Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PVS Blended Learning Curriculum Full Text

PVS Blended Learning Curriculum Full Text

Published by Dr.Sakan Lomsri, 2022-03-24 08:02:59

Description: PVS Blended Learning Curriculum Full Text

Search

Read the Text Version

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM Pattanavitsuksa curriculum Dr. sakan lomsri 11 December 2021

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM หน้า 1 Table of Contents 4 10 1. Introduction 14 2. CHAPTER 1: Could the Pandemic Change Education for the Better 21 3. CHAPTER 2: Learning Vaccine 27 4. CHAPTER 3: SHIFTING EDUCATIONAL PARADIGMS 32 5. CHAPTER 4: THE CURE I 35 6. CHAPTER 5: THE CURE II 39 7. CHAPTER 6: SYNCHRONOUS AND ASYNCHRONOUS ACTIVITIES 52 8. CHAPTER 7: BLENDED LEARNING MODELS 1 54 9. CHAPTER 8: BLENDED LEARNING MODELS 2 59 10. CHAPTER 9: UNDERSTANDING BLENDED LEARNING FOR YOUR CLASSROOM 62 11. CHAPTER 10: DIFFERENTIATION IN YOUR BLENDED CLASSROOM 63 12. CHAPTER 11: IMPLEMENTING PERSONALIZED LEARNING IN YOUR CLASSROOM 13. CONCLUSION 14. References

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM INTRODUCTION: ระบบการศึกษาทวั่ โลกกาลงั เผชิญกบั ความทา้ ทายท่ีไม่เคยเกิดข้ึนมาก่อนจากปัญหาการแพร่ระบาดใหญ่ คาส่ังปิ ดโรงเรียนเป็ นส่วนหน่ึงของความพยายามด้านสาธารณสุขเพื่อควบคุมการแพร่กระจายของ COVID-19 หน่วยงานของรัฐร่วมกบั องคก์ รระหว่างประเทศ พนั ธมิตรภาคเอกชน และทุกฝ่ าย พยายามคิดหาวิธีในการช่วยเหลือเดก็ และเยาวชนในการเรียนรู้ไม่วา่ จะสามารถกลบั มาเปิ ดเรียนตามปกติไดอ้ ีกหรือไม่ “เรากลับไปยงั โลกที่เคยเป็ นไม่ได้อีกแล้ว” COVID-19 ทาใหเ้ รามองเห็นถึงรูปแบบ และแนวโนม้ ในการศึกษาท่ีเราอาจตอ้ งเผชิญ ในทางกลบั กนั เราก็ ไดเ้ ห็นจุดอ่อนและความเปราะบางมากมาย ไม่ว่าจะเป็ นความเหลื่อมล้า ความเส่ียงจากการปรับเปล่ียนกระบวนการ เรียนรู้ และยงั ทาให้เราเห็นถึงการท่ีเราไม่ได้เตรียมความพร้อมในการรับมือกับสถานการณ์ในคร้ังน้ี เรากาลัง เปล่ียนแปลงในคร้ังใหญ่กา้ วไปสู่ Digital และ Distance Learning นอกจากน้ี คุณลกั ษณะเชิงบวกบางอย่างในสังคมของ เราก็ปรากฏใหเ้ ห็นมากข้ึนเช่นกนั เราเห็นสิ่งดี ๆ ที่เกิดข้ึน เราเห็นความพยายาม ความทุ่มเท และความคดิ สร้างสรรคจ์ าก ครู ครอบครัว และนกั เรียนจานวนมากที่ร่วมกนั สร้างประสบการณ์การเรียนรู้ใหม่ ๆ ผูป้ กครองจานวนมากข้ึนเรื่อย ๆ เริ่มตระหนักถึงบทบาทต่างๆ ของโรงเรียนในความทุ่มเทในการจัด การศึกษาของเด็กและเยาวชน ความตระหนักและความช่ืนชมท่ีเพิ่มข้ึนน้ีสามารถเป็ นพ้ืนฐานสาหรับการฟ้ื นฟู และ คดิ คน้ การจดั การศึกษาในรูปแบบใหม่ การระบาดใหญไ่ ดบ้ งั คบั ใหม้ ีการเปล่ียนแปลงจากการเรียนรู้และการสอนในสภาพแวดลอ้ มแบบด้งั เดิม ท่ีมี ปฏิสัมพันธ์ทางกายภาพมากมายในโรงเรี ยน น่ีเป็ นปัญหาหนักสาหรับเด็กที่ไม่มีความพร้อม ซ่ึงมักจะพ่ึงพา สภาพแวดลอ้ มของโรงเรียน ที่มีครูคอยใหค้ าแนะนาอยา่ งใกลช้ ิด มีกิจกรรมกลุ่ม มีปฏิสัมพนั ธก์ บั เพือ่ น และครู วิกฤต COVID-19 ทาใหร้ ะบบการศึกษาทว่ั โลกตอ้ งคน้ หาทางเลือกในการสอนแบบปกติ ส่งผลใหค้ รูและ นกั เรียนใชก้ ารเรียนการสอน Online ในระดบั ที่ไม่เคยมีมาก่อน มนั เป็ นสิ่งสาคญั ที่สุดสาหรับโรงเรียนในการระบุว่า วิธีการใดสามารถเพ่ิมประสิทธิภาพการเรียนรู้ Online ไดส้ ูงสุด วิธีการที่สามารถวดั ทศั นคติของนกั เรียนผ่านการเรียนรู้ ในการเพ่มิ ศกั ยภาพในการเรียน Online ในสถานการณ์ที่ไมส่ ามารถเรียนที่โรงเรียนตามปกติได้ 1

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM เน่ืองจากผูป้ กครองและครูมีบทบาทพ้ืนฐานในการสนับสนุนนักเรียนให้พฒั นาทศั นคติท่ีสาคญั เหล่าน้ี โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในสถานการณ์ปัจจุบนั การกาหนดวตั ถุประสงค์ควรไดร้ ับการออกแบบโดยมีเป้าหมายเพ่ือลดภาระ ของผปู้ กครองและช่วยใหค้ รูและโรงเรียนใชป้ ระโยชนจ์ ากการเรียนรู้ทาง Digital ใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด ข้อค้นพบท่ีสำคญั : • วิกฤตการณ์ COVID-19 ในปัจจุบนั ทาใหโ้ รงเรียนส่วนใหญต่ อ้ งนาทางเลือกอื่นมาใชแ้ ทนการสอนและ การเรียนรู้แบบปกติ โรงเรียนจานวนมากไดป้ รับเปล่ียนมาจดั การเรียนรู้ทาง Online เพ่ือให้การเรียนรู้ดาเนินต่อไปไดแ้ ม้ จะปิ ดโรงเรียน • เมื่อพิจารณาถึงทางเลือกของการไม่ไดร้ ับการศึกษาแลว้ การเรียน Online เป็ นเคร่ืองมือสาคญั ในการ พฒั นาทกั ษะอยา่ งต่อเนื่องในช่วงโรงเรียนปิ ดเนื่องจากโรคระบาด อยา่ งไรก็ตามยงั มีความกงั วลวา่ การเรียนรู้ Online อาจ ใช้แทนการสอนแบบปกติได้ไม่ดีพอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีท่ีไม่มีการเขา้ ถึงโครงสร้างพ้ืนฐาน (Hardware และ Sotware) ที่เป็นสากล และขาดการเตรียมการท่ีเพยี งพอในหมู่ครู นกั เรียน ผปู้ กครอง และโรงเรียน • การพฒั นาทศั นคติท่ีเขม้ แข็งต่อการเรียนรู้สามารถช่วยให้นกั เรียนเอาชนะความทา้ ทายท่ีอาจเกิดข้ึนจาก การเรียนรู้ Online เช่น ความต้งั ใจในการเรียน Online หรือการรักษาแรงจูงใจให้เพียงพอ นอกจากน้ีมนั ยงั มีความจาเป็น ท่ีจะช่วยใหน้ กั เรียนสื่อสารและใชข้ อ้ มูลทางเทคโนโลยอี ยา่ งมีประโยชน์และมีประสิทธิภาพ เพ่ือช่วยในการเรียนรู้ เกิด ทศั นคติเชิงบวกต่อการเรียนรู้ การควบคุมตนเอง และแรงจูงใจท่ีแทจ้ ริงในการเรียนรู้มีบทบาทสาคญั ในการปรับปรุง ประสิทธิภาพในโรงเรียนโดยทวั่ ไป แต่อาจมีความสาคญั อยา่ งยงิ่ หากการเรียนรู้ Online ยงั คงตอ้ งดาเนินต่อไป • ระบบการศึกษาควรมีจุดมุ่งหมายเพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียนและผูป้ กครอง เพื่อ ปรับปรุงขอ้ มูล และให้คาแนะนาแก่ผูป้ กครองเก่ียวกับวิธีปฏิบตั ิท่ีมีประสิทธิภาพในการสนับสนุนการเรียนรู้ของ นกั เรียน ในขณะเดียวกนั ครูควรรวมเทคโนโลยเี ขา้ กบั แนวทางปฏิบตั ิและวิธีการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ และช่วยให้ นักเรียนเอาชนะปัญหาบางอย่างท่ีเก่ียวขอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ มในการเรียนรู้รูปแบบน้ี การช่วยเหลือให้ครูได้รับการ ฝึ กอบรมเก่ียวกบั การใช้ส่ือ Digital สาหรับการฝึ กสอน และการส่งเสริมแนวทางการสอนท่ีปรับให้เขา้ กบั บริบทน้ีเป็ น กุญแจสาคญั เพือ่ ใหแ้ น่ใจวา่ การเรียนรู้โดยใช้ ICT จะถกู ยกระดบั อยา่ งมีประสิทธิภาพ ปัญหำกค็ ือ: นักเรียนต้องพบกับการเปล่ียนแปลงอย่างใหญ่หลวง ต้องปรับทัศนคติและแรงจูงใจของตนเอง ใน ขณะเดียวกันโรงเรียนและครูก็พยายามปรับปรุง หาวิธีการที่ดีที่สุดที่จะใช้เทคโนโลยีในการสอน Online ให้เกิด ประสิทธิภาพ และประโยชน์สูงสุดกบั นกั เรียน แทจ้ ริงแลว้ “การเรียนรู้ Online จะกลายเป็นส่ิงจาเป็นในการป้องกนั การ แพร่ระบาดจริงหรือไม”่ ขอ้ กงั วลแรกที่เกิดข้ึนคือการเรียนรู้ Online มีใหเ้ ฉพาะเด็กที่เขา้ ถึงการเชื่อมตอ่ Internet ที่บา้ นเท่าน้นั 2

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM ขอ้ กงั วลประการท่ีสองคอื นกั เรียนบางคนไม่สามารถมีชวั่ โมงเรียนไดเ้ พียงพอ ขอ้ กงั วลเพ่มิ เติมเก่ียวขอ้ งกบั ขอ้ เทจ็ จริงที่วา่ ประสิทธิภาพของการเรียนรู้ Online อาจมีขอ้ จากดั ในบางกรณี เน่ืองจากขาดทกั ษะข้นั พ้ืนฐานในหมู่นกั เรียนและครูบางคน ทาใหพ้ วกเขาไม่พร้อมที่จะปรับตวั เขา้ กบั สถานการณ์ใหม่ ได้ เช่น เดก็ เลก็ ที่อยกู่ บั ตายาย ครูท่ีค่อนขา้ งมีอายุ ตอนน้ีเป็นโอกาสท่ีดีในช่วงการแพร่ระบาดเพ่ือพลิกโฉมระบบการศึกษาสาหรับอนาคต เราตอ้ งคิดถึง การศึกษาในช่วงน้ีและช่วงต่อไป ถึงเวลาท่ีโรงเรียนพฒั นวทิ ยศ์ ึกษาตอ้ งปรับเปล่ียนบทบาทในการจดั การศึกษาใหก้ บั นกั เรียน มนั เป็นไปไม่ไดท้ ี่จะจดั การเรียนรู้แบบปกติในโรงเรียนอยา่ งเดียวแลว้ 3

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM CHAPTER 1 COULD THE PANDERMIC CHANGE EDUCATION FOR THE BETTER? COVID-19 ได้เปล่ียนการศึกษาเป็ นการทดลองขนาดใหญ่ระดับสากล ระบบการศึกษา โรงเรียน และ ห้องเรียนตอ้ งหยุดการปฏิบตั ิแบบเดิม ๆ และคิดคน้ ส่ิงใหม่ มนั ไม่ไดง้ ่ายเลยในการที่จะเปลี่ยนแปลงและรับมือกบั ช่วง สถานการณ์ท่ีวิกฤติน้ี อย่างไรก็ตามหากสามารถเปิ ดโรงเรียนได้อีกคร้ัง มนั จะเป็ นความผิดพลาดมหันต์หากเราจะ ยอ้ นกลบั ไปสู่วิธีการเรียนการสอนแบบเดิมที่เราเดินมาในอดีต อย่างไรก็ดี บางอย่างท่ีถูกหยุดไป เช่น การทดสอบ ระดับชาติในบางส่วน ก็ไม่ควรนากลบั มาอีก ส่วนบางอย่างท่ีเราสร้างข้ึนหรือนามาใช้ เช่น บางแง่มุมของ Distance Learning ก็ควรดาเนินตอ่ ไป การเปลยี่ นแปลงวิธกี ารเรียนรู้ Distance Learning แน่นอนว่ามนั ไม่ใช่สิ่งใหม่ แต่ COVID-19 ทาให้มนั ถูกใช้อย่างแพร่หลายท่ัวโลก สาหรับครูและนกั เรียน ทกุ คนไดพ้ ่ึงพาการจดั การเรียนรู้ทาง Internet รวมถึงอุปกรณ์ Digital ตา่ ง ๆ ระบบของโรงเรียนก็ ไดต้ อบสนองต่อการระบาดใหญ่โดยอาศยั Internet และอุปกรณ์ Digital ในการช่วยเหลือครูและนกั เรียนเหลา่ น้ี อยา่ งไรก็ตาม เราปฏิเสธไม่ไดว้ า่ ไม่ใช่ครูและนกั เรียนทุกคนจะมีประสบการณ์เก่ียวกบั Distance Learning และมนั ก็เป็นความจริงที่ผปู้ กครองหลายคนตอ้ งใชเ้ วลาท้งั วนั เพื่อดูแลลูกๆ ที่บา้ น (ซ่ึงเป็นสิ่งที่ไม่มีใครอยากทาอีกใน อนาคต) และนักเรียนพลาดโอกาสในการพบปะสังสรรค์กับเพื่อนฝูงที่โรงเรียนมากกว่าหน่ึงปี นอกจากน้ี ยงั มีความ เหลื่อมล้ากนั ในการเขา้ ถึงเทคโนโลยี รวมถึงคุณภาพของการสอน แน่นอนว่า การเรียนรู้ทางไกลยงั ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเชิงบวกต่อวิธีการดาเนินงานของโรงเรียน ประการแรก การระบาดใหญ่ไดจ้ ุดประกายประสบการณ์การเรียนรู้หน่ีงเดียว ท่ีใชก้ นั ทวั่ โลก ที่ถูกกระตุน้ และทาให้ เกิดข้ึนโดยเทคโนโลยี การออกแบบที่ผ่านมาอาจจะยงั ไม่สมบูรณ์ เน่ืองจากในส่วนของโรงเรียนยงั ขาดประสบการณ์ การฝึกฝน และทรัพยากร ไม่ตอ้ งพดู ถึงเวลาในการที่นกั การศึกษาตอ้ งพูดคยุ วางแผน และปรับปรุงวธิ ีการสอน อยา่ งไรก็ ตาม ในทางปฏิบัติ Distance Learning ก็ได้เร่ิมขับเคล่ือนกระบวนการทางการศึกษาไปแล้ว ที่ผ่านมานักวิจัยและ ผสู้ นบั สนุนเทคโนโลยีทางการศึกษาพยายามกระตุน้ ให้ครูใชเ้ ทคโนโลยที างการศึกษาในห้องเรียนเป็นอยา่ งมากมาเป็น 4

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM ทศวรรษ แต่ก็ยงั ไม่ประสพความสาเร็จ อย่างน้อยที่สุดในตอนน้ี Distance Learning ได้ทาให้ครูและนักเรียนเริ่มรู้จกั รูปแบบการเรียนรู้ท่ีตา่ งออกไป ถึงแมจ้ ะยงั อยใู่ นช่วงของการลองผิดลองถกู กต็ าม ประการท่ีสอง Distance Learning ไดช้ ่วยขยายวิธีการเรียนรู้ไปเป็ นอย่างมาก การไดร้ ับอนุญาตให้เขา้ ถึง Online Technologies จากผปู้ กครองและครู ทาใหน้ กั เรียนไดส้ ารวจแหล่งขอ้ มูลทางการศึกษาท่ีอยู่ Online โดยไม่ไดถ้ ูก ขดั ขวาง หรือยบั ย้งั มนั ยงั ช่วยให้นกั เรียนสามารถเรียนรู้ท่ีจะเรียนรู้ดว้ ยตวั เอง (Learning to Learn) โดยครูมีหน้าท่ีคอย ดูแล คอยช้ีแนะ โดยลดบทบาทในการช้ีนาลง ทาใหพ้ วกเขาสามารถเรียนรู้ไดม้ ากกวา่ การเรียนในหอ้ งเรียนท่ีโรงเรียน ประการท่ีสาม Distance Learning ไดช้ ่วยขยายนิยามของคาว่า “เวลาในการเรียนรู้” (Learning Time) ของ นกั เรียน ถึงแมว้ ่าเทคโนโลยใี นการเรียนรู้เกิดข้ึนตลอดเวลา การเรียนการสอนแบบด้งั เดิมที่โรงเรียนมีขอ้ จากดั อยู่ท่ีเวลา ในการน่ังเรียนและเวลาในการทาการบา้ น แต่ว่า Distance Learning ไดเ้ ปลี่ยนมนั ออกไปโดยที่ นักเรียนไม่จาเป็ นที่ จะตอ้ งมารับขอ้ มูลท่ีถ่ายทอดโดยครูที่โรงเรียนเพียงอยา่ งเดียว แต่นกั เรียนสามารถเขา้ ถึงขอ้ มูลไดต้ ลอด 24 ชวั่ โมง ทุก วนั ทุกเวลา เม่ือไหร่ก็ไดท้ ่ีเขาอยากสืบคน้ การเรียนรู้ไม่ไดถ้ กู จากดั โดยเวลาอีก การเรียนรู้ไดถ้ ูกผกู ใหเ้ ขา้ กบั ชีวิต และที่ สาคญั ไปกวา่ น้นั การเรียนรู้ก็คอื ชีวติ ของนกั เรียน ประการที่ส่ี การเปลี่ยนไปใช้ Distance Learning ได้ช่วยขยายนิยามของคาว่า “สถานที่ในการเรียนรู้” (Learning Place) ของนกั เรียนไปเป็นอยา่ งมาก มนั ไม่ไดเ้ ป็นความจริงอีกต่อไปท่ีวา่ ห้องเรียน หรือโรงเรียนเป็นสถานท่ี เพียงแห่งเดียวท่ีสามารถสร้างความรู้ให้แก่นักเรียนได้ นักเรียนสามารถเรียนรู้ไดแ้ ม้ว่าอยู่ท่ีบา้ น จากสื่อการสอนและ ผเู้ ช่ียวชาญท่ีหลากหลาย พวกเขายงั สามารถโตต้ อบกบั เพ่อื นถึงแมจ้ ะอยคู่ นละที่ ส่ิงที่กล่าวมาสามารถเปล่ียนกระบวนการจดั การศึกษาไปในทางท่ีดีข้ึนได้ หากวา่ สามารถบูรณาการให้เขา้ กบั การเรียนการสอนท่ีโรงเรียนได้ ถึงแมว้ ่าการใช้ Distance Learning จะถูกนามาใชเ้ พื่อตอบสนองต่อการระบาดใหญ่ ของ COVID-19 ในปัจจุบนั เราก็ควรตรวจสอบวิธีการ ปรับปรุงและพฒั นา ทาใหม้ นั เป็นส่วนหน่ึงของการเรียนการสอน ของเราต่อไป ดว้ ยการวางแผนที่รอบคอบเราสามารถจดั การศึกษาท่ีดีข้นึ มากกวา่ ท่ีผา่ นมา Four Learning Constraints ประสบการณ์ของเราเม่ือไม่นานมาน้ีเก่ียวกับ Distance Learning สามารถช่วยเราช้ีให้เห็นถึงปัญหาท่ี โรงเรียนเจอในปัจจุบนั : การศึกษาแบบหนึ่งเดียว โดยมีมาตรฐานเดียวกนั หลกั สูตรเดียวกนั ครูแบบเดียวกนั ห้องเรียน แบบเดียวกนั ขอ้ สอบแบบเดียวกัน และมีเส้นทางแบบเดียวกนั สาหรับนักเรียนทุกคน ซ่ึงมนั ลม้ เหลวในการเตรียม นกั เรียนใหพ้ ร้อมสาหรับโลกเทคโนโลยี และโลกาภิวตั น์ท่ีเปล่ียนแปลงไป (Barber, Donnelly, & Rizvi, 2012; Trilling & Fadel, 2009; Wagner, 2008; Zhao, 2012) 5

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM การศึกษาแบบหน่ึงเดียวไดส้ ร้างขอ้ จากดั ที่กาหนดสถานที่และเวลาในการเรียนรู้ของนกั เรียน ขอ้ จากดั น้ีได้ กาหนดวา่ การเรียนรู้จะเกิดข้ึนในลกั ษณะใด เมื่อไหร่ และอยา่ งไร ควรจดั การประเมินเม่ือไหร่และอยา่ งไร อีกท้งั กาหนด วา่ เมื่อใดที่นกั เรียนจะเรียนจบหลกั สูตรแลว้ ออกไปสู่สังคม ขอ้ จากดั น้ีไดก้ าหนดอนาคตและความเป็นอยขู่ องนกั เรียน ข้อจากัดสี่ ประการที่เราควรนามากาหนดใหม่ก็คือ : Curriculum Constraints, Testing Constraints, Classroom Constraints และ Time constraints Curriculum Constraints โรงเรียนทุกโรงในประเทศจดั การเรียนการสอนดว้ ยหลกั สูตรบางประเภท หลกั สูตรเป็นตวั กาหนดสิ่งที่เด็ก ควรเรียนรู้ในโรงเรียน และการเรียนรู้ควรเกิดข้ึนเร็วหรือชา้ เพียงใด หลกั สูตรที่จะแบ่งออกเป็ นช้นั ต่าง ๆ ตามอายุของ นกั เรียน นกั เรียนทุกคนจะตอ้ งเดินไปตามทางท่ีหลกั สูตรกาหนด เรียนทุกอยา่ งตามท่ีหลกั สูตรกาหนดไวใ้ หพ้ วกเขา ทุก อยา่ งตามคานิยาม ตามท่ีหลกั สูตรสร้างไวใ้ ห้ และจากดั โอกาสในการเรียนรู้เฉพาะในหลกั สูตร หมายความวา่ หลกั สูตรที่ ผใู้ หญ่เขียนมาเป็นตวั กาหนดในสิ่งท่ีพวกเขาตอ้ งเรียน บงั คบั ใหโ้ รงเรียนมอบโอกาสในการเรียนรู้ในแบบเดียวกนั ให้กบั นกั เรียนทกุ คน หวั ขอ้ ที่สอนบางหวั ขอ้ จะตดั การสอนในหวั ขอ้ อ่ืนไปโดยอตั โนมตั ิ Curriculum Constraints ไดส้ ร้างแรงกดดนั มหาศาลให้กบั นักเรียน และก่อให้เกิดความเสียหายอย่างใหญ่ หลวงต่อการเรียนรู้ ในส่วนของนักเรียนเอง ไม่ว่าจะพร้อมหรือไม่ สนใจหรือไม่ก็ตามถูกบงั คับให้เรียนในเน้ือหา เดียวกนั เพราะวา่ หลกั สูตรที่ใชท้ กุ วนั น้ีไดถ้ ูกกาหนดโดยหน่วยงานท่ีมีอานาจท่ีเช่ือวา่ มนั มีความหมายและมีความจาเป็น ผูท้ ี่มีอานาจบางคนยงั มีความเชื่อว่าหลกั สูตรท่ีพวกเขาสร้างจะเตรียมความพร้อมให้นักเรียนในการไปเรียนต่อใน ระดบั อดุ มศึกษา รวมถึงเตรียมความพร้อมใหน้ กั เรียนไปใชใ้ นชีวิตการงานได้ แตก่ ็ไม่มีหลกั ฐานเชิงประจกั ษว์ า่ หลกั สูตร ที่ไดใ้ หโ้ รงเรียนดาเนินการ จริง ๆ แลว้ บรรลุความพร้อมสาหรับทกุ ส่ิงหรือไม่ ส่ิงที่สาคญั กว่าก็คือ โลกเรากาลงั เปล่ียนแปลงไปไวกว่าที่เคยเป็ น เราจะมน่ั ใจได้อย่างไรว่า ทกั ษะและ ความรู้ท่ีเราสอนพวกเขาในวนั น้ีจะสามารถเตรียมความพร้อมของพวกเขาในการทางานในอนาคตได้ และทา้ ยท่ีสุดแลว้ หากนกั เรียนไม่ไดส้ นใจในสิ่งที่หลกั สูตรกาหนด เขาก็ไมม่ ีทางเลือกอื่นเลย Testing Constraints เช่นเดียวกบั การที่เราไดจ้ ากดั การเรียนรู้ของนกั เรียนโดยหลกั สูตรท่ีกาหนด เรายงั จากดั นกั เรียนในการสอบ มาตรฐานอีก การสอบเหล่าน้ีมกั จะถูกมองวา่ เป็นวิธีที่ถกู ตอ้ งและเชื่อถือไดใ้ นการประเมินนกั เรียน และเตรียมพร้อมใน ความสาเร็จของนกั เรียนในอนาคต (Levin, 2012; Zhao, 2018b) ดงั น้นั เม่ือนกั เรียนทาคะแนนสอบไดไ้ ม่ดี มนั กจ็ ะส่งผล ถึงอนาคตของพวกเขา คะแนนสอบเป็ นตวั กาหนดคุณค่าของนักเรียนและโอกาสในการเรียนรู้ ยกตวั อย่างเช่น การ ประเมินความสามารถในการอ่าน (Reading Test: RT) สาหรับนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 1 ทวั่ ประเทศ ขอ้ มูลอาจบ่งช้ี 6

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM ว่าโอกาสที่นกั เรียนจะมีผลลพั ธ์ท่ีดีจะลดลงหากนกั เรียนไม่อ่านหนงั สือให้ดีต้งั แต่เนิ่น ๆ ดงั น้นั เราควรทาทุกอยา่ งท่ีทา ไดเ้ พือ่ ใหแ้ น่ใจวา่ นกั เรียนจะตอ้ งอ่านใหไ้ ดต้ ามมาตรฐานท่ีกาหนดในช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 1 แต่น่ีก็ไม่ใช่เรื่องราวท้งั หมด ขอ้ มูลอาจถูกตอ้ งในบางมุมมอง แต่โอกาสในการศึกษาที่ดีข้ึน และชีวิตที่ดีข้นึ ไม่จาเป็ นตอ้ งถูกกาหนดโดยความสามารถในการอ่านในช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 1 ประเด็นแรก ความสัมพนั ธ์ระหว่าง ความสามารถในการอ่านช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 1 กบั การศึกษาในอนาคตและผลลพั ธ์ในชีวิต สะทอ้ นถึงเช้ือชาติ/ชาติพนั ธุ์ และสถานะทางเศรษฐกิจและสังคม มากกว่าบทบาทของการอ่าน นกั เรียนที่อ่านไม่ออกส่วนใหญ่มกั จะมีภูมิหลงั ที่ดอ้ ย โอกาสมากกวา่ ประการที่สอง ความสัมพนั ธ์ไดช้ ้ีใหเ้ ราเห็นถึงความดอ้ ยประสิทธิภาพของโรงเรียนในการให้การศึกษา กบั นกั เรียนที่ไม่สามารถอ่านได้ เป็นที่ทราบกนั ดีวา่ การศึกษาไทยเราถูกออกแบบมาให้นกั เรียนเรียนรู้ผา่ นการอ่านมาก ข้ึนหลงั จากจบประถมศึกษาปี ที่ 1 เราไม่มีวิธีการอ่ืนแลว้ หรือ เราเปลี่ยนแปลงมนั ไม่ไดเ้ ลยหรือ โรงเรียนไม่สามารถ จดั การเรียนรู้ให้นักเรียนท่ีจบประถมศึกษาปี ท่ี 1 อย่างมีประสิทธิภาพโดยท่ีไม่ตอ้ งอาศยั ความสามารถในการอ่านใน ระดบั ช้นั ประถมศึกษาเท่าน้ันเลยหรือ การร้ังพวกเขาไวจ้ ากโอกาสการเรียนรู้อื่น ๆ อาจสร้างความเสียหายอย่างมาก ผลลัพธ์อาจทาให้เสียความมนั่ ใจ เรียนไม่เก่ง และการขาดการเข้าถึงโอกาสที่อาจพฒั นาความสามารถหรือความ ปรารถนาภายในของนักเรียนเหล่าน้ัน เช่ือว่า Distance Learning สามารถท่ีจะให้ความยืดหยุ่นและเวลาที่จาเป็ นกับ นกั เรียนในการพฒั นาทกั ษะเหลา่ น้ี Classroom Constraints อีกวธิ ีท่ีเรา \"สร้างขอ้ จากดั \" การเรียนรู้ก็คือการจดั นกั เรียนใหเ้ ป็นหอ้ งเรียนเดียวที่มีครูคนหน่ึงคอยสอนพวก เขา ขอ้ จากดั ในกรณีน้ีคือผนงั หอ้ งเรียนจริงทางกายภาพ ซ่ึงจากดั การเขา้ ถึงทรัพยากรของนกั เรียนนอกหอ้ งเรียน ขอ้ จากดั ก็ยงั เป็นอะไรท่ีครูถือว่าเป็นเน้ือหาและกิจกรรมท่ีถูกตอ้ งและมีคุณค่า โดยปกติแลว้ ครูจะเป็นแหล่งขอ้ มูลการสอนเพียง แหลง่ เดียวสาหรับนกั เรียน มนั ก็ยงั มีขอ้ กงั ขาเกี่ยวกบั อตั ราส่วนระหว่างครูกบั นกั เรียน ขนาดของหอ้ ง มีงานเขยี นมากมายเกี่ยวกบั ความ แตกต่างของนักเรียนในห้องเรียน (Krueger, Hanushek, & Rice, 2002) และความยากลาบากในการตอบสนองความ ตอ้ งการของนกั เรียนแต่ละคน (Tomlinson, 2014) ปัญหาท่ีแทจ้ ริงกค็ ือ กรอบความคดิ เก่ียวกบั ขอ้ จากดั ของหอ้ งเรียน หาก เราเริ่มเขา้ ใจวา่ นกั เรียนสามารถเรียนรู้ไดม้ ากกวา่ ท่ีครูและครูไม่ใช่แหล่งความรู้เพียงแหล่งเดียว เราจะเริ่มจินตนาการถึง แหลง่ ในการเรียนรู้ที่แตกตา่ งกนั มากมาย นกั เรียนสามารถเรียนรู้จากและการมีส่วนร่วมกบั ผอู้ ื่น คน้ หาขอ้ มูล Online และ การมีส่วนร่วมในการสารวจ Online เหมือนกบั ท่ีหลาย ๆ คนทาในช่วง COVID-19 น้ี 7

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM Time Constraints “เวลา” ขอ้ จากดั สุดทา้ ยซ่ึงจะเปิ ดโอกาสใหน้ กั เรียนไดเ้ รียนรู้ในสิ่งที่เขาอยากรู้ และในจงั หวะการเรียนรู้ของ แต่ละคน อย่างที่ไดท้ ราบกนั ว่าในห้องเรียนห้องหน่ึงนักเรียนแต่ละคนมีจงั หวะในการเรียนรู้ไม่เท่ากนั ดงั น้นั เรา (ใน ฐานะผใู้ หญ่) ควรใหโ้ อกาสพวกเขาในการเรียนรู้เมื่อเขาพร้อมที่จะเรียนรู้ ใหเ้ ขาเรียนรู้ในจงั หวะของแต่ละคน บางคน อาจจะใชเ้ วลาในการเรียนรู้บางเร่ือง บางเน้ือหาไดเ้ ร็ว แต่บางคนก็อาจจะใชเ้ วลามากกวา่ ในการเรียนรู้ในเน้ือหาเดียวกนั บางคนจะมีสมาธิในช่วงเวลาเยน็ ในขณะท่ีบางคนอาจจะมีสมาธิในเร่ืองเดียวกนั ในช่วงเชา้ ดงั ท่ีกลา่ วมาแลว้ วา่ Distance Learning สามารถท่ีจะใหค้ วามยดื หยนุ่ และเวลาที่จาเป็นกบั นกั เรียน The Future of Education Distance Learning สามารถช่วยปลดพนั ธนาการนกั เรียนจากขอ้ จากดั ท่ีปิ ดก้นั พวกเขาอยู่ ดงั น้นั มนั จะเป็ น ความผดิ พลาดอยา่ งมหนั ตห์ ากวา่ โรงเรียนจะเลิกใชม้ นั หลงั จากผา่ นพน้ วกิ ฤติ COVID-19 ไปแลว้ อยา่ งไรกต็ าม Distance Learning ก็ไม่ใช่จะทาให้การเรียนรู้ของนกั เรียนดีข้ึนโดยอตั โนมตั ิ มนั ก็เพียงแค่ใหโ้ อกาสโรงเรียนในการคิดใหม่วา่ จะ นาเสนอการศึกษาใหก้ บั นกั เรียนอยา่ งไรใหด้ ีข้ึนกวา่ เดิม โรงเรียนควรท่ีจะเร่ิมโดยการยอ้ นกลบั ไปมองถึงการเรียนการสอนแบบด้ังเดิมท่ีทากนั ที่ผ่านมา สารวจ กระบวนการต่าง ๆ และเริ่มต้งั คาถามท่ีวา่ : • มนั จาเป็นหรือไม่ที่นกั เรียนทุกคนตอ้ งดาเนินตามหลกั สูตรเดียวกนั • มนั จาเป็นหรือไมท่ ่ีตอ้ งสอนเน้ือหาเดียวกนั กบั นกั เรียนทกุ คนที่อายเุ ท่ากนั • มนั จาเป็นหรือไมท่ ่ีนกั เรียนทกุ คนจะตอ้ งเรียนในหอ้ งเรียนทกุ วนั หา้ วนั ตอ่ สัปดาห์ • มนั จาเป็นหรือไม่ที่นกั เรียนทกุ คนจะตอ้ งถูกสอนโดยคนท่ีจบครูเท่าน้นั • มนั จาเป็นหรือไมท่ ่ีนกั เรียนทุกคนจะตอ้ งถกู ทดสอบหรือสอบแบบเดียวกนั • มนั จาเป็นหรือไม่ท่ีนกั เรียนทุกคนจะตอ้ งเรียนในโรงเรียนให้ครบ 12 ปี ตามหลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ในขณะที่การระบาดใหญข่ อง COVID-19 ยงั ไม่จางหายไป โรงเรียนพฒั นวทิ ยศ์ ึกษาไดไ้ ตร่ตรองถึงบทบาท ของนกั เรียนในการเรียนรู้ของตนเอง หากโรงเรียนสามารถผสมผสาน Distance Learning ให้เขา้ กบั การเรียนรู้แบบปกติ และนาไปสู่การเรียนรู้ในแนวใหม่ได้ เราจะสามารถช่วยใหน้ กั เรียนปรับเปลี่ยนการเรียนรู้ของตนเองไดอ้ ย่างแทจ้ ริงใน ฐานะผเู้ ปลี่ยนแปลงการศึกษาในศตวรรษใหม่ 8

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM ความลม้ เหลวในการจดั การศึกษาโดยหลกั สูตรที่ถูกกาหนดโดยผทู้ ี่มีอานาจที่ผา่ นมาไม่รู้ก่ีทศวรรษ ก็ยงั ไม่ เห็นถึงความเปล่ียนแปลงอะไรมากมาย การทดสอบมาตรฐานระดบั ชาติท่ีลา้ หลงั ท้งั ๆ ท่ีโลกไดม้ ีการเปลี่ยนแปลงไป อย่างรวดเร็ว โลกทุกวนั น้ีดูแตกต่างไปจากที่เห็นในยุค 90 เป็นอยา่ งมาก ยคุ ที่ Internet เร่ิมจะเขา้ มาให้มนุษยชาติไดร้ ู้จกั แต่ปัจจุบนั มนั กลบั เป็ นส่วนหน่ึงของชีวิตเราไปแลว้ ยุคแห่งเทคโนโลยีไดเ้ ขา้ มามีบทบาทแทนยุคอุตสาหกรรม ไม่มี คะแนนจากการประเมินระดบั ชาติหรือระดบั นานาชาติท่ีสามารถทานายความสามารถของเด็กท่ีจะมุ่งไปสู่อนาคตที่ไม่ แน่นอนได้ “New Learning Normal” ควรเขา้ มาแทนการเรียนการสอนแบบด้งั เดิม หลกั สูตรแบบด้งั เดิม ทะลายกาแพง แห่งเวลาในการเรียนรู้ ในที่สุดอาจเกิดการเปล่ียนแปลงไปสู่การจดั การศึกษาท่ีดีข้ึนกวา่ เดิมจากการเขา้ มาของการระบาด ใหญ่ของ COVID-19 กเ็ ป็นได้ 9

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM CHAPTER 2 LEARNING VACCINE: ในขณะที่นกั การศึกษากาลงั ต่อสู้กบั วิกฤตโควิด-19 โรงเรียนตระหนกั ดีวา่ การให้การศึกษาท่ีมีคุณภาพน้ัน ตอ้ งเผชิญกบั ความทา้ ทายใหม่ๆ ท้งั ในระยะส้ันและระยะยาว ในการวางแผนที่จะเปิ ดโรงเรียนใหน้ ักเรียนกลบั มาเรียน แบบปกติใหม่อีกคร้ัง โรงเรียนจะถูกบงั คบั ให้พฒั นากลยุทธ์ท่ีสามารถนาไปสู่การสร้างกระบวนการศึกษาที่ดีข้ึน เราจะ จดั การเรียนรู้อยา่ งไรใหก้ บั นกั เรียนในสานการณ์แบบน้ี และตอ่ ไปในอนาคต ความทา้ ทายในการเปล่ียนแปลงเหล่าน้ีไม่อนุญาตให้เรากลบั ไปใชก้ ารเรียนการสอนแบบเดิม ซ่ึงส่วนใหญ่ ไม่ไดผ้ ลและไม่ไดช้ ่วยให้เราบรรลุเป้าหมายกบั นกั เรียนของเรา และเราไม่เช่ือว่าส่ิงท่ีดีที่สุดท่ีเราทาไดค้ ือเพียงแค่รับมือ เท่าน้นั แต่เราตอ้ งคิดใหม่เกี่ยวกบั อนาคตของการศึกษา และเปล่ียนแปลงระบบการศึกษาปัจจุบนั ของเราอยา่ งสิ้นเชิง ไม่ ใชเ้ ราทาไดแ้ ค่เพียงสร้าง “วัคซีนการศึกษา” ที่จะช่วยเราป้องกนั สภาวการณ์ท่ีเปล่ียนแปลงไปเท่าน้นั แต่ เราตอ้ งสร้าง และพฒั นา “ยารักษาการศึกษา” มาเยียวยา และตอบโจทยใ์ ห้กบั เด็กนักเรียนของเราให้ไดร้ ับการศึกษาท่ีดีข้ึนยง่ิ กว่าท่ี ผา่ นมา “เป็ นไปได้ไหมท่ีการศึกษาที่เกิดขึน้ ในช่วงการระบาดใหญ่ของ COVID-19 จะดีกว่าที่เคยเป็นมา” ต่อจากน้ีไปคือจุดเร่ิมตน้ 5 ประการ ที่โรงเรียนพฒั นวิทยเ์ รียกกนั วา่ “วคั ซีนการศึกษา” ใน 5 โดสแรก ท่ีจะ ช่วยใหโ้ รงเรียนสร้างภมู ิคมุ้ กนั ทางการศึกษากบั นกั เรียนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพมากข้นึ ในช่วงโควิด-19 และจากน้ีไป 1. Restructuring Time: โครงสร้างของการศึกษาในปัจจุบันท่ีใช้เง่ือนไขของเวลาเป็ นตวั กาหนดการ จดั การเรียนกเ็ หมือนกบั ไวรัสท่ีมาทาลายการเรียนรู้ของนกั เรียน เราตอ้ งเปล่ียนจากระบบท่ีเวลาเป็นคา่ คงที่และการเรียนรู้ คือตวั แปร เป็ นระบบที่การเรียนรู้เป็ นค่าคงท่ีและเวลาเป็ นตวั แปร ถึงแมว้ ่ามนั ดูจะไม่เขา้ ท่า แต่วิธีที่เราจดั การศึกษา ในช่วงการระบาดของ COVID-19 น้นั อาจช่วยให้เราหลุดพน้ จากเง่ือนไขของเวลาท่ีลา้ สมยั ในการจดั การเรียนรู้ได้ เรา ควรสอนใหน้ กั เรียนมีความรู้ เชี่ยวชาญในสิ่งที่ตนเองชอบ ไม่ใช่เพ่ือคะแนนสอบ 10

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM โรงเรียนและระบบการศึกษาของเรามีขอ้ บกพร่องเน่ืองจากต้งั อยู่บนแนวคิดที่ตายตวั เกี่ยวกบั เวลาเรียน วนั เรียน และปี การศึกษา เวลาเป็ นสิ่งท่ีโรงเรียนสามารถเปล่ียนแปลงไดแ้ มจ้ ะเผชิญกบั มาตรฐานอื่น ๆ ที่กาหนดไว้ (เช่น การทดสอบข้นั ต่า ระเบียบวิธีทางเทคโนโลยี จานวนเด็กต่อช้นั เรียน) อย่างไรก็ตาม ระบบโรงเรียนยงั คงดาเนินการ ตามลาดบั ความสาคญั คือผใู้ หญ่เป็นคนขบั เคลื่อน และเหตุผลท่ีวา่ \"เราทาอยา่ งน้ีมาโดยตลอด\" “ท่ีไหนเขาก็ทากนั แบบน้ี” ช่วงเวลาการระบาดใหญ่น้ี ขณะที่โรงเรียนพยายามหาวิธีให้ความรู้นักเรียนพร้อม ๆ กับ รองรับการเวน้ ระยะห่างทางสังคม เราเห็นผูป้ กครอง ผูบ้ ริหาร และผูเ้ ช่ียวชาญด้านสุขภาพกาลงั ค้นหาวิธีแก้ไขปัญหาเวลาใหม่ ตัวอย่างเช่น ศูนย์บริ หารสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) รวมถึง กระทรวงศึกษาธิการไดแ้ นะนาให้มีการปรับเวลาท้งั การมารับมาส่งนกั เรียน การปรับแนวทางการมาเรียนของนกั เรียน และเวลาท่ียดื หยุ่นในการเปิ ดโรงเรียนอีกคร้ัง ในทานองเดียวกนั ครูและโรงเรียนก็สามารถประเมินเวลาเรียนของแต่ละ บทเรียนหรือแต่ละหน่วยใหม่อีกคร้ัง การใชว้ นั หยดุ สุดสัปดาห์ในการเรียน รวมถึงวา่ จะจดั การเรียนรู้ตลอดท้งั ปี หรือไม่ ที่สาคญั กว่าน้นั เราสามารถใช้เวลาเป็ นเคร่ืองมือเพ่ือให้แน่ใจว่าโรงเรียนไดพ้ บกบั นักเรียนไม่ว่าพวกเขาจะอยู่ที่ไหน เวลาใด และเขา้ สู่เน้ือหาใหมไ่ ดก้ ต็ ่อเมื่อพวกเขาเขา้ ใจในสิ่งท่ีไดเ้ รียนรู้ไปแลว้ เท่าน้นั ดังที่ได้กล่าวมาแลว้ ว่า ในขณะที่เราตอ้ งคงไวซ้ ่ึงมาตรฐานที่ต้งั ไว้ แต่ว่าเวลาน้ันสามารถปรับเปล่ียนได้ โรงเรียนตอ้ งยอมท่ีจะต่อสู้กบั แนวปฏิบตั ิและโครงสร้างแบบเดิมเพื่อท่ีจะช่วยให้นกั เรียนมีแรงบนั ดาลใจในการเรียนรู้ ท่ีมากข้ึน เราตอ้ งยอมรับวา่ ชีวิตและความเป็นอยขู่ องนกั เรียนไดเ้ ปลี่ยนไปแลว้ พวกเขาอยใู่ นโลกของ Digital พวกเขาใช้ Internet ใช้โทรศพั ท์มือถือ และใช้อุปกรณ์ Digital อ่ืนในการเขา้ ถึงข้อมูลและการสื่อสาร สาหรับพวกนักเรียนแลว้ “เวลา” เป็นทรัพยากร ไม่ใช่อุปสรรค เราเรียกร้องไม่เพียงแค่ใหเ้ วลาเรียนรู้มากข้ึนเทา่ น้นั แต่ให้นา “เวลา” ไปใชใ้ นทาง ใหมแ่ ละในทางที่ดีข้นึ 2. Student-Centered Models (วัคซีนโดสที่ 2) : คงปฏิเสธไม่ไดว้ ่า เราไดพ้ ูดเร่ืองน้ีกนั มานานแลว้ หลาย โรงเรียนก็บอกวา่ ไดท้ าแลว้ “จริงหรือ” มนั แทบจะเป็นไปไม่ไดใ้ นการท่ีจะใหน้ กั เรียนเป็นศูนยก์ ลาง แต่ติดอย่ใู นกรอบ ของตวั ช้ีวดั บนเง่ือนไขของเวลา ท่ีผา่ นมา ครูไดอ้ าศยั รูปแบบการประมวลผลแบบกลมุ่ (ซ่ึงก็เปรียบไดเ้ หมือนเป็นไวรัส) วิธีการเหล่าน้ีไม่เพียงพอท่ีจะรับรู้ถึงลกั ษณะเฉพาะ อุปสรรค หรือความเหล่ือมล้าที่นักเรียนไดร้ ับ เราจะเห็นอยู่เป็ น ประจา เช่น นักเรียนท่ีเก่งกว่าจะนาหน้าเม่ือเทียบกับนักเรียนท่ีอ่อน นักเรียนคนอ่ืนๆ เริ่มลา้ หลงั และลา้ หลงั มากข้ึน เพราะรูปแบบการสอนท่ีหลา้ สมยั COVID-19 ทาให้เราต้องยอมรับความแตกต่างของนักเรียนอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน เช่น ความสามารถ พ้ืนฐานในการเขา้ ถึง Internet ในการเรียนรู้แบบ Distance Learning ส่ิงท่ีควรพิจารณาอีกอย่างหน่ึงคือเวลาและสถานท่ี สาหรับการบา้ น เม่ือนกั เรียนที่เป็ นพี่ตอ้ งดูแลนอ้ งในขณะท่ีพ่อแม่ทางาน หรืออาจไม่มีที่ท่ีเหมาะสมในการเรียนรู้ การ คิดถึงขอ้ แตกตา่ งของนกั เรียนแต่ละคนจะทาใหค้ รูปฏิเสธแนวคิดทางการศึกษาท่ีวา่ One-Size-Fits-All (การสอนนกั เรียน 11

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM ทุกคนแบบเดียวกนั ) ออกไป และเร่ิมท่ีจะใหค้ วามสาคญั กบั การให้การศึกษานกั เรียนแต่ละคนจากความรู้เดิมที่แต่ละคน มี ครูถึงจะสามารถมองเห็นถึงความเป็นไปไดอ้ ยา่ งเต็มรูปแบบ และเริ่มสร้างการศึกษาที่มีนกั เรียนเป็นศนู ยก์ ลางไดอ้ ยา่ ง แทจ้ ริง 3. The Teacher’s Role: การที่จะเปล่ียนถ่ายไปสู่การจดั การเรียนรู้ที่ให้นกั เรียนเป็ นศูนยก์ ลางไดน้ ้นั เรา จะตอ้ งให้วคั ซีนโดสท่ี 3 เขา้ ไปสร้างภูมิคุม้ กันไวรัสท่ีเรียกว่า “บทบาทของครู” ในปัจจุบนั ครูมกั จะทาหน้าท่ีเป็ น แหล่งขอ้ มูลสาหรับนกั เรียน เราจะพบเห็นโดยทวั่ ไปในการสอนแบบบรรยาย โดยที่ครูมกั จะยืน (หรือแมก้ ระทง่ั นงั่ ) อยู่ หนา้ หอ้ งเรียน แลว้ ส่งตอ่ ขอ้ มลู สู่นกั เรียน โดยที่หวงั เพยี งวา่ นกั เรียนจะไดร้ ับขอ้ มลู หลงั จากน้นั กจ็ ะทาซ้าอีกคร้ังหน่ึงเม่ือ ทาขอ้ สอบแบบปรนยั (ท่ีผา่ นมาเราทดสอบสิ่งท่ีสามารถทดสอบได้ ไมใ่ ช่เป็นสิ่งท่ีสาคญั และการทดสอบแบบปรนยั น้นั โดยเน้ือแทไ้ มใ่ ช่การทดสอบที่ดี เพราะอนุญาตใหน้ กั เรียนคาดเดาได)้ ดว้ ยขอ้ มูลที่พร้อมใชเ้ พียงปลายนิ้วสัมผสั ผ่านสมาร์ทโฟนและหนา้ จอคอมพิวเตอร์ การศึกษาจาเป็นตอ้ งมี การเปลี่ยนแปลงจากการส่งขอ้ มูลจากครูสู่นกั เรียน ไปเป็นการไดม้ าซ่ึงทกั ษะ ซ่ึงรวมถึงความสามารถในการคิดอย่างมี ตรรกะ การวิจยั อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ และอ่ืน ๆ ยงั มีทกั ษะใหม่ ๆ มากมายให้เรียนรู้ในการคน้ หา สารวจ กระแสข้อมูลท้ังท่ีถูกและท่ีผิดท่ีถ่ังโถมอยู่ในโลก Internet รวมไปถึงการตัดสินใจท่ีถูกต้องในโลกใหม่ที่มีการ เปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็ว ดว้ ยการศึกษาที่เนน้ นกั เรียนเป็นศนู ยก์ ลาง ครูไมไ่ ดม้ งุ่ เนน้ ท่ีการเป็นแหลง่ ขอ้ มูลดว้ ยตวั เอง แตใ่ หท้ รัพยากร ท่ีจาเป็นแก่นกั เรียนแต่ละคนและกลุ่มใหเ้ กิดการเรียนรู้ท่ีดีท่ีสุด ครูจะตอ้ งช่วยนกั เรียนแต่ละคนให้เรียนรู้ในจงั หวะ กา้ ว ย่างของตนเอง จากความรู้ความเขา้ ใจที่มีอย่ไู ปสู่ความรู้ ความเขา้ ใจในสิ่งใหม่ เร่ืองใหม่ ครูตอ้ งช่วยนกั เรียนในการหา ทรัพยากรท่ีจาเป็ นในการเรียนรู้ใ นสิ่งที่เขาตอ้ งการอยากจะรู้ เมื่อครูเปล่ียนบทบาทตนเองไปเป็ นผชู้ ่วยนกั เรียนในการ คน้ หาทรัพยากร และช้ีนานกั เรียนในการเรียนรู้ดว้ ยตนเองไดเ้ มื่อไหร่ พวกเขาจะหาหนทางใหม่ ๆ ครูตอ้ งคอยสังเกตุ นกั เรียน และเรียนรู้เก่ียวกบั พวกเขาเพือ่ ใหม้ นั่ ใจไดว้ า่ เราไดใ้ หท้ รัพยากรที่เหมาะสมกบั นกั เรียน 4. Curriculum Analysis and Development: ความเป็นจริงที่เกิดข้ึนในหอ้ งเรียน ณ ปัจจุบนั กค็ ือ เราไม่ได้ สอนส่ิงที่สาคญั ท่ีสุดให้นกั เรียน การมอบหมายงานบางส่วนเป็นเพียงงานที่ทาใหน้ กั เรียนยงุ่ และมกั เนน้ เฉพาะเน้ือหาท่ี ใหน้ กั เรียนหาคาตอบที่ \"ถูกตอ้ ง\" จากในหนงั สือเรียน เหตุการณ์ระบาดใหญ่ทาให้เราไดร้ ู้ว่า ส่ิงท่ีสาคญั ที่เราควรจะให้กบั นกั เรียนคืออะไร กระทรวงศึกษาธิการ ควรจะเร่ิมท่ีจะทบทวนหลกั สูตรใหม่ ความรู้ส่วนใหญ่อยขู่ า้ งนอกโรงเรียน ไม่ใช่อยูแ่ ต่ในโรงเรียน การสอนให้นกั เรียน เขา้ ถึงขอ้ มูลท่ีถกู ตอ้ งต่างหากท่ีจะเป็นวคั ซีนท่ีจะช่วยสร้างภูมิคุม้ กนั ใหน้ กั เรียน เวลาท่ีผา่ นไป เราก็ยงั ใชห้ ลกั สูตรในยคุ ของอุตสาหกรรม แทนท่ีจะตอ้ งเป็ นหลกั สูตรในยุคขอ้ มูลสารสนเทศแลว้ เราจะตอ้ งถามตวั เองว่าขอ้ เท็จจริงหรือกระ บวนการใดที่เราตอ้ งการให้นักเรียนจดจาในปี ต่อ ๆ ไปที่จะมาถึง นอกจากน้ีเรายงั จะตอ้ งระบุชุดทกั ษะพ้ืนฐานที่เรา 12

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM ตอ้ งการให้นกั เรียนไดร้ ับหลงั จากเดินออกจากร้ัวโรงเรียนแลว้ มุ่งเนน้ ไปที่การใชง้ านจริง และทกั ษะท่ีจาเป็ นต่อการ นาไปใชใ้ นโลกแห่งความเป็นจริง 5. School Culture: หากจะกล่าวถึงวฒั นธรรมของโรงเรียน วฒั นธรรมโรงเรียนมักประกอบไปด้วย ประเด็นเกี่ยวกบั ความแตกต่าง ความเสมอภาค และความเป็นหน่ึง แตว่ า่ COVID-19 ทาใหโ้ รงเรียนตอ้ งยอ้ นกลบั ไปมอง เรื่องของทิศทางที่ชัดเจน นโยบายท่ีชดั เจน รวมถึงเคร่ืองไมเ้ ครื่องมือ และโรงเรียนยงั ตอ้ งเรียนรู้ในการกาหนดและ สนบั สนุนค่านิยมของตนเองดว้ ย อาทิ ความซื่อสัตย์ บูรณภาพ และความมุ่งมนั่ เมื่อโรงเรียนไดค้ น้ พบว่าอุดมการณ์ใดที่ พวกเขายึดถือมากท่ีสุด หรือเป็นพ้ืนฐานของวิธีดาเนินการ พวกเขาจะตอ้ งรวมค่านิยมเหล่าน้นั เขา้ กบั หลกั สูตรโดยตรง ในแงน่ ้ี โรงเรียนจะมีบทบาทมากข้นึ ในการพฒั นาสังคมนอกเหนือจากการเตรียมนกั เรียนใหพ้ ร้อมเขา้ สู่อาชีพการแข่งขนั มีอิทธิพลตอ่ ระบบความเช่ือและความคาดหวงั ผลลพั ธด์ า้ นพฤติกรรมที่เก่ียวขอ้ ง ในหลาย ๆ ดา้ น COVID-19 ไดท้ าลายความมนั่ คงและวถิ ีชีวิตของเรา (แลว้ มนั กย็ งั ไม่จบ) มนั ยงั ไมไ่ ดอ้ ยขู่ า้ ง หลงั เราไปแลว้ แต่ความทา้ ทายที่เกิดข้ึนในตอนน้ี เปิ ดโอกาสให้เราไดเ้ ปล่ียนแปลงส่ิงท่ีเราทาในห้องเรียนให้ดีข้ึน กวา่ เดิม พวกเราหลายคนรู้วา่ ระบบตอ้ งการการเปลี่ยนแปลงข้นั พ้ืนฐานเพ่ือรองรับนกั เรียนท้งั ในปัจจุบนั และอนาคต ใน ทุกมุมมอง การเปล่ียนแปลงคือการอยู่รอด หากเราใชช้ ่วงเวลาน้ีอย่างเหมาะสมเพื่อส่ิงที่ดีกวา่ อาจหมายถึงการศึกษาท่ีดี ข้นึ สาหรับนกั เรียนจานวนมากข้นึ นกั เรียนเหลา่ น้นั สามารถพฒั นาข้ึนไดด้ ว้ ยความรู้ ทกั ษะ และความสามารถที่เราใฝ่ ฝัน ว่าจะประสบความสาเร็จในวงกวา้ ง เราจะเตรียมพร้อมมากข้ึนกว่าท่ีผ่านมาเพื่อช่วยให้นักเรียนทุกคนบรรลุศกั ยภาพ สูงสุด 13

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM CHAPTER 3 SHIFTING EDUCATIONAL PARADIGMS: ในห้องเรียนแบบด้งั เดิม ในการเรียนการสอนท่ีเน้นครูเป็ นศูนยก์ ลางน้ันมาพร้อมกับความคาดหวงั ท่ีว่า นกั เรียนจะจดจาขอ้ มูลตายตวั ที่ครูถ่ายทอดให้ และการประเมินมกั จะเกิดข้ึนผ่านการทดสอบขอ้ เขียนซ่ึงประกอบดว้ ย คาตอบท่ีถูก/ผดิ คาตอบแบบเลือกตอบ และการเขียนเรียงความ โดยทว่ั ไป นกั เรียนจะไดร้ ับสื่อการสอนแบบเดียวกนั ใน ช่วงเวลาเดียวกนั และมีการทดสอบแบบเดียวกนั ท้งั กลุ่ม แสดงถึงระบบความเช่ือที่ว่านักเรียนทุกคนเรียนรู้ดว้ ยจงั หวะ ความเร็วท่ีเท่ากนั (DeLorenzo, et al., 2009; Jerald, 2009) นกั เรียนจะตอ้ งผา่ นระบบโรงเรียนในวยั เดียวกนั และในเวลา เดียวกนั โดยจะตอ้ งเรียนในวิชาที่หลกั สูตรกาหนดเช่นเดียวกนั ระบบการเรียนการสอนแบบด้งั เดิม เป็นระบบท่ี \"เวลา เป็นค่าคงที่และการเรียนรู้คือตวั แปร\" ระบบการจดั การศึกษาแบบน้ีใชไ้ ดผ้ ลดีในช่วง 100 ปี ท่ีผา่ นมา แต่ไม่ว่าท้งั ระบบ การศึกษาแบบ \"โรงงานเป็นฐาน\" ในยุคแรก หรือช่วงของการปฏิวตั ิอุตสาหกรรมก็ไม่สามารถตอบสนองความตอ้ งการ ของนกั เรียนในสงั คมศตวรรษที่ 21 ของเราได้ (Berrett, 2012; Jerald, 2009; Wagner, 2008). Albert Einstein เคยกล่าวไวว้ ่า มนุษยท์ ุกคนมีความเป็ นอจั ฉริยะอยู่ในตวั แต่ถา้ หากว่า ปลาถูกตดั สินโดย ความสามารถในการปี นตน้ ไมแ้ ลว้ ละก็ ท้งั ชีวิตของมนั ก็จะมีความเชื่อว่ามนั โง่ (Calaprice, 2010) ยคุ ของ New Normal อยทู่ ่ีน่ี อยกู่ บั ทกุ คน ก่อนที่เราจะเดินหนา้ กนั ต่อไป สิ่งท่ีเราทุกคนควรจะรู้จกั ก็คือการเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ที่จาเป็ นในการ เปล่ียนถา่ ยระบบการจดั การศึกษาใหเ้ ขา้ สู่ยคุ ของ The New Learning Normal 14

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM THE NEW LEARNING NORMAL: ONLINE LEARNING: What is Online Learning? ความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์ท่ีเช่ือมต่อกบั เครือข่ายซ่ึงช่วยให้นกั เรียนสามารถเรียนรู้ไดท้ ุกท่ี ทุก เวลา ในจังหวะของตนเอง ในวิธีการที่หลากหลาย (Cojocariu et al., 2014) Online learning สามารถเรียกได้ว่าเป็ น เคร่ืองมือท่ีช่วยให้กระบวนการสอนและการเรียนรู้ทาให้นกั เรียนเป็นศูนยก์ ลางมากข้ึน มีนวตั กรรมมากข้ึน และมีความ ยดื หยนุ่ มากข้ึน Online Learning หมายความว่านักเรียนจะเรียนไดท้ ้งั จากระยะใกลแ้ ละจากระยะไกล (Distance Learning) ในช่วงของการระบาดใหญ่ของ COVOD-19 น้ี มนั ก็เป็ นทางเลือกอีกทางหน่ึงที่จะให้นกั เรียนไม่ตอ้ งหยุดการเรียนรู้ ถึงแมจ้ ะไม่ไดไ้ ปโรงเรียน นกั เรียนสามารถเรียน Online ไดท้ ุกที่ ต้งั แต่ในโรงเรียน ที่บา้ น และทุก ๆ ท่ีที่นกั เรียนเลือกที่ จะเรียนโดยผ่าน Internet นอกจากน้ีเน้ือหาวิชาก็สามารถท่ีจะถูกบนั ทึกไวใ้ ห้นักเรียนสามารถที่จะมาดู หรือศึกษา เม่ือไหร่ก็ได้ Online Teaching is no More an Option, it is a Necessity ทวั่ โลกกาลงั ถูกโจมตีดว้ ยการระบาดของ COVID-19 เราทกุ คนตอ้ งอยใู่ นสภาวะการกกั ตวั รวมถึงโรงเรียน ครู และนกั เรียน ซ่ึงไม่สามารถท่ีจะจดั การเรียนเรียนรู้แบบที่ผา่ นมาได้ COVID-19 ไดท้ าใหโ้ รงเรียนท่ีจดั การเรียนรู้แบบ ปกติ ผนั ตัวเข้าสู่รูปแบบ Online วิกฤติน้ีทาให้โรงเรียน (ซ่ึงก่อนหน้าน้ีไม่เต็มใจท่ีจะเปล่ียน) ต้องหันมายอมรับ เทคโนโลยสี มยั ใหม่ ภยั พบิ ตั ิน้ีจะแสดงใหเ้ ราเห็นดา้ นบวกของการสอนและการเรียนรู้ Online การต่อตา้ นการเปลี่ยนแปลงจะไม่ช่วยระบบการศึกษาในวิกฤติน้ี การเปล่ียนถา่ ยจากการเรียนแบบที่ครูและ นักเรียนเผชิญหน้ากนั พบปะกันไปเป็ นการเรียนรู้แบบ Online ยงั คงเป็ นเพียงคาตอบเดียวในสถานการณ์ที่เป็ นอยู่น้ี แน่นอนว่า โรงเรียนยงั ไม่สามารถท่ีจะโอนลกั สูตรการเรียนรู้ไปสู่ Online ไดท้ ้งั หมดในชวั่ ขา้ มคืน เน่ืองจากระยะทาง สัดส่วน รวมถึงการสอนและการเรียนรู้ของนกั เรียนแต่ละคนเป็นความทา้ ทายท่ีใหญ่ท่ีสุดสามประการสาหรับการเรียน การสอน Online ทางออกโดยการใช้นวตั กรรมของโรงเรียนสามารถช่วยให้เราไดแ้ ค่รับมือกบั การระบาดใหญ่เท่าน้ัน (Liguori & Winkler, 2020) มนั ยงั มีตัวช่วยมากมายท่ีช่วยให้เกิดการเปล่ียนถ่ายได้อย่างรวดเร็ว อาทิ ผลิตภัณฑ์ของ Google ซ่ึงสามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างแทจ้ ริงในสถานการณ์ท่ีมีปัญหาดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็ น (a) Gmail, (b) Google Forms, (c) Calendars, (d) G-Drive, (e) Google Hangouts, (f) Google Jam Board and Drawings, (g) Google Classroom, and (h) Open Board Software (ซ่ึงไม่ใช้ผลิตภณั ฑ์ของ Google แต่ช่วยในการบนั ทึกการเรียนการสอน การระชุม ใน 15

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM รูปแบบของไฟล)์ เครื่องมือเหล่าน้ีสามารถนามาช่วยในการจดั การเรียนการสอน Online ให้สมบูรณ์มากย่ิงข้ึน (Basilaia et al., 2020) REMOTE LEARNING: What Is Remote Learning? Remote Learning ก็คอื การยา้ ยจากการจดั การเรียนรู้แบบที่ครูและนกั เรียนมีปฏิสัมพนั ธ์กนั โดยตรงตามปกติ ไปเป็น Online ซ่ึงที่ผา่ นมาแลว้ มกั จะเป็นแคช่ ว่ั คร้ังชว่ั คราว ไมว่ า่ จะเป็นตอนที่นกั เรียนไม่สบายอยทู่ ี่บา้ นหรือไม่สามารถ มาเรียนที่โรงเรียนได้ สาหรับครูแลว้ มนั หมายความวา่ เป็นการกาหนดบทเรียนและหน่วยการเรียนรู้ใหม่ให้เขา้ กนั กบั การจดั การ เรียนรู้ Online ในขณะเดียวกนั ก็ตอ้ งพฒั นาสื่อการเรียนรู้ใหม่ให้เหมาะสมเพื่อช่วยเพิ่มศกั ยภาพการเรียนรู้ Online ของ นกั เรียนใหส้ ูงท่ีสุด สาหรับนกั เรียน นี่หมายความว่าพวกเขาจะตอ้ งใช้เคร่ืองมือใหม่ ๆ ในการเรียนรู้ ซ่ึงมนั ก็ต่างมีขอ้ ดีและ ขอ้ เสีย ที่ผ่านมาโรงเรียนหลาย ๆ โรงเรียนได้ใช้การจดั การเรียนการสอนในรูปแบบ Remote Learning ผ่าน Video Conferencing Platforms เช่น Zoom, Microsoft Teams หรือ Google Classroom กล่าวง่าย ๆ ก็คือ ครูและนักเรียนได้ พบปะกันผ่านทางหน้าจอมอนิเตอร์ของคอมพิวเตอร์ โทรศพั ท์ Laptop หรืออุปกรณ์ทาง Electronic อื่น ในเวลาท่ีครู กาหนดไว้ Structure องคป์ ระกอบที่สาคญั ที่สุดของการเรียนรู้ประเภทน้ี ไดแ้ ก่ เวลา การสื่อสาร เทคโนโลยี และการออกแบบ บทเรียน การกาหนดองคป์ ระกอบเหล่าน้ีไวล้ ่วงหนา้ อย่างชดั เจนจะช่วยขจดั สิ่งที่จะรบกวนสมาธิของนักเรียนจากการ เรียนรู้ออกไป Time เวลาเป็ นส่ิงแรกที่โรงเรียนตอ้ งพิจารณา เพราะมนั เป็ นตวั กาหนดความคาดหวงั และขอบเขตสาหรับท้งั นกั เรียนและครู โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เวลาที่จะเริ่มเรียนในแต่ะวนั และจะตอ้ งใชเ้ วลานานกี่ชวั่ โมง ก่อนอื่น ครูควรกาหนดช่วงเวลาไวใ้ นระหวา่ งวนั ว่าเม่ือใดท่ีครูจะใชเ้ ป็นเวลาในการจดั การเรียนรู้ และเวลา ใดท่ีครูพอจะมีเวลาพร้อมสาหรับนักเรียนในการติดต่อเพ่ือปรึกษาได้ ตรวจสอบให้แน่ใจว่าไดส้ ่ือสาร “เวลาทาการ” เหล่าน้ีอย่างชัดเจน เพื่อนักเรียนจะไดเ้ ตรียมตวั บางคร้ังครูอาจจะต้องการเช่ือมต่อแบบเรียลไทม์หรือพร้อมกันกับ นกั เรียนหรือกลุ่มนกั เรียน ครูก็อาจจะใช้ Video Conferencing Platforms มาช่วยในการติดต่อ สื่อสาร และให้คาปรึกษา กบั นกั เรียนนอกเหนือเวลาในการจดั การเรียนรู้ได้ 16

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM Communication การส่ือสารเป็นอีกแง่มุมหน่ึงท่ีตอ้ งกาหนดอยา่ งชดั เจน นกั เรียนควรท่ีจะรู้อยา่ งชดั เจนว่าควรสื่อสารกบั ครู อยา่ งไรและเม่ือใด การใช้ E-Mail เหมาะสมกวา่ การแชท Online กบั ครูหรือไม่ การส่ือสารทกุ อยา่ งจะตอ้ งอยใู่ นขอ้ จากดั ของอุปกรณ์อย่างเดียวหรือไม่ จะทาอย่างไรหากอุปกรณ์ชิ้นน้นั ไม่ทางาน แผนสารองในการส่ือสารคืออะไร คาถามแต่ ละขอ้ เหลา่ น้ีควรจะถูกตอบในเอกสารแนะนาใหน้ กั เรียนและผปู้ กครอง ครูควรจะใหค้ ะแนนและรายงานนกั เรียนจากงานท่ีนกั เรียนส่งภายใน 24-72 ชวั่ โมง ข้นึ อยกู่ บั ความซบั ซ้อน ของงาน และเม่ือส่งงานคืนให้นกั เรียน ครูควรจะเขียนคาแนะนา และบนั ทึกย่ออธิบายเหตุผลของคะแนนน้นั โดยที่ คาอธิบายอาจจะยาวและละเอียดกว่าช่วงการจดั การเรียนรู้ปกติ เนื่องจากครูไม่ไดม้ ีโอกาสท่ีจะพบกบั นกั เรียนเหมือน ตอนปกติมากนกั Technology เทคโนโลยีสามารถเปล่ียนแปลงไดใ้ นสภาพแวดล้อมของ Remote Learning ซ่ึงเราตอ้ งเตรียมการอย่าง กะทนั หนั เน่ืองจากภาวะ COVID-19 โรงเรียนจาเป็นตอ้ งใหข้ อ้ มูลที่ชดั เจนเก่ียวกบั วธิ ีการเขา้ ถึง Online Platform ระหวา่ ง การเรียนรู้ในรูปแบบ Remote Learning โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ หากนกั เรียน ผูป้ กครอง และครูไม่คุน้ เคยกบั การใชเ้ คร่ืองมือ ดังกล่าว โรงเรียนท่ีปกติแลว้ ไม่ได้นา Remote Learning หรือ Virtual Learning มาใช้ในการสอนจาเป็ นตอ้ งจดั เตรียม ทางเลือกอ่ืนสาหรับนกั เรียนในการรับและส่งคืนงาน เช่น การใช้ Learning Packets โดยใหผ้ ปู้ กครองมารับและส่งงานท่ี โรงเรียนโดยการ Drive Thru เป็นตน้ โรงเรียนควรจดั การช่วยเหลือทางดา้ นเทคนิคให้กบั ครู นักเรียน และผูป้ กครอง มีคู่มือสาหรับใช้ Online Platform ตา่ ง ๆ รวมถึงวธิ ีการแกไ้ ขปัญหาเบ้ืองตน้ เบอร์โทรติดต่อผดู้ ูแลระบบ ฯลฯ Lesson Design การออกแบบการเรียนรู้ในรูปแบบ Remote Learning มีรายละเอียดที่ซับซอ้ นกว่าการออกแบบในห้องเรียน ปกติ เน่ืองจากว่า ในหอ้ งเรียนปกติครูสามารถสังเกตุนักเรียนไดโ้ ดยง่ายวา่ นกั เรียนเขา้ ใจแลว้ หรือไม่ แต่ในการจดั การ เรียนการสอนแบบ Remote Learning น้ัน ครูจะต้องต้ังข้อสันนิษฐานก่อนว่า นักเรียนอาจจะไม่เข้าใจมากนัก หรือ นกั เรียนอาจจะขาดความเขา้ ใจในบางส่วน ครูตอ้ งสอดแทรก ขยายความ และการช่วยเหลือเขา้ ไปในการออกแบบการ เรียนรู้ดว้ ย การออกแบบ Remote Learning อาจมีส่วนประกอบดงั ตอ่ ไปน้ี: • ให้ออกแบบเน้ือหาที่เชื่อมโยงกบั การจดั การเรียนรู้ก่อนหนา้ น้ี ซ่ึงมนั จะช่วยให้นกั เรียนเขา้ ใจว่าอะไรที่ เขาจะตอ้ งทา และทาไม 17

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM • การกาหนดวตั ถุประสงคใ์ นการออกแบบการเรียนรู้ควรจะเหมือนกนั กบั ของการเรียนแบบปกติ และ ควรแจง้ วตั ถปุ ระสงคใ์ นการเรียนรู้ใหน้ กั เรียนทราบทุกคน • จดั ทา Poll หรือ Checklist ใหน้ กั เรียนประเมินตนเองก่อนการเรียนรู้ วา่ อะไรที่เขารู้ ซ่ึงจะช่วยให้พวก เขาต้งั ใจท่ีจะเรียนรู้ในส่วนที่พวกเขายงั ไม่รู้มากข้ึนในชว่ั โมงเรียน • แนะนาเน้ือหา เช่น ในวิชาประวตั ิศาสตร์ ใหน้ กั เรียนไปดูวดิ ีโอเกี่ยวกบั สงครามยทุ ธหัตถี และอ่านหนา้ 158 – 213 ในหนงั สือเรียนหลงั จากน้นั ใหเ้ ขา้ Zoom ในตอนเท่ียงวนั เพื่อพดู คุยกนั • การบูรณาการและการประเมิน เช่น วิชาคอมพิวเตอร์ (ครูสอนเก่ียวกบั การออกแบบโปสเตอร์ โดยใช้ โปรแกรม Photoshop) ใหน้ กั เรียนออกแบบโปสเตอร์เกี่ยวกบั Timeline ของสงครามยทุ ธหตั ถีต้งั แต่ปี XX จนถึง XX การออกแบบการเรียนรู้ที่ยกตวั อย่างน้ี เป็ นการออกแบบการจดั การเรียนรู้โดยใช้ Remote Learning และ การบูรณาการให้เขา้ กบั วิชาอ่ืน ซ่ึงครูอาจจะออกแบบให้สอดคลอ้ งกบั เน้ือหาวิชาอย่างไรก็ไดเ้ พียงแต่พยายามให้การ ออกแบบน้นั ตอ่ เนื่อง ล่ืนไหล อยา่ งที่โรงเรียนไดก้ าชบั ใหค้ รูตระหนกั ถึง คาถาม 4 ขอ้ ไวต้ ลอดเวลาซ่ึงก็คอื 1) เราอยากใหน้ กั เรียนรู้เรื่องอะไร 2) ทาอยา่ งไรจะใหเ้ ขารู้ 3) จะรู้ไดอ้ ยา่ งไรวา่ เขารู้ และ 4) ถา้ เขาไม่รู้แลว้ เราจะทาอยา่ งไรต่อไป SYNCHRONOUS AND ASYNCHRONOUS LEARNING: ในยคุ Digital ที่เราอาศยั อยปู่ ัจจุบนั เตม็ ไปดว้ ยเทคโนโลยีเก่ียวกบั การเรียนรู้ใหม่ ๆ มากมาย แต่ไม่วา่ จะเป็น เทคโนโลยีอะไร มันก็มีสิ่งท่ีเหมือนกันอยู่อย่างหน่ึง มันช่วยสนับสนุน Asynchronous Learning แต่เด๋ียวก่อน Asynchronous Learning คอื อะไรล่ะ แลว้ เราจะเปรียบกบั Synchronous Learning อยา่ งไร ก่อนอื่นเรามาเริ่มจากคาอธิบาย วธิ ีการเรียนรู้แบบเก่า ซ่ึงก็คือ Synchronous Learning วา่ เป็นอยา่ งไรก่อน What is Synchronous Learning? Synchronous หมายถึง เกิดข้ึนในเวลาเดียวกัน พร้อมๆ กัน และหากกล่าวถึงการเรียนรู้มนั ก็ไม่ต่างกนั Synchronous Learning หมายถึงเหตกุ ารณ์ในการเรียนรู้ที่กล่มุ ผเู้ รียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ในเวลาเดยี วกนั ดว้ ยเหตุผลน้ี นกั เรียนควรอยู่ในสถานที่เดียวกนั อยา่ งเช่น ในห้องเรียน หรืออยูใ่ นสภาพแวดลอ้ มของการ เรียน Online เดียวกนั เช่นการเรียนโดยใช้ Video Conferencing อย่าง Zoom (https://zoom.us/) ที่ครูและเพ่ือนนกั เรียนมี ปฏิสัมพนั ธ์กนั ทาง Online โตต้ อบกนั ในเวลาเดียวกนั 18

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM The benefits of synchronous learning • ปฏิสมั พนั ธร์ ะหวา่ งครูและนกั เรียน • การแลกเปล่ียนความรู้และประสบการณ์ระหวา่ งกนั • มี Feedback ของครูและเพอ่ื นทนั ที • มีตารางกาหนดการเรียนชดั เจน What is Asynchronous Learning? หากวา่ Synchronous Learning เกิดข้ึนในเวลาเดียวกนั ดงั น้นั Asynchronous Learning ก็เกิดขึน้ ในทิศทาง ตรงกันข้าม ครู นกั เรียน และผอู้ ื่นไมไ่ ดเ้ ขา้ ร่วมในกระบวนการเรียนรู้เวลาเดียวกนั มนั จะไม่มีปฏิสมั พนั ธร์ ะหวา่ งกนั ใน เวลาจริง เช่น การท่ีครูบนั ทึกการสอนลง Youtube (https://www.youtube.com/) ซ่ึงนกั เรียนสามารถท่ีจะเขา้ มาดูเมื่อไหร่ ก็ได้ ไมจ่ าเป็นตอ้ งเป็นเวลาเดียวกนั กบั เพอื่ น The benefits of asynchronous learning • นกั เรียนสามารถท่ีจะเรียนในเวลาและตารางของตนเอง • งานของครูจะลดลง • ช่วยลดงานที่ซ้าซากของครู • ครูและนกั เรียนใชเ้ วลาในหอ้ งเรียนนอ้ ยลง Table 1: The Differences between Synchronous and Asynchronous Learning. Synchronous Learning Asynchronous Learning หอ้ งเรียนแบบด้งั เดิม หอ้ งเรียนแบบบนั ทึกไว้ การโตต้ อบขอ้ ความแบบทนั ที E-mail ไดร้ ับ Feedback จากเพอื่ นและครูทนั ที ส่งคาถามและรอคาตอบ โทรศพั ท์ บนั ทึกขอ้ ความเสียง เรียนลกั ษณะการพบหนา้ กนั สด ๆ เรียน Online Course (ไมใ่ ช่ Live) การเรียนสดผา่ น Website การเรียนท่ีครูบนั ทึกไวใ้ หด้ ู เรียนรู้พร้อมกนั เป็นกลุ่ม เรียนรู้ตามจงั หวะของตนเอง เวลาเดียวกนั แลว้ แตเ่ วลาของแตล่ ะคน 19

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM BLENDED LEARNING: The Growth of Blended Learning วิธีคดิ แบบใหม่เก่ียวกบั การสอนและการเรียนรู้เพื่อช่วยใหค้ รูเตรียมนกั เรียนใหพ้ ร้อมสาหรับการเรียนรู้ และ โรงเรียนนามาพฒั นาเพ่ือใช้ในช่วงระหว่าง และหลงั COVID-19 การผสมผสานระหว่างการสอนและการเรียนรู้ใน ห้องเรียนและบน Website ช่วยให้เขา้ ถึงโหมดและวิธีการเรียนรู้ที่หลากหลายในการพฒั นาทกั ษะ และความเช่ียวชาญ ของนักเรียนในฐานะผูเ้ รียน (Cleveland-Innes, 2017) มีผลการวิจยั มากมายเกี่ยวกบั Blended Learning แสดงให้เห็นถึง ความสามารถของผเู้ รียนในการเรียนรู้ร่วมกนั คดิ อยา่ งสร้างสรรค์ ศึกษาอย่างอิสระ และปรับแตง่ ประสบการณ์การเรียนรู้ ของตนเองใหต้ รงกบั ความตอ้ งการของแต่ละบุคคล ในหนงั สือเลม่ น้ียงั จะใหข้ อ้ มลู เก่ียวกบั เคร่ืองมือ เทคโนโลยบี างอยา่ งที่โรงเรียนสามารถนาไปใชส้ นบั สนุน การจดั การเรียนรู้ในรูปแบบ Blended Learning ดว้ ยความระมดั ระวงั การผสมผสานอย่างรอบคอบ และคานึงถึงระดบั ทกั ษะทางเทคโนโลยขี องท้งั ครูและนกั เรียน และการเขา้ ถึง Internet การเรียนรู้สาหรับทกุ คนสามารถเกิดข้ึนไดจ้ ากความ ยดื หยนุ่ และยอมรับ What is Blended Learning? คาจากดั ความท่ีง่ายท่ีสุดของคาวา่ Blended Learning กค็ อื การใชว้ ธิ ีการสอนในหอ้ งเรียนแบบด้งั เดิมร่วมกบั การใชก้ ารเรียนรู้ Online สาหรับนกั เรียนกลุ่มเดียวกนั ท่ีเรียนเน้ือหาเดียวกนั ในหลกั สูตรเดียวกนั มนั เป็นการผสมผสาน อย่างลงตวั ของประสบการณ์การเรียนรู้แบบปกติและแบบ Online (Garrison & Vaughan, 2008) นอกจากน้ีมนั ก็ยงั มี Blended Program ที่นกั เรียนเรียนวิชาหน่ึงแบบปกติ และอีกวิชาหน่ึงเรียน Online อีกดว้ ย หรืออาจกล่าวไดว้ ่า Blended Learning เป็ นคาศพั ทท์ ี่ใชเ้ รียกในการสอนและประสบการณ์การเรียนรู้ผ่าน การผสมผสานระหวา่ งการเรียนรู้แบบปกติและการเรียนรู้แบบใชเ้ ทคโนโลยเี ป็นส่ือกลาง ที่กล่าวมาเป็ นการจดั การเรียนรู้ท่ีสาคญั ในการที่จะทาความเขา้ ใจกบั บทบาทของโรงเรียนและครูในการ จดั การเรียนรู้ให้กบั นกั เรียนในช่วง COVID-19 และหลงั จากน้ีต่อไปในอนาคต ในเมื่อเราไม่สามารถที่จะกลบั ไปยงั โลก ท่ีเคยเป็นอยไู่ ด้ เรากต็ อ้ งเรียนรู้ท่ีจะอยกู่ บั มนั และพฒั นาการจดั การเรียนรู้ท่ีจะมอบใหน้ กั เรียนไปพร้อม ๆ กนั 20

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM CHAPTER 4 THE CURE I: ในบทน้ี เราจะเริ่มมามองตรงยาท่ีจะมารักษาการเรียนรู้ว่าเราจะทาอย่างไร ดว้ ยสถานการณ์ที่ผ่านมา การ จดั การศึกษาของโรงเรียนจะมีอยู่แค่ 2 แบบใหญ่ ๆ เท่าน้ัน คือ 1) การเรียนรู้แบบปกติที่โรงเรียน หรือ On-site และ 2) การเรียนรู้แบบที่เหลือ ไม่ว่าจะเป็น Online, On Air, On Hand และ On Demand ตามท่ีกระทรวงศึกษาและนกั การศึกษา ไดก้ าหนดไว้ แต่ การจดั การศึกษาท่ีผ่านมาก็เกิดปัญหามากมาย ไม่ประสพความสาเร็จเท่าที่ควร โรงเรียนหลาย ๆ โรงก็ เฝ้ารอคอยให้ผ่านพน้ ช่วงวิกฤติไปไว ๆ เพื่อที่จะไดเ้ ปิ ดการเรียนการสอนแบบปกติในโรงเรียนที่พวกเขาคิดว่าดีที่สุด สาหรับพวกเขาและนกั เรียน แต่อย่างท่ีไดก้ ล่าวไปแลว้ ในบทตน้ ๆ ว่า เราไม่สามารถกลบั ไปโลกท่ีเราเคยอย่ไู ดอ้ ีกแลว้ เรายงั วนอยู่ใน Loop ของวิกฤตการณ์อยู่เหมือนเดิม คือจะมีการปิ ดโรงเรียนหากว่าเกิดการแพร่ระบาดมากข้ึน และเม่ือ เริ่มผอ่ นคลายก็จะใหเ้ ปิ ดไดแ้ ต่ตอ้ งอยใู่ นมาตรการ แตห่ ากมีการแพร่ระบาดอีกก็ตอ้ งปิ ดอีก เป็นอยอู่ ยา่ งน้ี ลองจินตนาการดูว่าหากเป็นไปได้ ไม่ว่านกั เรียนและโรงเรียนจะตอ้ งปิ ดหรือเปิ ด จะตอ้ งเรียน Online หรือ Offline จะตอ้ งมาเรียนที่โรงเรียนหรือไมจ่ าเป็นตอ้ งมา แต่สามารถที่จะไดค้ วามรู้เช่นเดียวกนั หรือดีกวา่ ที่ผา่ นมา มนั จะดี แค่ไหน หลายคนอาจจะคิดว่า มนั เป็ นไปไม่ได้ การจดั การศึกษาท่ีดีตอ้ งเกิดข้ึนท่ีโรงเรียนเท่าน้นั แต่อย่าลืมว่าเวลามนั เปลี่ยนไปแลว้ ความรู้ที่มีมากกวา่ โรงเรียนและครูจะใหไ้ ดม้ นั อยนู่ อกร้ัวโรงเรียนท้งั น้นั แลว้ การจดั การเรียนรู้แบบไหนที่ จะรองรับการเปลี่ยนแปลงเหล่าน้ี การเรียนรู้แบบไหนที่จะรองรับทกุ ฝ่ายไมว่ า่ จะเกิดวกิ ฤตการณ์เลวร้ายแคไ่ หน Don’t Just Roll the Dice การออกแบบการเรียนรู้แบบ Blended Learning ที่ก่อใหเ้ กิดประสิทธิภาพสูงสุดไดช้ ่วยสนบั สนุน Learner- Centered Learning (Baldwin-Evans, 2006) ดว้ ยการออกแบบท่ีเหมาะสม ที่บูรณาการเขา้ กบั โอกาสในการเรียนรู้อย่าง หลากหลายจะทาให้นกั เรียนไดค้ วบคุมการเรียนรู้ ไม่ว่าจะเป็นแบบ Formal หรือ Informal ก็ตาม Blended Learning จะ เกิดประสิทธิผลมากท่ีสุดกต็ อ่ เมื่อ • ครูได้ทาตามข้นั ตอนในการใช้กิจกรรมในห้องเรียน (In Person) และเทคโนโลยี ในการสร้างสรรค์ ผสมผสานใหเ้ ขา้ กนั อยา่ งถูกตอ้ งเพื่อใหเ้ กิดการเรียนรู้ท่ีลึกและมีความหมาย 21

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM • ใหโ้ อกาสนกั เรียนในการปรับสภาพแวดลอ้ มในการเรียนรู้ Online และปรับหลกั การใหม่ ๆ ให้ครูได้ พจิ ารณาเมื่อเป็นเร่ืองที่เกี่ยวกบั การเรียนและการสอนไม่วา่ จะเป็น Online หรือในหอ้ งเรียน Preparing for Blended Learning หลายสิบปี ท่ีผา่ นมารัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ หรือแมก้ ระทงั่ โรงเรียนพยายามที่จะหาเทคโนโลยหี รือซ้ือ เทคโนโลยีใหม่ ๆ เข้ามาช่วยจัดการเรียนการสอน แต่ก็บ่อยคร้ังมกั จะขาดความระมดั ระวงั ในการวางแผนการใช้ พฒั นาการทางเทคโนโลยีมกั จะนาหน้าความสามารถในการใชข้ องพวกเราไปตลอดเวลา ทาให้ท้งั นกั เรียนและครูไม่ สามารถเขา้ ถึง Collaborative Learning อยา่ งมีความหมายได้ อย่างไรก็ตาม Blended Learning เป็ นมากกว่าเทคโนโลยีในห้องเรียน จากที่ Beams (2017) และคนอื่น ๆ กลา่ วไวว้ า่ “การแนะนาเทคโนโลยี เพือ่ ประโยชน์ของเทคโนโลยนี ้นั มันไม่ได้ผล” และไดใ้ หค้ าแนะนาวา่ • ใหเ้ นน้ ไปที่การสอนและการระบุประโยชน์ของการออกแบบและการส่งมอบ Blended Learning ในแต่ ละสถานการณ์ของการเรียนรู้ วิธีน้ี การออกแบบและการส่งมอบจะให้ผลลพั ธ์ท่ียอดเยี่ยม นกั เรียนก็จะมีส่วนร่วมและ ความพึงพอใจสูง เริ่มดว้ ยการกาหนดว่า Blended Learning มีความหมายอย่างไรสาหรับคุณและนกั เรียนของคุณ โดย คานึงจากพ้ืนฐานประเภทของหลกั สูตร วิชาและภูมิหลงั ของนักเรียน และตดั สินใจว่ากิจกรรมใดท่ีควรจะสอนแบบ เผชิญหนา้ กนั และกิจกรรมใดท่ีจะนาเสนอทาง Online • เลือกเทคโนโลยีอย่างระมดั ระวงั เพ่ือท่ีวา่ กิจกรรมการเรียนรู้ทุกกิจกรรมท่ีไม่ใช่เป็ นแบบเผชิญหนา้ กนั จะตอบสนองความตอ้ งการของเน้ือหาและนักเรียน เทคโนโลยีและกิจกรรมจะตอ้ งสนับสนุนสภาพแวดลอ้ มในการ ผสมผสาน ความสะดวกและศกั ยภาพของเทคโนโลยีจะตอ้ งถูกทดสอบก่อนที่จะจดั กิจกรรมการเรียนรู้ เทคโนโลยีที่ สนบั สนุน Blended Learning จะสนบั สนุน 1) ความยดื หยุ่นและความเป็นตวั ตนของนกั เรียน ช่วยให้เขาเรียนในวิธีของ ตนเอง ในจังหวะของตนเอง และ 2) ครู ติดตามกิจกรรมโดยผ่านการวิเคราะห์การเรียนรู้ และการส่งงานทาง อิเลก็ ทรอนิกส์ สิ่งที่นกั เรียนทาในตอนที่เรียนแบบเผชิญหนา้ จะตอ้ งเชื่อมโยงกบั แบบท่ีเรียน Online กญุ แจสาคญั ที่จะทา ให้เกิดความสาเร็จในการเรียนรู้แบบ Blended Learning ก็คือ ครูจะตอ้ งให้ Feedback กบั นกั เรียนรายบุคคลในจงั หวะท่ี ถูกตอ้ ง • อยา่ งลืมว่าอะไรคือวตั ถุประสงคท์ ี่เราตอ้ งการ อะไรคือผลลพั ธ์ของ Course และ Program ที่เราจดั การ เรียนรู้ อะไรคอื ผลลพั ธ์ท่ีซ่อนไวใ้ นหลกั สูตร (ทกั ษะการเขยี น ทกั ษะดา้ นภาษา ฯลฯ) ถามตวั เองวา่ Course แต่ละ Course ท่ีอยู่ใน Program น้ันเหมาะสมหรือไม่สาหรับ Blended Learning และ Model ที่มีอยู่ ท่ีสามารถหาทาง Online ได้น้ัน ใชไ้ ดห้ รือไม่ หรือครูตอ้ งออกแบบกนั เอง กุญแจสาคญั ในส่วนน้ีก็คือ Blended Model ท้งั หมดน้นั ควรจะมีความยดื หย่นุ เป็นสิ่งที่นกั เรียนเลือก และประกอบไปดว้ ยสิ่งท่ีจะช่วยใหน้ กั เรียนเรียนเก่ียวกบั การเรียนรู้ (Learn about Learning) 22

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM • สร้างหลักสูตรโดยละเอียดพร้อมเอกสารที่แสดงผลลัพธ์การเรียนรู้ คาอธิบายเก่ียวกับอุปกรณ์ เทคโนโลยีที่นามาใช้ วิธีการที่จะมอบความรู้ใหน้ กั เรียน โอกาสในการมีส่วนร่วมอยา่ งชดั เจน และการมอบหมายงานที่ สอดคลอ้ งกบั ผลลพั ธ์ของการเรียนรู้ เริ่มต้นกระบวนการท้ังหมดโดยการค้นหาแหล่งข้อมูลและ Program ทาง Digital ที่จะช่วยสนับสนุน หลกั สูตร การสอน และวิสัยทศั น์ ของ Blended Learning อปุ กรณ์ หรือเทคโนโลยแี บบไหนท่ีจะนามาใช้ โรงเรียนจะช่วย ครูและนักเรียนผ่านกระบวนการเปลี่ยนแปลงน้ีอย่างไร ส่ิงท่ียิ่งใหญ่เกี่ยวกบั Blended Learning จะเกิดข้ึนก็ต่อเมื่อ ครู สามารถปล่อยวางสิ่งที่ครูควบคุม และใหน้ กั เรียนเป็นผขู้ บั เคลื่อน Seven Blended Learning Structures in Education ปัจจยั หลายประการตอ้ งถูกนามาพิจารณาในการเลือกวิธีการ Blend กิจกรรมการสอนและการเรียนรู้แบบ ปกติกบั ทางออนไลน์ ในบางกรณี ปฏิสัมพนั ธ์ส่วนใหญ่ระหวา่ งนักเรียนและครูเกิดข้ึนแบบเผชิญหน้ากนั ในห้องเรียน ในขณะที่การคน้ หาขอ้ มูล และกิจกรรมเพ่ิมเติมบางอย่างเกิดข้ึน Online ส่วนอีกกรณี กิจกรรมในช้นั เรียนส่วนใหญ่ เกิดข้ึนทาง Online โดยมีการพบปะกนั ไม่บ่อยนักเพื่อแกไ้ ขปัญหาและพูดคุยกนั หรือบางกรณี นกั เรียนอาจเป็ นผูเ้ ลือก กิจกรรมเองวา่ กิจกรรมใดจะทาในหอ้ งเรียนและกิจกรรมใดจะทา Online เพอื่ ตอบวตั ถปุ ระสงคข์ องการเรียนรู้ ด้านล่างน้ีคือตัวอย่างการกาหนดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Blended Learning เจ็ดรูปแบบที่นาเสนอโดย O'Connell (2016) เพื่อให้ครูพิจารณาสาหรับสถานการณ์การสอนแต่ละสถานการณ์ ตวั อย่างการเรียนรู้แบบ Blended Learning เหล่าน้ีมาจากการศึกษาระดบั อุดมศึกษา แต่สามารถปรับให้เขา้ กบั สถานการณ์การเรียนการสอนของครูใน ระดบั ต่าง ๆ ได้ 1. Blended Face-to-Face Class: การออกแบบในการเรียนรู้รูปแบบน้ีมีพ้ืนฐานมาจากการเรียนแบบปกติ ในห้องเรียนท่ีครูอยพู่ ร้อม ๆ กบั นกั เรียนทุกคน ทากิจกรรมต่าง ๆ ตอบโตก้ นั ในห้องเรียน ในชวั่ โมงสอน ตามเน้ือหาท่ี ครูและโรงเรียนไดก้ าหนดไวเ้ พียงแต่ยา้ ยกิจกรรมทุกอยา่ งมาเป็น Online 2. Blended Online Class: การเรียนรู้ในรูปแบบน้ีมีทุกอย่างเช่นเดียวกนั กบั Blended Face-to-Face Class ยกเวน้ กิจกรรมบางอยา่ งตอ้ งทาท่ีโรงเรียน เช่น การฟัง Lectures หรือการทา Labs 3. The Flipped Classroom: Flipped Classroom กลบั โครงสร้างช้นั เรียนแบบด้งั เดิมจากการฟังบรรยายใน ช้นั เรียนและทากิจกรรมการบา้ นท่ีบา้ น นกั เรียนกลบั หอ้ งเรียนโดย ดูวิดีโอการบรรยายส้ันๆ ทาง Online และเขา้ มาใน หอ้ งเรียนเพ่ือทากิจกรรมต่างๆ เช่น งานกลมุ่ โครงงาน หรือแบบฝึกหดั อื่นๆ 4. The Rotation Model: ในรูปแบบน้ี นกั เรียนในจะหมนุ เวยี นไปตามรูปแบบต่างๆ ซ่ึงหน่ึงในน้นั คือการ เรี ยนรู้ Online ใน Rotation Model น้ีก็จะมีรูปแบบย่อยอีกหลายรูปแบบ เช่น Station Rotation, Lab Rotation และ Individual Rotation เป็นตน้ 23

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM 5. The Self-Blend Model: การเรียนรู้ในรูปแบบน้ีจะเอาวิชาท่ีเรียนเป็ นหลกั โรงเรียนจะจดั ว่า บางวิชา อาจจะเรียนแบบ Online และบางวิชานกั เรียนจะมาเรียนในหอ้ งเรียน 6. The Blended MOOC (Massive Open Online Course): เป็ นรูปแบบ Flipped Classroom โดยใช้การ พบปะในช้นั เรียนเพ่ือเสริมหลกั สูตร Online แบบเปิ ดที่มีนกั เรียนเป็นกล่มุ ใหญ่ เช่นเรียนในวชิ าเดียวกนั ท้งั ช้นั และใหม้ า พูดคยุ กนั ในหอ้ งเรียนที่โรงเรียนหอ้ งใครหอ้ งมนั 7. Flexible-Mode Courses: การเรียนรู้ปแบบน้ีจะคลา้ ยกบั Self-Blend Model แต่แทนท่ีโรงเรียนหรือครู เป็นผจู้ ดั กจ็ ะกลายเป็นนกั เรียนเป็นผเู้ ลือกวา่ วชิ าไหนจะเรียนที่โรงเรียน และวชิ าไหนจะเรียน Online The SAMR Model การเพ่ิมเทคโนโลยีเขา้ ไปใน Blended Learning จะช่วยให้การเรียนรู้ของนักเรียนบรรลุวตั ถุประสงค์มาก ยงิ่ ข้นึ Table 2: SAMR Descriptions SUBSTITUTION ในท่ีน้ี เทคโนโลยี Computer ถูกนามาใชใ้ นลกั ษณะ AUGMENTATION เช่นเดียวกบั ที่ใชป้ ากกาและสมุด การทางานใน Worksheet ท่ี MODIFICATION ครูใหจ้ ะใชป้ ากกา หรือ Tablet โทรศพั ทม์ ือถือหรือ Computer ก็ได้ นกั เรียนสามารถเลือกวธิ ีการเองได้ เทคโนโลยเี พ่มิ มิติที่ไมส่ ามารถใชไ้ ดก้ บั เครื่องมือสอนของครู แบบเดิม การสอบผา่ น Computer ถกู นามาแทนการทา ขอ้ สอบบนกระดาษ นกั เรียนสามารถรับ Feedback ไดท้ นั ที ไมว่ า่ จาก Video หรือขอ้ ความที่ถกู ตอ้ งของคาตอบที่ครูส่งไป ให้ ในการปรับเปลี่ยนเครื่องมือแบบด้งั เดิม เทคโนโลยจี ะถูก นามาใชเ้ พ่ือเปล่ียน Function ของบทเรียน ยกตวั อยา่ งเช่น แบบฝึกหดั การเขียนเรียงความใชว้ ิดีโอและ/หรือเสียงเพอื่ เปล่ียนเรียงความใหเ้ ป็นเร่ืองราวและการแสดง เพอ่ื ทดสอบ ความเขา้ ใจ REDEFINITION ในกรณีน้ี ใชเ้ ทคโนโลยที ากิจกรรมการเรียนการสอนรูปแบบ ใหม่ท้งั หมด นกั เรียนหาขอ้ มลู ทาง Internet แทนการหาจาก หนงั สือ การใช้ Application Spell-Check มาช่วย เป็นตน้ 24

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM Blended Learning Designs การออกแบบการเรียนรู้ในรูปแบบ Blended Learning น้ันไม่ไดม้ ีสูตรสาเร็จตายตวั ไม่มีลกั ษณะที่ว่า One Size Fit All มนั ตอ้ งใชก้ ารวเิ คราะห์อยา่ งรอบคอบ มีความยดื หยนุ่ การออกแบบควรอา้ งอิงถึงนกั เรียนท่ีเรียนในหลกั สูตร จานวนประสบการณ์ท่ีพวกเขาไดร้ ับจากการเรียนรู้ประเภทต่างๆ และการเขา้ ถึงเทคโนโลยี การออกแบบการเรียนการ สอนจะพิจารณาผูเ้ รียน ผลลพั ธ์การเรียนรู้ เน้ือหาของสิ่งที่จะเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน และผลลพั ธ์ของการช่วยเหลือการ เรียนการสอนของครู (McGee & Reis, 2012, p. 17) แนวทางต่อไปน้ีจะช่วยให้ครู “Blend” (ผสมผสาน) กิจกรรมท่ี เหมาะสมในการจดั การเรียนการสอน 1. เร่ิมตน้ โดยการเขียนผลลพั ธ์ของ Student-Centered Learning ส่ิงเหล่าน้ีจะส่งผลต่อสภาพแวดลอ้ มใน การนาเสนอเน้ือหาและกิจกรรมการเรียนรู้ รวมถึงให้ทราบว่าผลลพั ธ์เหล่าน้ีจะถูกเช่ือมโยงและประเมินอย่างไร (ท้งั Online และในหอ้ ง) 2. สร้างหลกั สูตรที่มีตารางหลกั สูตรท่ีสื่อสารอยา่ งชดั เจนว่า เมื่อใดและท่ีไหนท่ีนกั เรียนจะมีส่วนร่วมกบั เน้ือหาและกิจกรรมการเรียนรู้ Blended learning จาเป็นตอ้ งมีการพฒั นาทกั ษะการเรียนรู้และการบริหารเวลาดว้ ยตนเอง ดงั น้นั นกั เรียนจาเป็นตอ้ งรู้วา่ อะไรคือความคาดหวงั และกาหนดเวลาคือเม่ือไหร่ 3. ไตร่ตรองใหด้ ีวา่ อะไรที่ครูควรทา และอะไรท่ีนกั เรียนควรทาเม่ือไหร่ และที่ไหน Blended Course จะมี ประสิทธิภาพมากท่ีสุดเมื่อท้งั การเรียนรู้ Online และการเรียนในหอ้ งมีความหลากหลาย ทุกคนมีส่วนร่วม และมีความทา้ ทาย ท้งั สอง Mode ตอ้ งเช่ือมโยงกนั ละเติมเตม็ ซ่ึงกนั และกนั 4. หลีกเล่ียงการสร้าง Course ที่แค่เพ่ิมอะไรเขา้ ไปใน Course ปกติ เช่น ในหอ้ งเรียนปกติครูไดอ้ อกแบบ การเรียนรู้ไปแลว้ 1 คาบตามเน้ือหาท่ีครูกาหนด แลว้ ครูก็เพ่มิ การเรียนรู้ Online เขา้ ไปอีก ซ่ึงจะทาใหน้ กั เรียนและครูเอง มีภาระมากข้ึน Blended Course ควรอยู่ในเงื่อนไขของเวลาและเน้ือหาเดิม เพียงแต่ให้ท้งั Online และการสอนในห้อง ส่งเสริมเติมเตม็ ซ่ึงกนั และกนั ดงั ท่ีไดก้ ล่าวมา 5. พิจารณาให้ดีว่าสิ่งท่ีจะถูกทาให้เกิดผลสาเร็จน้ันจะตอ้ งใชเ้ ทคโนโลยีทางการศึกษาประเภท Online หรือแบบปกติ จงแน่ใจว่า เทคโนโลยีที่เลือกน้นั มีความเหมาะสมกบั ครูและนกั เรียน รวมถึงสามารถสนบั สนุนและตอบ วตั ถุประสงคข์ องการเรียนรู้ 25

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM หากใครจินตนาการถึงการเพ่ิมประสิทธิภาพการเรียนรู้ในรูปแบบ Blended Learning ในวงกวา้ ง โดยท่ีการ เรียน Onsite แบบเดิมอยทู่ างดา้ นซา้ ยและแบบ Online ท้งั หมดทางดา้ นขวา หลกั สูตรแบบ Blended Learning อาจตกอยู่ท่ี ใดกไ็ ดร้ ะหวา่ งท้งั สอง Online Course จะกลายเป็น Blended ไปทนั ทีที่คณุ นาการสอนแบบปกติ (Onsite) เขา้ ไป และการ สอนแบบปกติจะกลายเป็น Blended ไปทนั ทีที่คณุ นา Online เขา้ ไปดว้ ยเช่นกนั “มันไม่ได้เกย่ี วกบั เทคโนโลยีโดยตรง แต่มันเกย่ี วกบั การเรียนรู้” 26

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM CHAPTER 5 THE CURE II: Technologies for Blended Learning เมื่อเราเร่ิมวางแผนในการเลือกว่า เทคโนโลยีการศึกษาแบบไหนที่จะนามาใชใ้ น Blended Learning Course หรือ Program ของเรา สิ่งสาคญั คือ ตอ้ งคานึงถึงคาจากดั ความกวา้ ง ๆ ของเทคโนโลยี ซ่ึงไม่เพียงแต่รวมถึงอุปกรณ์จริง เทา่ น้นั แตย่ งั รวมถึง Software การบริการ และ Option ของสื่อท่ีมีใหค้ ณุ ดว้ ย อนั ดบั แรก เราจะพจิ ารณาและขยายคาจากดั ความของเทคโนโลยีทางการศึกษาก่อน และทาไมมนั จึงมีความสาคญั ท่ีจะมองเลยไปมากกว่า Hardware ตามดว้ ยเคา้ โครงบางประเภทของเทคโนโลยที างการศึกษาหลกั ๆ รวมถึงการใชง้ านและปัญหาที่อาจเกิดข้ึน Technology in Education: An Expanded Definition เทคโนโลยีทางการศึกษามักจะถูกจากัดความในเบ้ืองต้นว่าหมายถึง Hardware: Computer หรื อ โทรศพั ทม์ ือถือที่นักเรียนจะใช้ รวมถึง Network ที่ Connect มนั ไม่ว่าเป็ น Wired หรือ Wireless แน่นอนว่าอุปกรณ์ทาง กายภาพจะเป็นองคป์ ระกอบที่สาคญั และจาเป็นของแผนการใชเ้ ทคโนโลยใี ด ๆ และจะตอ้ งพิจารณาอยา่ งรอบคอบท้งั ใน แง่ของทรัพยากรที่มีอยู่ และความสามารถในการเขา้ ถึงของผูเ้ รียน ไม่วา่ Blended Model ของคุณจะมีหอ้ งคอมพิวเตอร์ ในโรงเรียน หรือ Flipped Classroom ท่ีให้นกั เรียนนาอุปกรณ์มาเอง (Laptop หรือโทรศพั ทม์ ือถือ) เพ่ือให้เขา้ ใจถึงการที่ เทคโนโลยสี ามารถสนบั สนุนการเรียนรู้ เราตอ้ งการคาจากดั ความท่ีกวา้ งข้ึนของเทคโนโลยที างการศึกษาก่อน เทคโนโลยีเป็ นเครื่องมือหรือระบบท่ีใช้ในการแก้ปัญหา ทางการศึกษาก็หมายความว่า “ส่ิงของหรือ เคร่ืองมือท่ีใชส้ นบั สนุนการเรียนการสอน” (Bates, 2015) ภายใตค้ าจากดั ความน้ี เทคโนโลยีทางการศึกษาจะรวมไปถึง Software (เช่น Word Processors) ระบบ (เช่น Learning Management Systems) การบริการ (เช่น Youtube หรือ Google Docs) และสภาพแวดลอ้ ม (เช่น Virtual Worlds) รวมไปถึง Hardware และ Networks นอกจากน้ี มนั ยงั สามารถรวมไป ถึง เทคโนโลยีแบบด้งั เดิมเช่น กระดานดาและหนงั สือเรียน แต่วา่ ในที่น้ีเราจะเนน้ ไปยงั มมุ มองในส่วนของ Digital และ Online คาจากดั ความที่ค่อนขา้ งจะสาคญั พอ ๆ กนั กค็ ือ เทคโนโลยกี ารแก้ปัญหา เครื่องมือกลบั กลายเป็นเทคโนโลยี เมื่อมนั ถูกนาไปดัดแปลงใช้กบั ความตอ้ งการบางอย่างของมนุษย์ หมายความว่า คาจากดั ความของเทคโนโลยีทาง 27

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM การศึกษาจะรวมถึงวตั ถุประสงคใ์ นการสอนหรือการเรียนรู้ ในหลายกรณี น่ีจะหมายถึงการนาเสนอเน้ือหาการเรียนรู้ใน รูปแบบต่างๆ ของสื่อ (เช่น ขอ้ ความ วิดีโอ เกม) แต่อาจรวมถึงกิจกรรมทางสังคมหรือการทางานร่วมกนั (เช่น กระดาน สนทนา หรือ Videoconferencing) หรือการสร้างส่ิงประดิษฐโ์ ดยผเู้ รียน (กิจกรรมการประเมินหรือ E-Portfolios) Learning Management Systems A Learning Management System (LMS) เป็ นหัวใจสาคญั ทางเทคโนโลยีในสภาพแวดล้อมของ Blended Learning ตวั LMS คือ Software Application แบบบูรณาการเพื่อให้เน้ือหาและทรัพยากรทาง Online เพ่ือให้พ้ืนที่ทางาน แบบโตต้ อบหรือทางานร่วมกนั และเพื่อจดั การ Function ในการบริหาร Course และ Program ที่สมบูรณ์ รวมถึงการ ลงทะเบียน การประเมิน ไปจนกระทง่ั การวเิ คราะห์ มีบริษทั มากมายที่เกี่ยวกบั Learning Management System ไม่วา่ จะเป็น Blackboard (www.blackboard.com) และ Desire2Learn (https://www.d2l.com) หรื อแม้กระท่ังพวก Open-Source อาทิ Moodle (https://moodle.org) และ Canvas (https://www.canvaslms.com) อย่างไรก็ตามมันก็ยังมี Web-Based Classroom Management Systems อย่าง Google Classroom (https://classroom.google.com) ที่ครูแต่ละคนสามารถนาไปใชไ้ ด้ Web Conferencing Web Conferencing สามาถนามาใชใ้ น Blended Learning ในส่วนของ Online โดยใชห้ ้องเรียนเป็นฐาน การ จดั Seminars หรือไมว่ า่ จะเป็นกิจกรรมในรูปแบบท่ีเป็น Synchronous (Real-Time) Learning เช่น Collaborative Learning หรือ Project-Based Learning Web Conferencing ที่ใชก้ นั อยา่ งแพร่หลายในทุกวนั น้ี เช่น Zoom (https://zoom.us) ซ่ึงเราสามารถนามาใช้ ไดโ้ ดยไมเ่ สียค่าใชจ้ ่าย แต่กม็ ีขอ้ จากดั ในเร่ืองของเวลา แต่หากจะเสียคา่ ใชจ้ ่ายเราก็จะได้ Option ท่ีมากข้นึ เช่นเดียวกนั กบั กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Synchronous ท่ี Web Conferencing จะตอ้ งใหน้ กั เรียนทุกคนไดท้ า การ Log In ตามเวลาที่กาหนด ซ่ึงอาจลดความยดื หยนุ่ บางอย่างที่เราคาดหวงั จากการใช้ Blended Learning โดยผ่านทาง Online มนั กย็ งั ตอ้ งการการเช่ือมต่อ Internet ที่เสถียร ซ่ึงอาจมีปัญหาสาหรับนกั เรียนบางคนได้ Digital Textbooks Digital Textbooks หรือวา่ E-Texts อาจมีขอ้ ไดเ้ ปรียบที่สาคญั กวา่ หนงั สือที่ใชก้ ารพิมพอ์ อกมา ไมว่ า่ จะเป็น เรื่องของตน้ ทุน การปรับปรุงเปลี่ยนแปลง การเขา้ ถึง และความยืดหย่นุ ปัจจุบนั นบั ไดว้ ่ามนั เป็นองคป์ ระกอบหน่ึงของ การจดั การเรียนรู้ ไม่วา่ จะเป็น Online หรือ Blended Learning เราสามารถหา E-Texts ไดท้ ้งั จากสานกั พิมพเ์ ชิงพาณิชยห์ รือ Open-Source ต่าง ๆ มากมาย ครูสามารถที่จะ คน้ หาโดย Google หรือ Search Engine ที่อยใู่ น Browser ในเคร่ือง Computer ของแต่ละคน 28

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM Blogs and Wikis Blogs และ Wikis เป็นเคร่ืองมือในการเขียน Online ในส่วนของ Blended Learning เอง Blogs เป็นเคร่ืองมือ หน่ึงในการเริ่มตน้ เขียนของแต่ละคน ในขณะท่ี Wikis อาจมีประสิทธิภาพมากสาหรับกิจกรรมการวิจยั และการเขียน ร่วมกนั Blog เป็นเหมือนกบั Online Diary ที่สามารถถูก Share ไปใหเ้ พื่อนท้งั หอ้ งเรียนหรือแมก้ ระทงั่ กบั คนทวั่ ไป ช่วยใหน้ กั เรียนแต่ละคนเขียนสะทอ้ นเกี่ยวกบั การเรียนรู้ของตนเอง และก็สามารถรับ Feedback จากเพ่ือนนกั เรียนดว้ ย นอกจากจะสะทอ้ นการเขียน กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีใช้ Blog เป็นฐาน (Blog-Based Learning) นกั เรียนยงั สามารถทบทวน และวิจารณ์บทความหรือแหล่งขอ้ มูล Online เขยี นบนั ทึกเก่ียวกบั ประสบการณ์ในโครงการหรือการศึกษาภาคสนามท่ีทา (การแสดง เคา้ ความ หรือเป็นรูปแบบของ E-Portfolio) ไม่นานมาน้ี Microblogging กเ็ ร่ิมท่ีจะเป็นท่ีนิยมกนั ในการบนั ทึก ประสบการณ์ชั่วขณะหรือการแสดงความคิดเห็น Online ตวั อย่างของ Microblogging ท่ีรู้จกั กนั อย่างแพร่หลายก็เช่น Twitter และถึงแมว้ ่ามนั อาจจะไม่ไดม้ ีประสิทธิภาพในเชิงลึก สะทอ้ นการเขียน แต่มนั ก็สามารถถูกใชอ้ ย่างสร้างสรรค์ กบั กิจกรรมการเรียนรู้แบบเชื่อมโยง (Connectivism Activities) เช่นการ Tag แหล่งขอ้ มูลเกี่ยวกบั การเรียนรู้ ลกั ษณะ เดียวกนั กบั Social Bookmarking ซ่ึงจะไดก้ ลา่ วตอ่ ไป Wikis เป็นพ้ืนที่ในการเขียนแบบร่วมกนั (Collaborative Writing) ซ่ึงถูกสร้างอยู่บน Interlinked Web Pages (หนา้ Web ท่ีเช่ือมโยงกนั ) โดยการใช้ Markup Language (ภาษากากบั เช่น ภาษาที่รู้จกั กนั ดีคอื ภาษา HTML, Hyper Text Markup Language) และ Management Tools นกั เรียนท่ีมี Access สามารถเขา้ ไปสร้างหรือแกไ้ ข Wiki Page ไดต้ ลอดเวลา Wikis ยงั สามารถช่วยนกั เรียนในการทากิจกรรมง่าย ๆ เช่น Brainstorming, Group Essays, หรือ Class Books (รวมไปถึง Digital Textbooks) อย่างไรก็ดี ถึงแม้ว่า Wikis จะมีประสิทธิภาพมากมายในการจัดการเรียนรู้แบบ Collaborative Learning แตก่ ารใช้ Wikis อาจมีความยงุ่ ยากสาหรับครูท่ียงั ไมเ่ คยมีประสบการณ์ในการใช้ ท้ัง Blogs และ Wikis สามารถหาได้โดยง่ายจาก Website เช่น Blogger (https://www.blogger.com) EduBlogs (https://edublogs.org) หรือ WordPress (https://wordpress.com) ส่วน Open-Source Software ก็เช่น MediaWiki (https://www.mediawiki.org/wiki/MediaWiki) Social Bookmarking, Mashups and Digital Storytelling Social Bookmarking เก่ียวขอ้ งกบั กิจกรรมท่ีค่อนขา้ งตรงไปตรงมาในการรวบรวม การ Tag และการ Share แหล่งขอ้ มูล Online เช่น บทความ รายงานข่าว หรือรูปภาพ Del.isio.us (https://del.icio.us) Digg (http://digg.com) และ Scoop.It (https://www.scoop.it) เหล่าน้ีเป็นบริการ Bookmarking เชิงพาณิชยย์ อดนิยมในปัจจุบนั ในส่วนของ Blended Learning กิจกรรมที่ใช้ Social Bookmarking สามารถเป็ นพ้ืนฐานสาหรับการอภิปรายในช้ันเรียนหรือ Online ที่สาคญั เกี่ยวกบั แหล่งขอ้ มลู เอง และความน่าเชื่อถือของขอ้ มูลบน Website 29

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM Mashups ไดข้ ยายไอเดียของ Social Bookmarking โดยใหน้ กั เรียนได้ รวบรวม ผสม และ Remix แหล่งและ ขอมูล Online ให้มีโครงสร้างมากข้ึนในการสร้างการตีความหรือความหมายใหม่ รูปแบบใหม่ของโครงสร้างเหล่าน้ีอาจ รวมถึงการทาแผนที่ความรู้ Historical Timeline หรือการสร้างภาพขอ้ มูล และสามารถเป็ นเคร่ืองมือท่ีมีประสิทธิภาพ สาหรับการพฒั นาทกั ษะในการคน้ ควา้ ของนักเรียน ตวั อย่างเช่น Wordle (www.wordle.net) Web บริการในการสร้าง Word Clouds หรือ Word Art (https://wordart.com/) ตวั ยา่ งของ Word Cloud Digital Storytelling สามารถเป็นส่วนที่ช่วยขยาย หรือเติมเตม็ ของ Mashups จากการใช้ Digital Storytelling นกั เรียนจะไดผ้ สมผสานรูปแบบของ Media ที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็ น Text ภาพ วีดีโอ เสียง แผนที่ และขอ้ มูลต่างๆ เพื่อสร้างเร่ืองราวออกมา Storytelling สามารถท่ีจะเป็ นวิธีที่ทรงพลังสาหรับนักเรียนในการสารวจ และแสดง ประสบการณ์ส่วนตวั ขณะเดียวกนั Collaborative Storytelling สามารถเป็ นพ้ืนฐานของการทาโครงงานวิจยั แบบกลุ่ม รวมถึงการเรียนรู้แบบเชื่อมโยง (Constructivist Learning) ภายใตม้ มุ มองที่หลากหลาย Simulations, Serious Games and Virtual Worlds Simulations, Serious Games และ Virtual Worlds เป็ นเทคโนโลยีทางการศึกษาที่สูงข้ึน Simulations อย่าง ง่ายมกั จะถูกรวมเข้ากับ Blended Learning ในลักษณะของแหล่งข้อมูลทางการศึกษาแบบเปิ ดเพื่อช่วยแสดงวิธีทาง คณิตศาสตร์ แนวคิดทางเทคนิคหรือวทิ ยาศาสตร์ Website ที่ช่วยทาเช่น Khan Academy (https://www.khanacademy.org) ในขณะที่ Simulations เร่ิมจะมีความซับซ้อนเพิ่มมากข้ึน นักเรียนก็เร่ิมท่ีจะไปมองหา Serious Games ท่ีถูกมองว่า ค่อนขา้ งจะ “เครียด” แต่ก็ยงั มีความสนุกแฝงอยู่ ยิ่งเมื่อมนั ถูกแฝงไวด้ ้วยวตั ถุประสงค์ของการเรียนรู้ ให้นักเรียนได้ สารวจปัญหาของสภาพแวดลอ้ ม ในขณะท่ีนกั เรียนเลน่ เป็นคนวางแผนในการพฒั นาเมืองเป็นตน้ 30

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM Serious Games บาง Game จะใหน้ กั เรียนจาลองการบินในรูปแบบสามมิติ หรือแมก้ ระทงั่ จาลองการผ่าตดั สิ่งเหล่าน้ีจะนานักเรียนเขา้ สู่โลกเสมือนจริง (Virtual World) นอกจากน้ีแลว้ ยงั มีเทคโนโลยีใหม่ ๆ อีกมากมายท่ีครู สามารถนาไปผูกกบั Blended Learning และนานักเรียนเขา้ สู่ Virtual Worlds เพ่ือไปเรียนรู้เรื่องราวต่าง ๆ อย่างเช่น นา นกั เรียนไปทศั นศึกษา (Virtual Field Trips) ท่ีสวนสัตว์ San Diego (https://sdzwildlifeexplorers.org/index.php/animals) ซ่ึงทางสวนสัตวจ์ ะมี Live Cam อยู่ E-Portfolios Electronic Portfolios หรือ E-Portfolios เป็ นการสะสมงานเขียน เอกสาร ผลงาน หรือแมก้ ระท่ังผลงาน ศิลปะของนกั เรียนที่นกั เรียนทาดว้ ยตนเองเป็ นรายบุคคลท่ีแสดงให้เห็นถึงการเรียนรู้ท่ีผา่ นมาใน Course หรือ Program น้ัน ๆ ถึงแมว้ ่าหลายฝ่ ายมองว่ามนั เป็ นส่วนหน่ึงของการประเมินทกั ษะและการเรียนรู้ แต่ E-Portfolios ก็ยงั เป็ นส่วน สาคัญในการพัฒนาด้านต่าง ๆ ของนักเรี ยน ให้นักเรี ยนได้เห็นถึงความก้าวหน้าในการเรี ยนรู้ Mahara (https://mahara.org) เป็น Open-Source ของระบบ E-Portfolio ท่ีครูสามารถแนะนานกั เรียนใหใ้ ชไ้ ด้ 31

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM CHAPTER 6 SYNCHRONOUS AND ASYNCHRONOUS ACTIVITIES: ในบทน้ีจะไดก้ ล่าวถึงกิจกรรมการเรียนรู้ Blended Learning Course ท่ีมีประสิทธิภาพน้นั จะมีความสมดุล ระหวา่ ง Synchronous (Time-Coordinated) และ Asynchronous (Time-Independent) Activities Synchronous Activities for Blended Learning เริ่มพิจารณาในส่วนของ Synchronous Activities ในลกั ษณะท่ีเป็ นส่วนหน่ึงของ Blended Learning ที่ นกั เรียนทุกคนมีส่วนร่วมในท้งั Synchronous และ Asynchronous Activities จาไวว้ ่ารูปแบบของการ Blend น้ีมนั แตกต่างจากในส่วนของการ Blend นักเรียน ท่ีนักเรียนบางส่วนเรียน Online และบางส่วนเรียนในห้องเรียน การ Blending Online และ In-Person Students จะออกไปในรูปแบบของ Videoconferencing มากกวา่ รูปแบบของ Blended Learning ร่วมสมยั ได้ให้นักเรียนกลุ่มเดียวกันท่ีเรียน Course เดียวกันได้รับ ประสบการณ์ท้งั Synchronous (นกั เรียนทาส่ิงเดียวกนั ในเวลาเดียวกนั ) และ Asynchronous (นกั เรียนเรียนตา่ งเวลากนั ) หากสารวจในส่วนโอกาสของ Synchronous ใน Blended Learning จะพบว่าจริง ๆ แล้ว Synchronous Learning ไม่ใช่อนั เดียวกบั การเรียนในห้องเรียน กิจกรรมแบบ Synchronous Learning สามารถจดั ไดท้ ้งั แบบ In-Person (ในห้องเรียน) และแบบ Online สภาพความเป็ นจริงในปัจจุบนั เราไม่สามารถกล่าวไดว้ ่า In-Person (การเรียนใน หอ้ งเรียน) Place-Based Learning (การเรียนรู้โดยใชส้ ถานที่เป็ นฐาน) หมายถึงการเรียนแบบเผชิญหนา้ (Face-to-Face) หรือ Classroom Based อีกตอ่ ไป เราสามารถที่จะ Face to Face แมจ้ ะอยหู่ ่างไกลกนั กต็ ามโดยใชเ้ ทคโนโลยี Synchronous Learning เกิดข้ึนในเวลาจริง นกั เรียนสามารถพบกนั ในสถานที่เดียวกนั หรือสามารถ Log On ใน eLearning Platform ที่เสนอ Web Conferencing กบั ครูและเพ่ือนๆ โดยจะพบกนั ในวนั และเวลาท่ีกาหนด มีงานวิจยั แนะนาวา่ นกั เรียนที่ถูกทาให้เสียสมาธิไดง้ ่ายหรือไม่ค่อยมีสมาธิจะไดร้ ับประโยชน์จากประสบการณ์ของ Active และ Collaborative Synchronous Activities Asynchronous Activities for Blended Learning Asynchronous Learning เก่ียวกบั การเรียนรู้ท่ีไม่ไดเ้ กิดข้ึนในเวลาเดียวกนั หรือสถานที่เดียวกนั นกั เรียน เรียนในจงั หวะและเวลาของตนเองจากที่ไหนก็ได้ สภาพแวดลอ้ มของ Asynchronous Learning ส่วนใหญ่จะให้เน้ือหา การสอน Online (นักเรียนอ่าน ศึกษาเน้ือหา แล้วมีส่วนร่วมในการสนทนา ตอบโต้ใน Online forums) ดังน้ัน 32

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM Asynchronous Learning เกี่ยวขอ้ งกบั ความสามารถในการคงไวซ้ ่ึงการส่ือสารโดยไมต่ อ้ งพบกนั ในที่เดียวกนั และในเวลา เดียวกนั บน Asynchronous Learning Networks (ALNs) ทุกคนมีพ้ืนท่ี Conference ส่วนกลาง (เช่น Virtual Blackboard, E-Mail, Chat Room) ที่ทุกคนสามารถโพสต์ อ่าน หรือตอบกลบั ขอ้ ความได้ โดยท้งั หมดอยใู่ นพ้ืนที่ ที่ใชร้ ่วมกนั (Varde & Fogler, n.d.) Asynchronous Learning ไดใ้ ห้นกั เรียนเขา้ ร่วมในการเรียนรู้ตามความสะดวก ไม่ถูกจากดั โดยเม่ือครูหรือ เพ่ือนนกั เรียนมีส่วนร่วมในการเรียน นกั เรียนแต่ละคนสามารถตดั สินใจเองว่าเขาจะเขา้ ร่วมเมื่อไหร่และอยา่ งไร จาก แหล่งขอ้ มูล Online ดว้ ยเคร่ืองมือท่ีจาเป็ นที่มีพร้อมใหเ้ ขาตลอดเวลา อยา่ งไรก็ตาม มนั ก็ควรจะมี Deadlines และตาราง กาหนดที่นกั เรียนทุกคนตอ้ งทาตาม Balancing the Practical Implications of Synchronous and Asynchronous Activities ในการจดั การเรียนรู้รูปแบบ Blended Learning ควรจะมี Synchronous และ Asynchronous เท่าไหร่จึงจะ เหมาะสม ใน Synchronous Activities ควรจะมีแบบ In-Person เท่าไหร่ และ Place Based เท่าไหร่ และเท่าไหร่ท่ีเราควร เสนอผา่ น Virtual Tools อันดับแรก เราควรพิจารณาในส่วนของ Synchronous ก่อน แลว้ ค่อยชงั่ น้าหนกั ดูถึงความสะดวกและการ เขา้ ถึงไดข้ อง Asynchronous Learning อันดับท่ีสอง ทนั ทีที่จานวนของ Synchronous Learning ไดถ้ ูกกาหนด ทางเลือก ระหวา่ ง In-Person และ Online Synchronous Learning จะตอ้ งถูกพิจารณา ท้งั หมดน้ี นกั เรียนจะต้องยงั คงอยตู่ รงกลาง ของการตดั สินใจ ตารางตอ่ ไปน้ีสรุปขอ้ ดีและขอ้ เสียบางประการของ Synchronous และ Asynchronous Learning Table 3: Advantages and disadvantages of synchronous learning ADVANTAGES DISADVANTAGES SYNCHRONOUS LEARNING - สนทนา ร่วมมือในเวลาจริง - ใหน้ กั เรียนเขา้ ร่วมเวลาเดียวกนั - Feedback ไดท้ นั ที - ครูอาศยั ทกั ษะและเทคนิคเยอะ - ครูสามารถประเมินการเรียนรู้จาก - การมีส่วนร่วมข้ึนกบั ทกั ษะครู การสงั เกตุ - จงั หวะในการเรียนมีนอ้ ย - การมีส่วนร่วม แรงจูงใจเพิม่ ข้ึน ASYNCHRONOUS LEARNING - เรียนรู้ท่ีไหน เมื่อไหร่ก็ได้ - โดดเด่ียว ขาดปฏิสมั พนั ธ์ - เขา้ ถึงไดง้ ่าย - ตอ้ งควบคุมตนเอง - เรียนรู้ตามจงั หวะของตน - การมีส่วนร่วมข้ึนกบั ทกั ษะครู - เขียนแสดงออกไดล้ ะเอียด - ไมส่ ามารถ Feedback ไดท้ นั ที 33

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM Preparing to Design for Learning through Synchronous and Asynchronous Activities เม่ือเขา้ ใจการเตรียมการและความเป็ นไปไดข้ องแต่ละประเด็นแลว้ ตารางที่ 4 จะนาเสนอตวั อยา่ งบางส่วน ในการใชโ้ อกาสใน Synchronous และ Asynchronous Learning Table 4: Using synchronous and asynchronous learning ASYNCHRONOUS SYNCHRONOUS WHEN? - สะทอ้ นปัญหาท่ีซบั ซอ้ น - สนทนาเร่ืองท่ีไมซ่ บั ซอ้ นมากนกั - ไมต่ อ้ งทาตารางการเรียน - เมื่อทาความรู้จกั กนั - วางแผนงาน WHY? นกั เรียนมีเวลาไตร่ตรองมากข้ึนเพราะผสู้ ่ง นกั เรียนมีความมุ่งมน่ั และมีแรงจูงใจมากข้ึน ไม่คาดหวงั คาตอบในทนั ที เพราะคาดวา่ จะมีการตอบกลบั อยา่ งรวดเร็ว Videoconferencing, IM and Chat, และ เสริม HOW? ใช้ Asynchronous เช่น E-Mail กระดาน ดว้ ยการพบกนั แบบ Face-to-Face สนทนา และBlog - นกั เรียนคาดวา่ จะไดท้ างานกลุ่ม ไดร้ ับ คาแนะนาจากครู EXAMPLES - นกั เรียนคาดวา่ จะไดแ้ สดงความคิดเห็น - ครูจะบรรยายแนวคิดในหนงั สือเรียนโดย ในเรื่องท่ีเรียน และเขียนลงใน Blog ใช้ Videoconferencing - นกั เรียนอาจประเมินความคิดของ เพ่อื นๆ ในเชิงวพิ ากษผ์ า่ นกระดานสนทนา Source: Hrastinski (2008) จงจำไว้ว่ำ การ Blend กิจกรรมหมายรวมไปถึงบทบาทที่แตกต่างกนั ของท้งั ครูผูส้ อนและนักเรียน และ Synchronous Learning หมายรวมถึงการมีส่วนร่วมทางวาจาที่มากข้ึน ในขณะที่ Asynchronous Activities จะขบั เคลื่อน ดว้ ยขอ้ ความและผลงานมากข้ึน 34

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM CHAPTER 7 BLENDED LEARNING MODELS 1: Blended Learning โดยรวมแลว้ มีโมเดลหลกั ๆ อยูส่ ่ีโมเดล ท่ีครูสามารถนาไปใชเ้ พื่อพฒั นาสภาพแวดลอ้ ม การเรียนรู้ข้นั สูงและเป็นส่วนตวั สาหรับผเู้ รียน 1. Rotation Model โมเดล (Model) น้ีเป็ นส่วนหน่ึงของโมเดลการจดั การเรียนรู้แบบด้งั เดิม เพียงแต่อยูใ่ นสภาพแวดลอ้ มของ Blended Learning การจดั การเรียนรู้แบบออนไลนเ์ ป็นส่วนประกอบหลกั ของ Rotation Model ในการใช้ Rotation Model นกั เรียนที่อยู่ในกลุ่มเดียวกนั จะเวียนไปตามฐานต่าง ๆ ท้งั ออนไลน์และท่ีโรงเรียน ซ่ึงผลท่ีไดค้ ือนกั เรียนจะไดร้ ับการ เรียนรู้เท่าเทียมกนั ทุกคน ไมว่ า่ จะเป็นการฝึกปฏิบตั ิท่ีโรงเรียน นงั่ ฟังครูบรรยายที่บา้ น ฯลฯ 35

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM ใน Rotation Model น้ีจะมีการออกแบบกิจกรรมอยู่ 4 แบบ คือ a) Station Rotation เหมือนกบั ช่ือของมนั ท่ีบอกมา โมเดลน้ีจะให้นกั เรียนเวียนไปทากิจกรรมในแต่ละฐานตามเวลาที่กาหนด ยกตวั อยา่ งเช่น นกั เรียนกลุ่มท่ี 1 ใหท้ ากิจกรรมในฐานแรกซ่ึงเป็ นการทากิจกรรมออนไลน์ (อาทิ การเรียนรู้เน้ือหาใหม่ โดยการอ่านบทความท่ีครูใส่ไวใ้ น Google Classroom การดูวีดีทศั น์ การฟังครูสอน หรือการนาเสนอ ฯลฯ) ในขณะที่ กลุ่มที่ 2 ไปฐานท่ี 2 ซ่ึงก็ยงั คงเป็ นออนไลน์ ท่ีนกั เรียนอาจจะตรวจสอบ หรือฝึ กฝนตามตวั อย่าง หรือทา Case Studies ส่วนกลุ่มท่ี 3 ใหท้ าฐานที่ 3 ท่ีใหน้ กั เรียนสนทนากลุ่มหรือระดมสมองที่โรงเรียน แต่ละกลุ่มจะตอ้ งหมุนเวยี นใหค้ รบทุก ฐานตามเวลาที่ครูกาหนด b) Lab Rotation เช่นเดียวกนั กบั การที่นกั เรียนเวียนทากิจกรรมตามฐานต่าง ๆ ใน Station Rotation เพียงแต่ในโมเดลน้ี นกั เรียนเวยี นระหวา่ งการเรียนในหอ้ งเรียนปกติกบั การฝึกฝนปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ทางออนไลน์ c) Flipped Rotation หรือ Flipped Classroom โมเดลน้ีเกี่ยวขอ้ งกบั การสลบั บทบาทระหวา่ งครูกบั Platform ออนไลน์ โดยการให้นกั เรียนคน้ หาขอ้ มูลการ เรียนรู้รวมถึงการฝึ กปฏิบตั ิทางออนไลน์ ส่วนท่ีโรงเรียนครูมีหนา้ ท่ีในการช่วยเหลือนกั เรียนในการให้คาแนะนากรณีท่ี นกั เรียนประสพกบั ปัญหา หรือตอ้ งการความช่วยเหลือ d) Individual Rotation นอกเหนือจากการท่ีครูจดั การนกั เรียนทุกคนในแนวทางเดียวกนั โมเดลน้ีจะให้ครูจดั การ ฝึ กฝนนกั เรียน เป็นรายบุคคล (อาจจะในวธิ ีท่ีแตกต่างกนั ) จากการท่ีนักเรียนมีพ้ืนฐานของแต่ละคนที่แตกต่างกนั มีจุดเด่น จุดด้อยไม่เหมือนกนั การเวียนกิจกรรม ระหว่างการเรียนรู้แบบปกติกบั ออนไลน์เป็ นรายบุคคลจะเป็ นการช่วยให้ผลลพั ธ์ในการพฒั นาการเรียนรู้ของนกั เรียน รายบุคคลมีประสิทธิภาพมากยง่ิ ข้ึน 2. Flex Model โมเดลการจดั การเรียนรู้น้ี นักเรียนจะเป็ นผูท้ ่ีควบคุมและหลกั ๆ แล้วพวกเขาจะเรียนรู้ผ่าน Platform ออนไลน์ ในขณะท่ีครูก็ออนไลน์เพื่อคอยช่วยเหลือนกั เรียนเม่ือพวกเขาตอ้ งการ Flex Model จะให้อานาจนกั เรียนและให้พวกเขามีความรู้สึกว่าตอ้ งรับผิดชอบ ให้พวกเขามีอิสระในการ ตดั สินใจว่าพวกเขาตอ้ งการท่ีจะเรียนรู้ในหัวขอ้ อย่างไร นอกจากน้ียงั ให้พวกเขาเรียนรู้ตามจงั หวะในการเรียนรู้ของ ตนเอง 36

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM 3. A La Carte Model ในโมเดลน้ี นกั เรียนจะเป็ นผตู้ ดั สินใจวา่ รายวิชา หรือหวั ขอ้ ไหนที่นกั เรียนตอ้ งการจะเรียนรู้ออนไลน์ และ รายวชิ าหรือหวั ขอ้ ไหนท่ีตอ้ งการจะเรียนรู้แบบปกติ แต่ไม่วา่ จะเป็ นแบบใด ครูก็มีหนา้ ที่ท่ีจะตอ้ งคอยช่วยเหลือนกั เรียน เม่ือนกั เรียนตอ้ งการ โมเดลน้ีกม็ ีบางส่วนที่คลา้ ยกบั Flex Model คือให้นกั เรียนเลือกวา่ พวกเขาอยากจะเรียนรู้แบบใด ท่ีจะทาให้ เกิดประสิทธิภาพสูงท่ีสุด 4. Enriched Virtual Model ภายใตโ้ มเดลน้ี นกั เรียนจะเรียนรู้ตามตารางท่ีครูกาหนด ท่ีประกอบไปดว้ ย Virtual Learning (การเรียนรู้ เสมือนจริง) และการเรียนรู้ตามปกติ สิ่งท่ีทาใหโ้ มเดลน้ีมีลกั ษณะพเิ ศษเฉพาะก็คือ ไม่ใช่วา่ มนั จะมีแค่ระบบการเรียนรู้เสมือนจริงเท่าน้นั (ซ่ึงไม่ มีการฝึกปฏิบตั ิจริง) การใชโ้ มเดลน้ีนกั เรียนจะตอ้ งถูกเรียกใหม้ ามีส่วนร่วมในการฝึ กปฏิบตั ิจริงท่ีโรงเรียน อยา่ งไรก็ตาม ส่วนใหญ่แลว้ พวกเขาสามารถรับส่ือการเรียนรู้ท้งั หมดและมีส่วนร่วมในการฝึกปฏิบตั ิเสมือนจริง Blended Learning Principles 1. The focus should be on improving learning outcomes (ใหโ้ ฟกสั ไปยงั ผลลพั ธ์ของการเรียนรู้) ในขณะท่ีมนั มีวธิ ีการที่หลากหลายที่ครูสามารนาไปใชไ้ ด้ ครูจาเป็ นที่จะตอ้ งเลือกโมเดลใดซกั โมเดลหน่ึงที่ คิดวา่ จะช่วยใหก้ ารเรียนรู้ของนกั เรียนมีผลที่ออกมาดีข้ึน หลกั สาคญั ของ Blended Learning ก็คือ การใหโ้ อกาสครูไดป้ รับแต่งการเรียนรู้ที่จะช่วยให้นกั เรียนไดม้ ี ผลลพั ธ์ท่ีดีข้ึนกวา่ เดิมในบริบทของการเรียนรู้ปัจจุบนั ครูควรใชแ้ นวทางที่เหมาะสมที่สุดสาหรับนกั เรียน 2. Use both online and on-site learning (ใชท้ ้งั ออนไลน์ และออนไซท)์ วตั ถุประสงคข์ อง Blended Learning กค็ ือการใหว้ ธิ ีการที่ดีท่ีสุดที่จะใหผ้ ลลพั ธ์ท่ีดีท่ีสุดสาหรับนกั เรียน Blended Learning ไม่ควรจะถูกใช้เพ่ือหลีกเลี่ยงความรับผิดชอบในการที่จะให้การฝึ กปฏิบัติที่มี ประสิทธิภาพแก่นกั เรียน โดยการข้ึนทุกอยา่ งกบั Platform ออนไลน์ ครูควรจะกาหนด หรือใหโ้ อกาสนกั เรียนในการที่ จะสอบถาม หรือฝึกฝนในหวั ขอ้ ท่ีโรงเรียนโดยครูเป็นผทู้ ่ีใหค้ าแนะนา 37

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM 3. Take a collaborative learning approach for increased engagement (ใหน้ กั เรียนทางานร่วมกนั ) การให้นกั เรียนทางานร่วมกนั จะช่วยส่งเสริมการเรียนรู้อย่างมาก เน่ืองจากมนั จะช่วยให้มีการ ระดมสมอง และเกิดไอเดียใหม่ ๆ ครูสามารถให้นักเรียนทางานกลุ่มได้ไม่ว่าจะเป็ นออนไลน์ หรือท่ี โรงเรียนโดยใช้ Platform ออนไลนใ์ นการช่วยเหลือ 4. Seek continuous improvement (ปรับปรุง แกไ้ ขอยา่ งต่อเนื่อง) ใจความสาคญั อีกประการหน่ึงของ Blended Learning ก็คือ “ความยดื หยนุ่ ” ดงั น้นั ส่ิงที่สาคญั สาหรับครูก็คือ ครูจะตอ้ งออกแบบการจดั การเรียนรู้ใหเ้ หมาะสมกบั นกั เรียน ใหเ้ กิดประสิทธิภาพมากที่สุดกบั นกั เรียน การใชโ้ มเดลต่าง ๆ ควรจะตอ้ งมีการปรับปรุง และแกไ้ ขอยอู่ ยา่ งตอ่ เน่ืองเพอื่ ใหส้ ามารถช่วยเหลือนกั เรียนแตล่ ะคนใหป้ ระสพความสาเร็จ 38

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM CHAPTER 8 BLENDED LEARNING MODELS 2: อยา่ งที่ไดก้ ล่าวมาแลว้ วา่ ในการจดั การเรียนรู้รูปแบบ Blended Learning น้นั มนั ไม่ไดม้ ีรูปแบบท่ีตายตวั “ความยดื หย่นุ ” คือกุญแจสาคญั ครูควรออกแบบวธิ ีการ Blend ใหเ้ หมาะสมกบั บริบทของโรงเรียน ครู และตวั นกั เรียน เอง ดงั น้นั ก่อนเริ่มวางแผนการเรียนรู้แบบ Blended Learning ครูควรถามตวั เองดว้ ยคาถามตอ่ ไปน้ี:  รูปแบบใดท่ีสอดคลอ้ งท่ีสุดในการสนบั สนุนวิสัยทศั น์ในการเรียนและการสอน หรือการผสมผสานใน รูปแบบใดที่เหมาะสมท่ีสุดสาหรับโรงเรียน ครู และนกั เรียน  รูปแบบใดที่นกั เรียนชอบที่จะมีส่วนร่วมมากที่สุด  อะไรคือความทา้ ทายในการสร้างและดาเนินงานของแตล่ ะรูปแบบ  ขอ้ มูลใดที่มีความจาเป็นในการออกแบบ Blended Learning ใหม้ ีประสิทธิภาพสูงสุด  ครูจะให้ Feedback และประเมินอยา่ งไร ตวั อย่างด้านล่างเป็ นรูปแบบหลกั ๆ โดยทวั่ ไปของ Blended Learning ซ่ึงครูสามารถนาไปดดั แปลง ออกแบบให้เขา้ กบั บริบทของโรงเรียน ครู และนกั เรียน อยา่ ลืมวา่ ตวั อยา่ งท่ีให้ไม่ใช่รูปแบบที่ตายตวั ที่ครูตอ้ งนาไปใช้ แต่ เป็นเพยี งพ้นื ฐานในการนาไปออกแบบการเรียนรู้แบบ Blended Learning เทา่ น้นั 39

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM Possible Models for Blended Learning in School 1. Rotation Model Station Rotation Model Station Rotation Model ใหน้ กั เรียนสับเปลี่ยนผา่ นแต่ละฐาน แต่อยูภ่ ายใตก้ ารกาหนดเวลาโดยครู แต่ให้มี อยา่ งนอ้ ยหน่ึงฐานที่เป็ นฐานการเรียนรู้ Online และนี่คือวิธีในการใชป้ ระโยชน์สูงสุดจากStation Rotation Model เพ่ือ ส่งเสริมใหน้ กั เรียนประสพความสาเร็จ 1. ให้ใช้เวลากับนักเรียนกลุ่มเล็กในการเสริมสร้างความสัมพันธ์กับนักเรียน การใช้ Small-Group Stations จะช่วยครูสร้างความสัมพนั ธ์ที่ดีกบั นกั เรียน นอกจากน้ีครูยงั สามารถประเมินและคน้ หาความตอ้ งการในการช่วยเหลือ ของนกั เรียนแต่ละคนได้ 2. ให้ใช้ข้อมูลนักเรียนรายบุคคลในการขับเคลื่อนการเรียนรู้ ครูควรใชข้ อ้ มูลของนกั เรียนรายบุคคลในการ ในการจดั กลุ่มการเรียนรู้เพื่อที่จะช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของนกั เรียนแต่ละคน ใหเ้ รียนรู้ในจงั หวะของตนเอง 3. สร้างรูปแบบของตนเอง อย่างท่ีไดก้ ล่าวไปแล้ววา่ มนั ไม่มีรูปแบบการเรียนรู้ใดที่สามารถกล่าวไดว้ ่า One-Size-Fits-All ได้ พยายามยดื หยนุ่ เม่ือจะออกแบบการเรียนรู้ ซ่ึงกข็ ้ึนอยกู่ บั บริบทต่าง ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ ง 40

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM ตัวอย่างการใช้ Station Rotation 41

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM Lab Rotation Model ใน Lab Rotation Model นกั เรียนจะสลบั หมุนเปลี่ยนการเรียนรู้ในห้องเรียนกบั Digital Learning ใน ตารางเวลาที่กาหนดไว้ ดูเหมือนวา่ Lab Rotation Model จะคลา้ ย ๆ กบั Station Rotation Model แต่มนั ก็ยงั มีขอ้ แตกต่าง ใน Station Rotation Model น้นั กิจกรรมท้งั Offline และ Online จะเกิดข้ึนในห้องเรียนเดียวกนั ในขณะที่ Lab Rotation Model จะใหน้ กั เรียนเปล่ียนหอ้ งเรียนดว้ ย 42

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM Flipped Classroom Model Flipped Classroom model จะสลบั ในส่วนของความสัมพนั ธ์แบบด้งั เดิมระหวา่ งเวลาเรียนในห้องเรียนกบั การบา้ น นกั เรียนจะเรียนท่ีบา้ นผา่ นทาง Online และครูจะใชเ้ วลาในหอ้ งเรียนในการทาโครงงาน หรือฝึ กปฏิบตั ิโดยมีครู คอยใหค้ าแนะนา ครูจะใชป้ ระโยชน์ในการใชเ้ วลาในหอ้ งเรียนในการปรับการเรียนรู้ของนกั เรียนแตล่ ะคน 43

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM ตัวอย่างการใช้ Flipped Classroom Individual Rotation Model Individual Rotation Model ให้นกั เรียนสับเปล่ียนผา่ นแต่ละฐาน แต่อยภู่ ายใตก้ ารกาหนดเวลา และตาราง โดยครู ขอ้ แตกต่างกบั Rotation Model อื่น ใน Individual Rotation Model นกั เรียนไม่จาเป็ นที่จะตอ้ งเขา้ ให้ครบทุกฐาน พวกเขาจะสบั เปลี่ยนเฉพาะกิจกรรมที่กาหนดไวเ้ ท่าน้นั 44

PATTANAVITSUKSA COVID-19 CURRICULUM วธิ ีการ ตัวอย่างการใช้ Individual Rotation 45