Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 4 บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัย

4 บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัย

Published by chawanon, 2021-07-20 10:58:57

Description: 4 บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัย

Search

Read the Text Version

1 เอกสารประกอบการสอน วิชา การวจิ ยั ทางการพยาบาล ดร.ชวนนท์ จันทร์สุข ดร.นฤมล จนั ทรส์ ุข วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท สถาบนั พระบรมราชชนก สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2564

2 บทท่ี 1 แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัย ๑.๑ ความหมาย และความสาคญั ของการวิจยั ความหมายของการวิจัย การวิจัยมาจากคาภาษาอังกฤษว่า Research ประกอบด้วยคาสองคา รวมกันคือ Re ซึ่งหมายถึงทากลับไปกลับมาหรือทาซ้าส่วนคาว่า Search หมายถึงการค้นหาส่ิงหนึ่งส่ิงใดที่ อยากจะรู้ ถ้านาคาสองคามารวมกันเป็น Research ก็จะหมายถึงการค้นหาสิ่งใดส่ิงหนึ่งที่อยากจะรู้ซ้ากัน หลาย ๆ คร้ังจนเกิดความมั่นใจจึงจะยุติ นอกจากน้ีการวิจัยยังมีความหมายในลักษณะอ่ืนอีกท่ีนักวิจัยได้ให้ ความหมายไว้ดงั น้ี การวิจัย หมายถงึ วธิ ีการค้นหาข้อความรู้ใหม่ วิธีการใหม่หรอื ส่ิงประดษิ ฐ์ใหม่ ๆ โดยอาศัยวิธีการทาง วทิ ยาศาสตร์ (Scientific method) หรือกระบวนการให้ได้มาซ่ึงข้อความรู้ท่ีน่าเชื่อถือได้ โดยอาศัยการสังเกต และการนิรนัย (Deduction) เป็นหลัก หรืออีกความหมายหนึ่งของการวิจัยท่ีมีความหมายค่อนข้างละเอียด กว่าที่กล่าวมา การวิจัย หมายถึง วิธีการหรอื กระบวนการในการแสวงหาข้อความรู้ ความจรงิ หรอื คาตอบจาก ปัญหาท่ีเกิดข้ึน และเป็นข้อความรู้ ความจริงที่เช่ือถือได้ ซ่ึงจะต้องประกอบด้วยพยานหลักฐานหรือข้อมูล ยนื ยนั ทีไ่ ดม้ าอย่างมรี ะเบียบแบบแผน การวิจัยทางการพยาบาล “เป็นการค้นคว้าหาคาตอบที่เป็นข้อสงสัยหรือเป็นประเด็นปัญหาทางการ พยาบาลโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพ่ือองค์ความรู้ใหม่มีความน่าเช่ือถือและสามารถนาไปใช้ ประโยชน์ในการพัฒนาศาสตร์ทางการพยาบาล รวมทั้งพัฒนางานท่ีเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการพยาบาล (nursing practice) การบริหารการพยาบาล (nursing administration) และการศึกษาพยาบาล (nursing education)” (บุญใจ ศรีสถิตย์นรากรู , 2550) จากความหมายของการวิจัยที่บอกว่าการวิจัยเป็นกระบวนการท่ีนาเอาวิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific method) มาใช้ซ่ึงเป็นวิธีการแสวงหาความรู้ท่ีเชื่อถือได้ สามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ด้วย ข้อมูลเชิงประจักษ์ (Empirical data) กระบวนการวิจัย (Research methodology) ประกอบด้วยข้ันตอน ดงั น้ี ข้ันท่ี 1 กาหนดปัญหา ปัญหาที่จะทาวิจัยมีท่ีมาหลายแหล่ง การกาหนดปัญหา จะต้องกาหนดให้ ชดั เจนว่าเราตอ้ งการคาตอบในเรอื่ งอะไรบา้ ง เมอื่ มีปญั หาชัดเจนแลว้ ขน้ั ตอนตอ่ ไปก็จะเขยี นได้ง่ายขนึ้ ข้ันที่ 2 ตั้งสมมุติฐานการวิจัย เป็นข้ันของการคาดเดาคาตอบของปัญหาไว้ล่วงหน้าก่อนลงมือเก็บ ข้อมลู ซึ่งเปน็ คาตอบที่เชือ่ ถือไดด้ ว้ ยเหตดุ ว้ ยผลหรอื ทฤษฎีของผทู้ าวจิ ยั ขนั้ ที่ 3 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล เป็นข้ันการตรวจสอบสมมุติฐานโดยใช้ขอ้ มลู หรือหลักฐานว่าสนับสนุน สมมตุ ฐิ านหรอื ไม่ ถ้าไมส่ นับสนุนกแ็ สดงว่าสมมตุ ฐิ านนนั้ ผิด

3 ขัน้ ที่ 4 การวเิ คราะห์ข้อมูล เป็นขั้นของการจาแนกข้อมูลเพ่ือตอบประเด็นปัญหาต่าง ๆให้ครบทุกข้อ เพราะในการทาวิจัยเรื่องหนึ่งอาจจะมีปัญหาหลายประเด็นที่จะต้องหาคาตอบ ข้อมูลท่ีได้มาชุดหน่ึงอาจจะ ตอ้ งจาแนกออกเพ่ือตอบปัญหาตามเพศ ตามอาชพี และตามกล่มุ อายุเปน็ ตน้ ในข้ันนจ้ี ะมีสถิติบรรยายและสถิติ อา้ งองิ เขา้ มาเกีย่ วข้อง ขั้นที่ 5 สรุปผลและเขียนรายงานการวิจัย หลังจากการวิเคราะห์ข้อมูลแล้วจะมีการสรุปผลการวิจัย หรือสรุปคาตอบตามประเด็นปัญหาต่าง ๆ ให้ชัดเจนว่าปัญหาน้ีคาตอบคืออะไร ถ้ามีหลายปัญหาจะนิยมสรุป เปน็ ขอ้ ๆ ตามปัญหา เมอ่ื ทาวจิ ยั ทกุ ข้ันตอนเสรจ็ แล้วสุดทา้ ยจะต้องเขยี นเป็นรายงานเพื่อเผยแพรต่ ่อไป สรปุ ได้วา่ การวิจยั ทางการพยาบาลหมายถึง การศึกษาคน้ คว้าอย่างเปน็ ระบบเพื่อแสวงหาความรู้ หรอื ข้อเท็จรงิ ใหม่ทน่ี ่าเช่อื ถอื และเก่ยี วข้องกบั วชิ าชีพการพยาบาล ซ่งึ อาจเปน็ องค์ความรู้ทางดา้ นการ ปฏิบตั ิการพยาบาล การศึกษาพยาบาล และการบริหารการพยาบาล เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาวชิ าชีพ การพยาบาล 2. ความสาคญั และลกั ษณะของการวิจัยทางการพยาบาล ปจั จบุ นั วชิ าชพี พยาบาลมุง่ เน้นทาการศึกษาวจิ ัยมากขึ้น การวจิ ยั ทางการพยาบาล จงึ เปน็ สาขาหนงึ่ โดยศึกษาในศาสตร์ของพยาบาล ทัง้ ในดา้ นการส่งเสรมิ สุขภาพ การป้องกันโรค การรกั ษาพยาบาล การฟ้นื ฟู สภาพ และการเตรยี มหรือฝึกอบรมพยาบาล หรือเจา้ หน้าทอ่ี นื่ ท่ีเกย่ี วข้องกบั พยาบาล ดังนัน้ เพ่ือประโยชน์ ของวชิ าชีพ พยาบาลตอ้ งทาวิจัยเพอ่ื 1. ทาให้วชิ าชพี พยาบาลมขี อบเขตเน้ือหาที่เฉพาะเจาะจงสาหรบั พยาบาล เพอ่ื เป็นแนวทางในการ สรา้ งทฤษฎที างการพยาบาล 2. เพื่อให้วชิ าชพี มีรากฐานในการตดั สินใจทด่ี โี ดยใชผ้ ลการวจิ ยั ใหเ้ ป็นประโยชน์ 3. พยาบาลเป็นผทู้ ่ีรูจ้ กั ปัญหาในวชิ าชพี ได้ดีท่ีสดุ จงึ เปน็ ศาสตรท์ ต่ี ้องศกึ ษาโดยพยาบาล 4. ช่วยใหก้ ารพยาบาลยังคงอยู่ได้โดยความเปน็ อสิ ระของวิชาชีพโดยใช้การวิจัย ผลของการวิจัยเออื้ ประโยชน์ตอ่ เพ่ือนมนุษย์ อยา่ งมากท้ังทางดา้ นทฤษฎี และทางปฏิบัตทิ างการ พยาบาล นอกจากนผ้ี ลการวิจัยทางการพยาบาล ทาใหเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อวิชาชพี ดงั นี้ 1. ผลการวิจยั ทาให้เกดิ วทิ ยาการและขอ้ เท็จจริงใหม่ ๆ ทางการพยาบาล 2. ผลการวิจัยชว่ ยให้ได้แนวทางในการแก้ปญั หาทางการพยาบาล 3. ผลการวจิ ยั ชว่ ยให้ผู้บริหารสามารถกาหนดนโยบายและการตัดสินใจในการส่ังงาน ต่าง ๆ 4. ผลการวจิ ยั ทาใหเ้ กดิ การปรบั ปรงุ เทคนิคทางการพยาบาลท่มี ีอยใู่ ห้ทนั สมัย

4 1.2 ประเภทของการวจิ ยั การวิจัยจาแนกได้เป็นหลายชนิดด้วยกัน การจาแนกชนิดของการวิจัยว่าเป็นการวิจัยชนิดใดบ้างน้ัน ขนึ้ อยู่กับเกณฑ์ทีใ่ ช้ยดึ เป็นหลักในการพิจารณา ถา้ ใชเ้ กณฑ์แตกต่างกันก็จะแบง่ การวิจยั ออกเป็นชนดิ ต่างๆ ไม่ เหมือนกัน การจาแนกชนิดของการวิจยั โดยยึดตามเกณฑ์ต่างๆ มีดังนี้ (ภัทรา นิมาคม, 2539; สิน พันธ์ุพินิจ, 2549; บุญใจ ศรสี ถิตยน์ รากูร, 2550) 1.2.1 จาแนกตามประโยชน์ของการวิจยั การจาแนกชนิดของการวิจัยโดยยึดประโยชน์ของการวิจัยเป็นเกณฑ์น้ัน ต้องพิจารณาว่าการทาวจิ ัย น้ันมงุ่ ทีจ่ ะนาผลของการวจิ ัยไปใชป้ ระโยชน์หรือไม่ อยา่ งไร จาแนกออกเป็น 3 ชนดิ คือ 1. การวิจัยพ้ืนฐาน (basic research) หรือการวิจัยบริสุทธ์ิ (pure research) หรือการ วิจัยเชิงทฤษฎี (theoretical research) เป็นการวิจัยท่ีมุ่งเสาะแสวงหาความรู้ใหม่เพื่อสร้างเป็นทฤษฎี หรือ แสวงหาความสัมพันธ์ระหว่างข้อเท็จจริง เป็นการเพ่ิมพูนความรู้ให้กว้างขวางและสมบูรณ์ย่ิงขึ้น โดยไม่ได้ คานึงว่าผลของการวจิ ัยจะนาไปใช้ประโยชน์ได้ทันทีหรือไม่ การวิจัยแบบน้ีเป็นการวิจัยเพื่อประโยชน์ในการ สรา้ งความร้ใู นแตล่ ะศาสตร์ (body of knowledge) 2. การวิจัยประยุกต์ (applied research) รวมถึง เป็นการวิจัยที่มุ่งเสาะแสวงหาความรู้ และประยกุ ตใ์ ช้ความรู้นนั้ ในทางปฏิบัติหรือเป็นการวจิ ัยท่ีนาผลการวจิ ยั ไปใช้ในการแก้ปัญหาโดยตรง 3. การวิจัยเชงิ ปฏิบัติการ (action research) เปน็ กระบวนการวจิ ยั ทมี่ ีเปา้ หมายทจ่ี ะ แก้ปัญหา มุ่งเน้นการเปล่ียนแปลงโดยบุคลากรในระบบร่วมกับนักวิจัยเข้ามามีบทบาทในการเปล่ียนแปลง พฤติกรรมบุคลากรในระบบในการพัฒนาตนเองและผู้อ่ืนให้เหมาะสมกับการดาเนินการ ไม่มีการแยกกลุ่ม ศึกษากลุ่มทดลองแต่เป็นการทดลองปฏิบัติในสถานการณ์ตามธรรมชาติโดยวิเคราะห์สถานการณ์อย่างลึกซ้ึง และเหมาะสม เน้นท่ีการสร้างความเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นขั้นตอนและบันทึกข้อมูลอย่างเป็นระบบ โดยอาศัย การมีส่วนร่วมของผเู้ ก่ียวข้องตลอดกระบวนการวจิ ัย จนเกิดองคค์ วามรู้ต่าง ๆ ท่ีไดจ้ ากกระบวนการวิจัย นามา ประมวลเปน็ แนวคิด หลกั การและสรา้ งเป็นทฤษฎไี ด้ 1.2.2 จาแนกตามวิธีการศึกษา 1. การวิจัยเชงิ ปริมาณ (quantitative research) เปน็ การวิจัยท่ีนาข้อมูลเชงิ ปรมิ าณมาใช้ ข้อมลู ส่วนใหญจ่ ะเป็นตวั เลข การวิจยั ชนิดน้เี ป็นการวจิ ยั ทมี่ ุง่ อธบิ ายเหตกุ ารณต์ ่างๆ โดยอาศัยตวั เลขยนื ยันแสดง ความมากน้อย เชน่ การศึกษาพัฒนาการของเดก็ ปว่ ยในด้านความสงู และน้าหนัก 2. การวจิ ัยเชิงคณุ ภาพ (qualitative research) เป็นการวจิ ัยทข่ี ้อมูลที่นามาใชเ้ ป็นข้อมูลเชงิ คุณภาพ ซึง่ เป็นข้อมูลท่ีไมเ่ ป็นตัวเลข แต่เปน็ ข้อมลู ที่บรรยายลักษณะ สภาพเหตุการณท์ ่ีเก่ียวขอ้ ง ดังนั้น การ วิจัยชนดิ น้ีจึงเป็นการวิจัยทีม่ งุ่ อธิบายเหตุการณต์ า่ งๆ โดยอาศัยความคิดวเิ คราะหเ์ พ่ือประเมินผลหรอื สรปุ ผล เช่น การวิจยั เก่ยี วกบั ความต้องการของผ้ปู ่วยโดยการสมั ภาษณแ์ บบไม่มีโครงสรา้ งและการสัมภาษณ์แบบ เจาะลกึ 1.2.3 จาแนกตามการควบคุมตัวแปร ชนิดของการวิจยั ทจ่ี าแนกโดยการยดึ การควบคุมตัวแปรเปน็ เกณฑ์แบง่ เป็น 3 ชนิดคือ 1. การวจิ ัยแบบทดลอง (experimental research) เป็นการวจิ ัยที่สรา้ งสถานการณ์ขึ้น แลว้ ดูผลท่ตี ามมา การวิจยั แบบทดลองนผี้ ู้วิจัยจะต้องเลือกกลมุ่ ท่ีเหมือนกนั 2 กลมุ่ กลุ่มหนง่ึ เป็นกลุ่ม

5 ทดลองที่เราจัดสถานการณใ์ ห้ และอีกกลุ่มเป็นกลุ่มควบคุมหรอื กลมุ่ เปรียบเทียบซง่ึ ไม่ไดจ้ ัดสถานการณใ์ ห้ โดยผ้วู จิ ยั สามารถควบคมุ ปจั จัยอนื่ ๆ ใหค้ งท่ีหรอื เท่ากันในระหว่างกล่มุ ทดลองและกลมุ่ ควบคมุ 2. การวจิ ยั แบบกง่ึ ทดลอง (quasi-experimental research) เป็นการวิจยั ที่สร้าง สถานการณ์ข้นึ แลว้ ดูผลทตี่ ามมาเชน่ เดียวกับการวจิ ยั แบบทดลอง แตไ่ มส่ ามารถท่ีจะควบคมุ ปัจจยั ตา่ ง ๆ ให้ คงทห่ี รือเท่ากนั ในระหว่างกลุ่มทดลองและกลุม่ ควบคุมทง้ั หมด อาจสามารถควบคมุ ไดเ้ พียงบางส่วนเทา่ นั้น 3. การวจิ ัยเชิงธรรมชาติ (naturalistic research) เป็นการวจิ ัยท่ไี ม่มกี ารจดั สร้าง สถานการณห์ รอื เงื่อนไขใดๆ เลย ปล่อยใหเ้ ปน็ ไปตามธรรมชาติ ผูว้ ิจัยไม่มอี ิทธพิ ลใดๆ ต่อการวิจัยท่ไี ด้น้ัน เลย 1.2.4จาแนกตามระเบยี บวธิ ีวจิ ัย 4.1 การวจิ ัยเชงิ ประวัติศาสตร์ (historical research) เปน็ การวจิ ยั ท่ีใชร้ ะเบียบ วธิ ีทางวิทยาศาสตร์ในลกั ษณะของการศกึ ษาหาขอ้ เท็จจรงิ ทางประวตั ศิ าสตร์ เพือ่ สืบประวตั ิความเปน็ มา เชงิ วชิ าการในสาขาวิชาการตา่ งๆ ทาความเขา้ ใจเรอ่ื งราวทเี่ กิดขนึ้ และหาความสัมพันธ์ระหว่าง เหตกุ ารณ์ในอดตี ปัจจบุ นั เพอื่ ใช้ทานายเหตุการณใ์ นอนาคต 4.2 การวิจยั เชิงพรรณนา (Descriptive Research)เปน็ การวิจยั ท่ใี ชร้ ะเบยี บวธิ ีการ บรรยายปรากฏการณห์ รอื เหตกุ ารณท์ เี่ กิดข้ึนวา่ คืออะไร และมีลักษณะอย่างไร ซง่ึ มุง่ ศกึ ษาหาขอ้ เท็จจริง และสถานการณ์ที่เปน็ อยู่ขณะนัน้ รวมทั้งศึกษาหาความสัมพันธข์ องการปฏิบัติ แนวคดิ หรอื เจตคติโดย เน้นถึงเรอื่ งราวในปจั จุบันเป็นสาคญั 4.3 การวิจัยเชงิ ทดลอง (experimental research) เปน็ การ ศึกษาหา ข้อเท็จจริงด้วยการทดลองภายใต้การควบคมุ ตวั แปรทเี่ กี่ยวข้องอยา่ งมี ระเบียบแบบแผนและมี วตั ถปุ ระสงค์ที่แน่นอนและสามารถกระทาซ้าเพ่ือพิสูจน์หรอื ทดสอบผลอีกได้ 1.2.5 จาแนกตามสาขาวชิ า 1. การวจิ ยั ทางสังคมศาสตร์เป็นการวิจยั ทเ่ี กย่ี วกับสภาพแวดล้อม สงั คม วัฒนธรรม และ พฤตกิ รรมของมนุษย์ เชน่ การวิจยั ด้านปรชั ญา สังคมวทิ ยาศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เป็นตน้ 2. การวจิ ยั ทางมนษุ ยศาสตร์ เปน็ งานที่ผ้วู จิ ัยใชเ้ หตุผล กรอบแนวคิด ทฤษฎี หรือเกณฑ์ ในวิชามนุษยศาสตรส์ าขาต่างๆ เพ่ือแยกแยะใหเ้ หน็ ความเชอ่ื เหตุผลท่ีสนับสนนุ ความเชื่อ น้าหนักของ เหตผุ ล ความคดิ เหน็ ถกู ต้องของขอ้ มูล 3. การวจิ ยั ทางวิทยาศาสตร์เปน็ การวิจยั ทเ่ี กี่ยวกับปรากฎการณ์ธรรมชาตขิ องสิ่งมีชีวติ และไม่มชี ีวติ ท้ังท่ีมองเหน็ และมองไม่เหน็ การวิจยั ประเภทนไี้ ด้กระทากนั มานานแลว้ 1.2.6 จาแนกตามเนอื้ หาการพยาบาล 1. การวจิ ยั ทางการปฏิบัติการพยาบาล เปน็ การวจิ ัยที่ศกึ ษาเกีย่ วกับการปฏิบตั ิการพยาบาล ทง้ั หมด ไม่วา่ จะเป็นด้านการรักษาพยาบาล การสง่ เสรมิ สุขภาพ การป้องกันโรค หรือการฟื้นฟูสมรรถภาพ 2. การวิจยั ทางการศกึ ษาพยาบาล เปน็ การวิจัยท่ศี ึกษาเกย่ี วกับหลกั สตู รวิธีการสอน การ ประเมินผล การสอน ฯลฯ ในด้านการศึกษาพยาบาล 3. การวิจัยทางการบริหารการพยาบาล เป็นการวิจยั ในด้านท่ีเกีย่ วข้องกบั การบริหารงานทางการ พยาบาลและการพฒั นาบุคลากรทางการพยาบาล

6 ๑.๓ ประโยชน์ของการวิจยั การวิจัยนับว่ามีประโยชน์อย่างมากในปัจจุบัน ซึ่งจะเห็นได้ว่าศาสตร์ที่มีความเจริญก้าวหน้าอย่าง รวดเร็วน้ันเกิดจากมีการทาวิจัย หรือมีการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ใหม่ ๆ อยู่ตลอดเวลาซ่ึงจะเห็นได้ชัดเจนใน ศาสตรท์ างด้านการแพทย์ แต่ถ้าศาสตรใ์ ดนักวชิ าการในศาสตรน์ ั้นไม่ค่อยได้ทาการวิจยั กนั หรือทาการวจิ ยั แล้ว ก็ไม่ได้นาไปใช้ประโยชน์ ศาสตร์นั้นๆก็จะเจริญก้าวหน้าช้า ผลงานที่ได้จากการทาวิจัยก่อให้เกิดประโยชน์ หลายอย่างซึ่งก็ขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายของผู้ทาวิจัยเองว่าต้องการนาผลการวิจัยไปใช้อะไร แต่พอจะสรุปได้เป็น ขอ้ ๆ ดงั น้ี 1. ชว่ ยใหไ้ ดค้ วามรใู้ หม่ ท้ังทางทฤษฎีและปฏบิ ัติ 2. ช่วยพิสจู นห์ รอื ตรวจสอบความถกู ต้องของกฎเกณฑ์ หลกั การและทฤษฎีต่างๆ 3. ช่วย ใหเ้ ข้าใจสถานการณ์ ปรากฏการณแ์ ละ พฤตกิ รรมต่าง ๆ 4. ชว่ ยพยากรณผ์ ลภายหน้าของสถานการณ์ ปรากฏการณ์และพฤติกรรมตา่ ง ๆ ได้อย่าง ถกู ต้อง 5. ชว่ ยแก้ไขปญั หาไดอ้ ย่างถูกต้องและมปี ระสทิ ธิภาพ 6. ช่วยในการวินจิ ฉยั ตดั สินใจไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 7. ช่วยปรับปรุงการทางานให้มปี ระสิทธิภาพมากข้นึ 8. ช่วยปรบั ปรงุ และพัฒนาสภาพความเปน็ อยู่ และวิธีดารงชวี ติ ไดด้ ยี ่ิงขึน้ 9. ชว่ ยกระตนุ้ บุคคลใหม้ ีเหตุผล ร้จู กั คิดและค้นควา้ หาความรู้อยู่เสมอ ๑.๔ จรรยาบรรณนักวจิ ยั 6. จรรยาบรรณของนักวิจัย (Ethics for Researchers) การวจิ ยั ทางด้านพฤติกรรมศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และทางการพยาบาล ส่วนใหญใ่ ช้ขอ้ มูลเกี่ยวกับ มนุษย์ จงึ มหี นว่ ยงาน เช่น สมาคมจติ วิทยาแหง่ สหรัฐอเมริกา ได้พฒั นาจรรยาบรรณของนักวิจัย พอสรุปเป็น ขอ้ ๆ ได้ดงั น้ี ขอ้ 1. นักวิจยั ตอ้ งซือ่ สัตยแ์ ละมีคณุ ธรรมในทางวิชาการและการจัดการ นกั วิจยั ต้องมีความซ่ือสัตย์ตอ่ ตนเองไม่นาผลงานของผู้อืน่ มาเปน็ ของตน ไม่ลอกเลียนงานของผู้อ่นื ตอ้ งใหเ้ กยี รตแิ ละอา้ งถงึ บคุ คลหรอื แหลง่ ทีม่ าของข้อมูลท่นี ามาใชใ้ นงานวจิ ัยและมคี วามเป็นธรรมเกย่ี วกบั ผลประโยชนท์ ไี่ ด้จากการวิจัย แนวทางปฏบิ ัติ 1. นกั วจิ ยั ต้องมีความซ่ือสตั ยต์ อ่ ตนเองและผอู้ ่นื 1.1 นักวจิ ัยต้องมีความซื่อสตั ยใ์ นทกุ ขน้ั ตอนของกระบวนการวิจยั ตั้งแต่การเลือกเรื่องท่ี จะทาวิจยั การเลือกผู้เขา้ รว่ มทาวจิ ยั การดาเนินการวจิ ัย ตลอดจนการนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์

7 1.2 นกั วจิ ยั ต้องใหเ้ กยี รติผู้อ่นื โดยการอา้ งถงึ บุคคลหรอื แหลง่ ท่มี าของข้อมลู และความ คดิ เห็นทนี่ ามาใช้ในงานวิจยั 2. นกั วิจยั ต้องซ่ือตรงต่อการแสวงหาทุนวจิ ัย 2.1 นักวจิ ยั ตอ้ งเสนอข้อมูลและแนวคิดอย่างเปิดเผยและตรงไปตรงมาในการเสนอ โครงการวิจัยเพ่ือขอรับทนุ 2.2 นกั วิจัยต้องเสนอโครงการวจิ ัยด้วยความซอ่ื สตั ยโ์ ดยไมข่ อทุนซ้าซ้อน 3. นกั วจิ ยั ต้องมีความเปน็ ธรรมเก่ียวกบั ผลประโยชนท์ ไ่ี ดจ้ ากการวจิ ัย 3.1 นักวจิ ยั ต้องจดั สรรสัดส่วนของผลงานวิจยั แก่ผู้รว่ มวจิ ัยอยา่ งยตุ ิธรรม 3.2 นกั วิจยั ต้องเสนอผลงานอยา่ งตรงไปตรงมา โดยไมน่ าผลงานของผู้อื่นมาอา้ งวา่ เป็น ของตน +ขอ้ 2. นักวิจัยต้องตระหนักถงึ พันธกรณใี นการทาวจิ ัย ตามข้อตกลงท่ีทาไว้กบั หน่วยงานท่ีสนบั สนนุ การวิจัยและต่อหน่วยงานทต่ี นสงั กัด นักวิจยั ต้องปฏิบัตติ ามพันธกรณแี ละข้อตกลงการวจิ ัยทีผ่ ้เู ก่ยี วข้องทุกฝ่ายยอมรบั รว่ มกนั อุทิศเวลา ทางานวิจยั ให้ไดผ้ ลดที ีส่ ุดและเปน็ ไปตามกาหนดเวลา มคี วามรับผิดชอบไม่ละท้งิ งานระหวา่ งดาเนนิ การ แนวทางปฏิบตั ิ 1. นักวิจยั ต้องตระหนกั ถึงพนั ธกรณีในการทาวจิ ยั 1.1 นกั วจิ ยั ต้องศึกษาเงื่อนไข และกฎเกณฑ์ของเจา้ ของทุนอย่างละเอยี ด รอบคอบ เพื่อ ป้องกันความขดั แย้งท่จี ะเกดิ ข้ึนในภายหลัง 1.2 นักวิจยั ตอ้ งปฏบิ ตั ิตามเง่อื นไข ระเบียบและกฎเกณฑ์ ตามข้อตกลงอยา่ งครบถว้ น 2. นักวจิ ยั ต้องอุทศิ เวลาทางานวิจัย 2.1 นักวจิ ยั ตอ้ งทุ่มเทความรู้ ความสามารถและเวลาให้กับการทางานวจิ ยั เพื่อใหไ้ ด้มา ซึ่งผลงานวิจยั ท่ีมีคณุ ภาพและเปน็ ประโยชน์ 3. นักวจิ ยั ตอ้ งมีความรบั ผิดชอบในการทาวิจยั 3.1 นักวิจยั ตอ้ งมีความรบั ผิดชอบ ไม่ละทิง้ งานโดยไม่มีเหตผุ ลอนั ควร และ สง่ งานตาม กาหนดเวลา ไมท่ าผิดสญั ญาข้อตกลงจนก่อใหเ้ กดิ ความเสียหาย 3.2 นกั วิจยั ตอ้ งมีความรับผิดชอบในการจดั ทารายงานการวจิ ัยฉบับสมบูรณ์ เพื่อให้ผล อนั เกิดจาการวิจยั ได้ถกู นาไปใชป้ ระโยชนต์ อ่ ไป ขอ้ 3. นักวิจัยตอ้ งมีพน้ื ฐานความรู้ในสาขาวิชาการท่ีทาวิจยั นกั วิจัยต้องมีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาการท่ที าวจิ ัยอย่างเพียงพอและมคี วามรู้ ความชานาญหรือมี ประสบการณ์ เก่ียวเนอ่ื งกับเรื่องทีท่ าวิจัย เพือ่ นาไปสูง่ านวิจัยทมี่ ีคุณภาพ และเพ่ือปอ้ งกันปญั หาการวิเคราะห์ การตคี วาม หรอื การสรุปทผ่ี ิดพลาด อันอาจก่อใหเ้ กดิ ความเสียหายต่องานวจิ ยั แนวทางปฏิบัติ 1. นักวิจัยตอ้ งมีพ้ืนฐานความรู้ ความชานาญหรอื ประสบการณ์เก่ยี วกับเรื่องที่ทาวิจยั อย่าง เพียงพอเพอ่ื นาไปส่งู านวิจยั ที่มีคุณภาพ

8 2. นักวจิ ยั ตอ้ งรกั ษามาตรฐานและคณุ ภาพของงานวิจัยในสาขาวิชาการน้ัน ๆ เพื่อป้องกันความ เสียหายตอ่ วงการวิชาการ ข้อ 4. นักวิจัยตอ้ งมคี วามรับผดิ ชอบตอ่ ส่ิงทศี่ ึกษาวจิ ัย ไม่ว่าจะเปน็ ส่งิ ทมี่ ีชวี ิต หรือไมม่ ีชีวิต นักวิจัยตอ้ งดาเนนิ การดว้ ยความรอบคอบระมดั ระวัง และเท่ียงตรงในการทาวจิ ยั ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับคน สตั ว์ พชื ศิลปวัฒนธรรม ทรพั ยากร และสิ่งแวดล้อม มจี ติ สานกึ และปณธิ านที่จะอนุรกั ษ์ ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรและสงิ่ แวดล้อม แนวทางปฏบิ ัติ 1. การใช้คนหรอื สตั วเ์ ป็นตัวอยา่ งทดลอง ต้องทาในกรณีที่ไม่มีทางเลือกอื่นเทา่ น้ัน 2. นักวิจยั ตอ้ งดาเนินการวจิ ยั โดยมจี ติ สานกึ ทจี่ ะไม่ก่อความเสียหายต่อคน สตั ว์ พชื ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากร และสิง่ แวดลอ้ ม 3. นกั วิจัยต้องมีความรับผิดชอบตอ่ ผลท่จี ะเกิดแกต่ นเอง กลุ่มตวั อยา่ งทใ่ี ช้ในการศึกษาและ สงั คม ขอ้ 5. นักวิจัยต้องเคารพศักดิ์ศรี และสทิ ธิของมนุษยท์ ีใ่ ช้เปน็ ตัวอย่าง ในการวิจัย นักวจิ ัยตอ้ งไมค่ านึงถงึ ผลประโยชนท์ างวชิ าการจนละเลย และขาดความเคารพในศักด์ศิ รีของเพือ่ น มนุษยต์ ้องถือเป็นภาระหน้าที่ท่จี ะอธิบายจุดมงุ่ หมายของการวิจยั แก่บุคคลท่ีเปน็ กลุม่ ตวั อย่าง โดยไม่ หลอกลวงหรือบีบบังคับ และไมล่ ะเมดิ สิทธสิ ่วนบุคคล แนวทางปฏิบัติ 1. นกั วิจัยตอ้ งมีความเคารพในสิทธิของมนุษยท์ ่ีใชใ้ นการทดลองโดยต้องไดร้ ับ ความยินยอมให้ทาการวิจยั 2. นักวิจยั ต้องปฏบิ ัตติ ่อมนุษยแ์ ละสัตวท์ ใี่ ช้ในการทดลองด้วยความเมตตา ไมค่ านึงถึงแต่ ผลประโยชน์ทางวชิ าการจนเกิดความเสียหายที่อาจกอ่ ใหเ้ กดิ ความขัดแยง้ 3. นกั วจิ ัยตอ้ งดูแลปกป้องสทิ ธิประโยชน์และรกั ษาความลับของกลมุ่ ตวั อย่างท่ใี ชใ้ นการทดลอง ข้อ 6. นักวิจยั ต้องมีอิสระทางความคดิ โดยปราศจากอคตใิ นทุกข้ันตอนของ การทาวิจัย นกั วจิ ัยตอ้ งมีอสิ ระทางความคิดตอ้ งตระหนักว่า อคตสิ ่วนตนหรือความลาเอียงทางวิชาการ อาจสง่ ผล ให้มีการบิดเบือนข้อมูลและข้อคน้ พบทางวิชาการ อันเป็นเหตุให้เกิดผลเสียหายตอ่ งานวิจยั แนวทางปฏบิ ัติ 1. นกั วจิ ยั ต้องมีอิสระทางความคดิ ไม่ทางานวิจยั ดว้ ยความเกรงใจ 2. นักวจิ ยั ตอ้ งปฏิบตั งิ านวิจยั โดยใชห้ ลกั วชิ าการเป็นเกณฑแ์ ละไม่มอี คตมิ าเก่ียวข้อง

9 3. นกั วจิ ยั ตอ้ งเสนอผลงานวจิ ัยตามความเป็นจรงิ ไมจ่ งใจเบีย่ งเบนผลการวิจยั โดยหวงั ประโยชน์สว่ นตน หรือต้องการสร้างความเสยี หายแกผ่ ู้อ่ืน ขอ้ 7. นักวิจัยพึงนาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชนใ์ นทางท่ีชอบ นกั วิจัยพงึ เผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั เพอ่ื ประโยชนท์ างวิชาการและสงั คมไม่ขยายผลขอ้ ค้นพบจนเกินความ เป็นจรงิ และไมใ่ ชผ้ ลงานวจิ ยั ไปในทางมิชอบ แนวทางปฏบิ ตั ิ 1. นักวจิ ัยพึงมีความรับผิดชอบและรอบคอบในการเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัย 2. นกั วจิ ยั พึงเผยแพร่ผลงานวิจยั โดยคานงึ ถงึ ประโยชนท์ างวชิ าการ และสงั คมไม่ เผยแพร่ ผลงานวิจัยเกนิ ความเปน็ จรงิ โดยเหน็ แก่ประโยชน์สว่ นตนเป็นทีต่ งั้ 3. นกั วจิ ัยพึงเสนอผลงานวิจัยตามความเป็นจริง ไมข่ ยายผลข้อคน้ พบโดยปราศจากการ ตรวจสอบ ยืนยนั ในทางวชิ าการ ขอ้ 8. นกั วิจัยพึงเคารพความคิดเหน็ ทางวิชาการของผู้อื่น นกั วิจัยพึงมีใจกวา้ ง พร้อมท่จี ะเปิดเผยข้อมูลและขั้นตอนการวิจัยยอมรับฟงั ความคิดเหน็ และเหตุผลทาง วชิ าการของผู้อ่ืน และพร้อมท่ีจะปรบั ปรุงแกไ้ ขงานวจิ ัยของตนให้ถูกต้อง แนวทางปฏิบตั ิ 1. นักวิจัยพงึ มีมนุษยสัมพันธท์ ่ีดี ยนิ ดแี ลกเปลี่ยนความคิดเห็น และสร้างความเข้าใจในงานวจิ ยั กับเพ่ือนร่วมงานและนักวิชาการอ่นื ๆ 2. นกั วจิ ยั พึงยอมรับฟัง แก้ไขการทาวจิ ัยและการเสนอผลงานวิจัยตามขอ้ แนะนาทด่ี เี พ่ือสร้าง ความรู้ทถี่ ูกตอ้ งและสามารถนาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ได้ ข้อ 9. นักวจิ ัยพงึ มีความรับผิดชอบต่อสังคมทกุ ระดบั นกั วิจยั พึงมีจิตสานึกทจ่ี ะอุทิศกาลังสติปัญญาในการทาวิจัย เพ่อื ความก้าวหนา้ ทางวชิ าการ เพื่อความ เจริญและประโยชน์สุขของสังคมและมวลมนษุ ยชาติ แนวทางปฏบิ ตั ิ 1. นกั วจิ ัยพึงไตรต่ รองหาหัวข้อการวิจัยด้วยความรอบคอบและทาการวิจยั ดว้ ย จติ สานึกท่ีจะอทุ ิศกาลงั ปัญญาของตนเพ่ือความกา้ วหน้าทางวชิ าการ เพือ่ ความเจรญิ ของสถาบันและประโยชน์ สุขต่อสังคม 2. นักวิจัยพงึ รับผิดชอบในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานวชิ าการเพ่ือความเจรญิ ของสังคม ไม่ทาการ วจิ ัยที่ขัดกับกฎหมาย ความสงบเรยี บรอ้ ยและศีลธรรมอนั ดีของประชาชน 3. นักวจิ ยั พงึ พฒั นาบทบาทของตนใหเ้ กดิ ประโยชน์ย่งิ ขน้ึ และอุทิศเวลา นา้ ใจ กระทาการ สง่ เสริมพฒั นาความรู้ จิตใจ พฤติกรรมของนักวจิ ยั รนุ่ ใหม่ให้มีส่วนสรา้ งสรรค์ความรแู้ กส่ ังคมสืบไป ๑.๕ การเขียนโครงรา่ งการวจิ ัย โครงการวิจัย (research proposal) เปน็ แผนงาน โครงการ ทีแ่ สดงรายละเอียดและขน้ั ตอนของการ ดาเนินการวิจัยที่กาหนดไว้ล่วงหน้า (เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย ศิริพร ขัมภลิขิต และทัศนีย์ นะแส. 2539). การเขียนโครงการวิจัยจึงเปรียบเสมือนการเขียนแบบแปลนก่อนการสร้างบ้าน ท่ีจะต้องมีการกาหนด

10 สว่ นประกอบต่างๆ ของบ้านไว้ล่วงหน้า เพ่ือที่จะทาการสร้างบ้านได้ถูกต้อง นอกจากน้ี โครงการวจิ ัยยังเป็น สิ่งท่ีช้ีให้เห็นเจตนารมณ์ของและพันธกิจของนักวิจัยและเป็นตัวแทนของนักวิจัยท่ีจะนาเสนอเน้ือหาการวิจัย ต่อผ้เู ก่ยี วขอ้ ง (สิน พนั ธพ์ุ นิ ิจ, 2549) ดังน้ัน ในโครงการวจิ ยั จงึ ต้องกาหนดแผนการดาเนินงานแต่ละขัน้ ตอน ตลอดจนระยะเวลาในการทาวจิ ัยและงบประมาณท่ีใช้ในการทาวจิ ัยเร่อื งน้ันๆ ด้วย วัตถุประสงค์ของการเขยี นโครงการวจิ ยั เหตุผลที่นักวิจัยต้องเขียนโครงการวิจัยน้ันแตกต่างกัน ทั้งน้ีเนื่องจากนักวิจัยแต่ละคนอยู่ใน สถานะภาพท่ีต่างกัน อย่างไรก็ตาม วัตถุประสงค์หลักของการเขียนโครงการวิจัยสามารถสรุปได้ดังนี้ (เพชร นอ้ ย สงิ ห์ชา่ งชยั ศิริพร ขมั ภลิขติ และทัศนีย์ นะแส. 2539; วิจติ ร ศรสี ุพรรณ, 2547) 1. เพ่ือใช้เป็นกรอบในการดาเนินการวิจัย โครงการวิจัยจะเป็นสิ่งที่นักวิจัยสามารถใช้เป็น แนวทางในการดาเนินการวจิ ัย ให้ดาเนินการวิจยั ได้ถูกต้อง ไม่ออกนอกขอบเขตหรือหลงทาง โดยเฉพาะอย่าง ยิง่ งานวิจัยท่ีนักวิจัยหลายคนร่วมกันทา จาเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องเขียนโครงการวจิ ัยเพ่ือใช้เป็นแนวทางในการ ทาวิจัยที่ถูกต้องครบถ้วน นอกจากน้ี การวางแผนโตรงการวิจัยท่ีดียังช่วยให้ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด บริหารเวลาได้อย่างมีประสิทธิภาพ และใช้เป็นเครื่องมือสาหรับกากับติดตามการวิจัยได้อีกด้วย (สิน พันธุ์ พินิจ, 2549) 2. เพื่อใช้เสนอขออนุมัติในการทาวิจัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าหากผู้ท่ีทาวิจัยเป็นนักศึกษาที่กาลัง ทาการวิจัยเพื่อวิทยานิพนธ์ จาเป็นจะต้องเขียนโครงการวิจัยเพ่ือเสนอขออนุมัติในการทาจากคณะกรรมการ ของสถานศึกษาน้ันๆ หรือในกรณีที่นักวิจัยจาเป็นต้องขอความร่วมมือในการทาวิจัยจากหน่วยงานต่างๆ ใน การขออนุญาตเก็บข้อมูลและการขอข้อมูลที่เก่ียวข้องกับการวิจัย โครงการวิจัยจึงเป็นส่ิงท่ีช่วยบอ กถึง วัตถปุ ระสงค์และสงิ่ ทน่ี ักวจิ ัยตอ้ งการจะทาให้แก่เจา้ ของหนว่ ยงานนน้ั ๆ พจิ ารณาอนุมัติใหท้ าวจิ ัยหรือไม่อนมุ ัติ ใหท้ าวิจยั ได้ 3. เพือ่ ใช้เสนอขอทนุ อดุ หนุนการวิจยั ในการทาวิจยั ทุกครง้ั ผู้วจิ ัยจะต้องมคี ่าใชจ้ า่ ยในการทาการ วิจัยไม่มากก็น้อย ดังนั้น การแสวงหาแหล่งทุนเพ่ือสนับสนุนการวิจัยจึงมีความจาเป็นอย่างยิ่ง ซ่ึง โครงการวิจัยก็จะเป็นสื่อที่ใช้นาเสนอต่อผู้พิจารณาตัดสินให้ทุนอุดหนุนการวิจัยทราบถึง ความเป็นมา ความสาคัญของปัญหาการวิจัยนั้นๆ ตลอดจนวัตถุประสงค์ของการวิจัย และประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับจาก งานวิจัยน้ันๆ ซึ่งจะมสี ว่ นสาคัญในการพจิ ารณาตัดสนิ การใหท้ นุ อดุ หนนุ การวจิ ยั ด้วย ส่วนประกอบของโครงการวิจัย การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยน้ัน อาจมีรายละเอียดปลีกย่อยท่ีต่างกันออกไปขึ้นกับข้อกาหนดของ หน่วยงานท่ีผู้วิจัยจะต้องนาข้อเสนอโครงการวิจัยน้ันๆ ไปนาเสนอ อย่างไรก็ตาม ส่วนประกอบหลักของ โครงการวิจยั ประกอบดว้ ยสว่ นสาคญั หลกั ๆ 3 ส่วนคือ ส่วนที่ 1 สว่ นนา ประกอบดว้ ยขอ้ มลู ตอ่ ไปน้ี 1.1 ชอื่ โครงการวิจัย 1.2 สาขาของงานวจิ ยั 1.3 ประเภทของงานวจิ ยั 1.4 ชอ่ื และรายละเอยี ดเกี่ยวกับผู้ทาการวิจัย

11 ส่วนท่ี 2 ส่วนเนื้อหา คือส่วนท่ีประกอบด้วยสาระสาคัญของโครงการวิจัย ซ่ึงประกอบด้วย ส่วนยอ่ ยๆ ดังต่อไปนี้ 2.1 ความเปน็ มาและความสาคญั ของปัญหา 2.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจยั 2.3 คาถามการวิจยั 2.4 สมมตฐิ านการวิจยั (ถา้ มี) 2.5 นยิ ามศัพท์ 2.6 ขอบเขตของการวจิ ยั 2.7 ข้อตกลงเบ้ืองต้น 2.8 เอกสารและงานวจิ ัยที่เกีย่ วขอ้ ง 2.9 กรอบแนวคิดการวจิ ัย 2.10 วิธกี ารดาเนินการวิจัย  แบบการวิจยั  ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง  เครือ่ งมอื ท่ีใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล  วิธีการเก็บรวบรวมข้อมลู 2.11 วธิ กี ารวเิ คราะหข์ ้อมูล 2.12 ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะไดร้ บั สว่ นท่ี 3 แผนการดาเนินการวจิ ัย ประกอบดว้ ย 3.1 ระยะเวลาการดาเนินการวจิ ยั 3.2 งบประมาณท่ใี ช้ในการวิจยั 3.3 เอกสารอ้างองิ 3.4 ภาคผนวก หลกั การเขียนเนอ้ื หาในสว่ นประกอบของโครงการวจิ ัย การเขียนรายละเอียดในโครงการวิจัยนั้นจาเป็นต้องมีข้อมูลที่สาคัญพอสังเขป เพื่อท่ีจะช่วยส่ือให้ ผอู้ ่านโครงการเข้าใจว่าผวู้ ิจยั ได้วางแผนการดาเนินงานวจิ ัยของตวั เองอยา่ งไร ซ่งึ รายละเอยี ดของเน้ือหาในแต่ ละประเด็นในโครงการวิจัยพอจะสรุปได้ดังนี้ (เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย ศิริพร ขัมภลิขิต และทัศนีย์ นะแส . 2539; วิจติ ร ศรีสุพรรณ, 2547; บุญใจ ศรสี ถิตย์นรากูร, 2550) 1. ชื่อโครงการวิจัย ช่ือโครงการวิจัยหรือช่ือเร่ืองวิจัย เป็นส่วนแรกท่ีจะสื่อความหมายให้ผู้อ่าน ทราบว่าผู้วิจัยต้องการจะศึกษาอะไร ตัวแปรหลักของการศึกษาคืออะไร กลุ่มตัวอย่างคือใคร สาหรับ งานวิจัยบางเรื่องอาจระบุถึงชว่ งระยะเวลาท่ีทาการศึกษา และ/หรือสถานที่เก็บรวบรวมข้อมูลอีกด้วย ซึ่งการ กาหนดช่ือโครงการวิจัยท่ีดีควรใช้ภาษาท่ีชัดเจน เข้าใจง่าย ไม่ยาวเกินไป และไม่ใช้ศัพท์เทคนิคมากจนเกิน ความจาเปน็ การเขียนช่อื โครงการควรเขยี นช่ือทั้งภาษาไทยและภาษาองั กฤษท่สี อดคล้องตรงกัน 2. สาขาของงานวิจัย การแบ่งสาขาของงานวิจัยนั้นอาจมีการแบ่งท่ีแตกต่างกันข้ึนกับสถาบันท่ีให้ ทุนทีเ่ ป็นผ้แู บง่ ว่าจะจัดงานวิจัยลักษณะหนึ่งๆ อยูใ่ นสาขาใด ซ่ึงถ้าผู้วิจัยจะเขียนโครงการเพ่ือขอทุนวิจัยจาก

12 สถาบันน้ันๆ ก็ต้องจัดงานวิจัยตามการแบ่งของสถาบันที่ตนเองจะขอทุนเช่น สภาวิจัยแห่งชาติได้แบ่งการวิจัย ทางดา้ นการพยาบาลอยู่ในสาขาวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ เป็นตน้ 3. ประเภทของงานวิจัย เป็นการจัดประเภทของงานวิจัยช้ินหน่ึงว่าเป็นงานวิจัยประเภทใดน้ัน ข้นึ อยู่กับเกณฑท์ ่ีใช้ในการแบ่งเช่น แบง่ ตามประโยชน์ของงานวิจัย แบง่ ตามระดบั การควบคมุ ตัวแปร แบ่งตาม เวลา ฯลฯ ดังน้ันงานวิจัยเร่ืองหน่ึงๆ อาจถูกจัดประเภทได้หลายประเภท แต่ในการเขียนประเภทของ งานวิจัยในโครงการวิจัยนั้นขึ้นกับผวู้ ิจยั จะเลือกใชเ้ กณฑ์ใดเกณฑ์หน่ึงในการแบ่ง และเลอื กนาเสนอจากเกณฑ์ ใดเกณฑห์ น่ึงเทา่ นน้ั 4. ชื่อและรายละเอียดเกี่ยวกับผู้วิจัย ซึ่งจะประกอบด้วยช่ือของหัวหน้าโครงการวิจัย ผู้ร่วม โครงการวจิ ัยและปรึกษาโครงการวิจัย ส่วนรายละเอียดของบุคคลทเ่ี ก่ียวขอ้ งเหล่านี้มักจะระบุคุณวฒุ ิตาแหน่ง และประสบการณ์ในการทาการวจิ ัย 5. ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา เป็นส่วนท่กี ล่าวถึงเหตผุ ลของการทาวิจัยวา่ มีเหตุจูงใจ ใดทาให้ผู้วิจัยสนใจท่ีจะทาการวิจัยเร่ืองนี้ มีความจาเป็นหรือความสาคัญอย่างไรจึงต้องทาการวิจัยเรื่องน้ันๆ ถ้าไม่ทาอาจก่อให้เกิดปัญหาอะไรหรือไม่ หรือถ้าทาแล้วจะเกิดประโยชน์หรือผลดีอย่างไร ซ่ึงในการเขียน ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ควรจะแสดงให้ผู้อ่านเห็นว่างานวิจัยเรื่องที่ต้องการทาจะทาให้เกิด ความก้าวหน้าทางวิชาการอย่างไร และเกีย่ วข้องกับการปฏิบัตงิ านของตนเองอย่างไร ซึ่งจะเป็นส่วนชว่ ยชกั จูง ใหผ้ ้อู า่ นเหน็ วา่ งานวิจัยช้ินนั้นมคี ณุ คา่ ของความสาคญั เพยี งพอ สมควรที่จะตอ้ งทาการวจิ ยั หลักการเขยี นความเปน็ มาและความสาคัญของปญั หานัน้ ส่วนใหญน่ ิยมเขยี นเรม่ิ ตน้ จากแนวคิด กว้างๆ เก่ยี วกบั เรื่องที่ทาวิจัยกอ่ น แลว้ เขียนให้แคบลงถึงประเด็นปัญหาท่จี ะทาวิจัย ผลกระทบหรือผลเสยี ท่ี อาจเกิดข้ึนจากสภาพปัญหานั้นๆ ถา้ ปญั หาไมไ่ ด้รบั การแกไ้ ข แนวคิดเก่ียวกับการศึกษาเพือ่ การแก้ปัญหาน้นั และผลที่คาดว่าจะได้รับจากการศกึ ษาวจิ ัย ตามลาดบั สาหรับความยาวของความเป็นมาและความสาคัญของ ปญั หานน้ั ขน้ึ อยู่กับความชัดเจนเพียงพอทจี่ ะทาใหผ้ ู้อา่ นเข้าใจปัญหาวิจยั และความสาคัญของปัญหาของ งานวิจัยแตล่ ะเรือ่ ง ซง่ึ อาจยาวต้ังแตค่ รงึ่ หนา้ ถงึ 5 หน้ากระดาษก็ได้ 6. วัตถุประสงค์ของการวิจัย เป็นส่วนท่ีบอกถึงเป้าหมายหรือส่ิงท่ีผู้วิจัยต้องการศึกษาวิจัยว่า ต้องการศึกษาอะไร ศึกษากับใคร ศึกษาในแง่มุมใด การเขียนวัตถุประสงค์ ควรเขียนในรูปประโยคบอกเล่า ด้วยสานวนที่กระชับ ชัดเจน และถ้างานวิจัยน้ันต้องการศึกษาหลายประเด็นควรแยกวัตถุประสงค์เป็นข้อๆ เรยี งลาดบั ตามการคน้ หาคาตอบ 7. คาถามการวิจัย คาถามการวิจัยเป็นการกาหนดปัญหาท่ีแน่นอนว่าผู้วิจัยต้องการคาตอบอะไร จากงานวิจัยน้ันๆ ซ่ึงในการเขียนคาถามการวิจัยน้ัน ในบางงานวิจัยผู้วิจัยอาจจะไม่เขียนก็ได้ การเขียน คาถามการวิจยั ใหเ้ ขยี นในรปู ประโยคคาถาม และแยกคาถามเปน็ ข้อๆ ใหช้ ดั เจน 8. สมมติฐานการวจิ ัย เป็นการคาดคะเนคาตอบของปญั หาการวิจัย โดยอาศัยข้อมลู จากการศึกษา ค้นคว้าจากเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง เป็นแนวทางในการตั้งสมมติฐาน ซ่ึงงานวิจัยบางเรื่องก็ไม่ จาเป็นต้องเขียนสมมตฐิ านการวิจยั ก็ได้ ข้ึนกบั ลักษณะของงานวจิ ัยและขอ้ มูลจากการศกึ ษาเอกสารงานวิจัยท่ี เกยี่ วข้องวา่ จะเพียงพอตอ่ การตงั้ สมมติฐานหรือไม่ 9. นิยามศัพท์ เป็นการให้คาจากัดความของคาศัพท์เฉพาะต่างๆ ท่ีใช้ในการวิจัย เพ่ือให้ผู้ที่ เก่ียวข้องกับโครงการวิจัยและการทาวิจัยได้เข้าใจตรงกัน ซึ่งคาท่ีจะต้องนิยามได้แก่ ตัวแปรท่ีใช้ในการวิจัย คาศัพท์ที่ไม่ได้ใช้ในความหมายที่เป็นสากลหรือศัพท์ท่ีมีความหมายไม่แน่นอน และศัพท์เฉพาะท่ีอาจเข้าใจ

13 เฉพาะคนบางกลุ่มเท่านั้น การเขียนนิยามศัพท์ของงานวิจัย ต้องเขียนเป็นลักษณะนิยามเชิงปฏิบัติการณ์ (operational definition) คือ เป็นพฤติกรรม หรือการแสดง หรือการปฏิบัติท่สามารถสังเกตได้ รับรู้ได้ หรือ ประเมินได้ มีสาระคลอบคลุมและสอดคล้องกับสาระในแนวคิดทฤษฎีของตัวแปรที่ศึกษา และต้องบอกด้วย วา่ จะไดข้ อ้ มลู จากกลมุ่ ใด และสามารถเก็บขอ้ มูลไดโ้ ดยวธิ ีใด 10. ขอบเขตของการวิจัย เป็นการกาหนดกรอบของการวิจัยว่า ต้องการศึกษาครอบคลุมประชากร ตัวแปร หรือสถานที่แค่ไหน การเขียนขอบเขตของการวิจัยจะต้องกล่าวถึงประชากรหรือกลุ่มตัวอย่างท่ีจะใช้ ในการวิจัยว่าเป็นใคร จากัดขอบเขตการวิจัยไว้แค่ไหน จะศึกษาตัวแปรอะไรบ้าง ตลอดจนกล่าวถึง สภาพแวดลอ้ มตา่ งๆ ทผ่ี ู้วิจัยตอ้ งการจากดั ขอบเขตไวด้ ว้ ย 11. ข้อตกลงเบื้องต้น เป็นเง่ือนไขของการวิจัยและส่ิงท่ีเกี่ยวข้องกับการวิจัย ที่ถือว่าเป็นความจริง โดยไม่ต้องมีการพิสูจน์ เพ่ือความเข้าใจตรงกันระหว่างผู้อ่านและผู้ที่ทาการวิจัย อย่างไรก็ตาม โครงการวิจัย บางเร่ืองก็ไม่จาเป็นต้องมีข้อตกลงเบื้องต้น หากคิดว่าผู้อ่านรายงานวิจัยกับผู้วิจัยมีความเข้าใจในเรื่องน้ันๆ ตรงกนั อยู่แล้ว 12. เอกสารและงานวจิ ัยที่เก่ียวข้อง คือสว่ นท่ีผวู้ จิ ัยจะแสดงหลักฐานต่างๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั การวิจัยที่ มีอยู่ เพ่ือแสดงให้เห็นว่า การทางานวิจัยเร่ืองน้ันต้ังอยู่บนหลักการ มีความรู้ท่ีเป็นพื้นฐานของการศึกษา เพียงพอ และมีวิธีการดาเนนิ การวิจัยที่สามารถทาการวจิ ัยไดส้ าเร็จ ซึ่งในส่วนนี้ จะต้องประกอบดว้ ยเน้ือหา ท่ีได้จากการทบทวนวรรณกรรมโดยสงั เขปและกรอบแนวคิดในการทาวจิ ยั ท่ีชดั เจน อยา่ งไรกต็ าม ถา้ เปน็ การ เขียนโครงการวิจยั เพ่ือวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาเพ่อื เสนอขออนุมตั ิในการทาวิทยานิพนธ์ เน้ือหาในส่วนนี้อาจ ต้องมีรายละเอียดพอสมควรเพื่อแสดงให้อาจารย์ผู้พิจารณาทราบว่านักศึกษาได้มีการศึกษาค้นคว้าเอกสารท่ี เกยี่ วข้องมามากพอสมควรแล้ว 13. กรอบแนวคิดการวิจัย ซึ่งในบางคร้ังอาจเรียกว่ากรอบมโนทัศน์การวิจัย (conceptual framework or conceptual research framework) เป็นความคิดรวบยอดที่เกิดจากการบูรณาการแนวคิด และทฤษฎีท่ีรวบรวมได้จากการทบทวนวรรณกรรม โดยกรอบแนวคิดการวิจัยต้องแสดงให้เห็นถึง ความสัมพันธ์ของมโนทัศน์ (concepts) ปรากฎการณ์ (phenomena) หรือตัวแปรต่างๆ ท่ีผู้วิจัยจะศึกษา อยา่ งชดั เจน 14. วธิ ีการดาเนินการวจิ ัย หรือระเบียบวิธีวิจัย เป็นส่วนที่จะทาให้ผู้อา่ นทราบวา่ ผ้วู ิจัยมีแนวทางใน การดาเนินการวิจยั อย่างไร ซ่ึงจะประกอบดว้ ยสว่ นตา่ งๆ ดงั ตอ่ ไปนี้ 14.1 แบบการวิจัย เป็นการบอกให้ผู้อ่านทราบว่างานวิจัยที่จะทาน้ันเป็นงานวิจัยแบบใด เช่น งานวจิ ยั แบบทดลอง งานวจิ ยั เชงิ สารวจ การวจิ ัยเชงิ พรรณนา ฯลฯ 14.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง จะต้องระบุลักษณะของประชากร จานวนและขนาดของ กลุ่มตัวอยา่ ง ตลอดจนวิธไี ด้ขนาดตัวอยา่ งและการสมุ่ หรือเลือกตวั อย่างทเี่ หมาะสมดว้ ย 14.3 เคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ควรกล่าวถึงลักษณะของเคร่ืองมือท่ีใช้ในการ วิจัย ท้ังเครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลและเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ตลอดจนวิธีการที่จะใช้ในการ ตรวจสอบหรือทดสอบเพ่ือยืนยันว่าเครื่องมือนั้นๆ มีประสิทธิภาพดี มีความเท่ียง (reliability) ความตรง (validity) ความเหมาะสมในการใช้ (feasibility) เปน็ ต้น 14.4 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ควรกล่าวถึง ขั้นตอนของการเก็บรวบรวมข้อมูล เริ่มตั้งแต่การ ติดต่อ การเตรยี มงาน การเก็บรวบรวมข้อมลู วา่ จะทาอยา่ งไรบ้าง เก็บขอ้ มลู ในระหว่างวัน เวลา และสถานท่ใี ด

14 15. วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล ควรระบุสถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือตอบคาถามการวิจัยแต่ละ สว่ นให้ชัดเจน พรอ้ มท้ังบอกวิธกี ารที่จะวิเคราะห์ข้อมูลด้วยว่าจะวิเคราะหโ์ ดยวิธีใดเช่น ใช้เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ชนดิ ใดในการวเิ คราะห์ข้อมลู 16. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ เป็นการเขียนถึงคุณค่าของงานวิจัย หลังจากการดาเนินการวิจัย บรรลุตามวัตถุประสงค์แล้ว ซ่ึงมีหลักการเขียนคือ 1) ควรเขียนเป็นข้อๆ โดยเร่ิมจากข้อท่ีเป็นประโยชน์ โดยตรงก่อน แล้วจึงเขียนเรียงลาดับไปสู่ข้อที่เป็นประโยชน์ทางอ้อม 2) ระบุว่าผู้วิจัยคาดว่าจะได้อะไรจาก การวิจยั ครง้ั น้ี และจะนาผลทไี่ ด้น้ันไปใช้ประโยชน์กับใครและใชอ้ ยา่ งไร 17. แผนการดาเนินการวิจัย เป็นแผนการดาเนินงานวิจัยของผู้วิจัยท่ีกาหนดไว้ล่วงหน้าว่าจะทา อะไรในช่วงเวลาใด และใช้เวลาเท่าไหร่ ซ่ึงมักนิยมเขียนในลักษณะของตารางปฏิบัติงานวิจัยหรือ Gantt Chart ดงั ตัวอย่างในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 แสดงตวั อยา่ งการเขยี นแผนการดาเนนิ การวจิ ัยในลกั ษณะ Grant chart ล า ดั กิจกรรม พ.ศ. 2564 บ มิ . ก . ส.ค ก . ต . พ . ธ . ม.ค ก . มี . เ ม . พ . ย ค ย ค ย ค . พ ค. ย. ค. 1. ศึกษาเอกสารที่เกยี่ วข้อง 2. จดั ทาโครงการวจิ ัยเสนอขอรับ ทนุ 3. จดั ทาเครอ่ื งมอื 4. รวบรวมข้อมูล 5. วเิ คราะหข์ อ้ มลู 6. อภิปรายผลการวจิ ัย 7. จัดทารายงานการวิจัยฉบับ สมบูรณ์ 18. งบประมาณท่ีใช้ในการวิจัย การจัดทางบประมาณการวิจัยคือการท่ีผู้ทาวิจัยได้กาหนดและ คาดคะเนถึงทรัพยากรทตี่ ้องใชใ้ นการทาวจิ ัยทัง้ หมดตั้งแตเ่ ริ่มทาวิจัยจนกระทั่งเขียนและพมิ พ์ รายงานว่าตอ้ ง ใชอ้ ะไรบ้าง ต้องเสยี คา่ ใช้จ่ายในการจัดหาหรือจดั จา้ งเปน็ จานวนเงนิ เท่าไหร่ ในการเขียนงบประมาณมักนิยม แบ่งเป็นหมวดต่างๆ คอื  หมวดคา่ ตอบแทน ไดแ้ ก่ ค่าตอบแทนผู้วิจยั ผวู้ ิเคราะห์ข้อมูล ท่ปี รกึ ษางานวิจยั ผู้ประสานงาน การเกบ็ ข้อมูลและผู้ตอบแบบสอบถาม คา่ จา้ งพิมพ์ ฯลฯ  หมวดค่าใช้สอย ได้แก่ ค่าลิขสิทธิ์แบบสอบถาม ค่าธรรมเนียมของหน่วยงานต้นสังกัด (overhead charge) ค่าใช้จ่ายในการเก็บรวบรวมข้อมูล ค่าเดินทาง ค่าเบ้ียเลี้ยง ค่าท่ีพัก ค่า นา้ มันเช้ือเพลิง คา่ โทรศัพท์ ค่าถา่ ยเอกสาร ค่าทาปกรปู เลม่ รายงาน ฯลฯ  หมวดคา่ วัสดุ ไดแ้ ก่ ค่าวสั ดุสานักงาน ค่าแสตมป์ คา่ ดสิ เก็ต ซองจดหมาย ฯลฯ

15  หมวดคา่ จ้างชัว่ คราว ได้แก่ คา่ จา้ งคนงาน เจ้าหนา้ ท่ี ผูช้ ่วยวจิ ยั เปน็ รายเดือน  หมวดค่าครุภัณฑ์ ได้แก่ ครุภัณฑ์ที่ซื้อมาเพื่อใช้ในการวิจัย เช่น โต๊ะ ตู้เก็บ เอกสาร กล้อง ถ่ายรูป เครอื่ งบนั ทกึ เสียง เคร่ืองคอมพิวเตอร์ ฯลฯ 19. เอกสารอ้างองิ เป็นรายชือ่ ทรัพยากรสารสนเทศ เช่น หนงั สือ บทความ เอกสาร และเว็บไซด์ ซ่ึง เป็นแหล่งขอ้ มูลที่ใช้ในการเขยี นโครงการวิจยั คร้ังนี้ 20. ภาคผนวก เป็นส่วนที่นาเสนอข้อมูลอ่ืนๆ ท่ผี วู้ จิ ัยคิดวา่ เกี่ยวขอ้ งและมีประโยชน์กับโครงการวิจัย แต่ไม่สามารถนาไปเขียนลงในส่วนใดส่วนหนึ่งในโครงการวิจัยได้เช่น แบบสอบถามที่ผู้วิจัยวางแผนว่าจะนา ของผู้อื่นหรือที่เคยไดพ้ ัฒนาไวแ้ ล้วมาใช้เปน็ ต้น แตถ่ า้ หากไม่มสี ว่ นนกี้ ไ็ มจ่ าเป็นตอ้ งเขียนไว้ ลักษณะของโครงการวิจัยทดี่ ี การท่ีผู้วิจัยไดเ้ ขียนข้อเสนอโครงการวิจัยนั้น ก็เพื่อท่ีจะไดน้ าเสนอหรือแสดงต่อบุคคลหรอื หน่วยงาน ตา่ งๆ ได้พจิ ารณา ดังนั้น ในการเขยี นโครงการวจิ ัยจึงตอ้ งมคี วามระมดั ระวงั รอบคอบเพ่อื ใหไ้ ด้โครงการวจิ ัยท่ี สมบูรณ์ ซึ่งลักษณะของโครงการวจิ ัยทด่ี ีซง่ึ ควรยดึ เป็นแนวทางในการเขียนโครงการวิจัยมดี ังนี้ (ภัทรา นิมา คม, 2539; เพชรน้อย สงิ หช์ า่ งชัย ศิรพิ ร ขัมภลิขติ และทศั นีย์ นะแส, 2539; วิจติ ร ศรสี พุ รรณ, 2547) 1. มคี วามถูกต้องในเนอ้ื หาสาระ มีหลกั ฐานและขอ้ เทจ็ จรงิ ที่สามารถอ้างอิงได้ 2. มีความนา่ เชือ่ ถอื ไม่เขียนแบบเลอ่ื นลอยในลกั ษณะทผ่ี ู้วจิ ัยคดิ เอาเอง 3. มสี าระสาคัญครบถ้วนทกุ หัวข้อตามข้ันตอนของกระบวนการวิจัย 4. ใช้ภาษาชัดเจน กะทัดรัด สามารถส่อื ความหมายให้ผอู้ ่านเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว 5. มคี วามมน่ั คงหรอื คงที่ในการใชถ้ อ้ ยคา ทัง้ ฉบบั 6. มีการนาเสนอขอ้ มลู ท่ีต่อเน่ืองสัมพันธ์อยา่ งเป็นเหตเุ ปน็ ผล 7. มคี วามสมเหตุสมผลในดา้ นของงบประมาณ ปญั หาในการเขยี นโครงการวิจัย จากการประเมินข้อเสนอโครงการวิจัยท่ีผ่านมาพบว่า โครงการวิจัยหลาย ๆ โครงการยังมีความไม่ สมบูรณ์ ซ่ึงอาจเป็นผลให้โครงการวิจัยไม่ได้รับการอนุมัติ ซ่ึง ภัทรา นิมาคม (2539) เสนอว่า ปัญหาหรือ ขอ้ บกพร่องทีพ่ บจากการเขียนโครงการวจิ ยั บ่อย ๆ มีดงั น้ี 1. เขียนความเป็นมาและความสาคัญของปัญหาการวิจัยไม่ชัดเจนในเชิงเหตุผล โดยกล่าวขึ้นมา ลอยๆ ขาดการอ้างองิ 2. วัตถุประสงคข์ องการวิจัย เขยี นไมช่ ัดเจน ไมค่ รอบคลุมตวั แปรท่ีเก่ยี วข้อง 3. เขียนความสาคญั เกนิ ขอบเขตของการวิจัย 4. มีข้อบกพรอ่ งในการทบทวนวรรณกรรมทเี่ กย่ี วขอ้ ง ดงั น้ี 4.1 มีการศกึ ษาค้นคว้ามานอ้ ย 4.2 กาหนดหัวขอ้ ในการเขยี นโครงการไมเ่ หมาะสม 4.3 เสนอเน้อื หาท่ีไมเ่ กย่ี วขอ้ งเกนิ ความจาเปน็ 4.4 เสนอเน้ือหาแบบตัดต่อ เรียงไม่เป็นลาดับไม่มีการสังเคราะห์และสรุปในแต่ละหัวข้อให้เป็น ความสัมพันธร์ ะหวา่ งเอกสารและงานวจิ ยั ทค่ี น้ คว้ากบั ปัญหาวิจยั ท่กี าลังทาอยู่ 4.5 เสนอลาดับเน้อื หา ไม่เหมาะสม

16 สรปุ การวิจัยทางการพยาบาลเป็นการวิจัยสาขาหน่ึงซึ่งศึกษาในศาสตร์ของการพยาบาลและ /หรือกระทา โดยพยาบาล ซึ่งการวิจัยมีความสาคัญต่อการพัฒนาองค์ความรู้ การทดสอบความรู้ และ การแก้ปัญหา ทางการปฏิบัติการพยาบาล การบริหารการพยาบาล ตลอดจนการศึกษาพยาบาล การวิจัยสามารถจาแนก ได้หลากหลายชนิดขน้ึ กับเกณฑ์ที่ใช้ยดึ เป็นหลักในการพจิ ารณา ดังนนั้ งานวิจยั ชิ้นหน่ึงอาจถูกจาแนกไดเ้ ป็น หลายชนิดตามเกณฑ์ที่นามาอ้างอิง ซึ่งการวิจัยทางการพยาบาลนั้น ผู้วิจัยจะต้องมีจริยธรรมในการวิจัย ทางการพยาบาล และยึดถือจรรยาบรรณของนักวิจัยเป็นแนวทางในการทาวิจัย เพื่อให้งานวิจัยน้ันมีคุณค่า และเป็นการพฒั นาวิชาชพี การพยาบาลอย่างแท้จรงิ การเขียนโครงการวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้วิจัยใช้เป็นแนวในการดาเนินการวิจัยตลอดโครงการ นอกจากนโี้ ครงการวิจยั จะเปน็ ตัวควบคุมมิให้ผวู้ ิจัยทาการวจิ ัยออกนอกแนวทางท่ีกาหนดไว้ รปู แบบของโครงการวจิ ัยโดยทั่วไป ประกอบด้วยส่วนสาคัญ 3 ส่วน คือ 1) ส่วนนาเรื่อง ซ่ึงจะบอกถึง ช่ือโครงการวิจัย ชื่อผู้ทาวิจัย หน่วยงานที่ผู้ทาวิจัยสังกัด ฯลฯ ส่วน 2) ส่วนสาระสาคัญของโครงการวิจัย ซ่ึง ประกอบด้วยปัญหาการวิจัย วัตถุประสงค์ของการทาวิจัย เอกสารงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องและวิธีการดาเนินการ วจิ ยั และ 3) แผนการปฏิบัตติ ามขนั้ ตอนกระบวนการวิจัย ลักษณะของโครงการวิจัยที่ดีน้ัน ต้องมีชื่อโครงการท่ีชดั เจน เป็นงานวิจยั ที่คุ้มค่า ควรค่าแก่การลงทุน มีกระบวนวิจัยที่ถูกต้องตามลักษณะการดาเนินการวิจัยที่ดี กาหนดระยะเวลาและงบประมาณเหมาะสมกับ ลกั ษณะของงานวิจยั นัน้ ๆ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook