Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Technologies For Blended Learning

Technologies For Blended Learning

Published by Dr.Sakan Lomsri, 2022-01-13 10:48:09

Description: Technologies For Blended Learning

Search

Read the Text Version

TECHNOLOGIES FOR BLENDED LEARNING

TECHNOLOGIES FOR BLENDED LEARNING TECHNOLOGIES FOR BLENDED LEARNING PATTANAVITSUKSA SCHOOL By Dr. Sakan Lomsri

TECHNOLOGIES FOR BLENDED LEARNING

TECHNOLOGIES FOR BLENDED LEARNING Table of Contents หน้า 1 1. Introduction 3 2. TECHNOLOGIES FOR BLENDED LEARNING 3 5 - Learning Management Systems 7 - Web Conferencing 8 - Digital Textbooks 9 - Blogs and Wikis 13 - Social Bookmarking, Mashups and Digital Storytelling 14 - Simulations, Serious Games and Virtual Worlds - E-Portfolios

TECHNOLOGIES FOR BLENDED LEARNING

TECHNOLOGIES FOR BLENDED LEARNING INTRODUCTION เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือหรือระบบท่ีใช้ในการแก้ปัญหา สำหรับกำรศึกษำแลว้ ก็หมำยควำมว่ำ “ส่ิงของหรือเคร่ืองมือท่ีใชส้ นบั สนุนกำรเรียนกำรสอน” ภำยใตค้ ำจำกดั ควำมน้ี เทคโนโลยที ำงกำรศึกษำจะ รวมไปถึง Software (เช่น Word Processors) ระบบ (เช่น Learning Management Systems) กำรบริกำร (เช่น Youtube หรือ Google Docs) และสภำพแวดลอ้ ม (เช่น Virtual Worlds) รวมไปถึง Hardware และ Networks นอกจำกน้ี มนั ยงั สำมำรถรวมไปถึง เทคโนโลยแี บบด้งั เดิมเช่น กระดำนดำและหนงั สือเรียน แต่วำ่ ในท่ีน้ีเรำ จะเนน้ ไปยงั มุมมองในส่วนของ Digital และ Online ในหนังสือเล่มน้ีจะไดก้ ล่ำวถึงภำพรวมของเทคโนโลยีไม่ว่ำจะเป็ น Platform, Software หรือ ระบบตำ่ ง ๆ ท่ีโรงเรียนพฒั นวทิ ยศ์ ึกษำจะไดน้ ำมำใชใ้ นกำรช่วยจดั กำรเรียนรู้ในรูปแบบ Blended Learning พร้อมตวั อยำ่ งกำรใชง้ ำนและประเด็นสำคญั ท่ีตอ้ งพิจำรณำเม่ือนำเทคโนโลยเี หล่ำน้ีมำใช้ หลงั จำกท่ีครูได้ ศึกษำเทคโนโลยตี ่ำง ๆ ครูจะเร่ิมมองเห็นภำพของกำรออกแบบกำรเรียนรู้ท่ีหลำกหลำยเพ่มิ มำกข้ึน ไมว่ ำ่ จะ เป็ นโครงสร้ำงในกำรจัดกำรเรียนรู้ วิธีกำรจดั กำรเรียนรู้ท่ีเหมำะสมสำหรับนักเรียน กำรช่วยเหลือให้ นกั เรียนในกำรคน้ หำ ดำเนินกำรในกำรเรียนรู้ในรูปแบบต่ำง ๆ กำรใช้ Search Engineในกำรสืบคน้ ขอ้ มูล ในกำรแกป้ ัญหำ กำรใช้ Software ในกำรนำเสนอ ฯลฯ อย่ำลืมว่ำ ในกำรจดั กำรเรียนรู้ในรูปแบบ Blended Learning น้ันมนั ไม่ไดม้ ีรูปแบบท่ีตำยตวั “ความยืดหยุ่น” คือกุญแจสำคญั ครูควรออกแบบวิธีกำร Blend ให้เหมำะสมกบั บริบทของโรงเรียน ครู และตวั นักเรียนเอง นำเทคโนโลยีทำงกำรศึกษำมำใช้อย่ำงเหมำะสม ด้วยอตั รำกำรเปล่ียนแปลงทำง เทคโนโลยีท่ีรวดเร็ว จึงไม่มีประโยชน์และไม่มีประโยชน์ท่ีจะกล่ำวถึงเครื่องมือท่ีมีอยู่ในปัจจุบนั ท้งั หมด ส่ิงที่ใช้ไดอ้ ย่ำงมีประสิทธิภำพในวนั น้ีอำจจะล้ำสมยั ในวนั พรุ่งน้ี และแทนที่ดว้ ยเทคโนโลยีใหม่และ นวตั กรรมใหมส่ ำหรับกำรสอนและกำรเรียนรู้ เป้ำหมำยของหนงั สือเล่มน้ีไม่ไดอ้ ย่ทู ่ีครูทุกคนจะตอ้ งใชเ้ ทคโนโลยีท่ีเขียนอย่ใู นน้ีทุกอยำ่ งใน กำรจดั กำรเรียนรู้ในรูปแบบ Blended Learning มนั เป็ นเพียงแค่คำแนะนำท่ีจะเป็ นพ้ืนฐำนให้ครูสำมำรถ มองภำพออกวำ่ ในกำรจดั กำรเรียนรู้ในรูปแบบ Blended Learning น้นั สำมำรถเป็นไปในทิศทำงใดไดบ้ ำ้ ง 1

TECHNOLOGIES FOR BLENDED LEARNING ประเด็นของเทคโนโลยที ่ีจะกล่ำวถึงในน้ีไดแ้ ก่ - Learning Management Systems - Web Conferencing - Digital Textbooks - Blogs and Wikis - Social Bookmarking, Mashups and Digital Storytelling - Simulations, Serious Games and Virtual Worlds และ - E-Portfolios หวงั ว่ำครูทุกคนจะไดศ้ ึกษำ ทำควำมเขำ้ ใจ นำไปใช้ และแกไ้ ข พฒั นำกำรจดั กำรเรียนรู้ของ ตนเองเพ่ือช่วยเหลือนกั เรียนทุกคนใหป้ ระสบควำมสำเร็จในกำรเรียนรู้ตอ่ ไป 2

TECHNOLOGIES FOR BLENDED LEARNING TECHNOLOGIES FOR BLENDED LEARNING Learning Management Systems LMS (Learning Management System) คือ ระบบจัดการการเรี ยนการสอน ออนไลน์ผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ที่มีเคร่ืองมือที่สาคญั สาหรับผูส้ อน ผูเ้ รียน และผูด้ ูแลระบบ ไดแ้ ก่ ระบบจัดการ รายวิชา ระบบจดั การขอ้ มูลบทเรียน ระบบจดั การการสร้างเน้ือหารายวิชา ระบบจดั การเคร่ืองมือวดั ผลการ เรียนรู้ ระบบจดั การขอ้ มูลผูเ้ รียนระบบเคร่ืองมือช่วยจดั การส่ือสารและปฏิสัมพนั ธ์และจดั กระบวนการ เรียนรู้ ไดแ้ ก่ การสื่อสาร Chat, E-mail, Web-board รวมไปถึงการเก็บสารองขอ้ มูล และการรายงานผล เป็น ตน้ องคป์ ระกอบหลกั ของระบบ LMS มี 4 ระบบท่ีสาคญั คือ 1. ระบบจดั การรายวิชา (Course Management System) ไดแ้ ก่ เครื่องมือช่วยสร้างรายวชิ า จดั ทา และนาเขา้ เน้ือหาของรายวิชา จดั ทาแหล่งคน้ ควา้ ขอ้ มูลในรายวิชา ทากิจกรรมเสริมในรายวิชา 2. ระบบบริหารจัดการข้อมูลผู้เรียน (User Management System) ได้แก่ ระบบบริหารการ จดั การผูเ้ รียนในรายวิชา สามารถสร้างกลุ่มผูเ้ รียนตามการเขา้ ใช้งานได้หลายระดบั มีระบบตรวจสอบ สมาชิกผใู้ ชง้ าน และการเก็บรายละเอียดขอ้ มลู ผเู้ รียน 3. ระบบตรวจสอบกิจกรรมและติดตามประเมินผล (Test & Tracking Management System) ไดแ้ ก่เคร่ืองมือช่วยสร้างกิจกรรมแบบทดสอบ กิจกรรมการบา้ น และระบบทดสอบประเมินผลการเรียน 4. ระบบจดั การการสื่อสารและปฏิสัมพนั ธ์ (Communication Management System) เป็ นส่วน ส่งเสริมการเรียนใหม้ ีการติดต่อสื่อสารกนั ท้งั ระหวา่ งผสู้ อน – ผสู้ อน, ผสู้ อน – ผเู้ รียน, และผเู้ รียน – ผเู้ รียน ซ่ึงมีท้งั รูปแบบ Online และ Offline ไดแ้ ก่ Web-board, E-mail, Chat room, News, Calendar เป็นตน้ ซอฟท์แวร์ที่สนับสนุนระบบ LMS มีPlatform มากมายท่ีเกี่ ยวกับ Learning Management System ไม่ว่าจะเป็ น Blackboard (www.blackboard.com) และ Desire2Learn (https://www.d2l.com) หรือแมก้ ระทงั่ พวก Open-Source อาทิ Moodle (https://moodle.org) และ Canvas (https://www.canvaslms.com) อย่างไรก็ตามมันก็ยังมี Web- 3

TECHNOLOGIES FOR BLENDED LEARNING Based Classroom Management Systems อย่าง Google Classroom (https://classroom.google.com) ที่ครูแต่ ละคนสามารถนาไปใชไ้ ด้ Web-Based Classroom Management Systems ในส่วนของโรงเรียนพฒั นวิทยศ์ ึกษา ระบบ LMS ท่ีจะนามาใชจ้ ะเป็ น Web-Based Classroom Management Systems ซ่ึงก็คือ Google Classroom Google Apps for education เป็นชุดเครื่องมือจดั การเรียนการสอนท่ี Google อนุญาตใหโ้ รงเรียน มหาวิทยาลยั หน่วยงานดา้ นการศึกษา ใชง้ านไดโ้ ดยไม่เสียค่าใชจ้ ่าย และสามารถจดั การการเรียนรู้แบบ ทางานร่วมกนั ไดท้ ุกที่ทุกเวลา เครื่องมือเหล่าน้ี เช่น Gmail, Docs, Calendar, Drive นอกจากน้ี Google ยงั ได้พฒั นา Google Classroom ท่ีช่วยผูส้ อนในการจัดการช้ันเรียน เช่น การสร้างงาน เก็บงาน ติดตาม กาหนดการส่งงาน แสดงความคิดเห็น ตรวจสอบการส่งงาน และคะแนน สาหรับการใชง้ าน Google Classroom ในบทบาทของผสู้ อนน้นั สามารถทาไดด้ งั น้ี 1. สร้างช้นั เรียนออนไลนส์ าหรับรายวชิ าน้นั ๆ ได้ 2. เพิ่มรายช่ือผเู้ รียนจากบญั ชีของ Google เขา้ มาอยใู่ นช้นั เรียนได้ 3. สามารถกาหนดรหสั ผา่ นใหผ้ เู้ รียนนาไปใชเ้ พือ่ เขา้ ช้นั เรียนเองได้ 4. สามารถต้งั โจทย์ มอบหมายการบา้ นใหผ้ เู้ รียนทาโดยสามารถแนบไฟล์ และกาหนดวนั ที่ส่ง การบา้ นได้ 5. ผเู้ รียนเขา้ มาทาการบา้ นใน Google Docs และส่งเขา้ Google Drive ของผสู้ อน โดยจะจดั เกบ็ ไฟลง์ านใหอ้ ยา่ งเป็นระบบภายใต้ Folder “Classroom” 6. สามารถเขา้ มาดูจานวนผเู้ รียนท่ีส่งการบา้ นภายในกาหนดและยงั ไม่ไดส้ ่งได้ 7. ตรวจการบา้ นของผเู้ รียนแต่ละคน พร้อมท้งั ใหค้ ะแนนและคาแนะนาได้ 8. สามารถเชิญผสู้ อนทา่ นอื่นเขา้ ร่วมในช้นั เรียนเพื่อร่วมกนั จดั การเรียนการสอนได้ 9. ปรับแตง่ รูปแบบของช้นั เรียนตาม Theme หรือจากภาพส่วนตวั ได้ 10. สามารถใชง้ านบนมือถือ ท้งั ระบบปฏิบตั ิการ Android และ iOS ได้ 4

TECHNOLOGIES FOR BLENDED LEARNING สาหรับ Google Classroom ผสู้ อนไมจ่ าเป็นตอ้ งรู้วิธีการเขียนโคด้ หรือสร้างเวบ็ ไซตห์ รือสับสน กบั ข้นั ตอนมากมายท่ีตอ้ งใชใ้ นการสร้างช้นั เรียน สาหรับ Google Classroom แลว้ มนั เป็ นเรื่องง่ายในการ สร้างช้นั เรียน เพยี งแคค่ ลิกที่ป่ ุมและการเพม่ิ ขอ้ ความบางส่วนเท่าน้นั Web Conferencing Web Conferencing เป็ นการประชุมออนไลน์ประเภทใดก็ไดท้ ่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ผูเ้ ขา้ ร่วมต้งั แต่สอง คนข้ึนไปท่ีอยใู่ นสถานท่ีต่างกนั ผเู้ ขา้ ร่วมประชุมอาจจะอยู่ท่ีไหนก็ไดบ้ นโลกแห่งน้ี ดว้ ยการเช่ือมต่อทาง Internet และ Conferencing Software ที่เชื่อถือได้ พวกเขาสามารถท่ีจะมองเห็น ไดย้ นิ และส่ือสารกนั ไดใ้ น เวลาจริง (Real Time) What Is the Difference Between Video Conferencing and Web Conferencing? ไม่ใช่เรื่องแปลกที่บางคนจะคิดวา่ Video Conferencing และ Web Conferencing เป็นเทคโนโลยี เดียวกนั เพียงแต่ใชช้ ่ือเรียกตา่ งกนั แตใ่ นความเป็นจริง มนั มีความแตกตา่ งอยา่ งมากระหวา่ งสองคาน้ี Web Conferencing ช่วยให้สามารถshareเน้ือหาบนเวบ็ ได้ และมกั ใชเ้ ป็ นคาท่ีใชค้ รอบคลุมใน วงกวา้ งสาหรับการประชุมประเภทต่างๆ Video Conferencing เป็ นหน่ึงในประเภทของการประชุมเหล่าน้ี ตามชื่อ มนั เป็ นเทคโนโลยีท่ี ช่วยshareวิดีโอ (และเสียง) แบบ Real Time 5

TECHNOLOGIES FOR BLENDED LEARNING Who Are the People That Make Up a Web Conference? Host: Host จะเป็ นผูท้ ี่จดั การประชุม พวกเขามีหน้าที่รับผิดชอบในการสร้างวาระการประชุม เชิญผเู้ ขา้ ร่วม และตดั สินใจวา่ จะใช้ Web Conferencing ประเภทใด (อยา่ งที่ผา่ นมา ทางโรงเรียนไดใ้ ช้ Web Conferencing ของ Zoom ในการจดั การเรียนรู้) Presenters: Presenters (ผนู้ าเสนอ) จะเป็นคนนาเสนอเน้ือหาของการประชุม แต่ไม่จาเป็นตอ้ ง เป็น Host อนั ที่จริง อาจมีผนู้ าเสนอหลายคนในการประชุมคร้ังเดียว Guests: Guests จะเป็นผทู้ ่ีรับคาเชิญจาก Host พวกเขาจะไดร้ ับรายละเอียดการประชุม หมายเลข โทรเขา้ และรหสั การเขา้ ถึงของผเู้ ขา้ ร่วม เพอื่ เขา้ ร่วมและมีส่วนร่วมในการสนทนา Types of Web Conferencing Interactive team meetings: เทคโนโลยีการประชุมออนไลน์ทาให้การประชุมเสมือนจริง สามารถโตต้ อบซ่ึงกนั และกนั ได้ Video conferences: วตั ถุประสงคห์ ลกั ของการประชุมทางวิดีโอคือการสร้างการเชื่อมโยงดว้ ย ภาพระหวา่ งผเู้ ขา้ ร่วม ทาใหเ้ พม่ิ ศกั ยภาพในการทางานร่วมกนั ดงั น้นั จึงสามารถใชส้ าหรับ Interactive team meetings ได้ Webinars: Webinar (Web-Based Seminar) คือวิธีการนาเสนอผ่านทาง Internet ผูท้ ี่สามารถท่ี จะเป็ น Guests ไดม้ กั จะตอ้ งลงทะเบียนล่วงหนา้ เพ่ือเขา้ ร่วม ตลอดการสัมมนาทางเวบ็ ผูน้ าเสนอจะเป็นผู้ ควบคุมและอาจขอความคิดเห็นจากผู้เขา้ ร่วมผ่านการสารวจความคิดเห็น การสารวจ หรือคาถามและ คาตอบ Webcasts: Webcast (Web-Based Broadcast) เป็ นรายการสดหรือที่บนั ทึกไวล้ ่วงหนา้ ซ่ึงอานวย ความสะดวกผ่าน Internet ในขณะท่ีผูฟ้ ังสามารถมีส่วนร่วมโดยการส่งคาถามหรือคาตอบ แบบสารวจ ความคิดเห็น แตก่ ารควบคุมอยใู่ นมือของผนู้ าเสนอเป็นหลกั Key Conditions That Make for An Effective Web Conference ความสาเร็จของ Web Conferencing อยู่ในมือของผูเ้ ขา้ ร่วมและ Software ที่พวกเขาใช้ ในทุก สถานการณ์ คุณตอ้ งแน่ใจวา่ ไดต้ รวจสอบอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ใหอ้ ยใู่ นสภาพที่พร้อมในการประชุม 6

TECHNOLOGIES FOR BLENDED LEARNING Clear video: วีดีโอและกล้องต้องอยู่ในสภาพที่ดี ส่ิงหน่ึงท่ีหลายคนอาจจะมองข้าม คือ ความสาคญั ในการจดั แสง และการจดั วางกลอ้ งอยา่ งเหมาะสม แสงจะตอ้ งส่องเขา้ มาที่ใบหนา้ จะทาใหค้ น ที่อยอู่ ีกฝั่งเห็นเราไดอ้ ยา่ งชดั เจน Good sound quality: ห้องประชุมสมยั ใหม่ควรติดต้งั ระบบเสียงเฉพาะเพ่ือให้เหมาะสาหรับ Web Conference ทุกประเภท Quiet environment: เป็ นที่แน่นอนว่า คุณสามารถปิ ดเสียงไมโครโฟนของคุณไดต้ ลอดเวลา เมื่อคุณไม่ไดพ้ ูดหรือใชป้ ระโยชน์เพอื่ เป็นการตดั เสียงรบกวน แต่เช่นเดียวกบั การประชุมแบบปกติ คุณควร จดั การประชุมในสถานท่ีท่ีเงียบกวา่ เพ่ือลดสิ่งที่จะรบกวนสมาธิใหม้ ากที่สุด Digital Textbooks Digital Textbooks คือหนงั สือ Digital หรือ E-Book ที่มีวตั ถุประสงคเ์ พื่อใชเ้ ป็นตาราสาหรับช้นั เรียน Digital textbooks อาจจะถูกเรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ E-Textbooks หรือ E-Texts เพื่อจดั การกบั รูปแบบการเรียนรู้และความตอ้ งการของนกั เรียน Digital Textbooks มกั จะไดร้ ับ การออกแบบดว้ ยคุณสมบตั ิที่จะช่วยให้นกั เรียนเรียนรู้ไดด้ ีข้ึน และยงั มีส่วนร่วมมากข้ึน Digital Textbooks น้ีสามารถใส่วิดีโอ Animation และไฟลเ์ สียง ซ่ึงจะช่วยในกระบวนการเรียนรู้ของนกั เรียน ครูสามารถท่ีจะสร้าง E-Book ได้ง่าย ๆ จาก Website ที่มีให้บริการท้ังฟรีและจ่ายเงิน อาทิ www.anyflip.com หรือ https://pubhtml5.com/ นอกจากน้ีกย็ งั มี Website อื่น ๆ อีกมากมายที่สามารถไปหา อา่ น E-Book หรือสร้าง E-Book ได้ ตวั อยา่ ง Bookcase ของ https://pubhtml5.com 7

TECHNOLOGIES FOR BLENDED LEARNING Blogs and Wikis Blogs and wikis เป็นเคร่ืองมือในการเขียน Online ในส่วนของ Blended Learning น้นั ส่วนใหญ่ Blogs จะใชส้ าหรับปัจเจกบุคคล ส่วน Wikis จะมีประสิทธิภาพมากกบั การร่วมมือกนั ในการคน้ ควา้ และ กิจกรรมการเขียน Blogs คือ Online Diary ท่ีสามารถshareระหว่างช้นั เรียนหรือกบั บุคคลทว่ั ไป ทาให้ผเู้ รียนแตล่ ะ คนสามารถเขียนทบทวนเกี่ยวกบั การเรียนรู้ของตนเองและรับขอ้ เสนอแนะจากเพื่อนฝงู ได้ นอกเหนือจาก การเขียนเชิงสะทอ้ น กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ Blog เป็นฐาน (Blog-Based Learning) โดยทวั่ ไปรวมถึงการ ทบทวนและวิจารณ์บทความหรือแหล่งขอ้ มูล Online การเขียนบนั ทึกเก่ียวกบั ประสบการณ์ในการศึกษา โครงงานหรือภาคสนาม (การแสดงในรูปแบบ E-Portfolio) ไม่นานมาน้ี Microblogging (Microblogs เป็น บลอ็ กโพสตท์ ี่กระชบั (ต่ากวา่ 300 คา) ซ่ึงสามารถมีรูปภาพ GIF ลิงกอ์ ินโฟกราฟิ กวิดีโอและคลิปเสียงได)้ ได้กลายเป็ นรูปแบบที่นิยมในการบนั ทึกประสบการณ์ชั่วขณะหรือแสดงความคิดเห็นในขอ้ มูลอา้ งอิง Online และ Twitter คือตวั อย่างของ Microblogging ท่ีเรารู้จกั กันดี และแม้ว่าจะไม่ค่อยมีประสิทธิภาพ สาหรับการเขียนเชิงลึก แต่ก็สามารถนามาใช้อย่างสร้างสรรค์ในการเชื่อมโยงกิจกรรม เช่น การ Tag แหล่งขอ้ มูลการเรียนรู้ท่ีเป็นประโยชน์ เช่นเดียวกบั Social Bookmarking ดงั ท่ีจะอธิบายตอ่ ไป Wikis เป็ นพ้ืนท่ีในการเขียนแบบร่วมกนั (Collaborative Writing) ซ่ึงถูกสร้างอยบู่ น Interlinked Web Pages (หนา้ Web ท่ีเชื่อมโยงกนั ) โดยการใช้ Markup Language (ภาษากากบั เช่น ภาษาท่ีรู้จกั กนั ดีคือ ภาษา HTML, Hyper Text Markup Language) และ Management Tools นกั เรียนที่มี Access สามารถเขา้ ไป สร้างหรือแก้ไข Wiki Page ไดต้ ลอดเวลา Wikis ยงั สามารถช่วยนักเรียนในการทากิจกรรมง่าย ๆ เช่น Brainstorming, Group Essays, หรือ Class Books (รวมไปถึง Digital Textbooks) อยา่ งไรกด็ ี ถึงแมว้ า่ Wikis จะมีประสิทธิภาพมากมายในการจดั การเรียนรู้แบบ Collaborative Learning แต่การใช้ Wikis อาจมีความ ยงุ่ ยากสาหรับครูที่ยงั ไม่เคยมีประสบการณ์ในการใช้ ท้งั Blogs และ Wikis สามารถหาไดโ้ ดยง่ายจาก Website เช่น Blogger (https://www.blogger.com) EduBlogs (https://edublogs.org) หรื อ WordPress (https://wordpress.com) ส่ วน Open-Source Software ก็ เช่น MediaWiki (https://www.mediawiki.org/wiki/MediaWiki) 8

TECHNOLOGIES FOR BLENDED LEARNING ตวั อยา่ ง Blog โดยใช้ Blogger (https://www.blogger.com) Social Bookmarking, Mashups and Digital Storytelling Social Bookmarking เป็ นกระบวนการของการ Tag หน้า Website ดว้ ยเคร่ืองมือบน Browser เพ่อื ใหค้ ุณสามารถกลบั มาเยย่ี มชมใหม่ไดใ้ นภายหลงั แทนที่จะบนั ทึก Social Media Posts ลงใน Bookmark ของ Browser คุณสามารถใช้คุณสมบัติของ Platform ต่างๆ เพื่อ Bookmark Post ของคุณได้ เน่ืองจาก Bookmark อยู่ Online คุณจึงสามารถท่ีจะเขา้ ถึงไดท้ ุกที่ ทุกเวลา ไม่ว่าจะจากเคร่ืองคอมพิวเตอร์ Lap Top โทรศพั ทม์ ือถือ หรืออปุ กรณ์อื่นท่ีสามารถเช่ือมตอ่ Internet ได้ Social Bookmarking เกี่ยวขอ้ งกบั กิจกรรมท่ีคอ่ นขา้ งตรงไปตรงมาในการรวบรวม การ Tag และ การ Share แหลง่ ขอ้ มูล Online เช่น บทความ รายงานขา่ ว หรือรูปภาพ Del.isio.us (https://del.icio.us) Digg (http://digg.com) และ Scoop.It (https://www.scoop.it) เหล่าน้ีเป็ นบริการ Bookmarking เชิงพาณิชยย์ อด นิยมในปัจจุบนั ในส่วนของ Blended Learning กิจกรรมท่ีใช้ Social Bookmarking สามารถเป็ นพ้ืนฐาน สาหรับการอภิปรายในช้นั เรียนหรือ Online ที่สาคญั เก่ียวกบั แหล่งขอ้ มูลเอง และความน่าเชื่อถือของขอ้ มลู บน Website 9

TECHNOLOGIES FOR BLENDED LEARNING The Most Popular Social Bookmarking Sites Twitter คุณอาจไม่คิดว่ามนั เป็ น Social Bookmark แต่วา่ ท่ีจริงแลว้ มนั เป็น คนส่วนใหญ่ใช้ Twitter เพื่อ Post Link เน้ือหา และรูปภาพที่ตอ้ งการกลบั มาดูอีกคร้ัง Twitter เป็น Platform ท่ียอดเยย่ี มสาหรับการ Share Link และการมีส่วนร่วมกบั ผทู้ ี่เขา้ มาดู Pinterest จนถึงเดือนกนั ยายน 2018 Pinterest มีผูใ้ ชง้ านโดยเฉล่ีย 250 ลา้ นคน และประมาณ 80% ของ ผใู้ ชท้ ้งั หมดจะเป็นผหู้ ญิง Facebook แทบจะไม่มีใครท่ีไม่รู้จัก Facebook คุณสามารถ Share ข้อความ รูปภาพต่าง ๆ นับได้ว่า Facebook เป็น Social Bookmark ท่ีง่ายต่อการใชส้ าหรับทกุ คน นอกจากน้ีก็ยงั มี Social Bookmark อ่ืน ๆ อีกมากมายที่คุณสามารถสืบคน้ ได้ Mashups ไดข้ ยายไอเดียของ Social Bookmarking โดยใหน้ กั เรียนได้ รวบรวม ผสม และ Remix แหล่งและขอมูล Online ให้มีโครงสร้างมากข้ึนในการสร้างการตีความหรือความหมายใหม่ รูปแบบใหม่ 10

TECHNOLOGIES FOR BLENDED LEARNING ของโครงสร้างเหล่าน้ีอาจรวมถึงการทาแผนท่ีความรู้ Historical Timeline หรือการสร้างภาพขอ้ มูล และ สามารถเป็ นเคร่ืองมือท่ีมีประสิทธิภาพสาหรับการพฒั นาทกั ษะในการคน้ ควา้ ของนักเรียน ตวั อย่างเช่น Wordle (www.wordle.net) Web บริการในการสร้าง Word Clouds หรือ Word Art (https://wordart.com/) ตวั อยา่ งของ Word Cloud Digital Storytelling สามารถเป็ นส่วนที่ช่วยขยาย หรือเติมเตม็ ของ Mashups จากการใช้ Digital Storytelling นกั เรียนจะไดผ้ สมผสานรูปแบบของ Media ที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็ น Text ภาพ วีดีโอ เสียง แผนที่ และขอ้ มูลต่างๆ เพื่อสร้างเรื่องราวออกมา Storytelling สามารถที่จะเป็ นวิธีท่ีทรงพลงั สาหรับ นกั เรียนในการสารวจ และแสดงประสบการณ์ส่วนตวั ขณะเดียวกนั Collaborative Storytelling สามารถ เป็ นพ้ืนฐานของการทาโครงงานวิจยั แบบกลุ่ม รวมถึงการเรียนรู้แบบเชื่อมโยง (Constructivist Learning) ภายใตม้ มุ มองท่ีหลากหลาย 8 Steps to Great Digital Storytelling 11

TECHNOLOGIES FOR BLENDED LEARNING 1. Start with an Idea: เรื่องราวท้งั หมดเร่ิมตน้ ดว้ ย Idea และ Digital Stories ก็ไม่ต่างกนั Idea น้ี อาจเป็นหวั ขอ้ ของบทเรียน หวั เรื่องในหนงั สือเรียน หรือคาถามท่ีถามในช้นั เรียน Digital stories อาจจะเป็น นิยาย หรือสารคดี เม่ือคุณหรือนกั เรียนมี Idea แลว้ ทาใหเ้ ป็นรูปธรรมโดยการเขียนเคา้ โครง กาหนดยอ่ หนา้ วาด Mind Map หรือใชเ้ ครื่องมือก่อนการเขียนอ่ืนๆ 2. Research/Explore/Learn: ไม่วา่ จะเป็นการเขียนนิยายหรือสารคดี นกั เรียนจาเป็นตอ้ งคน้ ควา้ สารวจ หรือเรียนรู้เก่ียวกบั หัวขอ้ น้นั ๆ เพื่อสร้างฐานขอ้ มูลที่จะสร้างเรื่องราว ในระหว่างกระบวนการน้ี นกั เรียนจะไดเ้ รียนรู้ท้งั เกี่ยวกบั การตรวจสอบความถูกตอ้ งของขอ้ มูลและความเอนเอียงของขอ้ มูลขณะท่ี พวกเขาเจาะลึกเขา้ ไปในหวั ขอ้ 3. Write/Script: มีคาแนะนาอยู่ 2 ข้นั ตอนก่อนการเขียนคือ หากว่านักเรียนมีเคา้ โครงแล้ว นักเรียนสามารถดดั แปลงเล็กน้อยให้กลายเป็ นความนา (Introduction) ได้ สอง หากนักเรียนได้ทาการ สารวจและคน้ ควา้ หัวขอ้ เป็ นอย่างดีแลว้ เน้ือหาหลกั ของ Script ก็ควรถูกจบั มาต่อกนั เหมือนกบั Jigsaw Puzzle ช้ินส่วนมีอยแู่ ลว้ นกั เรียนเพยี งแค่ตอ้ งทาใหพ้ อดี 4. Storyboard/Plan: เรื่ องราวที่ดี เริ่ มต้นจาก Script ท่ีดี แต่มันก็ไม่ใช่แค่น้ัน น่ีคือจุดท่ีรา เปล่ียนไปเป็ น Visual Media Literacies คร้ังหน่ึง George Lucas (ผูก้ ากบั ภาพยนตร์เรื่อง Star Wars) เคย กล่าววา่ “ถา้ คนเราไม่ไดร้ ับการสอนภาษาของเสียงและภาพ ควรจะถือวา่ พวกเขาไมร่ ู้หนงั สือราวกบั วา่ พวก เขาจบออกจากวิทยาลยั โดยท่ีไม่สามารถอ่านหรือเขียนไดห้ รือไม่” Storyboarding เป็ นกา้ วแรกสู่การทา ความเขา้ ใจเสียงและภาพ เป็ นแผนหรือพิมพเ์ ขียวที่จะเป็ นแนวทางในการตดั สินใจเกี่ยวกบั ภาพ วิดีโอ และ เสียง Storyboard ที่เรียบง่ายจะมีที่ว่างสาหรับรูปภาพ/วิดีโอและ Script ในข้นั ที่สูงข้ึนอาจรวมถึงพ้ืนท่ี สาหรับการแกไ้ ขรวมไปถึงเพลงประกอบ 5. Gather and Create Images, Audio and Video: น่ีแหละคือ “สิ่ง” ที่ทาให้เกิดเวทมนตร์และ การเขียนมีชีวิตชีวาข้ึน การใช้ Storyboard เป็นแนวทาง นกั เรียนจะสามารถ รวบรวม (หรือสร้าง) รูปภาพ เสียง และวิดีโอ ทุกสิ่งที่พวกเขาเลือกจะส่งผลต่อ Digital Stories ของพวกเขา นาเสนอ Concept เช่น ลาดบั ภาพ โทนเสียง และภาพประกอบ และน่ีก็เป็ นเวลาท่ีดีในการพูดคุยเกี่ยวกบั ลิขสิทธ์ิ รวมถึงการใชง้ านท่ี เหมาะสม ดว้ ยข้นั ตอนน้ี พวกเขาจะตระหนกั รู้ถึงขอ้ ผิดพลาดและการใชค้ าที่ผดิ 12

TECHNOLOGIES FOR BLENDED LEARNING 6. Put It All Together: น่ีคือท่ีที่เวทยม์ นตร์เกิดข้ึน ท่ีซ่ึงนักเรียนจะคน้ พบว่า Storyboard ของ พวกเขาตอ้ งการการปรับแตง่ หรือไม่ และมีทกุ อยา่ งมากพอท่ีจะสร้างสรรคผ์ ลงานช้ินเอกหรือไม่ คุณจะเห็น นกั เรียนทบทวนและแกไ้ ข Storyboard ของพวกเขา พวกเขาจะหาวิธีใส่เทคโนโลยีและเครื่องมือจนเหนือ ความคาดหมายของคุณ เช่น การผสมผสานภาพ การสร้างคลิปวิดีโอท่ีไม่เหมือนใคร การผสมผสานดนตรี หรือเอฟเฟกตเ์ สียง 7. Share: Share ผลงานของนกั เรียน Online การรู้ว่าคนอ่ืนอาจเห็นงานของพวกเขามกั จะเพิ่ม แรงจูงใจของนกั เรียนเพ่อื ใหพ้ วกเขาทางานใหด้ ีท่ีสุดเท่าท่ีจะทาได้ 8. Reflection and Feedback: บ่อยคร้ังในการจดั การศึกษาที่เราไม่ไดใ้ หโ้ อกาสในการ Feedback วา่ พวกเขาไดเ้ รียนรู้อะไรบา้ ง นกั เรียนรู้อะไรเกี่ยวกบั ตวั เองที่นกั เรียนไม่เคยรู้มาก่อน นกั เรียนจะทาผลงาน ให้ดีข้ึนกว่าที่ผ่านมาอยา่ งไร นกั เรียนตอ้ งไดร้ ับการสอนวิธี Feedback งานของตนเองและใหข้ อ้ เสนอแนะ แก่ผูอ้ ื่นอย่างสร้างสรรค์และมีคุณค่า Blogs, Wikis Discussion Boards และระบบตอบกลบั ของนักเรียน หรือ Poll สามารถใชเ้ พ่ือช่วยนกั เรียนในข้นั ตอนน้ี Simulations, Serious Games and Virtual Worlds Simulations, Serious Games และ Virtual Worlds เป็ นเทคโนโลยีทางการศึกษาท่ีสู งข้ึน Simulations อยา่ งงา่ ยมกั จะถูกรวมเขา้ กบั Blended Learning ในลกั ษณะของแหล่งขอ้ มูลทางการศึกษาแบบ เปิ ดเพ่ือช่วยแสดงวิธีทางคณิตศาสตร์ แนวคิดทางเทคนิคหรือวิทยาศาสตร์ Website ท่ีช่วยทาเช่น Khan Academy (https://www.khanacademy.org) ในขณะที่ Simulations เร่ิ มจะมีความซับซ้อนเพ่ิมมากข้ึน นกั เรียนกเ็ ริ่มท่ีจะไปมองหา Serious Games ที่ถกู มองวา่ ค่อนขา้ งจะ “เครียด” แตก่ ย็ งั มีความสนุกแฝงอยู่ ยง่ิ เมื่อมนั ถกู แฝงไวด้ ว้ ยวตั ถุประสงคข์ องการเรียนรู้ ให้นกั เรียนไดส้ ารวจปัญหาของสภาพแวดลอ้ ม ในขณะท่ี นกั เรียนเลน่ เป็นคนวางแผนในการพฒั นาเมืองเป็นตน้ Serious Games บาง Game จะใหน้ กั เรียนจาลองการบินในรูปแบบสามมิติ หรือแมก้ ระทงั่ จาลอง การผ่าตดั สิ่งเหล่าน้ีจะนานกั เรียนเขา้ สู่โลกเสมือนจริง (Virtual World) นอกจากน้ีแลว้ ยงั มีเทคโนโลยีใหม่ ๆ อีกมากมายที่ครูสามารถนาไปผูกกับ Blended Learning และนานักเรียนเข้าสู่ Virtual Worlds เพ่ือไป 13

TECHNOLOGIES FOR BLENDED LEARNING เรียนรู้เร่ืองราวต่าง ๆ อย่างเช่น นานักเรียนไปทัศนศึกษา (Virtual Field Trips) ที่สวนสัตว์ San Diego (https://sdzwildlifeexplorers.org/index.php/animals) ซ่ึงทางสวนสตั วจ์ ะมี Live Cam อยู่ E-Portfolios Electronic Portfolios หรือ E-Portfolios เป็ นการสะสมงานเขียน เอกสาร ผลงาน หรือแมก้ ระทงั่ ผลงานศิลปะของนักเรียนท่ีนักเรียนทาดว้ ยตนเองเป็ นรายบุคคลท่ีแสดงให้เห็นถึงการเรียนรู้ที่ผ่านมาใน Course หรือ Program น้ัน ๆ ถึงแมว้ ่าหลายฝ่ ายมองว่ามนั เป็ นส่วนหน่ึงของการประเมินทกั ษะและการ เรียนรู้ แต่ E-Portfolios ก็ยงั เป็ นส่วนสาคญั ในการพฒั นาดา้ นต่าง ๆ ของนักเรียน ให้นักเรียนไดเ้ ห็นถึง ความกา้ วหน้าในการเรียนรู้ Google Sites และ Mahara (https://mahara.org) เป็ น Open-Source ของระบบ E-Portfolio ที่ครูสามารถแนะนานกั เรียนให้ใชไ้ ด้ การทา E-Portfolio งา่ ย ๆ ดว้ ย Google Sites: 14

TECHNOLOGIES FOR BLENDED LEARNING 1. พิมพ์ Google Sites ใน Search Engine Toolbar ถา้ ยงั ไม่ได้ sign in ให้ sign in เขา้ ระบบดว้ ย Google Account จะข้ึนหนา้ น้ีข้ึนมา 2. จะเห็นกลอ่ งท่ีเขียนวา่ Portfolio ใหค้ ลิ๊กเขา้ ไป จะข้ึนหนา้ Portfolio ใหเ้ ราปรับแต่ง 3. ท่ีเหลือกป็ รับแต่ง แทรกงานและผลงานตา่ ง ๆ 15

TECHNOLOGIES FOR BLENDED LEARNING


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook