Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ppt-w2 วิชานวัตกรรมฯ-ป.บัณฑิต(27พค.66)

ppt-w2 วิชานวัตกรรมฯ-ป.บัณฑิต(27พค.66)

Published by Guset User, 2023-06-17 13:06:47

Description: ppt-w2 วิชานวัตกรรมฯ-ป.บัณฑิต(27พค.66)

Search

Read the Text Version

หมู่1









หมู่2









Inn“oนvวตaั กtรioรมn”

Work in the metaverse: https://youtu.be/uVEALvpoiMQ

“นวตั กรรม”INNOVATION คอื อะไร???

“นวตั กรรม” เป็ นคำทม่ี รี ำกศัพทม์ ำจำก ภำษำลำตนิ ว่ำ Innovare แปลว่ำ to renew หรือ to modify

คำจำกัดควำม : นักวิชำกำรศึกษำ ทอมัส ฮวิ ช์ มอรต์ ัน (Morton, J.A.) ไชยยศ เรืองสุวรรณ (Thomas Hughes) “กำรทำให้ใหม่ขึน้ อีกครั้ง (Renewal) “วธิ ีการปฏิบตั ใิ หม่ ๆ ท่ีแปลกไปจาก “เป็นการนาวธิ ีการใหม่ ๆ มาปฏิบตั ิหลงั จาก ซง่ึ หมายถึงการปรบั ปรุงของเก่า และการ เดิม จากการคิดค้นพบวิธีกำรใหม่ ไดผ้ ่านการทดลองหรือไดร้ บั การพฒั นามา พัฒนาศกั ยภาพของบุคลากร ตลอดจน ๆ ขึ้นมำ หรือกำรปรุงแต่งของ เป็นขนั้ ๆ แลว้ โดยเร่มิ มาตั้งแต่กำรคิดค้น หน่วยงาน หรือองคก์ ารนนั้ ๆ นวตั กรรม เก่ำให้ใหม่เหมำะสม และส่ิง (Invention) พัฒนำกำร (Development) ไม่ใช่การขจดั หรือลม้ ลา้ งส่ิงเก่าใหห้ มด ทั้ง ห ล า ย เ ห ล่ า นี ้ไ ด้รับ ก า ร ท ด ล อ ง ซ่ึงอำจจะเป็ นไปในรูปของโครงกำร ไป แต่เป็นการปรับปรุงเสริมแต่ง และ พฒั นามาจนเป็นท่ีเช่ือถือไดแ้ ลว้ ว่า ทดลองปฏบิ ัตกิ ่อน (Pilot Project) แลว้ พฒั นาเพ่ือความอยรู่ อดของระบบ” ได้ผลดีในทางปฏิบัติ ทาให้ระบบ จึงนาไปปฏิบัติจริง ซ่ึงมีความแตกต่างไป กา้ วไปส่จู ดุ หมายปลายทางไดอ้ ย่าง จากการปฏิบัติเดิมท่ีเคยปฏิบัติมา และ มีประสิทธิภาพมากขนึ้ ” เรยี กว่า นวตั กรรม (Innovation)”

“นวตั กรรม” คำจำกดั ควำมของตวั เอง

“นวตั กรรม”ทำไมตอ้ งม.ี..

“นวตั กรรม” INNOVATION นึกถงึ อะไร?

“นวตั กรรม”ทำไมนึกถงึ ไฮเทคตอ้ งนึกถงึ ทเี่ ป็ น



นึกถงึ อะไร???

Gaming in the metaverse : https://youtu.be/5FwztKGQmd8





“มองง่ำยๆ นวตั กรรม?? INNOVATION แบ่งไดเ้ ป็ น 3 สว่ น คอื PRODUCT INNOVATION ?? PROCESS INNOVATION ?? SERVICE INNOVATION ??

“นวตั กรรมการศกึ ษา” EDUCATION INNOVATION คอื อะไร? นึกถงึ อะไร???

\"น(EdวucัตatกionรalรInมnoกvaาtiรonศ)ึกษา” หมายถึง นวตั กรรมท่ีจะช่วยให้ ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น มี ประสิทธิภาพดียิ่งข้ึน ผูเ้ รียนสามารถเกิดการ เรียนรู้อยา่ งรวดเร็วมีประสิทธิผลสูงกว่าเดิม เกิดแรงจูงใจในการเรี ยนด้วยนวัตกรรม การศึกษา และประหยดั เวลาในการเรียนได้ อีกดว้ ย

แนวคดิ พนื้ ฐานทสี่ ง่ ผลตอ่ นวตั กรรมการศกึ ษา ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล ความพรอ้ ม การใชเ้ วลาเพื่อการศกึ ษา การขยายตวั ทางวิชาการ และการเปลี่ยนแปลงของสงั คม

ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล การเรยี นแบบไมแ่ บง่ ชนั้ (Non-Graded School) นวัตกรรมทเี่ กดิ ขึน้ ไดแ้ ก่ แบบเรยี นสาเรจ็ รูป (Programmed Text Book) เครอ่ื งสอน (Teaching Machine) แผนการศึกษาของชาติ ใหม้ ่งุ จดั การศึกษา การสอนเป็นคณะ (Team Teaching) ตามความถนดั ความสนใจ และความสามารถของแต่ การจดั โรงเรยี นในโรงเรยี น (School within School) ละคนเป็นเกณฑ์ เช่น การจัดระบบหอ้ งเรียนโดยใช้ คอมพิวเตอรช์ ่วยสอน (Computer Assisted อายเุ ป็นเกณฑ์ หรอื ใชค้ วามสามารถเป็นเกณฑ์ Instruction)

ความพรอ้ ม ศนู ยก์ ารเรยี น (Learning Center) นวัตกรรมทเี่ กดิ ขนึ้ ไดแ้ ก่ การจดั โรงเรยี นในโรงเรยี น (School within School) ความพรอ้ มในการเรียนเป็นส่ิงท่ีสรา้ ง การปรบั ปรุงการสอนสามชนั้ (Instructional ขึน้ ได้ ถา้ หากสามารถจดั บทเรียนใหพ้ อเหมาะ Development in 3 Phases) กบั ระดบั ความสามารถของเด็กแต่ละคน วิชาท่ี เคยเช่ือว่ายาก และไม่เหมาะสมสาหรบั เด็กเล็ก ก็สามารถนามาใหศ้ กึ ษาได้

การใชเ้ วลาเพอื่ การศกึ ษา การจดั ตารางสอนแบบยืดหยนุ่ (Flexible นวตั กรรมทเี่ กดิ ขนึ้ ไดแ้ ก่ Scheduling) มหาวิทยาลยั เปิด (Open University) กา ร จัด เป็ นหน่วยเว ลา สอ นใ ห้สัมพันธ์กั บ แบบเรยี นสาเรจ็ รูป (Programmed Text Book) ลกั ษณะของแตล่ ะวิชา ซง่ึ จะใชเ้ วลาไม่เท่ากนั บางวิชา การเรยี นทางไปรษณีย์ อาจใชช้ ่วงสนั้ ๆ แต่สอนบ่อยครงั้ การเรียนก็ไม่จากดั อยแู่ ตเ่ ฉพาะในโรงเรยี นเท่านนั้

การขยายตวั ทางวชิ าการ มหาวทิ ยาลยั เปิด และการเปลยี่ นแปลงของสงั คม การเรยี นทางวิทยุ การเรยี นทางโทรทศั น์ การเรยี นทางไปรษณีย์ แบบเรยี นสาเรจ็ รูป นวัตกรรมทเ่ี กดิ ขนึ้ ไดแ้ ก่ ชดุ การเรยี น สิ่งต่าง ๆ ท่ีคนจะต้องเรียนรู้เพ่ิมขึน้ มาก จึงจาเป็ นต้องแสวงหาวิธีการใหม่ท่ีมี ประสิทธิภาพสงู ขึน้ ทงั้ ในดา้ นปัจจยั เก่ียวกบั ตวั ผเู้ รยี น และปัจจยั ภายนอก

“นวตั กรรม”“สรุป นวตั กรรม หมายถึง การนาความคิด วิธีการใหม่ๆ หรือ การ สร้างวสั ดุอุปกรณ์ การปฏิบตั ิ ส่ิงประดิษฐ์ใหม่ ๆ ท่ียังไม่เคยมีใช้มาก่อน หรื อ เป็ นการพัฒนา ดัดแปลงมาจากของเดิมที่มีอยู่แล้ว สามารถ แกป้ ัญหาและใชไ้ ดผ้ ลดียง่ิ ข้ึน

ในปัจจุบนั มีการใชน้ วัตกรรมการศึกษามากมาย หลายอยา่ ง ซ่ึงมีท้งั นวตั กรรมท่ีใชก้ นั อยา่ งแพร่หลายแลว้ และประเภทที่กาลงั เผยแพร่ เชน่ การเรยี นการสอนทใ่ี ชค้ อมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน (Computer Aids Instruction) การใช้แผ่นวีดทิ ศั นเ์ ชิงโต้ตอบ (Interactive Video) สือ่ หลายมิติ ( Hypermedia ) และอินเทอร์เน็ต [Internet] เหลา่ นี้ เปน็ ตน้

ทาไมตอ้ งมนี วัตกรรม?? INNOVATION เพอ่ื แนวความคิดใหม่หรือการใชป้ ระโยชนจ์ ากสิ่งท่ีมีอยแู่ ลว้ มา ใชใ้ นรูปแบบใหม่ในหน่วยงานการศึกษา หรือองค์กร เพ่ือการทางานน้นั ๆ ได้ผลดมี ปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผลสูง กวา่ เดิมท้งั ยงั ช่วยประหยดั เวลาและแรงงาน เพอื่ ถ่ายทอดไปสู่แนวความคิดใหม่ท่ีทาให้ เกดิ ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม หรือ ในเชิงพาณิชย์ ฯลฯ

น วั ตข้นั กตอรนการรเกมิด INNOVATION ในการดาเนินงานมีกระบวนการหรือข้นั ตอนในการเกิดดงั น้ี 1. ข้นั การเกิดปัญหาหรือความตอ้ งการและการรวบรวมขอ้ มูล 2. ข้นั การประดิษฐค์ ิดคน้ เป็นข้นั การหาแนวทางในการแกป้ ัญหา อุปสรรคท่ีเกิดข้ึน 3. ข้นั การพฒั นาหรือทดลอง เป็นข้นั การนาเอากระบวนการ วธิ ีการ หรือส่ิงประดิษฐท์ ่ีสร้างข้ึนมาทาการพฒั นาดว้ ยการทดลองหรือวิจยั เพอื่ ปรับปรุงขอ้ บกพร่อง 4. ข้นั การนาไปใชจ้ ริง

ขอ้ สงั เกตเก่ียวกบั ส่ิงท่ีเป็น “นวตั กรรม” 1. เป็ นความคิดหรือการกระทาอย่างใดอย่างหน่ึงท่ีคิด ประดิษฐ์ข้ึนเองหรือนามาจากท่ีอ่ืนซ่ึงอาจนามาท้งั หมด หรือเป็ นเพียงบางส่วนเพื่อปรับปรุงดดั งานเดิมท่ีเคยมีมา ก่อนแลว้ ใหด้ ีข้ึน 2. ความคิดหรือการกระทาน้ันมีการพิสูจน์ดว้ ยการวิจยั การทดลองใชม้ าก่อนและเมื่อนามาใชแ้ ลว้ สามารถช่วย แกป้ ัญหาในการดาเนินงานใหม้ ีประสิทธิภาพสูงข้ึน

ขอ้ สงั เกตเก่ียวกบั ส่ิงท่ีเป็น “นวตั กรรม” 3. มีการนาวธิ ีระบบมาใชอ้ ยา่ งชดั เจน โดยพจิ ารณา องคป์ ระกอบท้งั 3 ส่วน คือ ขอ้ มูลที่ใส่เขา้ ไป (input) กระบวนการ (process) และผลลพั ธ์ (output) สามารถตรวจสอบผลยอ้ นกลบั (feedback) ได้ 4. ความคิดหรือการกระทาใหม่ ๆ จะยงั ไม่เป็นส่วน หน่ึงของระบบงานปัจจุบนั ตอ้ งมีความเป็นอิสระในตวั มนั เองเสมอจะถูกนามาใชห้ รือไม่กไ็ ด้

ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งนวตั กรรมกบั เทคโนโลยี นวัตกรรมและเทคโนโลยี มีเป้าหมายท่ีแน่นอนเป็ น อย่างเดียวกันคือ ทาให้การดาเนินงานเป็ นไปอย่างมี ประสทิ ธิภาพ โดยสงิ่ ท่ีเป็นนวตั กรรมจะถกู นามาใชก้ ่อนจนกวา่ จะไดผ้ ลดีและเม่ือนวตั กรรมหรอื ความคิดหรอื การ กระทาใหม่ ๆ นั้นถูกกาหนดให้เป็นส่วนหน่ึงของระบบงาน ปัจจบุ นั นวัตกรรมนั้นก็จะกลายเป็ นเทคโนโลยี ขึน้ มาทันที

เทคโนโลแยที จ้เปร็นงิ ศแาลส้วต..รแ์ หง่ “วธิ กี าร” มิไดเ้ ป็นศาสตรแ์ หง่ เครอ่ื งมือ เพียงอยา่ งเดียว

เทคโนโลยี นวตั กรรม เป้าหมายที่แน่นอน

เทคโนโลยี นวตั กรรม

เร่ือง นวตั กรรม มันเปลยี่ นไปทุกขณะ ทุกเวลา อย่าวง่ิ ตาม !! เพราะมนั ไม่มีท่ี สิ้นสุด”

นวตั กรรม/กบั เทคโนโลยี ไม่ใช่เป็ นตัวการันตี ในการเรียนรู้ ในเรื่องของความสาเร็จ” ลงทุนมหาศาล ถ้าเด็กไม่เกดิ การเข้าเรียนรู้ คนกอ็ าจจะไม่สาเร็จกไ็ ด้ ขึน้ อยู่กบั “ ”เป็ นหลกั ใช้อย่างมเี ป้าหมาย ใช้อย่างมแี ผน ลองคิดดู

หากพดู ถึง คาวา่ “เทคโนโลย”ี TECHNOLOGY มักนึกถงึ อะไรที่ “ไฮเทค” ด้าน “เครื่องมอื ”



iPad

E-Book


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook