว้ ตั ถุเป็ นสื่อ สามารถคิดเชิง (Formal operation) อายุ 11-15 ปี รูปธรรม สามารถคิดรวบยอดได้ รู้จกั คิดวเิ คราะห์ ตีความหมาย และทดสอบสมมุติฐานได้ 4. Kohlberg’s Theory ลอเรนส์ โคลเบิร์ก(Lawrence Kohlberg) ผสู้ นใจความประพฤติถูก- ผดิ -ดี-ชว่ั ของมนุษย์ ทฤษฎีของโคลเบิร์กไดช้ ื่อวา่ ทฤษฎีพฒั นาการทางจริยธรรม(Moral Development Theory) เม่ือปี ค.ศ. 1969 โคลเบิร์กไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ คา่ นิยมความดีความชวั่ ของมนุษย์ โดยเสนอข้นั พฒั นาจริยธรรมของมนุษยด์ งั ภาพขา้ งล่างน้ี Principled Conventional Premoral วยั ก่อนไปโรงเรียน วยั เรียนและวยั รุ่น วยั ผใู้ หญ่ รูปที่ 10-9 ภาพแสดงข้นั พฒั นาการจริยธรรมตามแนวคิดของโคลเบิร์ก ท่ีมา : ไพบลู ย์ เทวรักษ.์ 2537 : 44 ระดบั Premoral อยใู่ นช่วงวยั เดก็ ตอนตน้ ก่อนเขา้ เรียน ซ่ึงเป็นช่วงที่เดก็ มองโลกแบบชีวติ ตอ้ งสู้เขาจะเขา้ ใจวา่ ความถูกตอ้ งคือการทาอะไรกไ็ ดท้ ่ีไมถ่ ูกจบั ได้ ส่วนความไม่ถูกตอ้ งคือ

138 การท่ีเขาโดนจบั ได้ เพราะฉะน้นั เดก็ อาจจะคิดวา่ การขโมยของเพื่อนไมถ่ ือวา่ เป็ นความผดิ ถา้ ไม่โดนจบั ได้ ในช่วงน้ีของวยั ความถูก-ผดิ ข้ึนอยกู่ บั สิ่งที่ปรากฎชดั เจนไมเ่ ก่ียวกบั สาเหตุของ การกระทาที่อาจจะมีแรงจงู ใจอื่นๆอยเู่ บ้ืองหลงั การกระทาน้นั ๆ ระดบั Conventional อยใู่ นวยั เรียนจนถึงวยั รุ่น ช่วงน้ีเดก็ จะยดึ ถือกฎระเบียบต่างๆ ตามท่ี ไดร้ ับการส่งั สอนอบรมมากกวา่ ท่ีจะคิดเองทาเอง โดยเฉพาะคาส่ังของบุคคลท่ีเป็นหวั หนา้ หรือผมู้ ีอานาจจะบดบงั ความสามารถของตนเองในการคิดที่จะทาสิ่งที่ควรต่างๆ ระดบั Principled วยั ผใู้ หญ่ ซ่ึงสามารถท่ีจะสร้างคุณธรรมประจาตนเองไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง และยงั เป็ นประโยชน์ต่อมวลมนุษยด์ ว้ ย เช่น การสร้างวธิ ีต่อสู้แบบอหิงสาของมหาตมะคานธี เมื่อปี ค.ศ.1930-1940 ในประเทศอินเดียเป็นตน้ อน่ึงในการบรรลุถึงคุณธรรมข้นั น้ีมิใช่วา่ จะมี ข้ึนได้กบั ทุกคนและคนส่วนมากก็มกั จะอยู่ในระดับ Conventional หรือไม่ก็ข้นั Premoral เทา่ น้นั โคลเบอร์กไดศ้ ึกษาพฒั นาการทางจริยธรรมของบุคคลในหลายสังคมและวฒั นธรรม ท้งั ชาวตะวนั ตกและชาวตะวนั ออก แลว้ สรุปวา่ พฒั นาการทางจริยธรรมของมนุษยท์ ว่ั โลกแบ่ง ออกเป็ นข้นั ๆ ได้ 6 ข้นั เร่ิมจากข้นั ต่าสุดจนถึงข้นั สูงสุดดงั น้ีคือ (ดวงเดือน พนั ธุมนาวิน และ เพญ็ แข ประจนปัจจนึก. 2520 : ) 1. หลกั การหลบหนีไม่ใหถ้ ูกลงโทษ เป็นหลกั หรือเหตุผลของการกระทาซ่ึงเด็กท่ีมี อายุต่ากว่า 7 ขวบใชม้ าก เด็กยงั เป็ นบุคคลที่ตอ้ งพ่ึงพาและอยใู่ นอานาจของผใู้ หญ่มากจึงมีความ จาเป็นจะตอ้ งเช่ือฟังคาสั่ง เด็กเล็กๆ เขา้ ใจคาวา่ ความดี ไปในความหมายวา่ คือ สิ่งท่ีทาแลว้ ไม่ถูก ลงโทษ ตวั อยา่ งเหตุผลของการกระทาของเด็กเช่น ยอมสีฟันหลงั อาหารเพราะกลวั พ่อดุ ไม่หยิบ ขนมกินก่อนไดร้ ับอนุญาติเพราะกลวั แมต่ ี เป็นตน้ 2. หลกั การไดร้ ับรางวลั เดก็ เลก็ ๆ น้นั จะถูกผใู้ หญ่ดุวา่ และเฆ่ียนตีอยเู่ สมอ จนรู้สึก เป็นของธรรมดาเมื่ออายมุ ากข้ึน เดก็ อายรุ ะหวา่ ง 7-10 ขวบจะค่อยๆ เห็นความสาคญั ของการไดร้ ับ รางวลั หรือคาชมเชย ฉะน้ัน วิธีการจูงใจให้เด็กกระทาความดีจึงควรจะใช้วิธีให้สัญญาว่าจะให้ รางวลั มากกวา่ การขวู่ า่ จะลงโทษจึงจะเป็นผลดีในเด็กโต เด็กในข้นั น้ีจะมีแรงจูงใจท่ีจะกระทาส่ิงท่ี จะเป็ นผลดีแก่ตนเช่น เด็กหญิงจะช่วยบิดารดน้าตน้ ไมเ้ พ่ือจะไดร้ ับคาชมเชย เด็กชายจะไม่ย่าดิน เป็นรอยเทา้ เขา้ บา้ น เพอ่ื บิดามารดาจะไดห้ าขนมอร่อยๆ ไวใ้ หก้ ินเมื่อกลบั จากโรงเรียน 3. หลกั การทาตามความเห็นชอบของผอู้ ื่น เด็กที่ยา่ งเขา้ สู่วยั รุ่นจะใหค้ วามสาคญั แก่

139 กลุ่มเพือ่ นรุ่นราวคราวเดียวกบั ตนมาก เด็กพวกน้ีส่วนมากจะทาในส่ิงที่ตนคิดวา่ คนอ่ืนจะเห็นดว้ ย เพ่ือใหเ้ ป็ นท่ีชอบพอของเพื่อนฝูงและเป็ นที่ยอมรับของกลุ่มเพ่ือน หลกั การข้นั น้ีจะใชม้ ากในเด็ก อายุ 13 ปี และจะมีใช้น้อยลงกว่าเดิมในเด็กอายุ 16 ปี ตวั อย่างเช่น วยั รุ่นหญิงตอ้ งการจะนุ่ง กระโปรงส้ันตามสมยั เพื่อเพ่ือนๆ จะไดไ้ ม่คิดวา่ ตนเชย วยั รุ่นชายไม่ยอมตดั ผมส้ันเกรียนเพราะ กลวั เพอื่ นๆ จะลอ้ วา่ เป็นลุง 4. หลกั การทาหนา้ ท่ี เดก็ วยั รุ่นตอนกลางจะมีความเจริญทางปัญญาและไดร้ ับความรู้ และประสบการณ์มากพอที่จะรู้วา่ ในสังคมประกอบดว้ ยคนกลุ่มต่างๆ แต่ละกลุ่มจะมีกฎเกณฑ์ให้ สมาชิกยดึ ถือและบางกลุ่มจะมีเจา้ หนา้ ที่ทาการรักษากฎเหล่าน้นั เด็กวยั รุ่นในข้นั น้ีจะตระหนกั ถึง หน้าท่ีของตนในกลุ่มต่างๆ และมีศรัทธาต่อกฎเกณฑ์ของกลุ่มมากพอสมควร ฉะน้นั จึงจาเป็ นที่ ผปู้ กครองจะดูแลแนะนาให้เด็กวยั รุ่นของตนไดเ้ ขา้ กลุ่มท่ีดี เพ่ือเด็กจะไดท้ าตามกฎเกณฑ์ท่ีเป็ น ประโยชน์ต่อสังคม แต่ถา้ เด็กวยั น้ีไดเ้ ขา้ ไปอยใู่ นกลุ่มที่เลวทรามบ่อนทาลายสังคม เด็กจะปฎิบตั ิ ตวั ตามกฎเกณฑข์ องกลุ่มน้นั ซ่ึงอาจจะทาใหเ้ กิดผลเสียตอ่ สังคมได้ 5. หลกั การมีเหตุมีผลและการเคารพตนเอง เป็นข้นั ของการพฒั นาจริยธรรมท่ีพบมาก ในผใู้ หญ่ และอาจจะมีในวยั รุ่นตอนปลายบางคนดว้ ย ส่วนในวยั เด็กน้นั หาไดน้ ้อยมากหรือไม่มี เลย บุคคลท่ีใชห้ ลกั ข้นั ท่ี 5 น้ี จะมีการกระทาท่ีพยายามจะหลบหลีกมิให้ถูกตราหนา้ วา่ เป็ นคนขาด เหตุผล เป็ นคนไม่แน่นอน ใจโลเลและเป็ นคนท่ีไม่มีหลกั ยึด ไม่มีจุดมุ่งหมายท่ีแน่นอน คาว่า หนา้ ที่ของบุคคลในข้นั น้ีหมายถึง การทาตามที่ตนเองตกลงหรือให้สัญญาไวก้ บั ผอู้ ่ืน ไม่พยายามท่ี จะลิดรอนสิทธิของผอู้ ่ืน เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน มีความเคารพตนเองและ ตอ้ งการใหผ้ อู้ ื่นเคารพตนดว้ ย 6. หลกั การทาตามอุคมคติสากล ข้นั สูงสุดในการพฒั นาจริยธรรมน้ีจะพบในผใู้ หญท่ ่ีมี ความเจริญทางสติปัญญา มีประสบการณ์และความรู้อยา่ งกวา้ งขวางเก่ียวกบั สังคมและวฒั นธรรม ของตนเองและของกลุ่มอ่ืนๆในโลก บุคคลที่ใช้หลกั ข้นั สูงสุดน้ี จะเป็ นผทู้ ี่รับเอาความคิดเห็นท่ี เป็ นสากลของผูท้ ี่เจริญแลว้ และมีสายตาและความคิดที่กวา้ งไกลไปกวา่ กลุ่มและสังคมที่ตนเป็ น สมาชิกอยู่ บุคคลประเภทน้ีจะมีอุดมคติหรือคุณธรรมประจาใจ เช่นมีหิริโอตตปั ปะคือ มีความ ละอายใจในการท่ีตนจะทาความชว่ั มีความกรงกลวั ต่อบาปถึงแมจ้ ะรอดพน้ ไม่ถูกผใู้ ดลงโทษ

140 พฒั นาการในวยั ต่างๆ นกั จิตวทิ ยาพฒั นาการนิยมแบ่งชีวติ ตลอดชีวติ เป็นช่วงเวลาหลายช่วง เรียกวา่ วยั แต่ละ ช่วงวยั อาศยั อายตุ ามปฏิทินเป็นเกณฑใ์ นการแบ่ง พฒั นาการท่ีสาคญั ในวยั ตา่ งๆ มีดงั น้ี 1. วยั ก่อนเกดิ (Prenatal Period) เป็ นวยั นบั ต้งั แตป่ ฏิสนธิจนถึงคลอด ซ่ึงมีระยะ เวลาต้งั แต่ประมาณ 250 – 280 วนั หรือประมาณ 9 เดือน ชีวติ ใหม่ไดก้ าเนิดข้ึนมาเม่ือไข่ (Ovum)ของแม่ไดร้ ับการผสมกบั อสุจิ(Sperm Cell) ของพอ่ ซ่ึงชีวติ ใหมน่ ้ีมีโครโมโซม 23 คู่ ไดม้ า จากพอ่ และแม่คนละคร่ึง สาหรับลกั ษณะเพศน้นั ถูกกาหนดโดยการผสมโครโมโซม X หรือ Y จากพอ่ กบั โครโมโซม X ของแม่ ถา้ ลูกได้ XX จะเป็นเพศหญิง ส่วน XY จะเป็นเพศชาย สาหรับรูปร่างหนา้ ตาน้นั มียนี ส์(Genes) เป็นตวั กาหนด ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั ลกั ษณะเด่น ดอ้ ยของยนี ส์พอ่ และแม่ ถา้ ลกั ษณะยนี ส์แมเ่ ด่นกจ็ ะขม่ ลกั ษณะยนี ส์พอ่ ใหด้ อ้ ย ลูกที่เกิดมาจะ เหมือนแม่มากกวา่ พอ่ ในทานองเดียวกนั ถา้ ยนี ส์พอ่ เด่นลูกกจ็ ะเหมือนพอ่ ท่ีวา่ น้ีเป็ นไปตามกฎ ของเมนเดล(Mendel) ภายหลงั จากการปฏิสนธิบริเวณทอ่ นาไข่ (Fallopian tube) ประมาณ 24 ชว่ั โมงแลว้ ไข่ก็ จะแบง่ เซลล์ โดยที่แต่ละเซลลจ์ ะแบง่ ตวั มนั เองออกเป็ น 2 ส่วน ซ่ึงมีลกั ษณะเหมือนเดิมทุก ประการไปเร่ือยๆ กระบวนการน้ีจะเกิดข้ึนซ้ากนั จนกระทง่ั เกิดเซลลข์ ้ึนมากมาย ในขณะท่ีมีการ แบง่ เซลลก์ ลุ่มของเซลลก์ จ็ ะคอ่ ยๆเคลื่อนมาตามท่อนาไข่ไปยงั มดลูก ปกติการเดินทางของไข่ถึง มดลูกจะกินเวลาประมาณ 7 วนั กลุ่มของเซลลจ์ ะมีเส้นผา่ ศนู ยก์ ลางเพียง 2/100 นิ้วเท่าน้นั เซลลน์ ้ี จะยดึ ติดกบั ผนงั มดลูก ไข่ที่ไดร้ ับการผสมอาจแบง่ ไดเ้ ป็ น 3 ระยะดงั น้ี (Bernstein. 1988 : 38-39) ระยะท่ี1 คือ Germinal stage คือระยะต้งั แตแ่ รกเกิด ถึง 2 สัปดาห์แรกท่ีไข่ไดร้ ับการผสม และเซลลต์ า่ งๆ ท่ีเกิดข้ึนจะมีลกั ษณะเหมือนตวั มนั เอง ระยะท่ี 2 คือ Embryonic stage คือระยะต้งั แตส่ ปั ดาห์ที่ 2 ถึง สัปดาห์ที่ 6 สปั ดาห์รวม 4 สปั ดาห์จากระยะท่ีหน่ึง เริ่มตน้ ของระยะน้ีเซลลจ์ ะแบง่ ออกเป็น 3 ช้นั ดว้ ยกนั คือ เน้ือเยอ่ื ช้นั ใน (endoderm) ซ่ึงต่อมาจะพฒั นาเป็นระบบท่ออาหารเน้ือเยอื่ ช้นั กลาง (mesoderm) เป็นแหล่งที่จะพฒั นาเป็นกลา้ มเน้ือ หลอดเลือด เย่อื บุต่างๆในร่างกาย อวยั วะสืบพนั ธุ์ อวยั วะ ขบั ถ่าย กระดูก เน้ือเยอื่ ช้นั นอก (ectoderm) จะพฒั นาเป็ นผวิ หนงั อวยั วะรับความรู้สึก ระบบ ประสาท สมอง เมื่อสิ้นสุดระยะท่ี 2 หรือ สองเดือนหลงั ปฏิสนธิเซลลแ์ ละอวยั วะจะมีลกั ษณะของ

141 มนุษยอ์ ยา่ งคร่าวๆ ระยะที่ 3 คือ Fetal stage เป็ นระยะที่จะมีผลตอ่ การเจริญเติบโตของตวั อ่อนต่อมาตลอด 7 เดือน เม่ือทารกคลอดออกมาแลว้ กจ็ ะเป็นเดก็ ทารก ลกั ษณะเด่นเฉพาะของวยั น้ีคือ ความเจริญเติบโตทางร่างกายและระบบประสาทท่ีมีการ เจริญเติบโตอยา่ งรวดเร็ว สุขภาพทางกายและจิตของมารดาส่งผลถึงความเจริญของลูกออ่ นใน ครรภ์ มารดาท่ีด่ืมแอลกอฮอร์มากๆ อาจจะส่งผลใหท้ ารกในครรภม์ ีลกั ษณะท่ีเรียกวา่ alcohol syndrome มารดาท่ีมีความวติ กกงั วลมากๆ (anxiety) จะส่งผลต่อบุคลิกภาพบางอยา่ งของเด็กเมื่อ เติบโตข้ึน 1 (Nairne. 2000 : 112) รูปท่ี 10-1 พฒั นาการของทารกในวยั ก่อนคลอด ที่มา : Bernstein. 1999 :332 2. วยั ทารก (Infancy Period) วยั ทารกเป็นวยั ท่ีสาคญั อยา่ งยง่ิ สาหรับการวางรากฐานของชีวติ วยั น้ีเริ่มต้งั แต่ คลอดออกจากครรภม์ ารดาจนถึงประมาณ 2 ปี แรกของชีวติ หลงั จากท่ีคลอดออกมาจากครรภ์ มารดาแลว้ ทารกจะตอ้ งปรับตวั ใหเ้ ขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มใหม่หลายประการ เช่น การเปล่ียนแปลง อุณหภูมิ การหายใจ การดูดกลืนอาหาร การยอ่ ยอาหาร การขบั ถ่าย (ซ่ึงก่อนหนา้ น้ีทารกตอ้ ง พ่ึงพิงมารดา) จึงนบั วา่ เป็ นการเปล่ียนแปลงท่ียงิ่ ใหญท่ ่ีทารกจะตอ้ งปรับตวั ใหเ้ ขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มใหมใ่ หไ้ ดเ้ พื่อจะไดด้ ารงชีวติ อยตู่ ่อไปใหไ้ ด้ นอกจากการปรับตวั กบั สภาพแวดลอ้ ม ใหม่แลว้ สิ่งท่ีสาคญั อีกประการหน่ึงในวยั ทารกคือ บุคคลรอบขา้ งของเดก็ บุคคลรอบขา้ งท่ีเป็น สภาพแวดลอ้ มท่ีสาคญั ของเด็กไดแ้ ก่มารดาหรือผเู้ ล้ียงดู ซ่ึงดูแลใหอ้ าหาร ใหค้ วามรักความอบอุ่น สัมผสั อุม้ ชูดว้ ยความรัก และทาความสะอาดร่างกายให้ ทารกจะไดเ้ รียนรู้การสร้างความสัมพนั ธ์

142 กบั บุคคลอ่ืนเป็นคร้ังแรกในวยั น้ี ซ่ึงทกั ษะการสร้างความสัมพนั ธ์กบั บุคคลอ่ืนน้ี จะเป็นทกั ษะท่ี สาคญั ในการสร้างความสัมพนั ธ์ที่ดีกบั บุคคลอื่นในสงั คมต่อไปในอนาคต พฒั นาการในวยั น้ีพอจะ แยกเป็น 5 ดา้ นไดค้ ือ พฒั นาการทางกาย พฒั นาการทางสติปัญญา พฒั นาการทางอารมณ์ พฒั นาการทางสังคม และพฒั นาการทางภาษา 2.1 พฒั นาการทางกาย (Physical Development) มีการเปลี่ยนแปลงทางดา้ นโครงสร้างของร่างกายและการรู้จกั ใชอ้ วยั วะต่างๆ อยา่ ง รวดเร็ว ศรีษะที่โตคอ่ ยๆ ดูเลก็ ลง ลาตวั และขาดูยาวใหญข่ ้ึน โครงกระดูกเจริญเติบโตรวดเร็ว แขนและขาจึงแขง็ แรงข้ึน ทาใหม้ ีการพฒั นาการอยา่ งมากมายทางการเคลื่อนไหว การใชก้ ลา้ มเน้ือ และประสาทสมั ผสั ทารกท่ีอยใู่ นช่วงน้ีจึงไม่ค่อยจะอยนู่ ิ่ง ชอบสารวจส่ิงแวดลอ้ ม(รูปแสดง พฒั นาการสดั ส่วนของร่างกาย หนา้ 65 ศรีเรือน) ผเู้ ล้ียงดูจึงควรระมดั ระวงั ไม่ใหเ้ ด็กเล่นสิ่งของ อนั จะนาอนั ตรายมาสู่ตวั เอง เช่น ปลกั๊ ไฟ เหรียญสตางค์ เป็นตน้ ผเู้ ล้ียงดูควรจดั สภาพแวดลอ้ ม ใหเ้ ดก็ ไดร้ ับความปลอดภยั มากที่สุดเทา่ ท่ีจะทาได้ รูปที่ 10-2 ภาพแสดงพฒั นาการของร่างกาย ที่มา : ศรีเรือน แกว้ กงั วาล. 2527 : 65

143 2.2 พฒั นาการทางสติปัญญา (Intellectual Development) พฒั นาการทางสติปัญญาไม่วา่ ในวยั ใด ข้ึนอยกู่ บั ปัจจยั ที่สาคญั 3 ประการคือ 1. พ้นื ฐานทางสติปัญญาท่ีไดร้ ับการถ่ายทอดจากบรรพบุรุษ 2. โอกาสท่ีเด็กจะไดเ้ รียนรู้ 3. สิ่งแวดลอ้ มท่ีอยรู่ อบตวั เดก็ นอกเหนือจากปัจจยั ที่กล่าวมาแลว้ ส่ิงที่มีอิทธิพลตอ่ การพฒั นา สติปัญญายงั ไดแ้ ก่ 1. โอกาสที่เดก็ จะไดเ้ ล่น เพราะการเล่นช่วงส่งเสริมความเขา้ ใจสิ่งแวดลอ้ ม ดงั คากล่าวท่ีวา่ การเล่นคือการเรียน (Playing is Learning) 2 (ศรีเรือน แกว้ กงั วาล. 2527 : 71 ) 2. ความสามารถที่จะเขา้ ใจภาษาและใชภ้ าษาท่ีทาใหผ้ อู้ ื่นเขา้ ใจ 3. พฒั นาการของกลา้ มเน้ือและ ประสาทสมั ผสั (Sensory motor) เพราะระยะน้ีเด็กเรียนรู้สิ่งตา่ งๆ โดยอาศยั กลา้ มเน้ือและ ประสาทสมั ผสั เป็นส่ือเป็นส่วนใหญ่ การที่เดก็ ไดม้ ีโอกาสแตะตอ้ ง เห็น ไดย้ นิ วตั ถุที่ใหก้ าร เรียนรู้ จะช่วยพฒั นาสติปัญญาอยา่ งมาก การส่งเสริมพฒั นาการทางดา้ นน้ีจาตอ้ งอาศยั การเรียนรู้ จึงควรจดั สภาพแวดลอ้ มให้ เกิดการเรียนรู้ใหม้ ากที่สุดเท่าที่จะมากได้ เพื่อตอบสนองการเรียนรู้ในดา้ นตา่ งๆ ซ่ึงส่ิงเหล่าน้ีจะ ช่วยส่งเสริมพฒั นาการทางสมอง ผเู้ ล้ียงดูควรจดั หาของเล่นใหเ้ ดก็ ใหเ้ หมาะสมกบั วยั และ ความสามารถของเดก็ ของเล่นนอกจากจะใหค้ วามเพลิดเพลินแลว้ เดก็ ยงั สามารถเรียนรู้หลายๆ อยา่ งจากของเล่นน้นั ๆ เช่น เรียนรู้เก่ียวกบั รูปฟอร์มตา่ งๆ เช่น รูปสามเหลี่ยม รูปส่ีเหล่ียม รูป วงกลม เป็นตน้ ซ่ึงความรู้เหล่าน้ีกค็ ือความรู้ข้นั พ้นื ฐานของวชิ าคณิตศาสตร์นน่ั เอง นอกจาก ความรู้เก่ียวกบั รูปฟอร์มตา่ งๆ แลว้ เดก็ ยงั ไดเ้ รียนรู้เกี่ยวกบั ขนาด เช่น ใหญ่-เลก็ จานวนและสี ของสิ่งเหล่าน้นั วา่ มีจานวนมากนอ้ ยเท่าใดและมีสีสันอะไรบา้ ง ฉะน้นั ในการหาซ้ือของเล่นใหเ้ ดก็ บิดามารดาจึงควรหาซ้ือของเล่นชนิดของเล่นเพ่ือการศึกษา (Educational Toys) เพื่อสนองความ ตอ้ งการอยากรู้อยากเห็นและยงั ช่วยส่งเสริมพฒั นาการทางสติปัญญา 2.3 พฒั นาการทางอารมณ์ (Emotion Development) อารมณ์ของเดก็ ในวยั น้ี เปลี่ยนแปลงง่ายรวดเร็วข้ึนอยกู่ บั ส่ิงเร้า อารมณ์โกรธมี มากกวา่ อารมณ์อ่ืนๆ เพราะเป็นระยะที่เดก็ พฒั นาความเป็ นตวั ของตวั เอง พยายามฝึกฝนตนเอง เพื่อใหส้ ามารถช่วยตนเองทางสมรรถภาพของร่างกาย แต่เดก็ ไมส่ ามารถทาไดต้ ามใจตนเอง ส่ิง เหล่าน้ีลว้ นแต่ยวั่ ยใุ หเ้ ดก็ โกรธไดง้ ่ายๆ ผลท่ีตามมากค็ ือ ความหงุดหงิด ฉุนเฉียว

144 โยเย เดก็ อาจแสดงอารมณ์โกรธออกมาหลายวธิ ีเช่น ร้องไห้ ทุบตี ไมส่ บาย เป็นตน้ อารมณ์กลวั เกิดมากเป็นอนั ดบั สองรองจากอารมณ์โกรธ อารมณ์กลวั เกิดจากสาเหตุ ต่างๆ เช่น ความไม่เขา้ ใจส่ิงแวดลอ้ ม การหลอกหรือขขู่ องผใู้ หญ่ หรืออาจจะเกิดจาก ประสบการณ์ที่เด็กไดร้ ับโดยตรงกไ็ ด้ เช่น ความมืด การถูกทิ้งใหอ้ ยคู่ นเดียวตามลาพงั เด็กแสดง อารมณ์กลวั ออกมาโดยวธิ ี ร้องไหจ้ า้ หนี ใหผ้ ใู้ หญ่อุม้ ไม่รับประทานอาหาร เป็นตน้ อารมณ์อยากรู้อยากเห็นเป็นอีกอารมณ์หน่ึงท่ีมีค่อยขา้ งมากเกิดจากความตอ้ งการรู้จกั ส่ิงแวดลอ้ ม อารมณ์ประเภทน้ีมีประโยชน์ตอ่ การพฒั นาสติปัญญา ถา้ บิดามารดาส่งเสริมใหถ้ ูกวธิ ี จะช่วยส่งเสริมการพฒั นาทางดา้ นสติปัญญาได้ การส่งเสริมพฒั นาการทางอารมณ์ ผเู้ ล้ียงดูไมค่ วรปล่อยใหเ้ ดก็ อยใู่ นอารมณ์โกรธนานๆ เพราะจะทาใหเ้ ด็กท่ีเติบโตข้ึนเป็นคนท่ีเจา้ อารมณ์ ฉุนเฉียวโกรธง่าย ควรสนองความตอ้ งการของ เด็กตามความเหมาะสม และไม่ควรหลอกเด็กใหก้ ลวั โดยไม่มีเหตุผล หรือข่กู รรโชกเด็กใหก้ ลวั เพราะจะทาใหเ้ ดก็ เติบโตข้ึนมาเป็นคนที่กลวั ง่าย ตกใจง่าย หวาดระแวงเป็นผลกระทบตอ่ บุคลิกภาพของเด็กในอนาคต เม่ือเด็กสงสยั ซกั ถามผใู้ หญห่ รือบิดามารดาเพราะความอยากรู้อยาก เห็น ไมค่ วรดุวา่ เด็กจะทาใหเ้ ด็กไม่กลา้ ซกั ถามอะไรอีกต่อไป ซ่ึงไมช่ ่วยใหเ้ ดก็ ไดศ้ ึกษาสิ่งแปลกๆ ใหม่ๆ ท้งั ยงั ไม่ไดต้ อบสนองความตอ้ งการในดา้ นความอยากรู้อยากเห็นของเด็กดว้ ย นอกจากน้นั ยงั ควรส่งเสริมอารมณ์ร่ืนเริงยนิ ดีใหก้ บั เดก็ เพราะอารมณ์น้ีจะช่วยส่งเสริมใหเ้ ดก็ เติบโตข้ึนเป็น ผใู้ หญท่ ่ีมีสุขภาพจิตท่ีดี การส่งเสริมทาไดโ้ ดยการสมั ผสั อุม้ ชู หยอกลอ้ เล่นกบั เด็ก หรือส่งเสริม ใหเ้ ดก็ ไดท้ ากิจกรรมท่ีเด็กชอบ 2.4 พฒั นาการทางสังคม (Social Development) พฒั นาการทางสังคม หมายถึง พฤติกรรมท่ีเดก็ สร้างความสมั พนั ธ์กบั บุคคลตา่ งๆ ต้งั แต่ บิดามารดาหรือผเู้ ล้ียงดู ขยายออกไปยงั สมาชิกคนอ่ืนๆ ในครอบครัว บุคคลอ่ืนๆ ในชุมชน ใน โรงเรียนและในสังคมที่ตนเองเป็นสมาชิก แบบพฤติกรรมสังคมมีหลายอยา่ ง เช่น กา้ วร้าว นุ่มนวล เยอื กเยน็ รุ่มร้อน เก็บตวั ชอบสงั คม คบคนง่าย คบคนยาก ชอบโทษผอู้ ื่น ชอบโทษ ตนเอง ชอบวางอานาจใส่ผอู้ ่ืน ชอบเป็ นผนู้ า ชอบเป็นผตู้ าม เปลี่ยนแปลงง่าย เปลี่ยนแปลงยาก ไมย่ อมใครง่ายๆ ยอมใหผ้ อู้ ื่นง่ายๆ ชอบเอาเปรียบ ชอบนินทา ชอบตอ่ สู้ ฯลฯ พฤติกรรมทางสังคมของแต่ละบุคคลจะแสดงออกมาอยา่ งไร ข้ึนอยกู่ บั อิทธิพลตา่ งๆ

145 หลายประการ ท่ีบุคคลเรียนรู้และไดร้ ับในวยั ทารก เช่น 1. ความรู้สึกที่เกิดข้ึนขณะท่ีเด็กไดร้ ับ อาหาร การไดร้ ับอาหารเป็ นเร่ืองที่สาคญั มากสาหรับเดก็ ในวยั น้ี ฟรอยดเ์ ชื่อวา่ ความสุขของคน ในระยะน้ีอยทู่ ่ีการไดก้ ินอาหาร ดงั น้นั ถา้ เด็กไม่มีความสุขอยา่ งเพียงพอเก่ียวกบั การกินอาหาร จะ กระทบกระเทือนไปถึงการพฒั นาการทางสังคมและพฒั นาการทางอารมณ์ดว้ ย 2. ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบุคคลต่างๆ ภายในบา้ น ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบุคคลในบา้ นท้งั ในแง่ดี และไม่ดีจะเป็นรอยประทบั ไวใ้ นจิตใจของเด็ก โดยที่เด็กไมร่ ู้สึกตวั และไม่สามารถใชส้ ติปัญญา เลือกเฟ้ น เด็กจะเรียนและเลียนแบบความสัมพนั ธ์เหล่าน้ีไปปฏิบตั ิในชีวติ อนาคต 3. การฝึกหดั ให้ เด็กรู้สึกเคารพระเบียบกฎเกณฑต์ ่างๆ เป็นรากฐานที่สาคญั ของพฤติกรรมทางสงั คมในการอยู่ ร่วมกบั บุคคลอื่น 4. การฝึกใหเ้ ดก็ ไดเ้ รียนรู้ รับรู้ และเขา้ ใจเร่ืองมารยาทสังคม ค่านิยม (Value) และจรรยา (Moral) เป็นเรื่องสาคญั ที่ทาใหบ้ ุคคลมีชีวติ ทางสงั คมอยา่ งมีความสุข การส่งเสริมพฒั นาการทางสงั คม ความสมั พนั ธ์ภายในครอบครัวเป็นปัจจยั ท่ีสาคญั ที่สุดใน การส่งเสริมพฒั นาการทางสงั คม เดก็ ที่ไดร้ ับความรักความอบอุน่ จากบิดามารดาอยา่ งเพยี งพอจะ เรียนรู้ในการที่จะรักบุคคลอื่นดว้ ย บิดามารดาควรจดั สภาพแวดลอ้ มใหเ้ ด็กไดม้ ีประสบการณ์ทาง สังคมมากข้ึน ไดม้ ีโอกาสสมาคมกบั ผอู้ ื่น ไดม้ ีโอกาสร่วมแสดงความเห็นกบั ผอู้ ื่น จะทาใหเ้ กิดผล ดีต่อการพฒั นาการทางสังคม นอกจากน้ีบิดามารดาควรทาตวั เป็นแบบอยา่ งท่ีดีแก่เดก็ ในการแสดง มารยาททางสังคม เช่น การทกั ทาย การตอ้ นรับแขก รวมท้งั มารยาทท่ีพึงปรารถนาในสังคมทุก ประเภท 2.5 พฒั นาการทางภาษา (Speech Development) ทารกแรกเกิดใชก้ ารร้องไห้ การทาเสียงท่ียงั ไม่เป็นภาษาเป็นเครื่องส่ือความ หมาย การพดู ภาษาของเดก็ ข้ึนอยกู่ บั ความพร้อมและวฒุ ิภาวะของอวยั วะตา่ งๆ ท่ีใชใ้ นการพดู การ ฝึกในการพดู ภาษาของเดก็ อาศยั การเรียนรู้และการเลียนแบบ เดก็ จึงเร่ิมเขา้ ใจภาษาของบุคคลท่ีพดู ใหต้ นฟังรู้เรื่องก่อน เมื่อเขา้ ใจแลว้ หดั เรียนและเลียนพดู ตามจนกระทง่ั พดู ได้ กวา่ จะพดู เป็นภาษา ไดอ้ ยา่ งผใู้ หญ่น้นั กินเวลาถึงประมาณ 6 ขวบ การส่งเสริมพฒั นาการทางภาษา บิดามารดาหรือผปู้ กครอบควรจะสอนใหเ้ ดก็ เริ่มตน้ พดู ดว้ ยคาง่ายๆ ก่อน โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ บิดามารดาหรือผเู้ ล้ียงดูจะตอ้ งพดู ใหช้ ดั เจนเพื่อเป็นตวั แบบที่ถูกตอ้ งใหก้ บั เด็ก นอกจากการสอนให้รู้จกั คาตา่ งๆ แลว้ บิดามารดาควรจะพดู กบั เด็กบ่อยๆ

146 ควรตอบคาถามท่ีเดก็ ถามง่ายๆ ส้ันๆ ใชค้ าศพั ทใ์ หเ้ หมาะสมกบั วยั เด็ก นอกจากน้ีแลว้ การส่งเสริม พฒั นาการทางภาษายงั ส่งเสริมไดห้ ลายๆ ทางดว้ ยกนั เช่น เล่านิทานสนุกๆ ใหเ้ ดก็ ฟัง เห่กล่อม ก่อนเขา้ นอน อ่านหนงั สือเด็กใหฟ้ ัง สอนใหร้ ้องเพลงเด็กและทาทา่ ประกอบง่ายๆ เป็นตน้ (อายเุ ป็นเดือน) รูปที่ 10-3 ภาพแสดงพฒั นาการในการเคลื่อนไหวทางกาย ท่ีมา : Bernstein. 1999 : 330 3. วยั เดก็ ตอนต้นหรือวยั เดก็ ก่อนเข้าโรงเรียน (Early Childhood or Pre School Age) วยั เดก็ ตอนตน้ หรือระยะวยั เด็กก่อนเขา้ โรงเรียน เร่ิมตน้ ต้งั แต่อายปุ ระมาณ 2 ขวบ จนถึง 6 ขวบ ลกั ษณะเด่นของเดก็ วยั น้ีคือ อยากเป็ นอิสระ อยากเป็นตวั ของตวั เอง ด้ือดึงตอ่ พอ่ แม่ เดก็ วยั

147 น้ีเป็นวยั ที่กาลงั น่ารักและน่าชงั ไม่สู่จะตามใจใครง่ายๆ วยั น้ีจึงไดร้ ับสมญาวา่ วยั ช่างปฏิเสธ (Negativistic Period) ท่ีเป็นเช่นน้ีเพราะ เพิ่งพน้ จากวยั ทารกประกอบมีความสามารถทางกายเพม่ิ มากข้ึนจึงตอ้ งการแสดงความสามารถ และมีการติดต่อกบั บุคคลต่างๆ มากข้ึน การติดต่อสังสรรค์ กบั ผอู้ ่ืนเป็ นการเพมิ่ และเร้าใหม้ ีความตอ้ งการเป็ นตวั ของตวั เองมากข้ึนพฒั นาการที่สาคญั ในเด็กวยั น้ีมีดงั น้ี 3.1 พฒั นาการทางกาย (Physical Development) พฒั นาการทางกายในวยั เดก็ ตอนตน้ ยงั เป็นไปแบบเจริญเติบโตเพ่ือใหท้ างานเตม็ ท่ี แต่อตั ราแปรเปลี่ยนคอ่ นขา้ งชา้ เม่ือเทียบกบั ระยะวยั ทารก น้าหนกั และส่วนสูงยงั คงเพิ่มข้ึนแตไ่ ม่ เพมิ่ มากนกั สดั ส่วนของร่างกายจะคอ่ ยๆ เปล่ียนไป แขนขายาวข้ึน ลาตวั ยาวและกวา้ งข้ึนเป็นสอง เทา่ ของทารกเกิดใหม่ กระดูกเพิม่ ความแขง็ แรงกวา่ เดิม กลา้ มเน้ือและประสาทสัมผสั ทาหนา้ ที่ได้ ดีข้ึน ฉะน้นั จึงเป็นระยะท่ีเหมาะที่สุดที่จะฝึกไดเ้ ล่นกีฬาประเภทเคล่ือนไหวต่างๆ ท่ีเหมาะกบั กาลงั ของเดก็ ซ่ึงจะช่วยการเรียนรู้และพฒั นาพฤติกรรมดา้ นอารมณ์ สังคม และสติปัญญา ความเจริญเติมโตทางร่างกายเป็นส่ิงจาเป็น เพราะเป็ นการเตรียมตวั ใหเ้ ดก็ ช่วยเหลือ ตวั เองได้ บิดามารดาจึงควรสนบั สนุนใหเ้ ดก็ ช่วยเหลือตวั เองทางดา้ นร่างกายต่างๆ เช่น ฝึกใหเ้ ดก็ รับประทานอาหารเอง ใส่เส้ือผา้ เอง ถอดเส้ือผา้ เอง ฯลฯ ถา้ ไม่ฝึกใหช้ ่วยเหลือตวั เองเด็กจะ ปรับตวั ให้เขา้ กบั โลกภายนอกและบุคคลอื่นๆ นอกครอบครัวไดค้ ่อนขา้ งลาบาก การสร้างอุปนิสยั ในการรับประทานอาหาร ควรทาอยา่ งจริงจงั และเป็นขอ้ ที่ผปู้ กครอง ตอ้ งถือปฏิบตั ิในการอบรมเด็กของตนเอง เพ่อื ใหเ้ ดก็ รู้จกั เลือกรับประทานอาหารไดอ้ ยา่ งถูก สุขลกั ษณะ ถกู เวลา และมีมารยาทในการรับประทานอาหาร ถา้ ปล่อยปละละเลยจะทาใหห้ ดั ได้ ยากเมื่อพน้ วยั น้ี ส่วนการสร้างสุขนิสัยในการขบั ถ่าย ควรฝึกเดก็ อยา่ งจริงจงั เนื่องจากสภาพทางร่าง กายของเด็กพร้อมแลว้ เดก็ สามารถควบคุมการขบั ถ่ายอุจาระไดก้ ่อนปัสสาวะ และควบคุมการถ่าย ปัสสาวะตอนกลางวนั ไดด้ ีกวา่ ตอนกลางคืน การสร้างสุขนิสยั ทางกายเป็นเร่ืองที่สาคญั มาก เพราะมีผลต่อพฤติกรรมทางดา้ นสงั คม ดว้ ย ไดแ้ ก่ การคบเพ่ือน การเขา้ โรงเรียน การผกู มิตร การมีวนิ ยั ฯลฯ ในปัจจุบนั น้ีเด็กๆ มกั เร่ิม ออกจากบา้ นต้งั แตใ่ นวยั น้ี ดงั น้นั การสร้างสุขนิสัยทางกายตา่ งๆ นอกจากจะเร่ิมจากทางบา้ นแลว้

148 จะตอ้ งไดร้ ับความร่วมมือจากทางโรงเรียนดว้ ยเพราะเด็กวยั น้ีใชเ้ วลาวนั ละประมาณ 5 – 6 ชวั่ โมง นอกจากน้ีสุขนิสัยทางกายยงั มีผลตอ่ พฒั นาการทางดา้ นอื่นๆ อีก เช่น พฒั นาการทางอารมณ์และ ความคิด การเล่นสาหรับเด็กในวยั น้ีในทุกรูปแบบ เป็ นเรื่องจาเป็ นสาหรับการพฒั นาการทางกาย ทางสังคม และทางอารมณ์ของเด็ก ความสาคญั ของการเล่นจะมีผลไปถึงวยั เด็กตอนปลาย เพราะ การเล่นของเดก็ คือ การเรียนรู้ (Playing is Learning) แตก่ ารเล่นจะใหค้ ุณหรือให้โทษน้นั อยทู่ ่ี ลกั ษณะของการเล่นและของเล่น ท่ีเหมาะกบั วยั สุขภาพ และเพศของเด็ก 3.2 พฒั นาการทางอารมณ์ เดก็ ในวยั น้ี จะมีอารมณ์หงุดหงิดง่ายกวา่ เดก็ ในวยั ทารก ด้ือร้ันเอาแตใ่ จตวั เอง เจา้ อารมณ์ ท้งั น้ีเพราะอยใู่ นวยั ช่างปฏิเสธ (Negativistic Phase) อารมณ์โกรธเป็ นอารมณ์ธรรมดาที่สุดของเด็ก ในวยั น้ี เพราะในระยะน้ีเดก็ โกรธง่าย เน่ืองจากอยากเป็ นตวั ของตวั เอง การแสดงอารมณ์โกรธอาจ แสดงออกมาไดห้ ลายวธิ ี เช่น กระทืบเทา้ ร้องไหก้ รี๊ดๆ นอนดิ้นกบั ฟ้ื น ฯลฯ ส่วนอารมณ์อวด ด้ือถือดี (Negativistic) เป็นอารมณ์ท่ีเกิดข้ึนมากพอๆ กบั อารมณ์โกรธ ความด้ือร้ันสืบเนื่องมาจาก ความตอ้ งการทาอะไรๆ ดว้ ยตวั ของตวั เอง นอกจากน้ี ยงั มีอารมณ์อยากรู้อยากเห็นแสดงใหเ้ ห็น จากการที่เด็กชอบต้งั คาถาม โน่นอะไร ทาไมจึงเป็นเช่นน้นั ทาไมไม่เป็นอยา่ งน้นั อารมณ์ กา้ วร้าวแสดงออกใหเ้ ห็นท้งั ทางกายเช่น รังแกเพ่ือน และทางวาจาโดยเฉพาะในช่วงอายุ 4 – 5 ขวบ จะแสดงความกา้ วร้าวออกมาโดยใชค้ าพดู มากกวา่ ใชก้ าลงั ต่อสู้กนั อารมณ์อิจฉาริษยา เกิดข้ึนเน่ืองจากตนรู้สึกวา่ กาลงั จะสูญเสียส่ิงที่ตนรักและเป็นสมบตั ิพิเศษของตนไปใหแ้ ก่บุคคล อ่ืน อารมณ์หวาดกลวั แสดงออกในลกั ษณะของการหลบซ่อน หลีกเล่ียง สถานการณ์ที่ทาให้ ตกใจกลวั หรือวง่ิ หนีเขา้ หาผใู้ หญ่ อารมณ์หรรษาจะเกิดเมื่อเด็กประสบความสาเร็จในการเป็นตวั ของตวั เองไดส้ มใจ 3.3 พฒั นาการทางภาษา ในระยะน้ีเด็กใชภ้ าษาพดู ไดแ้ ลว้ แตย่ งั ไมถ่ ูกตอ้ งสมบูรณ์ดีเท่าผใู้ หญ่ เดก็ จะพฒั นา ความสามารถในการใชภ้ าษาจนใชง้ านไดด้ ีในช่วงระยะวยั เดก็ ตอนตน้ เม่ือสิ้นสุดระยะน้ีไมว่ า่ เดก็ ชาติไหนสามารถพดู ภาษาแม่ของตนไดด้ ีเทา่ ผใู้ หญ่ วยั 6 ขวบเป็นระยะสุดทา้ ยของพฒั นาการภาษา

149 พดู (Speech) นอกจากภาษาพดู แลว้ เดก็ บางคนเริ่มพฒั นาภาษาเขียนและเริ่มอ่านหนงั สือ เพราะ กลา้ มเน้ือของเดก็ และสายตาเร่ิมพฒั นาพอใชง้ านไดแ้ ลว้ 3.4 พฒั นาการทางสังคม พฒั นาการทางสงั คมไดเ้ ร่ิมแลว้ ต้งั แตว่ ยั ทารก แต่ในระยะวยั เด็กตอนตน้ มีลกั ษณะ ผดิ แผกจากวยั ทารก เช่น 3.4.1 เดก็ เร่ิมรู้จกั เขา้ หาผอู้ ื่น ไม่คอยแต่เป็ นฝ่ ายรับการเขา้ หาจากผอู้ ่ืน เหมือนตอนท่ีเป็ นวยั ทารก 3.4.2 เด็กเร่ิมเบื่อหน่ายท่ีจะคบผใู้ หญ่เป็นเพ่ือน เริ่มแสวงหาเพ่ือนร่วมวยั เดียวกนั 3.4.3 เด็กคบกบั เพอื่ นร่วมวยั ยงั ไม่ราบร่ืนนกั เพราะยงั ตอ้ งการใหผ้ อู้ ่ืนสนใจ ตนมากกวา่ ตนสนใจผอู้ ื่น (Self – center) 3.4.4 เพอื่ นของเดก็ ยงั มีจานวนจากดั นอกจากเพื่อนที่เป็นบุคคลจริงๆ แลว้ เด็กยงั มีเพอ่ื นอีกประเภทหน่ึงคือ เพอื่ นสมมุติ (Imaginative Friend) เพื่อช่วยลดความตึงเครียดใน ดา้ นประสบการณ์สมาคม ระยะที่เดก็ สร้างเพือ่ นสมมุติมากท่ีสุดอยรู่ ะหวา่ ง 2 ขวบคร่ึง ถึง 4 ขวบ คร่ึง 3.4.5 พร้อมๆ กบั มีเพือ่ นสมมุติ เด็กจะสร้างโลกสมมุติหรือเรื่องสมมุติข้ึน (Imaginative Word or Imaginative Play) การสร้างโลกสมมุติเป็นการเล่นชนิดหน่ึงของเด็กในวยั น้ี การเล่นสมมุติเป็ นการเล่นเลียนแบบชีวติ จริง เช่น เล่นขายของ เล่นเป็นแม่ เล่นเลียนบทละครท่ีดู จากโทรทศั น์ เด็กมกั จะมีของเล่น และอุปกรณ์การเล่นประเภทต่างๆ ประกอบการเล่นสมมุติ เช่น ดินน้ามนั ลูกปัด ตุก๊ ตา กรรไกร ดินสอสี ฯลฯ การเล่นสมมุติบางอยา่ งอาจเลียนชีวติ จริงบางส่วน เท่าน้นั เช่น เรื่องเกี่ยวกบั เทวดา นางฟ้ า ยกั ษ์ หุ่นยนตต์ ่างๆ บุคคลเหล่าน้ีเป็นเพ่ือนสมมุติของ เดก็ ซ่ึงเด็กบางคนรู้สึกใกลช้ ิดสนิทสนมมากกวา่ เพือ่ นในชีวติ จริงๆ ของเขาเสียอีก 3.4.6 พฤติกรรมทางสังคมอีกอยา่ งหน่ึง ซ่ึงเกิดข้ึนในระยะวยั เด็กตอนตน้ ซ่ึงน่ารู้น่าสนใจและไม่ควรมองขา้ ม ไดแ้ ก่ การที่เด็กหญิงและเดก็ ชาย เร่ิมมองเห็นความแตกต่าง ระหวา่ งเพศ (Sex Difference) เร่ิมตระหนกั วา่ ตนเป็นเพศหญิงหรือชาย และควรจะประพฤติตน อยา่ งไรจึงจะสมเป็ นผหู้ ญิงสมเป็นผชู้ าย (Sexual Typing) การเรียนรู้เหล่าน้ี นอกจากเด็กจะเรียน

150 ดว้ ยอาศยั การสงั เกตและการเลียนแบบแลว้ ยงั ถูกอบรมแนะนาจากผใู้ หญ่ดว้ ย การเรียนรู้เหล่าน้ี เป็นรากฐานของการประพฤติตนอยา่ งชายหนุ่มหญิงสาว หรือบทบาทอยา่ งอื่นสาหรับเฉพาะชาย หรือหญิงในภายภาคหนา้ เช่น บิดา สามี มารดา ภรรยา ฯลฯ สาเหตุท่ีทาใหผ้ ใู้ หญ่บางคน ประพฤติตนผิดไปจากลกั ษณะบทบาททางเพศของตนที่สังคมไม่ยอมรับ เช่น กะเทย รักร่วมเพศ น้นั มีสาเหตุหน่ึงกค็ ือ ประสบการณ์และการเรียนรู้ของเขาในวยั น้ีผดิ ไปจากบทบาทที่ควรจะเป็ น ตามเพศที่เหมาะสมของตน ฟรอยด์ (Freud) อธิบายเก่ียวกบั เร่ืองน้ีวา่ ระยะวยั เด็กตอนตน้ เป็นระยะพฒั นาการซ่ึงเขา ใชช้ ื่อวา่ Oedipal Stage เด็กหญิงและเดก็ ชายจะตระหนกั ถึงความเป็นเพศชายหรือเพศหญิงของตน และเรียนรู้ที่จะทาตามเพศของตน โดยเลียนแบบจากผใู้ หญท่ ี่เป็นเพศเดียวกบั ตน (Model or Idedtification Figures) การเลียนแบบบทบาททางเพศเกิดข้ึนเม่ือ 1. มีบุคคลท่ีเป็นเพศเดียวกบั ตน 2. บุคคลน้นั เป็นผทู้ ี่เด็กมีความสัมพนั ธ์ที่ดี 3. บุคคลน้นั ประพฤติตนตามบทบาททางเพศ สองขอ้ ขา้ งตน้ มีความสาคญั ท่ีจะบนั ดาลใหม้ ีการเลียนแบบบทบาททางเพศเกิดข้ึน ส่วนขอ้ สุดทา้ ยน้นั เป็นตวั กาหนดวา่ ลกั ษณะการเลียนแบบน้นั จะเป็นไปในรูปใด เช่น สมตามเพศหรือไม่ สมตามเพศแตพ่ อประมาณ หรือไม่สู้จะสมตามลกั ษณะบทบาททางเพศ พร้อมๆ กบั การเลียนแบบ บทบาททางเพศ เดก็ จะเริ่มสร้างความสมั พนั ธ์กบั บุคคลเพศตรงขา้ มกบั ตนซ่ึงในระยะน้ีคือ ผใู้ หญ่ ท่ีใกลช้ ิดกบั เดก็ เน่ืองจากในหลายๆ ครอบครับ บิดามารดามกั ใกลช้ ิดกบั เด็กมากท่ีสุด ฟรอยดจ์ ึง อธิบายวา่ ระยะน้ีเด็กหญิงรักพอ่ เลียนบทบาททางเพศจากแม่ เดก็ ชายรักแม่เลียนบทบาททางเพศ จากพอ่ ถา้ เด็กหญิงและเด็กชาย ไมไ่ ดร้ ับการสนองความตอ้ งการเลียนแบบบทบาททางเพศของตน จากผใู้ หญท่ ี่เป็ นพศเดียวกบั ตน และสร้างสมั พนั ธภาพกบั ผใู้ หญ่ต่างเพศกบั ตน เมื่อเด็กยงั อยใู่ น ระยะวยั เดก็ ตอนตน้ เดก็ จะเกิดปมของอารมณ์ความตอ้ งการน้ีติดตวั ไปในภายภาคหนา้ เป็นลกั ษณะ Fixation (ไม่เปลี่ยนไปตามกาล) ฟรอยดใ์ หช้ ื่อปมน้ีวา่ Oedipus Complex ปมน้ีเร้าใหม้ นุษยม์ ี พฤติกรรมทางเพศหลายอยา่ ง ซ่ึงอาจผดิ แผกไปจากท่ีสงั คมส่วนมากยอมรับ เช่น รักร่วมเพศ ไม่ สามารถสร้างสัมพนั ธภาพกบั เพอ่ื นได้ ฯลฯ จะเป็นแบบใดหรือรุนแรงอยา่ งไรน้นั ข้ึนอยกู่ บั ความ เขม้ ขน้ และลกั ษณะของปม Oedipus Complex ซ่ึงมีตน้ เหตุมาจากประสบการณ์ของชีวิตเกี่ยวกบั เร่ืองน้ีในระยะวยั เดก็ ตอนตน้

151 3.5 พฒั นาการทางศีลธรรมจรรยาและค่านิยม (Moral and Value Development) ความนึกคิดเกี่ยวกบั อะไรถูก ผดิ ชวั่ น้นั เด็กยงั คิดเห็นเป็นเหตุผลดว้ ยตนเองไมไ่ ด้ ยงั ตอ้ งอาศยั ผอู้ บรมเล้ียงดูใหค้ าแนะนา แตท่ ี่สาคญั ยงิ่ กวา่ คาแนะนาก็คือ การทาเป็นแบบอยา่ งเพือ่ ให้ เดก็ เลียนแบบ การปลูกฝังมโนธรรมให้แก่เดก็ อาจทาไดอ้ ีกคือ แสดงออกมาในรูปนิทานและการ เล่นสาหรับเดก็ เพราะเด็กวยั น้ีนิยมเร่ืองสมมุติและการเล่น ท้งั 2 วธิ ีจะสร้างแบบเพ่ือใหเ้ ด็กได้ เลียนแบบและเรียนรู้โดยไม่รู้สึกตวั และไมต่ อ้ งมีการบงั คบั ฝืนใจ 3.6 พฒั นาการทางความคิด (Cognitive Development) ในช่วงอายุ 2 – 6 ขวบ พฒั นาการทางความคิดของเดก็ แบ่งออกไดเ้ ป็ น 2 ระยะ คือ ระยะ ท่ี 1 อายรุ ะหวา่ ง 2 – 4 ขวบ ยงั ยดึ ตวั เองเป็นหลกั ไมร่ ู้จกั คิดแบบใจเขาใจเรา ไม่สามารถคิดไดว้ า่ คนอื่นมีความคิดแตกต่างไปจากตนอยา่ งไร คิดเห็นแต่ดา้ นท่ีเหมือนกนั ยงั ไมเ่ ห็นส่วนที่ตา่ งกนั ใน วตั ถุหรือเหตุการณ์ เช่น เด็กชนบท ไดย้ นิ ผใู้ หญบ่ อกวา่ นน่ั แน่ะ นายอาเภอ ต่อมาเด็กเห็นคนใส่ เส้ือกางเกงสีกากี ก็คิดวา่ เป็ นนายอาเภอทุกคน ระยะท่ี 2 อายรุ ะหวา่ ง 4 – 7 ขวบ เดก็ รู้จกั สังเกตเห็นความแตกต่าง ทาใหค้ วามคิดพฒั นาถึงข้นั รู้คิดเปรียบเทียบ คิดแยกวตั ถุออกเป็น หมวดหม่ขู ้นั ตอนได้ (Classification or Categorization) รู้จกั คิดเช่ือมโยงความสมั พนั ธ์ (Associative thinking) ระหวา่ งส่ิงต่างๆ ได้ 4. วยั เดก็ ตอนปลาย หรือ วัยเข้าโรงเรียน (Late Childhood or School Age) ระยะวยั เดก็ ตอนปลายประมาณอายตุ ้งั แต่ 6 ขวบ จนถึง 12 – 13 ขวบ วยั น้ีถือวา่ เป็ นวยั เปล่ียนชีวติ ทางสงั คม จากสงั คมในบา้ นไปสู่สังคมนอกบา้ น 4.1 พฒั นาการทางสังคม วยั เด็กตอนปลายมีลกั ษณะ มีลกั ษณะพฒั นาการทางสังคมท่ีเด่นชดั คือ เด็กเร่ิมออกจาก บา้ น ไปสู่หน่วยสงั คมอื่น จุดศนู ยก์ ลางสังคมของเด็กคือ โรงเรียน เด็กจะเรียนรู้บทบาทใหม่คือ การเป็นสมาชิกของกลุ่มเพ่ือนรุ่นราวคราวเดียวกนั เดก็ มีโลกใหมอ่ ีกโลกหน่ึงคือ โลกเพอ่ื นร่วมวยั (The World of Peer) สมั พนั ธภาพกบั เพื่อนในกลุ่มจะสอนชีวิตกลุ่ม การอยรู่ ่วมกบั ผอู้ ่ืน เด็กจะ

152 ไดร้ ับการเรียนรู้ระเบียบกฎเกณฑ์ ความประพฤติท่ีตอ้ งปฏิบตั ิในสังคม บทบาทต่างๆ ท่ีมนุษยต์ อ้ ง กระทาในการอยรู่ ่วมกบั เป็นหมคู่ ณะ เช่น ทาตวั อยา่ งไรจึงจะเขา้ กบั เพอ่ื นได้ เม่ือเด็กเริ่มออกจากบา้ นมาสู่โรงเรียน เดก็ รู้สึกวา้ เหว่ ขาดท่ีพ่ึงทางความคิดและ อารมณ์ ตอนแรกจะยงั คงสร้างสัมพนั ธภาพกบั ครูและผใู้ หญ่นอกบา้ นที่จะตอ้ งมีความสัมพนั ธ์กบั เขา แต่ต่อมาเดก็ เร่ิมตีตวั จากเพราะพบวา่ การรวมกลุ่มกบั เพื่อนร่วมวยั หลายๆ คน ใหค้ วามรู้สึก อบอุน่ ใจ สนุกสนาน มีความเขา้ อกเขา้ ใจ และความเป็นเจา้ ของซ่ึงกนั และกนั ไดย้ ง่ั ยนื กวา่ แน่นแฟ้ นกวา่ ถา้ เด็กสามารถแสวงหากลุ่มเช่นน้ีได้ เด็กจะเห็นความสาคญั ของสังคมในบา้ นและ ผใู้ หญน่ อกบา้ นนอ้ ยลง กลุ่มเริ่มมีอิทธิพลตอ่ เด็กในดา้ นอารมณ์ ความนึกคิด ทศั นคติ ความ มุ่งหวงั ความปรารถนา การประพฤติตนตามบทบาททางเพศ คา่ นิยม อะไรเหมาะ ดี ควร ไม่ ควร ฯลฯ ถา้ บรรดาส่ิงที่มีอิทธิพลต่อเด็ก มีลกั ษณะใกลเ้ คียงกนั กบั ลกั ษณะที่เด็กไดร้ ับการอบรม จากทางบา้ น ความขดั แยง้ ระหวา่ งเด็กกบั บิดามารดาจะมีไม่มากนกั ถา้ ไม่มีลกั ษณะใกลเ้ คียงกนั กบั ผปู้ กครอบเด็กจะรู้สึกวา่ มีความขดั แยง้ ระหวา่ งตนกบั ผู้ ปกครองสูง การรวมกลุ่มของเด็กก่อให้เกิดการสร้างลกั ษณะนิสัยแข่งขนั (Competition) และนิสยั ร่วมมือ (Cooperative) ซ่ึงจะติดตวั สืบไปภายภาคหนา้ เด็กชายมีนิสยั ชอบแข่งขนั มากกวา่ เด็กหญิง ส่วนเด็กหญิงใหค้ วามร่วมมือและออมชอมกนั มากกวา่ เด็กชาย นอกจากน้ีการร่วมกลุ่มยงั ทาใหเ้ ด็ก ไดร้ ับการตอบสนองความตอ้ งการทางสังคมข้นั พ้ืนฐาน (Basic Social Needs) เช่น การไดร้ ับการ ยอยอ่ ง การไดเ้ ป็นบุคคลสาคญั การไดร้ ับฐานะและตาแหน่ง ความรู้สึกเป็ นส่วนหน่ึงของหมคู่ ณะ กลุ่มมีความสาคญั ต่อพฒั นาการดา้ นต่างๆ ของเด็กในวยั น้ี ดงั ไดก้ ล่าวมา ดงั น้นั การ สนบั สนุนใหเ้ ดก็ ไดเ้ ขา้ กลุ่มท่ีเหมาะสมกบั สภาพของตวั จึงเป็นสิ่งที่พงึ กระทา มฉิ ะน้นั แลว้ เด็ก อาจไม่มีพฒั นาการสมวยั อาจสูญเสียประสบการณ์หลายๆ อยา่ งในชีวติ ที่เด็กพงึ ควรไดร้ ับไปอยา่ ง น่าเสียดาย ผปู้ กครองนอกจากจะตอ้ งสนบั สนุนเขาแลว้ ยงั ควรแนะนาช่วยเหลือใหโ้ อกาสสร้าง กลุ่มที่เป็นช่องทางใหเ้ ด็กไดเ้ รียนรู้สงั คมภายนอกครอบครัวดว้ ย

153 4.2 พฒั นาการทางอารมณ์ ในระยะน้ี เด็กรู้จกั กลวั ส่ิงท่ีสมเหตุสมผลมากกวา่ วยั ก่อน เพราะความสามารถในการใช้ เหตุผลของเดก็ พฒั นาข้ึน มีความรู้สึกสงสารและเห็นอกเห็นใจ เขา้ ใจอารมณ์ความรู้สึกของบุคคล อ่ืน รวมท้งั สัตวเ์ ล้ียงดว้ ย ส่ิงที่ตอ้ งพฒั นาในดา้ นอารมณ์ของเด็กในระยะน้ีคือ การเขา้ ใจอามรณ์ ของตนเอง อารมณ์ของบุคคลอ่ืน การรู้จกั ควบคุมอามรณ์ และการรู้จกั แสดงอารมณ์ออกมาอยา่ ง เหมาะสม พฒั นาการเหล่าน้ีจาเป็นสาหรับสุขภาพจิตที่ดีของเด็ก ผทู้ ี่มีหนา้ ท่ีดูแลเด็กจะตอ้ ง ช่วยเหลือเดก็ ดงั น้ี 1. เปิ ดโอกาสใหเ้ ด็กเขา้ กลุ่ม กลุ่มจะบีบบงั คบั ใหเ้ ด็กเรียนรู้และปรับปรุงการควบคุม อารมณ์และการแสดงออกของอารมณ์ในลกั ษณะที่สังคมยอมรับ 2. ใหไ้ ดเ้ ล่นออกกาลงั กาย 3. ใหม้ ีกิจกรรมสร้างสรรคต์ ่างๆ เช่น ป้ันรูป วาดรูป เขียนเร่ือง ฯลฯ 4.3 พฒั นาการทางกาย พฒั นาการของเดก็ วยั 6 ถึง 12 ขวบ เป็ นแบบค่อยเป็นค่อยไป ชา้ ๆ แต่สม่าเสมอ พฒั นาการ ทางการไม่มีลกั ษณะเด่นพเิ ศษเหมือนระยะวยั ทารกตอนปลาย แตใ่ นระหวา่ งน้ีเป็นระยะที่เด็กหญิง โตเร็วกวา่ เดก็ ชายวยั เดียวกนั ในดา้ นความสูงและน้าหนกั ลกั ษณะเช่นน้ียงั คงดารงต่อไปจนกระทงั่ ยา่ งเขา้ สู่ระยะวยั รุ่นตอนปลาย เด็กชายจะโตทนั เดก็ หญิงและล้าหนา้ เด็กหญิง เดก็ ในวยั น้ีไม่ชองอยู่ นิ่งชอบเล่นและทากิจกรรมต่างๆ ท่ีใชค้ วามรวดเร็ว เนื่องจากการทางานร่วมกนั ของกลา้ มเน้ือใหญ่ นอ้ ยและประสาทสัมผสั ดีข้ึนมาก เด็กจึงอาจเล่นเกมส์ท่ีซบั ซอ้ นและกิจกรรมการเล่นชนิด สร้างสรรค์ เช่น การอ่าน การเขียน การวาดภาพ การป้ันรูป การทาการฝีมือ การแกะสลกั ฯลฯ 4.4 พฒั นาการทางความคิดและสติปัญญา เขา้ ใจวา่ วตั ถุแมเ้ ปลี่ยนแปลงรูปลกั ษณะภายนอก ก็ยงั คงสภาพเดิม (Conservation) ในบา้ ง ลกั ษณะเช่น ปริมาณ น้าหนกั และปริมาตร เด็กในวยั เดก็ ตอนตน้ (ประมาณ 5-6 ขวบ) อาจพอ เขา้ ใจได้ 2 ลกั ษณะคือ ปริมาณและน้าหนกั ส่วนความเขา้ ใจการทรงสภาพเดิมของปริมาตร คอ่ นขา้ งยากและเป็นลกั ษณะนามธรรมมากเกินไป โดยเฉลี่ยเดก็ ตอ้ งอายถุ ึง 7 ขวบ จึงจะสามารถ เขา้ ใจเร่ืองน้ี วธิ ีทดสอบวา่ เดก็ เขา้ ใจเรื่องน้ีหรือยงั น้นั เขาใชด้ ินน้ามนั กอ้ นกลมเท่ากนั 2 กอ้ น กบั

154 ถว้ ยแกว้ เท่ากนั 2 ใบ ใส่น้าปริมาณเท่ากนั เอาดินน้ามนั ใส่ในแกว้ น้า ถามเดก็ วา่ ปริมาณน้าในถว้ ย ท้งั สองมีระดบั เท่ากนั หรือไม่ เมื่อเดก็ ตอบวา่ เทา่ กนั แลว้ เอาดินน้ามนั ออกจากถว้ ยแกว้ ใบหน่ึง เดก็ ช่างสงั เกตยอ่ มมองเห็นวา่ ระดบั น้าเปล่ียนแปลงไป นา ดินน้ามนั ท่ีเอาออกจากถว้ ยแกว้ มาป้ันเป็นแทง่ ยาว แลว้ ใส่กลบั ลงไปในถว้ ยแกว้ เดิม ถา้ เด็กวา่ ระดบั น้าในถว้ ยแกว้ ท่ีใส่ดินน้ามนั รูปแทง่ ยาว จะเทา่ กบั ระดบั น้าในถว้ ยแกว้ ใส่ดินน้ามนั กอ้ นกลม หรือไม่ ถา้ เด็กคนใดสามารถตอบไดว้ า่ เทา่ กนั แสดงวา่ เด็กคนน้นั ไดพ้ ฒั นาความคิด ความเขา้ ใจ เรื่องการทรงสภาพเดิมของปริมาตรแลว้ (ในที่น้ีคือปริมาตรของดินน้ามนั ) 5. วยั แรกรุ่น (Puberty) บุคคลอายอุ ยใู่ นช่วง 12 – 25 ปี ถือวา่ อยใู่ นช่วงวยั รุ่น ช่วงเวลาดงั กล่าวมีเวลายาวนานหลาย ปี และในระยะเวลาน้นั มีการเปล่ียนแปลงอยา่ งแตกตา่ งกนั มากท้งั ทางกายและพฤติกรรม จึงมีการ แบ่งช่วงเวลาใหส้ ้นั เขา้ คือ ช่วงอายปุ ระมาณ 12 ถึง 15 ปี เป็นช่วงวยั แรกรุ่น มีพฤติกรรมค่อนขา้ ง เป็นลกั ษณะทางเดก็ ช่วงอายปุ ระมาณ 16 ถึง 18 ปี เป็ นระยะวยั รุ่นตอนกลาง มีพฤติกรรมก้าก่ึง ระหวา่ งความเป็ นเด็กกบั ความเป็นผใู้ หญ่ ช่วงอายปุ ระมาณ 19 ถึง 25 ปี เป็นระยะวยั รุ่นตอนปลาย มีพฤติกรรมค่อนขา้ งเป็ นผใู้ หญ่ ช่วงเวลาในระยะวยั แรกรุ่น เป็นช่วงเวลาที่เด็กเร่ิมเติบโตเป็นหนุ่มเป็ นสาวอยา่ งแทจ้ ริง ร่างการเติบโตเกือบเตม็ ท่ีทุกส่วน ลกั ษณะทุติยภูมิทางเพศซ่ึงยงั ไมเ่ ติบโตเตม็ ที่ในวยั ที่ผา่ นมา ก็ เจริญสมบรู ณ์และทาหนา้ ที่ของมนั ไดต้ ้งั แต่น้ีเป็นตน้ ไป ลกั ษณะพฒั นาการท่ีสาคญั ในระยะน้ีมี ดงั น้ีคือ 5.1 พฒั นาการทางกาย พฒั นาการทางกายเป็นไปในแง่ของความงอกงาม เจริญเติบโตถึงขีดสมบูรณ์(Maturation) เพ่ือทาหนา้ ที่อยา่ งเตม็ ที่ ความเจริญเติบโตมีท้งั ส่วนนอกท่ีมองเห็นไดง้ ่าย เช่น น้าหนกั ส่วนสูง การเปลี่ยนแปลงรูปหนา้ สัดส่วนของร่างกาย และความเจริญส่วนภายใน เช่น การทางานของต่อม บางชนิด โครงกระดูกแข็งแรงข้ึน การผลิตเซลลส์ ืบพนั ธ์ในเด็กชาย การมีประจาเดือนของ เดก็ หญิง ตอนตน้ ๆ ของเดก็ วยั น้ี ร่างกายของเดก็ ไม่ไดส้ ดั ส่วน เดก็ รู้สึกอึดอดั เกง้ กา้ ง รู้สึกวติ ก กงั วลเกี่ยวกบั ส่วนต่างๆ ของร่างกาย สุขภาพโดยทว่ั ไปของเดก็ ในวยั น้ีดีกวา่ วยั ที่ผา่ นมา

155 5.2 พฒั นาการทางสังคม เดก็ ใหค้ วามสาคญั กบั เพ่ือนร่วมวยั มากกวา่ ในระยะเดก็ ตอนปลาย เดก็ จบั กลุ่มกนั ไดน้ าน แน่นแฟ้ น และผกู พนั กบั เพ่ือนในกลุ่มมากข้ึน กลุ่มของเดก็ ไมม่ ีเฉพาะเพื่อนเพศเดียวกนั เทา่ น้นั แต่ เริ่มมีเพ่ือนตา่ งเพศเขา้ มาสมทบดว้ ย เด็กที่สามารถเขา้ กลุ่มไดแ้ ละมีกลุ่มในระยะวยั เดก็ ตอนปลาย จะเขา้ กบั กลุ่มและมีชีวติ ทางสังคมท่ีสนุกสนานไดด้ ีกวา่ เด็กที่ไม่มีความสามารถดงั กล่าว ในช่วงวยั ท่ีผา่ นมาเดก็ เริ่มลดความเอาใจใส่กบั บุคคลตา่ งวยั ไม่วา่ จะเป็นผใู้ หญ่หรือเด็กที่อายนุ อ้ ยกวา่ ระยะน้ี จึงเริ่มตน้ ชีวติ กลุ่มที่แทจ้ ริง (Gang Age) การรวมกลุ่มของเดก็ เป็ นไปโดยธรรมชาติ เดก็ เลือกเป็น สมาชิกของกลุ่มใดกลุ่มหน่ึงตามหลกั เกณฑต์ า่ งๆ เช่นเป็ นกลุ่มท่ีเขา้ ไดก้ บั แนวนิยม แบบบุคลิกภาพ ฐานะทางเศรษฐกิจสังคมของครอบครัว ตลอดจนความสนใจ คา่ นิยม สติปัญญา ความมุ่งหวงั ใน ชีวติ และอ่ืนๆ การรวมกลุ่มช่วยใหเ้ กิดการแลกเปล่ียนปัญหาและความรู้สึกท่ีคบั อกคบั ใจ ช่วย สนองความตอ้ งการทางสังคม เช่น การเป็นบุคคลสาคญั การตอ่ ตา้ นผมู้ ีอานาจ การหนีสภาพน่า เบื่อของบา้ น ส่วนสัมพนั ธภาพระหวา่ งเดก็ ชายเดก็ หญิง เปล่ียนไปจากวยั เด็กตอ้ นปลาย เดก็ ชายและ เดก็ หญิงเร่ิมสนใจซ่ึงกนั และกนั และมีความพอใจในการพบปะสงั สรรคก์ นั ร่วมเล่น เรียน ทางาน พดู คุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เม่ือเด็กชายและเดก็ หญิงเริ่มสนใจกนั และกนั แลว้ ท้งั 2 ฝ่ าย เร่ิมให้ ความสาคญั ต่อการประพฤติปฏิบตั ิตามบทบาททางเพศของตน (Sex Role) ซ่ึงการกระทาเช่นน้ีไม่ เป็นการลาบากมากนกั สาหรับเด็กหญิงและเด็กชายท่ีมีพฒั นาการทางดา้ นน้ีปกติในวยั ที่ผา่ นมา คือ มีบุคคลใหเ้ ดก็ ไดเ้ ลียนแบบบทบาททางเพศ การเลียนและเรียนบทบาททางเพศของเด็กในระยะน้ี ไมจ่ ากดั วา่ เลือกเลียนเฉพาะบุคคลที่เด็กรักและพบเห็นในบา้ นท่ีเป็นเพศเดียวกบั ตน แตข่ ยายวงมา เป็นเพ่ือนร่วมวยั บุคคลสาคญั ในประวตั ิศาสตร์ ในวงการบนั เทิง ธุรกิจ ในหนงั สืออา่ นเล่น และ บุคคลอื่นๆ ท่ีเดก็ ไดร้ ู้จกั และพบเห็น เดก็ เลือกใครมาเลียนแบบน้นั ข้ึนอยกู่ บั รากฐานบุคลิกภาพ ด้งั เดิมของเดก็ และเป็นเช่นน้ีไปจนสิ้นสุดวยั รุ่น ละทิง้ การเลียนแบบบทบาททางเพศจากบิดา มารดาหรือบุคคลในครอบครัว เป็นระยะท่ีเรียกวา่ พอกนั ท่ีสาหรับการเลียนบทบาททางเพศจากพอ่ แม่ และติดพอ่ แม่ (Goodbye to Oedipus) กลุ่มมีความสาคญั ต่ออนาคตและชีวติ จิตใจของเด็กเป็นอยา่ งมาก ครอบครัวเร่ิมมีอิทธิพล นอ้ ยลง ฉะน้นั ลกั ษณะชวั่ ดีของกลุ่มจึงเป็นเคร่ืองช้ีชะตาชีวติ ของเดก็ ในระยะวยั รุ่นและระยะผใู้ หญ่

156 ประดุจเดียวกบั ครอบครัวมีความสาคญั ต่อกระบวนการของชีวติ แตล่ ะคน ในระยะวยั ทารกและวยั เดก็ การเล่น การเล่นยงั คงมีความสาคญั สาหรับเดก็ วยั แรกรุ่น เพราะเป็นเคร่ืองมือสนองความ ตอ้ งการทางสังคม อารมณ์และสติปัญญา เด็กชอบเล่นท้งั เพอ่ื นเพศเดียวกนั และตา่ งเพศโดยเฉพาะ การเล่นกบั เพ่อื นตา่ งเพศทาใหก้ ารเล่นสนุกสนานเขม้ ขน้ ย่งิ ข้ึนเดก็ ชายมกั จะชอบเล่นกีฬาที่หกั โหม รุนแรงมากกวา่ เด็กหญิง 5.3 พฒั นาการทางอารมณ์ การเปล่ียนแปลงความเจริญเติบโตทางร่างกาย ท้งั ภายในและภายนอกกระทบกระเทือนต่อ แบบแผนอามรณ์ของเด็กวยั รุ่น เด็กมีอารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย สบั สน อ่อนไหว มีความเขม้ ของ อารมณ์สูง อามรณ์ของเด็กวยั รุ่นมีทุกประเภทเช่น เบื่อหน่าย เหงา อิจฉา กงั วล โกรธ อาฆาต ด้ือดึง ต่อตา้ นอานาจ ฯลฯ เดก็ แต่ละคนเร่ิมแสดงบุคลิกอารมณ์ประจาตวั ออกมาใหผ้ อู้ ื่นทราบได้ บา้ งแลว้ เช่น อามรณ์ร้อน อารมณ์ข้ีวติ กกงั วล อารมณ์ออ่ นไหวง่าย เจา้ อารมณ์ ข้ีอิจฉา ฯลฯ เดก็ สามารถรับรู้ลกั ษณะเด่นดอ้ ยเกี่ยวกบั ตนเองและจะยงิ่ ทวขี ้ึนในระยะวยั รุ่น 5.4 พฒั นาการทางความคิด พฒั นาการทางความคิดของเดก็ อายปุ ระมาณ 11 ขวบข้ึนไป มีชื่อเรียกรวมวา่ รู้คิดถูก ระบบ (Formal operation) เดก็ พยายามคิดใหเ้ หมือนผใู้ หญ่ แต่วา่ ดอ้ ยกวา่ ผใู้ หญ่ในเชิง ประสบการณ์และความชานิชานาญในการรู้คิด ตวั อยา่ งความคิดบางแบบท่ีไดพ้ บมากไดแ้ ก่ รู้จกั คิดเป็นเหตุเป็นผลไมเ่ ชื่ออะไรง่ายๆ ตอ้ งการคิดนึกดว้ ยตวั เอง ระยะน้ีเด็กจึงรู้สึกชิงชงั คาสัง่ บงั คบั คาสง่ั ใหเ้ ชื่อและตอ้ งคลอ้ ยตาม รู้คิดดว้ ยภาพความคิดในใจ (Mental images) ทาใหส้ ามารถคิดเรื่อง นามธรรมยากๆ ได้ เดก็ วยั แรกรุ่นชอบวพิ ากวจิ ารณ์ ชอบทายปัญหา เด็กที่มีสมองดีสามารถมี สมาธิในการทางานมากข้ึนและดีข้ึนกวา่ เดิม เดก็ สมองไม่คอ่ ยดีช่วงความสนใจงานเฉพาะหนา้ มกั ส้ันและทางานยากๆ ไมค่ อ่ ยได้ แววฉลาดของเด็กเริ่มปรากฏใหเ้ ห็นชดั แลว้

157 การค้นหาตัวเอง (Search for Identity) การคน้ หาตวั เองก่อใหเ้ กิดความเขา้ ใจวา่ ตนเองเป็นบุคคลคนหน่ึง (Self awareness) การ คน้ หาตนเองมีแง่มุมตา่ งๆ เช่น ความสนใจ รสนิยม ความถนดั ความสามารถที่แทจ้ ริง ความชอบ ความไมช่ อบแมว้ า่ เดก็ จะคน้ หาตวั เองแตก่ ็ยงั ไม่สามารถเขา้ ใจตวั เองเพราะมีการเปล่ียนแปลง เกิดข้ึนมากมายจึงมีผใู้ หค้ าอธิบายลกั ษณะเช่นน้ีของเดก็ วา่ เป็นแบบ “ไมห่ ยงั่ รู้” (The great Unknow) 6. วยั รุ่น (Adolescence) Adolescence หมายถึงความเจริญงอกงามพน้ จากความเป็ นเด็ก ในจิตวทิ ยาหมายถึงภาวะ ของบุคคลอายปุ ระมาณ 16-25 ปี 6.1 ลกั ษณะอารมณ์ ลกั ษณะของอารมณ์สืบเนื่องมาจากอารมณ์ของเด็กวยั แรกรุ่น จึงคลา้ ยคลึงกนั อยมู่ าก ใน บางรายความเขม้ ขน้ ของอารมณ์อาจรุ่นแรงข้ึนกวา่ วยั แรกรุ่น อารมณ์ดงั กล่าวบางที่เรียกวา่ เป็นแบบ พายบุ ุแคม(Storm and Stress) อารมณ์ รัก ชอบ โกรธ เกลียด อิจฉา ริษยาฯลฯ จะเป็นไปอยา่ งรุนแรง บุคคลต่างวยั จึงตอ้ งใชค้ วามอดทนมากเพ่ือจะเขา้ ใจและสร้างความสัมพนั ธ์กบั พวกเขา สาเหตุของความสับสนทางอารมณ์ 1. เป็นช่วงเปลี่ยนวยั ร่างกายเปล่ียนแปลงไม่ทราบวา่ ท่ีถูกที่ควรในการปฏิบตั ิตอ่ บุคคลอ่ืน น้นั ควรปฏิบตั ิอยา่ งไร 2. เดก็ จะตอ้ งเลือกอาชีพ การเลือกอาชีพเป็นเร่ืองที่สาคญั ตอ่ ชีวิตจิตใจ อารมณ์ ความตอ้ งการของเด็กและบุคคลท่ีเกี่ยวขอ้ ง ความสับสนใจเกิดข้ึนง่ายเพราะเด็กอยภู่ ายใตค้ วาม กดดนั และ ขอ้ จากดั ของระบบการศึกษา สติปัญญา ฐานทางเศรษฐกิจ และยงั ไม่แน่ใจในความ ถนดั ความสนใจ ความตอ้ งการ และบุคลิกภาพของตนเอง 3. การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสงั คมทาใหเ้ ด็กปรับตวั ไมท่ นั 6.2 พฤตกิ รรมสังคม สงั คมวยั รุ่นเป็นกลุ่มของเพอ่ื นร่วมวยั ประกอบดว้ ยเพื่อนท้งั 2 เพศ เดก็ รู้สึกปลอดโปร่ง สบายใจ ในการทากิจกรรมต่างๆ กบั เพือ่ นร่วมวยั มากกวา่ กบั เพ่อื นต่างวยั สมั พนั ธภาพกบั เพอ่ื น ร่วมวยั ถึงความเขม้ ขน้ สูงสุดประมาณระยะตอนกลางของวยั รุ่น การคบเพือ่ นร่วมวยั เป็นพฤติกรมสังคมที่มีความสาคญั ต่อจิตใจของวยั รุ่น แต่การคบเพ่ือน ก็ยอ่ มมีท้งั คุณและโทษ เพื่อนอาจเป็นผปู้ ระคบั ประคองจิตใจของวยั รุ่นในยามทุกขร์ ้อนแต่ในมุม

158 กลบั กนั เพอื่ นก็อาจชกั นาวยั รุ่นไปในทางเส่ือมถอย ผเู้ ป็นอาชญากรวยั รุ่นมากมายในแทบทุก ประเทศ เม่ือคน้ หาสาเหตุก็มกั จะพบวา่ ถูกเพอื่ นชกั จูง ประวตั ิเด็กวยั รุ่นตามสถานศึกษาท่ีเสียคน เสียเดก็ ไปโดยประการตา่ งๆ เช่น เกเร ติดยาเสพติด ลว้ นมีสาเหตุสาคญั จากการถูกเพ่อื นชกั จงู เพราะการมีกลุ่มทาใหร้ ู้สึกวา่ ตวั เองมีคุณค่า กลุ่มจึงมีอิทธิพลตอ่ วยั รุ่นถา้ คบเพอ่ื นไม่ดีกอ็ าจนาไปสู่ พฤติกรรมที่เป็ นปัญหาได้ การเขา้ กลุ่มนอกจากเป็นช่องทางใหเ้ ดก็ ไดร้ ับการตอบสนองความตอ้ งการข้นั พ้นื ฐานทาง สังคมในแง่ต่างๆ เช่น ฐานะ ตาแหน่ง คายกยอง มีเพ่อื นผเู้ ขา้ ใจและร่วมทุกขร์ ่วมสุขแลว้ ยงั เปิ ด โอกาสใหช้ ายหญิงไดร้ ู้จกั กนั และอาจนาไปสู่ความรัก (Puppy love) ตามปกติเด็กหญิงมกั นิยมเพื่อน ชายท่ีมีอายมุ ากกวา่ ตน เพราะหญิงมีกระบวนการพฒั นาการเร็วกวา่ ชายวยั เดียวกนั ประมาณ 2 ปี กลุ่มในระยะน้ีมีลกั ษณะมน่ั คงมากกวา่ ในวยั เดก็ เพราะเด็กวยั รุ่นใชเ้ หตุผลและความนึกคิดในการ เขา้ กลุ่มมากกวา่ ความสมั พนั ธ์ในกลุ่มค่อนขา้ งยง่ั ยนื อาจยงั่ ยนื ไปจนเป็นผใู้ หญ่ 6.3 การเลอื กอาชีพ เด็กโตพอท่ีจะรู้ถึงความสาคญั ของอาชีพเช่น อาชีพนามาซ่ึงสถานทางเศรษฐกิจสงั คม เป็น ตวั บง่ ช้ีถึงการเจริญเติบโตเป็ นผใู้ หญแ่ ต่เดก็ ยงั สับสนวนุ่ วายใจเนื่องจากยงั ไมร่ ู้จกั ตวั เองดีพอในดา้ น บุคลิกภาพ ความถนดั ความสนใจ 6.4 ความต้องการทางจิตใจ ความตอ้ งการท่ีเด่นๆ และมีความเขม้ สูงไดแ้ ก่ 1. ความตอ้ งการอิสระเป็นตวั ของตวั เอง เดก็ วยั รุ่นเชื่อวา่ ลกั ษณะความเป็นอิสระเป็น เครื่องหมายความเป็ นผใู้ หญ่ 2. ตอ้ งการมีตาแหน่งหนา้ ท่ี ตอ้ งการคายกยอ่ งท้งั ตอ่ หนา้ และลบั หลงั โดยเฉพาะจาก เพอื่ นในกลุ่ม 3. ตอ้ งการมีประสบการณ์แปลกๆ ใหม่ๆ ฝ่ าฝืนกฎระเบียบ ความตอ้ งการเช่นน้ีเป็น สาเหตุหน่ึงท่ีทาใหเ้ ดก็ เสพยาเสพติด ประพฤติผดิ ทางเพศ และต่อตา้ นกฎเกณฑข์ องสงั คม 4. ความตอ้ งการรวมพวกพอ้ ง มีกลุ่มกอ้ น เป็นความตอ้ งการค่อนขา้ งสูงซ่ึงมีผลตอ่ ความอบอุ่นและความมนั่ คงทางจิตใจ 5. ความตอ้ งการความรู้สึกมน่ั คง ปลอดภยั เพราะเดก็ มีอารมณ์ออ่ นไหวง่าย เด็กจึง ความตอ้ งการเช่นน้ีคอ่ นขา้ งสูง 6. ตอ้ งการความถูกตอ้ งและยตุ ิธรรม 7.ตอ้ งการความงดงามทางร่างกายเพราะทาใหเ้ ขา้ กลุ่มง่ายและดึงดูดเพศตรงขา้ ม วยั

159 รุ่นจึงพถิ ีพิถนั ในเร่ืองอาหาร เส้ือผา้ ทรงผม เคร่ืองประดบั สุขภาพอนามยั เดก็ วยั รุ่นท่ีมี ความสุขคือ ผทู้ ่ีไดร้ ับส่ิงสนองสมความตอ้ งการของเขา การต้งั เป้ าระดบั ของความตอ้ งการ ลกั ษณะของความตอ้ งการ จึงเป็นเร่ืองที่เดก็ ตอ้ งคานึงใหอ้ ยใู่ นของเขตท่ีจะทาไดส้ าเร็จ เพือ่ ประกนั ความไม่สมปรารถนา เพราะถา้ ไม่สมปรารถนาในเรื่องใดเรื่องหน่ึงรุนแรงแลว้ ยอ่ มมี ความรู้สึกผดิ หวงั ลึกซ่ึงและยาวนาน 6.5 ความสนใจ ความสนใจมีขอบข่ายกวา้ งขวาง สนใจหลายอยา่ งแต่ไมล่ ึกซ้ึงมาก เพราะเดก็ ยงั ไมเ่ ขา้ ใจเรื่องตวั เอง ยงั เป็ นระยะลองผดิ ลองถูก ความสนใจของเด็กวยั รุ่นส่วนใหญไ่ ดแ้ ก่ 1. สนใจการศึกษา สภาพเศรษฐกิจและสงั คมปัจจุบนั กระตุน้ ใหเ้ ด็กเขา้ ใจและเห็น ความสาคญั ของการศึกษา 2. สนใจช่วยเหลือบุคคลอ่ืนท่ีเห็นวา่ เขาไดร้ ับความลาบากและไมไ่ ดร้ ับความยตุ ิธรรม 3. สนใจกิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมท่ีเห็นวา่ เป็นของใหมแ่ ละมีประโยชน์ไดพ้ บปะกบั เพ่อื นตา่ งเพศและระบายความเคร่งเครียดของอารมณ์ 4. สนใจวฒั นธรรมประเพณี ศาสนาปรัชญา อุดมคติ สนใจมีเพื่อนสนิทตา่ งเพศ 6.6 การนับถือวรี บุรุษ (Heroic Worship) ความตอ้ งการเลียนแบบผทู้ ี่ตนนิยมชมชอบมีมาก่อนแลว้ ต้งั แตว่ ยั เดก็ ก่อนวยั รุ่น แต่ความ ตอ้ งการประเภทน้ีแรงข้ึนในระยะวยั รุ่นเพราะ 1. ความตอ้ งการรู้จกั ตนเอง การยกบุคคลมาเป็นแบบใหน้ บั ถือและเลียนแบบช่วยลดความ ไม่รู้จกั หรือความไม่เขา้ ใจตนเอง 2. แสวงหาแบบอยา่ งเพ่ือดาเนินรอยตามแนวทางท่ีถูกท่ีควร เพ่ือดาเนินชีวติ อยา่ งผใู้ หญ่ ผทู้ ี่เดก็ นบั ถือวา่ เป็นวรี บุรุษ ( Heroes) หรือเป็ นแบบ (Models) น้นั มีไดม้ ากกวา่ หน่ึง คน อาจเป็นเพศเดียวกบั เด็กหรือตา่ งเพศ วยั เดียวกนั หรือตา่ งวยั ร่วมสมยั หรือต่างสมยั อาจเป็ น บุคคลสาคญั ในประวตั ิศาสตร์ ดาราภาพยนต์ นกั กีฬาที่มีช่ือเสียง ฯลฯ การเลือกบุคคลท่ีน่านิยม มาเลียนแบบน้นั ในระยะวยั รุ่นผดิ จากในระยะวยั เดก็ ท่ีตอ้ งอาศยั ความใกลช้ ิดสนิทสนมเป็น แรงจงู ใจ สาหรับเดก็ วยั รุ่นใชเ้ หตุผลและข้ึนกบั อิทธิพลของกลุ่มเพือ่ น ดงั น้นั ผทู้ ่ีเด็กเลือกมาเป็น แบบ จึงอาจเป็นบุคคลท่ีเด็กไม่เคยพบเห็นมาก่อนเลยกไ็ ด้ การเลือกตวั อยา่ งใหเ้ ด็กเลียนแบบโดย การชกั จูง การแสดงแบบอยา่ ง การอ่านหนงั สือประวตั ิบุคคลสาคญั จากวงการต่างๆ จึงเป็นเร่ืองท่ี ตอ้ งเอาใจใส่เป็นพิเศษ เพราะวรี บุรุษมีอิทธิพลต่อ บุคลิกภาพ ความมุง่ หวงั ในชีวติ การเลือกอุดม คติ ปรัชญา ค่านิยมตา่ งๆ เป็ นกระบวนการสืบเนื่องกนั กบั การนบั ถือวีรบุรุษ

160 6.7 การค้นหาตวั เอง การเข้าใจตนเอง เด็กวยั รุ่นประสบการเปล่ียนแปลงอยา่ งมากและรวดเร็วในทางร่างกาย และในทาง พฤติกรรม ท่ีตอ้ งทาตนตามบทบาทแห่งเพศหญิงหรือชาย ความสานึกวา่ ตอ้ งทาตนใหพ้ น้ ความ เป็นเดก็ ความจาเป็ นตอ้ งเลือกอาชีพ ปัจจยั เหล่าน้ีและอื่นๆ ทาใหเ้ ด็กวยั รุ่นอยากรู้นกั วา่ ตนเอง จะตอ้ งประพฤติปฏิบตั ิตนตามรูปแบบอยา่ งไร ซ่ึงเป็นพฒั นาการทางความคิดท่ีสาคญั ที่สุดประจา วยั เรียกพฒั นาการน้ีวา่ “การคน้ หาตนเอง” กวา่ เดก็ วยั รุ่นจะพบตนเอง คือเขา้ ใจตนเองแจ่มแจง้ อาจตอ้ งประสบภาวะสับสนทางอารมณ์ไม่นอ้ ย บางคนหลงตวั เองในลกั ษณะตีราคาตวั เองสูงเกิน จริง บางคนดูถูกตนเองในลกั ษณะตีราคาตนเองต่าเกินจริง การคน้ หาตนเองเร่ิมตน้ มาแลว้ ต้งั แต่วยั ทารกตอนปลาย แต่จะตอ้ งมีโครงร่างของตนสมบูรณ์ในระยะวยั รุ่น จึงจะเป็นบุคคลท่ีมีความ มน่ั คงในชีวติ และจิตใจสืบต่อไปในอนาคต มิฉะน้นั แลว้ จะกลายเป็นบุคคลท่ีไม่เขา้ ใจตนเองหา ความมน่ั คงในชีวติ และจิตใจไมไ่ ด้ คนที่คน้ พบตวั เองจะมีความเชื่อมนั่ ในตนเอง มีความภาคภมู ิใจ ในตนเองมีหลกั การและแนวทางในการดาเนินชีวิตของตนเองเมื่อเป็นผใู้ หญ่ ส่วนเด็กที่ยงั ไมค่ น้ พบ ตวั เองจะสบั สนและอาจก่อใหเ้ กิดปัญหาแก่สงั คมได้ เราสามารถช่วยลดปัญหาดงั กล่าวไดโ้ ดย 1. ในการอบรมเล้ียงดูพอ่ แม่ตอ้ งปฏิบตั ิต่อลูกใหส้ อดคลอ้ งกนั 2. หาตวั แบบที่เหมาะสมใหเ้ ด็กเลียนแบบ 3. สื่อมวลชนควรเสนอข่าวสารขอ้ มลู ที่เหมาะสมกบั วยั รุ่นไมค่ วรเสนอแต่เร่ือง รุนแรงหรือกระตุน้ ความรู้สึกทางเพศ 6.8 ความขดั แย้งระหว่างวยั รุ่นกบั ผ้ปู กครอง ลกั ษณะความขดั แยง้ เกิดจากเดก็ วยั รุ่นสาคญั ตวั วา่ พน้ จากความเป็นเดก็ เกิดความตอ้ งการ ประพฤติตนตามพฤติกรรมที่นึกนิยม แต่ผปู้ กครองถือวา่ ตนเป็นผรู้ ับผดิ ชอบควบคุมดูแลความ ประพฤติของเดก็ ประสงคใ์ หเ้ ขาประพฤติตามพฤติกรรมอยา่ งอ่ืน เมื่อวยั รุ่นไม่ปฏิบตั ิตามกเ็ กิด ความขดั แยง้ ข้ึน ตวั อยา่ งความขดั แยง้ เช่น 1. ความขดั แยง้ ทางการแตง่ กาย 2. ความขดั แยง้ ในการคบเพ่อื นตา่ งเพศ 3. ความขดั แยง้ ในการตอ้ งการความเป็ นอิสระในการไปไหนมาไหน การบรรเทาความขดั แยง้ ผปู้ กครองควรใหค้ วามเห็นอกเห็นใจใหค้ วามรักความอบอุ่น และเขา้ ใจการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดในช่วงวยั รุ่น ให้วยั รุ่นไดม้ ีอิสระและความรับผดิ ชอบตอ่ ตวั เอง บา้ งตามสมควรเพ่ือช่วยลดความเคร่งเครียดและความกดดนั ทางอารมณ์ ในส่วนของวยั รุ่น วยั รุ่นควรเปิ ดใจกวา้ งรับฟังทศั นะผอู้ ่ืน คิดอยา่ งมีเหตุผล มีความรับ

161 ผดิ ชอบต่อตนเอง ต่อหนา้ ที่ที่ไดร้ ับมอบหมาย รู้จกั แตง่ กายใหเ้ หมาะสมกบั วยั และวฒั นธรรม ตลอดจนควรใหค้ วามสาคญั กบั การศึกษาหาความรู้ในเรื่องต่างๆ 7. วยั ผู้ใหญ่ตอนต้น (Early Adulthood) วยั ผใู้ หญ่ เป็นเวลายาวนานโดยเฉล่ียราวๆ 50 ถึง 65 ปี นกั จิตวทิ ยาพฒั นาการบางทา่ นจึง แบง่ ช่วงวยั ผใู้ หญ่ออกเป็น 3 ช่วงคือ วยั ผใู้ หญ่ตอนตน้ วยั ผใู้ หญต่ อนกลาง และวยั ชรา วยั ผใู้ หญ่ ตอนตน้ ประมาณอายตุ ้งั แต่ 25 ถึง 40 ปี แบบแผนพฒั นาการที่น่าสนใจในระยะวยั ผใู้ หญต่ อนตน้ ท่ี น่าสนใจไดแ้ ก่เรื่อง การประกอบอาชีพ การเลือกคู่ครอง การปรับตวั ในชีวติ สมรส การปรับตวั เพ่อื ทาหนา้ ที่บิดามารดา และการปรับตวั ในชีวติ โสด วยั ผใู้ หญต่ อนตน้ เป็ นระยะที่ความเจริญเติบโตทางการพฒั นาเตม็ ที่สมบรู ณ์ อวยั วะทุกส่วน ทางานอยา่ งมีประสิทธิภาพ โดยทวั่ ไปบุคคลมกั มีกายแขง็ แรง ในดา้ นอารมณ์น้นั ผทู้ ี่จะเขา้ ถึงภาวะ อารมณ์แบบผใู้ หญ่ มีความคบั ขอ้ งใจนอ้ ย ควบคุมอามรณ์ไดด้ ีข้ึน มีความแน่ใจ และมีความมน่ั คง ทางจิตใจดีกวา่ ในระยะวยั รุ่น ส่วนดา้ นความสมั พนั ธ์กบั ผอู้ ่ืนหรือลกั ษณะพฒั นาการทางสังคมน้นั ระยะน้ีการใหค้ วามสมั พนั ธ์กบั กลุ่ม (Peer Group) เริ่มลดนอ้ ยลง เปล่ียนมาสู่การมีสมั พนั ธภาพและ ผพู้ นั กบั เพื่อนต่างเพศแบบคู่ชีวติ จุดศนู ยก์ ลางของสัมพนั ธภาพคือครอบครัว ส่วนผใู้ หญท่ ี่ยงั ไม่มี คู่ครองและครอบครัว ยงั คงใหค้ วามสาคญั ต่อกลุ่มเพอื่ นร่วมวยั แต่ความเขม้ ของความผกู พนั และ ภกั ดีเร่ิมลดนอ้ ยลง จานวนสมาชิกของกลุ่มมกั จะนอ้ ยลงดว้ ย 7.1 การประกอบอาชีพ การประกอบอาชีพ เป็นพฤติกรรมที่จาเป็ นและสาคญั ประจาวยั เพราะเป็นเครื่องช้ีความ เป็นผใู้ หญ่ นอกจากทาใหม้ ีความรู้สึกวา่ มีฐานะทางการเงินแลว้ ยงั ทาใหเ้ กิดความรู้สึกมีอิสระเสรี ความมีหนา้ มีตา ความมน่ั คงทางจิตใจ การต้งั ตวั ไดเ้ ป็นหลกั ฐาน การยอมรับในสังคมและ ความสาเร็จในชีวติ ดา้ นต่างๆ ใครเลือกอาชีพอะไร และมีความกา้ วหนา้ ในดา้ นอาชีพมากนอ้ ยเพยี งไรน้นั ข้ึนอยกู่ บั ปัจจยั แวดลอ้ มหลายประการ เช่น เพศ การเตรียมตวั การศึกษาอบรมในวชิ าน้นั ๆ ความตอ้ งการ ทางสังคม สภาพเศรษฐกิจ สถานภาพทางครอบครัว โอกาส เพือ่ นร่วมอาชีพ เป็ นตน้ ชายกบั หญิง มีความแตกตา่ งดนั ในเชิงจิตวทิ ยาบางประการดงั น้ี 1. ชายมีความมกั ใหญ่ใฝ่ สูง มุ่งความสาเร็จของชีวิตจากผลการทางานมากกวา่ หญิง

162 ไมช่ อบทางานจาเจ ตอ้ งการเป็นหวั หนา้ งาน ชองงานทา้ ทายสมรรถภาพมากกวา่ หญิง 2. หญิงชอบทางานคลอ้ ยตามวสิ ัยแห่งเพศ เช่นงานเก่ียวกบั เด็กเล็ก คนป่ วย คน ชรา งานที่ตอ้ งระมดั ระวงั ถี่ถว้ นในรายละเอียด งานซ้าๆ ไมต่ อ้ งใชก้ ารตดั สินใจมากๆ ไมช่ อบงาน รับผดิ ชอบสูงๆ และทางานเป็นหมู่คณะไดไ้ มด่ ีเท่าชาย 3. หญิงแต่งงานแลว้ ที่ประกอบอาชีพดว้ ย เอาจริงเอาจงั ในการทางานนอ้ ยกวา่ หญิง โสด อาจเป็นเพราะวา่ ตอ้ งใหค้ วามสนใจและเวลากบั ครอบครัว ความสาเร็จมากนอ้ ยในการประกอบอาชีพมีอิทธิพลตอ่ ความสุข ความทุกข์ ความ เจริญกา้ วหนา้ ของชีวติ ฐานะทางสังคมแบะเศรษฐกิจส่วนบุคคล ท้งั ยงั มีผลต่อความสงบราบร่ืนใน ครอบครัวและพฒั นาการของบุคคลวยั ต่างๆ ในบา้ นดว้ ย ความไมผ่ าสุขในการประกอบอาชีพ ทางานอาจเกิดจากหลายสาเหตุผสมผสานกนั เช่น สถานที่ทางานอยหู่ ่างไกลถิ่นท่ีอยู่ ลกั ษณะงาน ไมต่ รงตามบุคลิกภาพ นิสัย ความสามารถของตน ขาดการเตรียมตวั ในการประกอบอาชีพน้นั ๆ หรือเขา้ กบั เพื่อนร่วมงานและนายจา้ งไม่ได้ 7.2 การเลอื กคู่ครอง (Selecting a Mate) การแสวงหาคู่ครองเป็ นพฤติกรรมปกติของคนในวยั น้ี อาจมีการกระทามาต้งั แต่ ยงั อยู่ ในช่วงวยั รุ่น แต่สาหรับบางรายก็จะเร่ิมต้งั แตย่ า่ งเขา้ สู่วยั ผใู้ หญ่ตอนตน้ ชนิดของการเลือกคู่ครอง เป็นแบบเอาจริงเอาจงั และเลือกเฟ้ นมากกวา่ เดิม หลกั เกณฑส์ าหรับการเลือกคู่ครองท่ีจะนาไปสู่ชีวติ สมรสท่ีผา่ สุข ไดม้ ีผเู้ สนอแนะไว้ หลายประการดว้ ยกนั ดงั น้ี 1. มีความคลา้ ยคลึงกนั ใน รสนิยม ค่านิยม ระดบั การศึกษา ความสนใจ การใช้ เวลาวา่ ง ศาสนา ความเชื่อ รากฐานทางวฒั นธรรม สภาพเศรษฐกิจ ลกั ษณะครอบครัว เช้ือชาติ 2. มีบุคลิกภาพท่ีไปดว้ ยกนั ได้ ท้งั ในแง่ที่คลา้ ยกบั และไมเ่ หมือนกนั หรือที่เป็นไปใน แบบตรงขา้ ม เช่น คนอารมณ์ร้อนกบั คนอารมณ์เยน็ ท้งั น้ีเพ่อื ความสมดุลของชีวติ 3. ชายและหญิงมีอายใุ กลเ้ คียงกนั ควรมีอายหุ ่างกนั ไม่เกิน 10 ปี และตามปกติชาย ควรมีอายมุ ากกวา่ หญิง 4. มีอาชีพเล้ียงตวั พอที่จะสร้างครอบครัวใหม้ ีความสุขได้ 5. มีความรักใคร่ผกู พนั มีความนบั ถือและนิยมชมชอบซ่ึงกนั และกนั มีรสนิยมทาง เพศที่ไปดว้ ยกนั ได้ และมีความพยายามเขา้ อกเขา้ ใจซ่ึงกนั และกนั

163 6. โดยกวา้ งๆ ผหู้ ญิงมกั มองผชู้ ายในแง่ของความสามารถ ความเป็นคนเด่นดา้ นใด ดา้ นหน่ึง เช่น กีฬา ดนตรี ความเป็นผนู้ า ความสามารถทางดา้ นวชิ าการ ความเขา้ อกเขา้ ใจ การ ใหค้ วามคุม้ ครอง การมีลกั ษณะสมชาย รูปร่างหนา้ ตาของชายมีความสาคญั นอ้ ย แต่ฝ่ ายชายมกั มองฝ่ ายหญิงในดา้ นรูปร่างหนา้ ตา ลกั ษณะสมหญิง ความเป็นแมบ่ า้ นแมเ่ รือน ความสามารถใน การเขา้ สังคม 7.3 การปรับตวั ในชีวติ สมรส เม่ือหญิงและชายแต่งงานและมาอยรู่ ่วมกนั แลว้ จะตอ้ งปรับตวั ใหไ้ ปดว้ ยกนั ได้ แมว้ า่ การ แต่งงานน้นั ไดม้ ีการไตร่ตรองอยา่ งรอบครอบ ตามปกติหญิงปรับตวั ใหเ้ ขา้ กบั ชาย ง่ายกวา่ ชาย ปรับตวั ใหเ้ ขา้ กบั หญิง อยา่ งไรก็ตามตอ้ งมีการปรับตวั ท้งั 2 ฝ่ าย หญิงและชายจะตอ้ งปรับตวั ใน บทบาทใหม่คือ บทบาทสามีและภรรยา ความยากลาบากในการปรับตวั อาจเกิดข้ึนได้ ถา้ หญิงและ ชายยงั ไม่มีวฒุ ิภาวะทางจิตใจ ไมม่ ีการเตรียมตวั ทางเศรษฐกิจทางสังคมเพอื่ ใชช้ ีวิตคู่ ไม่รู้จกั กนั ดี พอ หรือวยั ของคู่สมรสต่างกนั มาก 7.4 การปรับตวั เพอ่ื ทาหน้าทบี่ ดิ ามารดา ควบคู่ไปกบั การปรับตวั เม่ือมีบทบาทของสามีภรรยาก็คือ การปรับตวั เพ่ือทาหนา้ ที่บิดา มารดา ถา้ คูส่ มรสประสงคม์ ีชีวติ ครอบครัวท่ีผาสุขและประสบความสาเร็จควรสนใจหาความรู้และ ปฏิบตั ิตามวธิ ี การวางแผนครอบครัว การเล้ียงดูเดก็ ต้งั แต่เลก็ จนเป็ นหนุ่มสาวท่ีมีความมนั่ คงทางจิตใจ และเล้ียงตวั เองไดน้ ้นั บิดามารดาจะตอ้ งเขา้ ใจพฒั นาการตามวยั ของเดก็ วา่ มีความตอ้ งการทางร่างกายและจิตใจอยา่ งไร การเตรียมตวั ทางเศรษฐกิจเพื่อลูกและการใหล้ ูกเขา้ โรงเรียนเป็นส่ิงสาคญั ไมน่ อ้ ยสาหรับการเป็น บิดามารดา แต่การใหค้ วามรักความอบอุ่น ความสนใจและเขา้ ใจเดก็ มีความสาคญั มาก เด็กท่ีเป็น อาชญากร มกั มีพ้นื ฐานมาจากครอบครัวท่ีไม่ผาสุข 7.5 การอย่เู ป็ นโสด เม่ือยา่ งเขา้ สู่วยั ผใู้ หญ่ คนส่วนมากแตง่ งานมีครอบครัวมีบุตรธิดา แตม่ ีคนบางกลุ่มไมเ่ ขา้ อยใู่ นภาวะเช่นน้ี ซ่ึงอาจเนื่องมาจากสาเหตุหลายประการ เช่น อุทิศชีวิตเพ่ืองาน เพื่ออุดมการณ์ มีความรับผดิ ชอบกบั ครอบครัวเดิมของตนจนไม่มีเวลาเอาใจใส่ในเร่ืองการมีครอบครัวอยา่ งจริงจงั

164 โรคภยั ไขเ้ จบ็ ส่ิงแวดลอ้ มไม่อานวย มีประสบการณ์ไมด่ ีเก่ียวกบั ชีวติ ครอบครัว ญาติพีน่ อ้ งไม่ สนบั สนุน หรือเป็นความประสงคข์ องผนู้ ้นั เองเพราะชอบชีวติ โสด ปัญหาของคนโสดก็คือ ความรู้สึกดอ้ ยและวา้ เหว่ ผทู้ ี่จะดาเนินชีวติ คนโสดไดอ้ ยา่ งผาสุข คือ ผพู้ ยายามแกไ้ ขอารมณ์ดงั กล่าวน้ีโดยวธิ ีต่างๆ เช่น ใชเ้ วลาศึกษาเล่าเรียน ทางานอดิเรก อุทิศ ตนเพ่ือกิจกรรมสงั คม ใชช้ ีวิตใหห้ มดไปกบั งาน 8. วยั กลางคน (Middle Age) วยั กลางคนอายปุ ระมาณต้งั แต่ 40 ถึง 65 ปี เป็นช่วงหวั เล้ียวหวั ตอ่ ระหวา่ งความเป็นหนุ่ม สาว และการเขา้ สู่วยั ชรา สมรรถภาพทางกายเป็นไปในทางเส่ือมถอย การเปล่ียนแปลงทางกาย เช่นน้ี มีผลสมั พนั ธ์กบั อารมณ์จิตใจ และสมั พนั ธภาพกบั บุคคลอ่ืน ท้งั หญิงและชายวยั กลางคน ตอ้ งปรับตวั ต่อสภาพเหล่าน้ี เพื่อเป็นคนวยั กลางคนท่ีผาสุข การปรับตวั ท่ีสาคญั เช่น การปรับตวั ทางอาชีพ การปรับตวั ในบทบาทของสามีภรรยา การปรับตวั ต่อการตายของคูส่ มรสและความเป็น หมา้ ย การปรับตวั ในชีวติ ทางเพศและการเปล่ียนวยั ของชาย การปรับตวั ตอ่ ภาวะวกิ ฤติวยั กลางคน ของหญิง ในดา้ นความสมั พนั ธ์ของคนกลางคนต่อบุตรธิดาน้นั ก็ตอ้ งเปลี่ยนไป ระยะน้ีคนวยั กลางคนมีความสมั พนั ธ์กบั บุตรธิดาวยั รุ่น วยั ผใู้ หญ่ เขย สะใภ้ วธิ ีสมั พนั ธ์น้นั ตอ้ งมีลกั ษณะ แตกต่างไปจากเม่ือลูกยงั เป็นเดก็ เลก็ แต่วธิ ีใดจะเหมาะสมน้นั แตกต่างกนั ไปในแต่ละบุคคลและ ครอบครัว คนวยั กลางคนตอ้ งใหค้ วามโอบอุม้ ดูแลพอ่ แม่ของตนซ่ึงเขา้ สู่วยั ชรา อารมณ์ประจาวยั มี หลายประการที่สาคญั เช่น อารมณ์อยากกลบั เป็นหนุ่มสาว อารมณ์เศร้า และลกั ษณะอารมณ์ของ หญิงกลางคนเมื่อหมดระดู ช่วงวยั กลางคน เป็นช่วงที่คนมองตนดา้ นในมากยง่ิ ข้ึน เปล่ียนแปลงภาพพจน์เกี่ยวกบั ตนเอง คนวยั กลางคนตอ้ งสามารถพฒั นาตนเองใหเ้ ขา้ ถึงวฒุ ิภาวะทางจิตใจใหม้ ากที่สุดเท่าท่ีจะ เป็นไปได้ เพื่อเป็นฐานสาหรับการเผชิญกบั ปัญหาประจาวยั และการปรับตวั ท่ีเหมาะสม ความ สนใจของคนวยั กลางคนเป็ นไปในแนวลึกมากกวา่ แนวกวา้ ง คนวยั กลางคนควรมีกิจกรรมท่ีเป็น งานอดิเรก เพื่อผอ่ นคลายความตึงเครียดและเตรียมตวั เตรียมใจ เพ่ือเขา้ สู่วยั ชราดว้ ยความสุขสงบ ในดา้ นตา่ งๆ เช่น การดูแลรักษาสุขภาพ ท่ีอยอู่ าศยั เงินทอง เป็นตน้ 9. วยั ชรา (Old Age)

165 วยั ชราเป็นระยะสุดทา้ ยของชีวติ บุคคลบางคนอาจมีชีวติ ไดถ้ ึงระยะวยั ชรา ลกั ษณะ พฒั นาการในวยั ชราตรงกนั ขา้ มกบั ระยะวยั เด็ก คือ เป็นความเส่ือมโทรม (Deterioration) และ ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ มิใช่การเจริญงอกงาม วยั ชราเร่ิมต้งั แต่ประมาณอายุ 65 ปี เป็นตน้ ไป 9.1 หน้าทข่ี องครอบครัวและสังคมต่อคนชรา แมว้ า่ วยั ชราเป็ นช่วงเวลาท่ีคนทางานไม่ไดแ้ ลว้ แตค่ รอบครัวและสังคมไมค่ วรลืมนึกถึงแง่ ดีของคนชราในแง่ที่วา่ เขาเป็นบุคคลท่ีไดผ้ า่ นโลกผา่ นชีวติ มามาก ประสบการณ์ของเขาจึงมีคา่ มากสาหรับเดก็ หนุ่มเด็กสาว การหาประโยชน์จากคนชราในแง่น้ีจึงเป็นสิ่งพึงประสงค์ ในเวลา เดียวกนั คนชราโดยทวั่ ไปก็มีความยนิ ดีและเตม็ ใจใหค้ าปรึกษาและขอ้ คิดเห็นต่างๆ ท่ีเป็นประโยชน์ แก่ผทู้ ี่ออ่ นวยั กวา่ นอกจากน้ีแลว้ คนชรายงั เป็นบุคคลที่ไดม้ ีอุปการคุณต่อสมาชิกในครอบครัวและ สงั คมมาก่อน ฉะน้นั ครอบครัวและสงั คมจึงควรช่วยเหลือเก้ือกลู คนชรา ใหม้ ีชีวติ ท่ีมีความสุขตาม สมควรและไดร้ ับประโยชน์จากการดาเนินชีวติ ของคนชราในเวลาเดียวกนั ดว้ ย ดงั น้นั หนา้ ที่ที่ ครอบครัวและสงั คมควรปฏิบตั ิต่อคนชราคือ 1. สังคมเห็นค่าของคนชรา พยายามใหเ้ ขามีความรู้สึกวา่ ตนน้นั ยงั มีประโยชน์และเป็น ที่ตอ้ งการของครอบครัวและสงั คม 2. บุตรหลานใหค้ วามนบั ถือ ไม่เหยยี ดหยามดูหม่ินดูแคลน อยา่ งไรก็ตามคนชราก็ ตอ้ งพยายามทาตนใหล้ ูกหลานยกยอ่ งดว้ ย 3. สังคมใหค้ วามมน่ั คงทางการเงิน เช่น มีเงินบานาญให้ 4. ใหค้ นชราทางานท่ีจะทาใหม้ ีความสุขและเพลิดเพลิน คนชราท่ีไม่มีงานทาน้นั มี ปัญหาทางอารมณ์ไดง้ ่าย วยั ชรา เป็นระยะสุดทา้ ยของพฒั นาการของคน วยั ชรามีความเส่ือมทางร่างกายอยา่ ง เห็นไดช้ ดั ความเสื่อมดงั กล่าวส่งผลกระทบตอ่ งานอาชีพ ลกั ษณะอารมณ์ ลกั ษณะสมั พนั ธภาพ กบั บุคคลในครอบครัวในสงั คม แมเ้ ป็นระยะแห่งความเสื่อม แตบ่ ุคคลก็อาจใชช้ ีวติ วยั ชราไดอ้ ยา่ ง มีความสุขคือ ตอ้ งมีการเตรียมตวั เตรียมใจที่จะเผชิญกบั ความชรา รู้จกั ปรับตวั ทางดา้ นร่างกาย อาชีพ และสัมพนั ธภาพกบั ผอู้ ื่น สงั คมและครอบครัวจะมีส่วนช่วยใหค้ วามสุขแก่คนชรา แมว้ า่ คนชราจะไร้ความสามารถดา้ นพละกาลงั แต่คนชรายงั มีคา่ ต่อคนหนุ่มสาว เพราะมากไปดว้ ย ประสบการณ์และบทเรียนชีวติ มนุษยแ์ ต่ละคนควรต้งั ความหวงั ความปรารถนา และเตรียมตวั เพ่ือจะใชช้ ีวติ ยามบ้นั ปลายระยะวยั ชราอยา่ งมีความสุข