การออกแบบการจัดการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ รายวิชา การงานอาชพี พ้ืนฐาน รหสั วิชา ง33101 ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 จดั ทาโดย นายนา่ นมงคล อินดว้ ง ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 ตาบลชา่ งเคง่ิ อาเภอแม่แจ่ม จงั หวัดเชียงใหม่ สานกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สานักงานการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
คาอธบิ ายรายวิชา รายวิชา การงานอาชีพพ้ืนฐาน รหัสวชิ า ง33101 ชั้น. ม.6 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 20 ชัว่ โมง จานวน 0.5 หน่วยกติ คาอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาวธิ ีการทางานช่างเพ่อื การดารงชีวติ มีความรดู้ ้านกระบวนการทางาน ออกแบบงานชา่ งอย่าง สรา้ งสรรค์ ขัน้ ตอนวธิ กี ารปฏิบตั งิ าน งานชา่ ง งานเกษตร ทกั ษะการทางานรว่ มกับผู้อ่ืนการจดั การในการทางาน อย่างมีแบบแผน การใช้ทักษะในการปฏบิ ตั ิงาน การวางแผนการแกป้ ัญหาในการทางาน ปฏิบตั ิงานตามแผน การปรับปรุงและพัฒนางาน ทกั ษะการแสวงหาความรู้เพ่ือการดารงชีวิต การมคี ุณธรรมและลักษณะนสิ ัยในการ ทางาน การใชพ้ ลังงานในการทางานอยา่ งคุ้มค่าและยงั่ ยนื การใช้ทรัพยากรอยา่ งคุม้ ค่า การอนรุ ักษส์ ิ่งแวดลอ้ ม ใชก้ ระบวนการกลุ่ม กระบวนการทางาน การอภปิ รายสรุปผล การนาเสนอผลงาน ด้านกระบวนการ ทางาน ออกแบบงานชา่ งอย่างสรา้ งสรรค์ ข้นั ตอนวธิ ีการปฏิบตั งิ านงานชา่ ง ทักษะการทางานร่วมกับผู้อื่น การ จัดการในการทางานอย่างมแี บบแผน การใชท้ ักษะในการปฏบิ ตั ิงาน การวางแผนการแก้ปญั หาในการทางาน ปฏบิ ัตงิ านตามแผน การปรับปรงุ และพฒั นางาน และทักษะการแสวงหาความรเู้ พ่ือการดารงชวี ติ มคี ณุ ธรรมและลกั ษณะนสิ ัยในการทางาน การใชพ้ ลังงานในการทางานอยา่ งค้มุ คา่ และย่ังยืน การใช้ ทรัพยากรอยา่ งคมุ้ ค่า การอนรุ กั ษส์ ่งิ แวดล้อม มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ง1.1 ม4-6 ๑. อธิบายวิธกี ารทางานเพื่อการดารงชวี ิต ๒. สร้างผลงานอย่างมีความคิด สรา้ งสรรค์ และมที ักษะการทางานร่วมกัน ๓. มีทักษะการจัดการในการทางาน ๔. มที ักษะ กระบวนการแก้ปญั หาในการทางาน ๕ มีทกั ษะในการแสวงหาความรเู้ พื่อการดารงชีวิต ๖. มคี ณุ ธรรมและลกั ษณะนสิ ยั ในการทางาน ๗.ใชพ้ ลังงาน ทรัพยากร ในการทางานอยา่ งคุม้ ค่าและยัง่ ยืนเพ่ือการอนุรักษ์ส่งิ แวดลอ้ ม ง2.1 ม4-6 ๓. สร้างและพัฒนาส่งิ ของเครื่องใชห้ รอื วิธกี าร ตามกระบวนการเทคโนโลยีอยา่ งปลอดภยั โดย ถา่ ยทอดความคดิ เปน็ ภาพฉายและแบบจาลองเพ่ือนาไปสู่การสรา้ งช้นิ งาน หรอื ถ่ายทอดความคิดของวิธกี าร เป็น แบบจาลองความคิดและการรายงานผลโดยใชซ้ อฟแวรช์ ่วยในการออกแบบหรือนาเสนอผลงาน ๔. มีความคดิ สร้างสรรค์ใน การแก้ปัญหาหรอื สนองความตอ้ งการในงานท่ผี ลิตเองหรือ การพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ท่ีผู้อ่ืนผลิต ง4.1ม4-6 ๑. อภิปรายแนวทางสอู่ าชพี ทีส่ นใจ ๒. เลือกและใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างเหมาะสมกบั อาชีพ ๓. มีประสบการณใ์ นอาชีพท่ถี นัดและสนใจ ๔. มีคณุ ลกั ษณะทด่ี ตี ่ออาชพี รวมท้ังหมด ๓ ตวั ชีว้ ัด
ผงั มโนทัศน์ รายวชิ า การงานอาชีพ รหสั วิชา ง33101 ชั้น. ม.6 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 256๔ หนว่ ยที่ ๑ หน่วยที่ ๒ การเกษตรกับการพัฒนาเศรษฐกจิ ไทย การประกอบธุรกิจการเกษตร จานวน ๒ ชัว่ โมง : ๑0 คะแนน จานวน ๘ ชว่ั โมง : ๒0 คะแนน รายวชิ า การงานอาชพี พ้นื ฐาน ช้ัน. ม.6 จานวน ๒0 ชว่ั โมง หน่วยท่ี ๔ หน่วยที่ ๓ การจัดการเกษตรแบบประหยดั การจดั การผลผลติ สินค้าเกษตร จานวน ๔ ชวั่ โมง : ๒0 คะแนน จานวน ๖ ชว่ั โมง : ๑0 คะแนน
ผังมโนทศั น์ รายวิชา การงานอาชีพ รหสั วิชา ง33101 ชัน้ . ม.6 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 เรอื่ ง การเกษตรกับการพัฒนาเศรษฐกจิ ของไทย จานวน ๒ ชั่วโมง : ๑0 คะแนน ชือ่ เร่อื ง ความสาคัญของการเกษตรกับการพัฒนาประเทศ จานวน ๑ ช่ัวโมง : 5 คะแนน หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 เร่ือง การเกษตรกับการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย จานวน ๕ ช่ัวโมง ชอ่ื เรอ่ื ง ชือ่ เร่ือง แนวทางการทาการเกษตร การจาแนกประเภทของการเกษตร ตามแนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และการส่งเสรมิ การเกษตร จานวน ๐.๕ ชวั่ โมง : ๓ คะแนน จานวน ๐.๕ ช่ัวโมง : ๒ คะแนน
แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรือ่ ง การเกษตรกบั การพฒั นาเศรษฐกจิ ของไทย แผนจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรอ่ื ง การเกษตรกับการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย รายวชิ า การงานอาชีพพนื้ ฐาน รหสั วชิ า ง33101 ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 256๔ นา้ หนักเวลาเรียน ๐.๕ (นน./นก.) เวลาเรียน ๒0 ช่วั โมง/สัปดาห์ เวลาทใี่ ชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ๒ ช่ัวโมง ............................................................................................................................. ............................. 1. สาระสาคัญ (ความเขา้ ใจท่ีคงทน) การเกษตรมีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศดังน้ี 1.เป็นอาชีพหลักของคนไทย 2.การเกษตรเป็น แหล่งวัตถุดิบผลิตปัจจัยส่ีเพ่ือการดารงชีวิต 3.การเกษตรเป็นแหล่งวัตถุดิบป้อนโรงงานอุตสาหกรรม 4. การเกษตรส่งเสริมเศรษฐกิจภาคบริการ 5.การเกษตรเป็นปจั จัยส่งเสรมิ ความมัน่ คงของประเทศ 2. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวช้ีวัดชัน้ ปี/ผลการเรียนรู้/เปา้ หมายการเรยี นรู้ ง1.1 ม4-6 ๑. อธิบายวิธีการทางานเพ่ือการดารงชวี ิต ๒. สร้างผลงานอยา่ งมีความคิด สรา้ งสรรค์ และมีทักษะการทางานรว่ มกัน ๓. มีทักษะการจดั การในการทางาน ๔. มที ักษะ กระบวนการแก้ปญั หาในการทางาน ๕ มที กั ษะในการแสวงหาความรู้เพื่อการดารงชวี ติ ๖. มคี ุณธรรมและลกั ษณะนสิ ัยในการทางาน ๗. ใช้พลังงาน ทรัพยากร ในการทางานอยา่ งคุ้มค่าและย่ังยนื เพอื่ การอนุรักษ์สง่ิ แวดล้อม 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 เน้อื หาสาระหลกั : Knowledge ๑. ความสาคัญของการเกษตรกับการพัฒนาประเทศ ๒. แนวทางการทาการเกษตรตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๓. การจาแนกประเภทของการเกษตรและการสง่ เสริมการเกษตร 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process ๑. อธบิ ายความสาคัญของการเกษตรกับการพฒั นาประเทศได้ ๒. อธิบายแนวทางการทาการเกษตรตามแนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและการสง่ เสริม การเกษตรของรฐั บาลได้ ๓. จาแนกประเภทของการเกษตรเพ่ือพัฒนาเศรษฐกจิ ได้ ๔. เหน็ ความสาคัญของการเกษตรท่ีมีต่อการพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศ 3.3 คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ : Attitude 1. มีวินยั 2. มคี วามรับผิดชอบ 3. ตรงตอ่ เวลา 4. มงุ่ ม่ันในการเรยี น
4. สมรรถนะสาคญั ของนกั เรยี น 1 ความสามารถในการคดิ 2 ความสามารถในการแก้ปญั หา 3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 5. คณุ ลกั ษณะของวิชา 1.ความรบั ผดิ ชอบ 2.ตรงตอ่ เวลา 6. คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ 1. ซอื่ สัตยส์ จุ รติ 2. มวี นิ ัย 3. ใฝเ่ รยี นรู้ 4. มงุ่ มัน่ ในการทางาน 7. ชน้ิ งาน/ภาระงาน : - ใบกจิ กรรมท่ี 1 เร่อื ง การเกษตรกบั การพัฒนาเศรษฐกจิ ของไทย - ใบงานท่ี 1.1 เรือ่ ง ความสาคญั ของการเกษตรกับการพฒั นาประเทศ 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชัว่ โมงท่ี 1-๒ (ความสามารถในการวิเคราะห/์ ใฝ่เรยี นร้/ู เทคนคิ การสบื คน้ ) - ข้นั นาเขา้ สูบ่ ทเรียน/ขนั้ ตั้งคาถาม 1. ทักทายนกั เรยี นก่อนเรียน 2. เช็ดช่อื นักเรียนก่อนเข้าสู่บทเรยี น ข้ันสอน 1. ทาความเข้าใจและช้ีแจงสาระการเรียนรใู้ หน้ กั เรียนทราบในหนว่ ยการเรียนรเู้ รือ่ งการเกษตรกบั การ พัฒนาเศรษฐกิจของไทย ครอู ธบิ ายเก่ียวกับการแนวทางการทาการเกษตรตามแนวคดิ ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ครูให้นกั เรียนจดบันทกึ ตามทค่ี รูอธบิ าย 2. ครูให้นกั เรยี นทาใบงาน เร่อื งการแนวทางการทาการเกษตรตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 3. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนทารายงาน เรือ่ ง แนวทางการทาการเกษตรตามแนวคิดปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง ๔. ครมู อบหมายให้นักเรยี นไปศกึ ษาค้นคว้าเพ่มิ เติมเกี่ยวกับการส่งเสริมการเกษตรของรัฐบาล ขนั้ สรุป ๑. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั สรปุ เน้ือหาทเ่ี รยี นมา ๒. ครนู ดั หมายการเรียนครัง้ ต่อไป ชว่ั โมงท่ี 3 (ความสามารถในการวิเคราะห์/ใฝเ่ รยี นรู้/ช่วยกนั คิดช่วยกันเรียน) - ข้ันนาเข้าสบู่ ทเรยี น/ข้นั ต้ังคาถาม 1. ทักทายนักเรยี นก่อนเรยี น 2. เชด็ ชื่อนกั เรยี นก่อนเข้าสู่บทเรยี น
ข้ันสอน 1. ครแู ละนักเรียนทบทวนบทเรียนท่ผี า่ นมา 2. ครูใหน้ กั เรียนมาแลกเปลย่ี นเรยี นร้เู นอื้ หาที่ครูมอบหมายในสปั ดาหท์ ผ่ี า่ นมา 3. ครอู ธบิ ายเกย่ี วกับการจาแนกประเภทของการเกษตรและการส่งเสรมิ การเกษตร 4. ครใู หน้ ักเรียนจดบันทกึ ลงในสมดุ 5. ครูให้นักเรียนทาใบงานเรือ่ งความสาคญั ของการเกษตรทมี่ ตี อ่ การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ข้นั สรปุ 6. ครูและนักเรียนรว่ มกนั สรุปเนื้อหาที่เรยี นมา 7. ครูนดั หมายการเรียนคร้ังต่อไป 9. สื่อการเรยี นการสอน / แหลง่ เรยี นรู้ รายการสอ่ื จานวน สภาพการใชส้ ่อื 1 ชุด ขั้นตรวจสอบความรู้เดิม 1. สื่อการเรยี น ตรวจหาคาตอบ และรูปภาพ 2. ใบงาน 1.1 เรื่อง การเกษตรกบั การพฒั นาเศรษฐกิจของ 30 ชุด สืบค้นข้อมลู ไทย 3. ห้องสมดุ 10. การวดั ผลและประเมนิ ผล เป้าหมาย หลักฐานการเรยี นรู้ วิธวี ดั เครื่องมอื วัดฯ ประเดน็ / การเรยี นรู้ ชน้ิ งาน/ภาระงาน -ความถูกต้อง เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ความเขา้ ใจและ 1. มเี นอื้ หาสาระครบถ้วน ๑. อธิบาย ใบความรู้ ความถกู ตอ้ ง สมบูรณ์ ความสาคัญของ ใบงาน 9-10 คะแนน การเกษตรกบั การ 2.มเี นอ้ื หาสาระค่อนข้าง พัฒนาประเทศได้ ครบถว้ น ๒. อธบิ ายแนวทาง 7-8 คะแนน การทาการเกษตร 3.มีเน้อื หาสาระไมค่ รบถว้ น ตามแนวคดิ ปรชั ญา แต่ภาพรวมของสาระทั้งหมด ของเศรษฐกจิ อยใู่ นเกณฑป์ านกลาง 5-6 พอเพียงและการ คะแนน ส่งเสรมิ การเกษตร 4. มีเนือ้ หาสาระไมค่ รบถว้ น ของรัฐบาลได้ แต่ภาพรวมของสาระท้งั หมด ๓. จาแนกประเภท อยู่ในเกณฑ์ต้องพอใช้ 4-3 ของการเกษตรเพ่ือ คะแนน พฒั นาเศรษฐกิจได้ ๔. เห็นความสาคญั ของการเกษตรทมี่ ี
ตอ่ การพฒั นา 5. มเี น้ือหาเพยี งเล็กนอ้ ยแตภ่ าพ เศรษฐกิจของ รวมของสาระทง้ั หมดอยใู่ นเกณฑ์ ประเทศ ต้องปรบั ปรงุ 2-1 คะแนน 6. ไมม่ เี นอ้ื หาเลย 0 คะแนน ลงชือ่ ..................................................ผสู้ อน (นายนา่ นมงคล อินด้วง) ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย
ใบความรู้ การเกษตรกับการพฒั นาประเทศ การเกษตรมคี วามสาคัญต่อการพฒั นาประเทศดังน้ี 1.เป็นอาชีพหลักของคนไทย 2.การเกษตรเปน็ แหลง่ วัตถุดิบผลิตปจั จยั ส่เี พอื่ การดารงชวี ติ 3.การเกษตรเป็นแหล่งวัตถดุ ิบปอ้ นโรงงานอุตสาหกรรม 4.การเกษตรสง่ เสรมิ เศรษฐกิจภาคบรกิ าร5.การเกษตรเป็นปจั จยั สง่ เสรมิ ความม่ันคงของประเทศ พืชเศรษฐกิจ ความหมายของพชื พชื คือพันธ์ุไม้ทุกชนดิ ท่ีเจริญเติบโตอยูต่ ามภมู ภิ าคตา่ งๆ สามารถดูดซมึ แร่ธาตอุ าหาร น้า และ อากาศ ขยายพันธ์ุเพื่อการดารงอยไู่ ด้ ความสาคญั ของพืช 1) ใชใ้ นการดารงชีวิต 2) เป็นแหล่งพลงั งานความร้อน 3) เปน็ แหลง่ ออกซเิ จน 4) รักษาความสมดลุ ทางธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม 5) เปน็ แนวบงั ลมและคลื่นธรรมชาติ พืชเศรษฐกิจท่สี าคญั ของประเทศไทย แบง่ ออกเปน็ 3 ประเภท คือ 1.พืชไร่ คอื พชื ท่ปี ลกู ได้ดีในไร่นา ทง้ั ทีล่ ุ่มและท่ีดอน เนอื้ ทใี่ นการปลกู ค่อนขา้ งมาก การดูแลรกั ษาไมต่ อ้ ง พถิ ีพิถนั มากนัก อาศยั นา้ ฝนเปน็ หลัก สว่ นมากเป็นพืชฤดเู ดียวแบ่งตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ดงั นี้ 1.ธัญพืช หมายถงึ พชื ท่ใี ชเ้ มลด็ เปน็ อาหาร จาพวกพืชตระกูลหญา้ และพชื ตระกูลถวั่ เชน่ ขา้ วโพด ข้าวฟ่าง ข้าสาลี ข้าวโอ๊ต ข้าวไลน์ ข้าวบาร์เลย์ ถว่ั เขยี ว ถวั่ เหลอื ง ถัว่ ลสิ ง 2.พชื น้าตาล หมายถึง พืชท่ีให้ความหวาน สามารถผลติ น้าตาลได้ 3.พชื น้ามนั หมายถึง พืชท่ีใหผ้ ลผลติ สามารถนาไปสกัดหรือแปรรูปเป็นนา้ มันได้ 4.พืชเส้นใย หมายถึง พชื ท่ใี หเ้ ส้นใย เพื่อใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมสิ่งทอ 5.พชื อาหารสัตว์ หมายถึง พืชที่ปลูกสาหรบั เปน็ อาหารสัตว์ เชน่ หญา้ กนิ ี 6.พชื หวั หมายถึง พชื ทม่ี ลี าตน้ อยใู่ ตด้ ินสะสมอาหาร เชน่ มันสาปะหลงั 7.พชื ออกฤทธ์ิกระตุ้นประสาท ได้แก่ ยาสูบ ชา กาแฟ
2. พชื สวน (Hurticulture) ปลูกในพน้ื ทีข่ นาดใดก็ได้ 1.พชื ผัก พืชท่ใี ช้สว่ นต่างๆเปน็ อาหาร เช่น ลาตน้ ใบ ดอก ลาต้น ราก ผล เมลด็ 2.ไมด้ อกไม้ประดับ พชื ทป่ี ลูกเพ่ือความสวยงาม ตกแตง่ อาคารสถานที่ 3.ไม้ผล คอื ปลกู ผลไม้ เป็นไมย้ ืนต้น อายุการให้ผลผลติ ยาวนาน 3. ป่าไม้ (Forest) หมายถึง พ้นื ท่ที ่มี ตี น้ ไม้ยนื ตน้ นานาพันธุอ์ ยา่ งหนาแน่น หรอื สวนปา่ ทีป่ ลกู ทดแทน สตั วเ์ ศรษฐกิจ สตั วเ์ ศรษฐกิจ หมายถงึ สตั ว์ที่เล้ยี งกนั อย่างแพร่หลาย สามารถนาไปแปรรูปอาหารเพื่อจาหน่ายท้งั ใน ประเทศและต่างประเทศ ความสาคญั ของการเลย้ี งสัตว์ 1.ด้านเศรษฐกจิ ของประเทศ 2.ดา้ นการเกษตร 3.ดา้ นสังคม 4.ดา้ นการผลิต 5.ดา้ นอ่นื ๆ -ด้านการแพทย์ -ดา้ นกีฬา -ด้านพลงั งาน -ดา้ นความปลอดภยั ชนดิ และประเภทของการเล้ียงสัตว์ 1.สัตว์ปีก ได้แก่ เป็ด ไก่ ห่าน นกกระจอกเทศ นกกระทา 2.สตั วเ์ ล็ก ไดแ้ ก่ สุกร แพะ แกะ กระตา่ ย 3.สตั ว์ใหญ่ ได้แก่ ชา้ ง ม้า กระบือ ลา อฐู 4.สัตวน์ า้ ไดแ้ ก่ กุ้ง หอย ปู ปลา ทัง้ นา้ จืดและน้าเค็ม 5.สัตว์สวยงาม เชน่ นก ปลา สนุ ัข
สัตว์เศรษฐกจิ ทสี่ าคัญของประเทศไทย 1.ไก่เนอ้ื มีการพัฒนาการเล้ียงจนเป็นอุตสาหกรรมผลิตเนื้อสัตว์ท่ีสาคัญ มีการลงทุนโรงเรือน อาหาร พันธุ์ ไก่ โดยพันธ์ุไก่นาเข้าจากแถบยุโรปและสหรัฐอเมริกา การเลี้ยงในประเทศไทยส่วนใหญ่ในจังหวัดแถบภาค กลาง เช่น พระนครศรอี ยธุ ยา ลพบรุ ี สระบุรี สพุ รรณบรุ ี ฉะเชิงเทรา 2.ไก่ไข่ เป็นสัตวเ์ ลยี้ งไวเ้ พื่อบริโภคไข่ ส่วนใหญ่จะใช้บรโิ ภคภายในประเทศ โดยทั่วไปจะเลี้ยงแบบขังกรงตับ เพื่อง่ายต่อการจัดการ พันธ์ุไก่นาเข้าจากต่างประเทศ ซ่ึงได้ปรับปรุงพันธ์ุให้มีไข่ดกและกินอาหารน้อย แหล่ง ผลิตในไทย ภาคตะวันออกและภาคกลาง เชน่ ลพบรุ ี พระนครศรีอยธุ ยา และนครปฐม 3.เป็ดเนอื้ เป็ดเน้ือมีความสาคัญทางธุรกิจมากเนื่องจากมีความต้องการของตลาดสูง ใช้บริโภคภายในประเทศ และสง่ ไปจาหน่ายยังตา่ งประเทศ แหลง่ ผลิตทีส่ าคญั ในประเทศไทยคอื ปราจีนบรุ ี ฉะเชิงเทราและนครนายก 4.เป็ดไข่ การเลี้ยงเป็ดไข่เพื่อบริโภคภายในประเทศและส่งไปจาหน่ายต่างประเทศ ข้อดีคือ เมื่อเป็ดไข่แก่ให้ไข่ ไม่คุ้มค่าก็สามารถจาหน่ายเป็นเป็ดเนื้อได้ พันธ์ุที่นิยมเลี้ยงคือ กากีแคมเบลล์ อินเดียนรันเนอร์ และพันธุ์ พ้ืนเมือง เช่น เป็ดปากน้า เป็ดนครปฐม รวมถึงเป็ดลูกผสมไฮบริด แหล่งผลิตในไทยอยู่ทางภาคกลาง คือ พิจิตร ชยั นาท นครปฐม ราชบุรี 5.สกุ ร เป็นสัตว์เศรษฐกิจเล้ียงเพื่อนาเน้ือมาบริโภคทั้งภายในประเทศและส่งออกต่างประเทศ พันธุ์ที่นามา เลีย้ งนาเข้าจากตา่ งประเทศ เช่น ดูร็อคเจอร์ซี แลนด์เรซ ลาร์จไวท์ ลูกสุกรขุนส่วนใหญ่มาจากสามสายพันธุ์น้ี เรียกวา่ สกุ รสามสายเลือด จงั หวดั ท่ีเล้ยี งเปน็ การค้าปริมาณมาก คือ ฉะเชงิ เทรา ราชบรุ ี นครปฐม 6.โคนม การเลี้ยงโคนมพันธุ์ท่ีเล้ียงเป็นพันธุ์ที่นาเข้าจากต่างประเทศซึ่งมีผลผลิตสูงแต่มีปัญหาเร่ืองไม่ทนต่อ สภาพภูมิอากาศ โรค และแมลงในประเทศไทย จึงให้ผลผลิตไม่เต็มท่ี พันธ์ุท่ีนิยมเลี้ยงในประเทศไทย พันธุ์ TMZ พันธ์ุไทยฟรีเชียน นอกจากนโี้ คเนื้อ กระบือ แพะ และแกะ จัดเปน็ สัตว์เศรษฐกจิ ที่สาคัญของประเทศไทย
การศึกษาค้นคว้าข้อมูลดา้ นการเกษตร 1.บุคคล ขอ้ มูลจากผู้ที่มีประสบการณ์เช่ยี วชาญหรือชานาญในเรอ่ื งท่เี กีย่ วกบั การปลูกพชื และเลีย้ งสัตว์ เช่น เกษตรกร ครู-อาจารย์ท่สี อนเกษตร 2.หนว่ ยงานภาครฐั หน่วยงานท่ีมีหน้าที่ส่งเสริมเผยแพร่ความรู้ข้อมูลด้านการเกษตรแก่ประชาชน เช่น กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ กรมวิชาการเกษตร กรมพัฒนาที่ดิน กรมส่งเสริมการเกษตร วิทยาลัยเกษตรและ เทคโนโลยี มหาวิยาลัยเกษตรศาสตร์ สถานีทดลองการเกษตร สานักงานเกษตรจังหวัด-อาเภอ กรมปศุสัตว์ โครงการพระราชดาริต่างๆ 3.หนว่ ยงานเอกชน สถานประกอบการที่ไม่ใชข่ องราชการ แตเ่ ป็นของเอกชน เชน่ บรษิ ทั ท่ีทาธรุ กิจเกย่ี วกบั ธุรกิจ การเกษตร จาหน่ายป๋ยุ เคมีเกษตร เมล็ดพนั ธุ์ อาหารสตั ว์ อปุ กรณ์และเคร่ืองมือทางการเกษตร 4.สอ่ื สารมวลชน ไดแ้ ก่ สื่อประเภทโทรทัศน์ วิทยุ และสือ่ สิ่งพิมพ์ 5.ส่ืออนิ เตอรเ์ นต เปน็ แหลง่ ข้อมูลความรทู้ ี่สาคญั ทันสมัย สะดวกและรวดเรว็ แนวทางการทาเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพยี ง ระบบเกษตรกรรมท่ีจะนาไปสู่การเกษตรย่ังยืน โดยมีรูปแบบท่ีดาเนินการมีลักษณะใกล้เคียงกัน และทาให้ ผ้ปู ฏิบตั มิ คี วามสบั สนในการใหค้ วามหมายและวิธีปฏิบัติท่ีถูกต้อง ได้แก่ระบบเกษตรผสมผสานและระบบ ไร่นา ส่วนผสม ในทนี่ จ้ี งึ ขอใหค้ าจากดั ความรวมทง้ั ความหมายของคาท้ัง 2 คา ดงั ต่อไปนี้ ระบบเกษตรผสมผสาน (Integrated Farming System) เป็นระบบการเกษตรท่มี ีการเพาะปลกู พืชหรือการ เล้ียงสัตว์ต่างๆ ชนิดอยู่ในพ้ืนท่ีเดียวกันภายใต้การเกื้อกูล ประโยชน์ต่อกันและกันอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยอาศัยหลักการอยู่รวมกันระหว่างพืช สัตว์ และส่ิงแวดล้อมการอยู่รวมกันอาจจะอยู่ในรูปความสัมพันธ์ ระหวา่ งพชื กบั พืช พืชกับสัตว์ หรือสัตว์กับสัตว์ก็ได้ ระบบเกษตรผสมผสานจะประสบผลสาเร็จได้ จะต้องมีการ วางรูปแบบ และดาเนินการ โดยให้ความสาคัญต่อกิจกรรม แต่ละชนิดอย่างเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมทาง กายภาพ เศรษฐกิจ สังคม มีการใช้แรงงาน เงินทุน ที่ดิน ปัจจัย การผลิตและทรัพยากรธรรมชาติอย่างมี ประสิทธิภาพ ตลอดจนรู้จักนาวัสดุเหลือใช้จากการผลิตชนิดหน่ึงมาหมุนเวียนใช้ประโยชน์กับการผลิตอีกชนิด
หน่งึ กับการผลติ อีกชนดิ หนึ่งหรือหลายชนิดภายในไร่นาแบบครบวงจร ตัวอย่างกิจกรรมดังกล่าว เช่น การเลี้ยง ไก่ หรือสุกรบนบ่อปลา การเลีย้ งปลาในนาขา้ ว การเล้ยี งผึง้ ในสวนผลไม้ เปน็ ต้น ตามแนวคดิ ดังกล่าวมีหลกั การพน้ื ฐานที่สาคญั 2 ประการ คอื 1) ต้องมกี จิ กรรมการเกษตรตั้งแต่ 2 กิจกรรมข้นึ ไป 2) ตอ้ งเกิดการเกอื้ กูลประโยชนร์ ะหวา่ งกิจกรรมตา่ งๆ ระบบไร่นาสวนผสม(Mixed/Diversefied/Polyculture Farming System) เป็นระบบการเกษตรที่มี กจิ กรรมการผลติ หลาย ๆ กิจกรรมเพ่อื ตอบสนองต่อการบริโภคหรือลดความเส่ียงจากราคา ผลิตผลที่มีความไม่ แน่นอนเท่านั้น โดยมิได้มีการจัดการให้กิจกรรมการผลิตเหล่านั้นมีการผสมผสานเกื้อกูลกันเพื่อ ลดต้นทุนการ ผลิต และคานงึ ถงึ สภาพแวดลอ้ มเหมอื นเกษตรผสมผสานการทาไร่นาสวนผสมอาจมีการเก้ือกลู กันจาก กิจกรรม การผลติ บ้าง แต่กลไกการเกิดข้ึนน้ันเป็นแบบ “เป็นไปเอง” มิใช่เกิดจาก “ความรู้ ความเข้าใจ” อย่างไร ก็ตาม ไร่นาสวนผสม สามารถพัฒนาความรู้ความสามารถของเกษตรกรผู้ดาเนินการให้เป็นการดาเนินการในลักษณะ ของระบบเกษตรผสมผสานได้เหตุผลทม่ี าของรูปแบบการเกษตรผสมผสานได้ หนทางทแี่ สนยาวไกลของชวี ิตมันจะไม่ยากเลยสักนิดหากคดิ และทาให้รอบคอบตามรอยในหลวง รชั กาลท่ี 9 สิ่งเหลา่ น้ีเป็นเร่ืองใกลต้ ัวทเี่ ราเคยมองเห็น เคยได้ยนิ เคยคิด และเคยพูดอยบู่ อ่ ย ๆ แตก่ ็ยงั ไมเ่ คยลงมือ \"ทา\" ฉะนน้ั หนทางมนั จึงดูยากเยน็ ไปโดยปรยิ าย ดงั นนั้ วันน้กี ระปกุ ดอทคอมจะพสิ จู นใ์ ห้เห็นวา่ แนวทางพอเพียงนั้น เป็นเร่ืองง่ายทท่ี กุ คนทาได้ ด้วยทรคิ การทาสวนแบบพอเพียงทปี่ ระยุกตม์ าจาก \"เกษตรทฤษฎใี หม่\" ซึ่งในหลวง รัชกาลท่ี 9 ได้พระราชทานพระราชดารัสไวเ้ พ่ือให้เกษตรกรอยู่แบบพึ่งพาตนเองไดใ้ นทกุ สถานการณ์ ด้วย วธิ ีการจดั การทรัพยากรให้คมุ้ คา่ อย่างยั่งยนื แบง่ พืน้ ที่ในสวนใหเ้ หมาะสมและคุ้มคา่ ก่อนอ่ืนเราต้องสารวจพ้ืนที่ในสวนให้ถ่ีถ้วนด้วยการตรวจสภาพดิน ทิศทางแสงแดด และลม จากนั้นก็เร่ิม แบ่งพื้นท่ีในสวนตามเกษตรทฤษฎีใหม่จากสูตร 30:30:30:10 ให้ง่ายและเหมาะสมกับพ้ืนท่ีของเราเอง โดย ปรับเป็นโซนแปลงผักสวนครัว โซนสมุนไพร โรงเรือนเห็ด ฟาร์มสัตว์เล็ก ๆ (เล้าไก่หรือฟาร์มไส้เดือนไซส์มินิ) และบ่อน้าหลัก แต่ถ้าหากพื้นท่ีคับแคบเกินไปก็ไม่จาเป็นจะต้องแบ่งตามนี้ทุกประการ เลือกเฉพาะโซนท่ี เหมาะสมกับบา้ นเราเทา่ นน้ั กไ็ ด้
DIY ระบบนา้ ฉบับบ้าน ๆ ของคนรกั สวน จากแนวคิดระบบการจัดการน้าของในหลวง รัชกาลที่ 9 ทาให้เราได้เรียนรู้เร่ืองน้ามากข้ึนและสามารถ นาไปปรับใช้ในสวนได้อย่างเหมาะสม ด้วยการขุดบ่อน้าหลักเพื่อกักเก็บน้าไว้ใช้ในสวนและต่อท่อไปยังแปลง ปลูกท้ังหมดท่ีมี หรืออาจจะส่งตรงไปยังพืชที่ต้องการน้ามากอย่างเดียวก็ได้เช่นกัน นอกจากนี้ยังสามารถเลี้ยง ปลาไวเ้ ป็นอาหารหรือปลูกพืชน้าอยา่ งผักกระเฉดในบ่อได้อีกดว้ ย ปรับดินให้มีคณุ ภาพด้วยการรบั แสงแดดไมต่ ้องฟุม่ เฟือยเพือ่ บารงุ ใหม่ หากพบว่าสภาพดินในสวนไม่เอื้ออานวยให้ปลกู พชื เท่าไร แนะนาใหพ้ รวนดนิ และเปดิ หน้าดนิ รบั แสงแดด โดยตรง เพราะแสงแดดจะช่วยปรบั สภาพดนิ ใหม้ สี ารอาหารที่เหมาะสมกบั พืชหรือจะทาการผสมดินในข้ันตอน ไปพร้อมๆ กนั เลยกไ็ ด้ ความชุ่มชืน้ ของดินคือส่ิงท่ตี ้องรกั ษา อกี หนึ่งวิธีการทาสวนให้พอเพียงน้ันก็คือการรักษาความชุ่มช้ืนของดินเอาไว้ หากเราปล่อยปละละเลยเร่ือง เล็ก ๆ อย่างน้ีไปรับรองว่าคุณต้องนอนก่ายหน้าผากบนกองบิลค่าน้าเป็นแน่ มาเร่ิมกันท่ีวิธีแรกด้วยการรองใต้ กระถางดา้ นในดว้ ยกระดาษทิชชู แพมเพิร์สช้นิ ใหม่ หรือเสือ้ ถักไหมพรมตวั เกา่ เอามาคลุมหน้าดินด้วยแกลบและ ปลูกหญ้าแฝกไว้รอบ ๆ สวน วิธีทั้งหมดน้ีจะช่วยกักเก็บน้าไว้ในดินได้อย่างเหมาะสมและส่งผลให้พืชพรรณ เจรญิ เติบโตออกดอกออกผลอย่างสวยงาม
ปลกู ผกั สวนครัวตามฤดกู าลใหม้ ีกนิ ตลอดทัง้ ปี สภาพอากาศตามฤดูกาลคือปจั จยั หลักที่ทาให้สวนอุดมสมบรู ณพ์ ร้อมใช้งาน ดงั น้นั เราจงึ ควรหันมาปลูกพชื ใหต้ รงกับฤดกู าลเพอ่ื ให้มีกินมีใช้ไดต้ ลอดทั้งปีกนั ดกี ว่า - ฤดูรอ้ นควรปลกู มะระ, บวบ, ผกั ชี, น้าเตา้ , ผักกาดหอม, ข้าวโพดหวาน หรอื ถั่วฝกั ยาว - ฤดฝู น (ช่วงต้น) ให้ปลกู กวางตงุ้ , พรกิ , ผกั กาดหอม, บวบ, ผักบุ้ง, มะเขือ, แตงกวา หรือกระเจีย๊ บเขยี ว - ฤดฝู น (ช่วงปลาย) ควรปลูกมะเขือเทศ, ขึน้ ฉ่าย, แครอท, พริกหยวก, กะหลา่ ปลี, ถว่ั ลนั เตา หรอื หอม ใหญ่ - ฤดูหนาวควรปลูกมะเขือเทศ, หอมใหญ่, ผกั กาดขาว, ถ่ัวพ,ู ขึน้ ฉา่ ย, ผกั ชี, ตั้งโอ๋ หรอื บรอกโคลี จากการทาเกษตรกระแสหลักโดยเฉพาะอยา่ งยิ่งการทาเกษตรเชงิ เด่ียวหรือการผลติ สนิ ค้าเกษตรชนดิ เดยี ว เกิดปัญหาหลายๆด้านคือ 1)รายได้ของครวั เรอื นไม่มเี สถยี รภาพ 2)เศษวสั ดจุ ากพืชและมลู สตั ว์ไม่ได้นาไปใช้ประโยชน์ 3)การผลติ สนิ ค้าเดี่ยวบางชนิดใชเ้ งนิ ลงทุนมาก 4)ครวั เรือนต้องพง่ึ พิงอาหารจากภายนอก ดังน้ันจงึ เกดิ แนวคิดในการท่ีหาระบบการผลติ ในไร่นา ทีส่ ามารถใช้ประโยชน์จากพื้นท่ีทากินขนาดเล็ก เพอ่ื ลดความเส่ียงจากการผลิต ลดการพงึ่ พงิ เงนิ ทนุ ปจั จัยการผลติ และอาหารจากภายนอก เศษพืชและมูล สัตว์ซ่ึงเป็นผลพลอยไดจ้ ากกิจกรรมการผลติ ไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนใ์ นไรน่ าและทาให้ผลผลิตและรายได้ เพิ่มข้นึ วตั ถุประสงคข์ องการเกษตรผสมผสาน เพอื่ ให้เกดิ ความม่นั คงดา้ นรายได้ เพื่อลดการพึ่งพาด้านเงนิ ทุน ปัจจัยการผลติ และอาหารจากภายนอก เพอื่ ใหเ้ กิดการประหยดั ทางขอบข่าย เพิ่มรายได้จากพืน้ ท่ีเกษตรขนาดย่อยทจ่ี ากัด นอกจากน้ยี ังมี การเพม่ิ พนู ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ ลดการทาลายสงิ่ แวดล้อม ทาให้ เกษตรกรมีความเปน็ อิสระในการดารงชีวติ
วธิ ีการแบ่งสดั ส่วนกจิ กรรมเกษตรระบบผสมผสาน เกษตรผสมผสานเปน็ แนวทางหรือหลักในการบริหารจัดการทด่ี นิ และนา้ เพ่ือการเกษตรในท่ีดินขนาดเล็กให้ เกดิ ประโยชนส์ ูงสุดด้วยหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั ได้พระราชทานพระราชดาริน้ี เพื่อเปน็ การชว่ ยเหลอื เกษตรกร การจัดการพน้ื ท่ีแบง่ ได้เป็น 4 สว่ น คอื 30:30:30:10 ดงั น้ี ขดุ สระเก็บกกั น้า พนื้ ท่ปี ระมาณ 30% ใหข้ ุดสระเกบ็ กกั น้า เพ่ือใหม้ นี า้ ใช้ สมา่ เสมอตลอดปี โดยเก็บกักน้าฝนในฤดฝู น และใช้เสรมิ การปลูกพืชในฤดูแลง้ หรือระยะฝนทง้ิ ช่วง ตลอดจนการเลย้ี งสัตว์ และพืชน้าตา่ งๆ เช่น ผกั บงุ้ ผกั กระเฉด โสน ฯลฯ ปลกู ขา้ ว พนื้ ที่ประมาณ 30 % ให้ปลูกขา้ วในฤดูฝน เพอื่ ใชเ้ ป็นอาหารประจาวนั สาหรบั ครวั เรือนให้เพยี งพอ ตลอดปี โดยไมต่ ้องซื้อหาในราคาแพง เป็นการลดคา่ ใช้จา่ ย และสามารพ่ึงตนเองได้ ปลกู ผลไม้ ไมย้ นื ต้น พืชไร่ พชื ผัก พื้นท่ปี ระมาณ 30 % ใหป้ ลูกไมผ้ ล ไม้ยืนตน้ พชื ไร่ พืชผกั พชื สมนุ ไพร ฯลฯ อย่างผสมผสานกัน และ หลากหลายในพ้ืนที่เดียวกนั เพื่อใช้เป็นอาหารประจาวนั หากเหลือจากการบรโิ ภคกน็ าไปขายได้ เปน็ ท่ีอยู่อาศัย และอื่นๆ พืน้ ทปี่ ระมาณ 10 % ใช้เปน็ ทีอ่ ยู่อาศยั เล้ียงสัตว์ ถนนหนทาง คันดนิ โรงเรอื นและสิ่งกอ่ สร้างอืน่ ๆ รวมทงั้ คอกเลีย้ งสัตว์ เรือนเพาะชา ฉางเก็บผลติ ผลการเกษตร ฯลฯ น่เี ปน็ ทฤษฎปี ฏบิ ตั จิ รงิ พ้ืนทีเ่ ป็นนา ทั้งหมดหรือไร่สวนดว้ ย จดุ เด่นของการเกษตรผสมผสาน 1)การลดความเส่ยี งและความไม่แน่นอนของรายได้ 2)รายไดส้ มา่ เสมอ 3)การประหยัดทางขอบข่ายค่าใช้จ่ายในไร่นาลดลงมรี ายไดส้ ุทธเิ พ่มิ มากขน้ึ 4)ลดการพึง่ พิงจากภายนอก 5) ลดการว่างงานตามฤดูกาล มีงานทาท้ังปี ทาให้ลดการอพยพแรงงาน สรุป เกษตรผสมผสาน คอื ระบบการเกษตรทีม่ ีการปลกู พชื และหรือมีการเลย้ี งสัตวห์ ลายชนิด ในพื้นที่เดยี วกนั โดยท่ีกิจกรรมแต่ละชนดิ จะต้องเกื้อกูลประโยชนต์ ่อกันได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ เป็นการใชท้ รพั ยากรที่มีอยู่ อยา่ งเหมาะสมเพอื่ ก่อให้เกดิ ประโยชน์สงู สดุ มคี วามสมดลุ ของสภาพแวดล้อมและเพิ่มพนู ความอดุ มสมบรู ณ์ ของทรพั ยากรธรรมชาติ เปน็ กระบวนการท่ีมีการจัดการอย่างมรี ะบบสามารถนาไปบูรณาการใชไ้ ด้กับทกุ พ้ืนทแ่ี ละทกุ ภมู ศิ าสตร์ เป็นแนวคดิ ที่ทาได้จรงิ แก้ปญั หาได้จริงและสามารถพฒั นาคุณภาพชวี ิตได้เปน็ อย่างดี
ประเภทเกษตรกร ประเภทของการเกษตร แบง่ ได้เป็น 4 ประเภท ดังน้ี 1. การปลกู พชื มหี ลายชนิด โดยลักษณะธรรมชาติของพืชแตล่ ะ่ ชนิดกแ็ ตกต่างกันไป ซ่ึงนักวชิ าการเกษตรได้แบง่ ออกเป็นหลายประเภท เชน่ วธิ กี ารปลูก ดแู ลรกั ษา นาไปใช้ประโยชน์ สาหรบั ในระดับชน้ั น้ีได้จดั แบ่งลักษณะการ ปลกู และดูแลรักษาเป็น 3 ชนดิ ได้แก่ 1.1 พชื สวน หมายถึง พืชท่ีปลูกในเน้อื ทนี่ อ้ ย สามารถให้ผลตอบแทนสูง ต้องการดูแลรกั ษามาก 1.2 พืชไร่ หมายถึง พืชที่ปลูกโดยใช้เนื้อที่มาก มีการเจริญเติบโตเร็ว ไม่ต้องการดูแลรักษามากเหมือนพืชสวน ส่วนใหญ่เป็นพืชล้มลุก มีอายุต้ังแต่ 2 เดือน ถึง 1 ปี หรือมากกว่า ผลผลิตของพืชไร่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ และชีวิตประจาวันของคนไทย โดยใช้บริโภคเป็นอาหารหลัก และส่งเป็นสินค้าออกจัดเป็นพืชเศรษฐกิจของ ประเทศ ซึ่งสามารถนารายได้เข้าประเทศเป็นจานวนมากเช่น ข้าว ข้าวโพด อ้อย ถั่วต่างๆ ยาสูบ ฝ้าย มัน สาปะหลัง เป็นตน้ 2. การเล้ียงสัตว์ มีการเล้ียงมานานแล้ว โดยเฉพาะประชาชนที่อยู่ตามชนบท นอกจากจะประกอบอาชีพทานา ทาไร่ แลว้ มักจะเลย้ี งสัตว์ควบคู้ไปด้วยเพื่อใช้เปน็ อาหาร แรงงาน ในการเพาะปลูก การขนส่ง และเพ่ือแก้เหงา ซึ่ง ปัจจุบันการเลี้ยงสัตว์ในแง่การใช้แรงงานลดน้อยลง แต่จะมีบทบาทมากในแง่ของการเลี้ยงเพื่อใช้เป็นอาหา ร เนอื่ งจากผู้บริโภคนิยมบริโภคเนื้อสัตว์กันอย่างแพร่หลาย อีกทั้งยังสามารถส่งออกจาหน่ายยังต่างประเทศอีกด้วย วตั ถุประสงคข์ องการเล้ยี งสตั ว์ 3. การประมง การทาประมงเป็นการเกษตรเก่ียวกับการเลี้ยงและการจับสัตว์น้าทุกชนิดของประเทศไทยซึ่งการ ทาประมงนี้สามารถสร้างรายได้ให้ประชาชน และประเทศเป็นจานวนมาก การทาประมงในประเทศไทยสามารถ แบง่ ออกตามลักษณะของแหลง่ น้าได้ 4. การเกษตรแบบผสมผสาน การเกษตรผสมผสานเปน็ การจดั ระบบกจิ กรรมการเกษตรไดแ้ ก่ ปลูกพืชเล้ียงสัตว์ ประมง ให้มีการผสมผสานและเกื้อกูลในการผลิตซ่ึงกันและกัน โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างเหมาะสมให้เกิด ประโยชน์สูงสุด มีความสมดุลของสภาพแวดล้อม เพ่ิมความสมบูรณ์ของอาหารพืชหรือสัตว์การทาเกษตรหลายๆ อย่างร่วมกันทาให้เกษตรกรมีรายได้จากผลผลิตเพิ่มข้ึน ตลอดจนไม่เส่ียงต่อสภาวะการขาดทุนจากราคาผลผลิต เพยี งอยา่ งเดียวทีม่ ีราคาไม่แนน่ อนปจั จุบันรัฐบาลส่งเสรมิ และสนับสนุนแนวทางในการทาการเกษตร
คะแนน ใบงานท่ี 1 หนว่ ยเรยี นรู้ที่ ๑ เรอ่ื ง การเกษตรกบั การพัฒนาเศรษฐกจิ ของไทย ชื่อ……………………………………………สกลุ ……………………………..…………..ระดับชัน้ …..….….หอ้ ง…….…เลขท่ี……… คาช้ีแจง ใหน้ ักเรียนตอบคาถามต่อไปน้ี ๑. การเกษตรมีความสาคญั ต่อการพฒั นาประเทศ ๔ ข้อ ดังนี้ ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. พชื หมายถงึ ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………… ๓. ความสาคญั ของพชื ๕ ขอ้ คือ …..………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………… ๔. พชื ไร่ คอื ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๕. พชื สวน มี ๓ ขอ้ อะไรบา้ ง ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
๖. ความสาคญั ของการเลี้ยงสัตว์ จานวน ๕ ข้อ อะไรบ้าง ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๗. ชนดิ และประเภทของการเลี้ยงสตั ว์ จานวน ๕ ข้อ คอื ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………… ๘. สตั ว์เศรษฐกจิ ท่ีสาคญั ของประเทศไทย จานวน ๗ ขอ้ อะไรบา้ ง …..………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… …………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………… ๙. ไก่ไข่ คอื ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑๐. สกุ ร คือ ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑๑. การศึกษาค้นคว้าข้อมลู ด้านการเกษตร จานวน ๕ ขอ้ คอื ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………… ๑๒. หน่วยงานภาครฐั คอื ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๓. หน่วยงานภาคเอกชน คือ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑๔. แนวทางการทาเกษตรแบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง คือ ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………… ๑๕. ระบบไรน่ าสวนผสม คอื ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑๖. แบ่งพ้นื ที่ในสวนให้เหมาะสมและคุ้มคา่ จานวน ๕ ข้อ คอื ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………… ๑๗. ปลูกพชื ผกั สวนครวั ตามฤดกู าลใหม้ ีกินตลอดท้งั ปี ๔ ฤดู ดงั นี้ ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑๘. จากการทาการเกษตรเชิงเดีย่ วหรอื การผลิตสินคา้ เกษตรชนิดเด่ียวเกดิ ปัญหาหลายๆ ด้าน คอื ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑๙. วัตถปุ ระสงค์ของการเกษตรผสมผสาน จานวน ๔ ข้อ อะไรบ้าง ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………… ๒๐. ประเภทของการเกษตร แบ่งไดเ้ ปน็ ๔ ประเภท คือ ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
แบบบันทึกหลังการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้ที่……………… เรือ่ ง……………………………………………………………….. แผนการเรียนรทู้ ี่……… เรอ่ื ง……………………………………………………………….. รายวชิ า……………………………….. ชัน้ …………………………. รหสั วชิ า……………………………………. ครูผูส้ อน นายนา่ นมงคล อินด้วง ตาแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย เวลาท่ใี ช้………ช่ัวโมง ************************* ผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ข้อคน้ พบระหวา่ ง ปญั หาท่ีพบ แนวทางแก้ไข ที่มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เนือ้ หา กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื ประกอบการเรียนรู้ พฤติกรรม/การมีส่วนร่วมของ ผู้เรยี น ลงชอื่ ..................................................ผสู้ อน (นายนา่ นมงคล อินดว้ ง) ตาแหน่ง ครผู ้ชู ว่ ย
แบบบนั ทึกหลงั การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ช่อื หนว่ ยการเรียนรู้ท…ี่ …………… เร่ือง……………………………………………………………….. รายวิชา……………………………….. ชน้ั …………………………. รหสั วิชา……………………………………. ครูผ้สู อน นายน่านมงคล อินด้วง ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย เวลาทใี่ ช้………ช่ัวโมง ***************************** เมอื่ เสร็จส้ินกจิ กรรมประเมนิ ผลการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ดังนี้ (ใหท้ าเครอื่ งหมาย ตามผลการประเมิน) ที่ ประเดน็ ท่ปี ระเมิน ผลการประเมนิ 1 ความเหมาะสมของระยะเวลา ดมี าก ดี พอใช้ ตอ้ งปรับปรงุ 2 ความเหมาะสมของเนอื้ หา 3 ความเหมาะสมของกจิ กรรมการเรยี นรู้ 4 ความเหมาะสมของสือ่ ประกอบการเรยี นรู้ท่ีใช้ 5 พฤติกรรม/การมสี ่วนร่วมของนกั เรียน การประเมนิ ดา้ นความรู้ : Knowledge ผลการประเมนิ จากการทดสอบความรู้ก่อนและหลังเรยี น การประเมนิ การประเมนิ ผล ประเมินผล โดยใช้ คะแนนเต็ม/ คะแนน คิดเป็นรอ้ ยละ ดา้ นต่างๆ เกณฑก์ ารประเมนิ เฉลยี่ ด้านความรู้ : กอ่ นเรียน Knowledge หลงั เรยี น ด้านทกั ษะกระบวนการ : Process การประเมินดา้ นคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ : Attitude จานวน ……………… คะแนนเต็ม คณุ ลักษณะ ประเมนิ ผล ผลการประเมิน ผลการประเมนิ ระดบั ดีขน้ึ ไป อนั พงึ ประสงค์ โดยใช้ ดีเย่ยี ม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน จานวน (คน) คดิ เปน็ รอ้ ยละ ดา้ นซ่อื สตั ย์ สุจรติ ดา้ นมีวนิ ัย ดา้ นใฝเ่ รียนรู้ ดา้ นมุ่งม่นั ในการทางาน การประเมินสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน จานวน ……………… คะแนนเตม็
ผลการประเมิน ผลการประเมนิ ดเี ยย่ี ม ดี ผา่ น ปรับปรงุ สมรรถนะสาคญั ประเมนิ ผล ระดับดีขน้ึ ไป โดยใช้ จานวน คดิ เป็นร้อยละ (คน) ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการแกป้ ญั หา ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ปัญหาอุปสรรค ท่คี ้นพบระหว่างทมี่ ีการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ดงั นี้ ด้านเนอ้ื หา : ...………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………..………………….. ดา้ นกจิ กรรมการเรยี นรู้ : ...………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………………..………….. ด้านส่ือประกอบการเรียนรู้ : ...………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………..….. ด้านพฤติกรรม/การมีส่วนร่วมของนักเรยี น : ...………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………..…..
แนวทางแกไ้ ข จดั กิจกรรมเสริมทกั ษะหรือซ่อมเสริม วธิ ดี าเนินกจิ กรรม รายการ ลงช่อื ..................................................ผสู้ อน (นายน่านมงคล อนิ ด้วง) ตาแหนง่ ครูผู้ชว่ ย
ผังมโนทัศน์ รายวชิ า การงานอาชีพ รหสั วิชา ง33101 ชัน้ . ม.6 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๒ เรือ่ ง การประกอบธรุ กิจการเกษตร จานวน ๘ ช่ัวโมง : ๒0 คะแนน ชอ่ื เร่ือง แนวทางการประกอบธรุ กิจการเกษตร จานวน ๔ ชัว่ โมง : ๑๐ คะแนน หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เร่ือง การประกอบธุรกจิ การเกษตร จานวน ๘ ช่วั โมง ช่ือเรอ่ื ง ช่ือเรอื่ ง วิธีการจดั การธรุ กจิ การเกษตร การจัดการและแก้ปญั หาในการประกอบธุรกจิ การเกษตร และการวเิ คราะหก์ ลยุทธ์ในการประกอบธรุ กจิ จานวน ๒ ช่วั โมง : ๕ คะแนน จานวน ๒ ช่วั โมง : ๕ คะแนน
แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ เรอ่ื ง การประกอบธรุ กจิ การเกษตร แผนจัดการเรียนร้ทู ่ี ๒ เรอ่ื ง การประกอบธรุ กจิ การเกษตร รายวิชา การงานอาชีพพืน้ ฐาน รหสั วิชา ง33101 ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 256๔ น้าหนกั เวลาเรียน ๐.๕ (นน./นก.) เวลาเรียน ๒0 ชวั่ โมง/สัปดาห์ เวลาที่ใช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ๘ ชวั่ โมง ............................................................................................................................. ............................. 1. สาระสาคญั (ความเข้าใจทค่ี งทน) มนุษย์ท่ีเกดิ มาและมชี ีวติ อยู่ได้ยอ่ มต้องการอาหารเพอื่ การบรโิ ภค และใช้ส่ิงอื่นเข้าช่วยในการดารงชีวิต การดาเนินงานธุรกิจการเกษตรเป็นการตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค การที่ผู้บริโภคได้รับอาหารแต่ละ มื้อในวันนี้ เกิดจากการคาดคะเนและการตัดสินใจในการผลิตสินค้าเกษตรก่อนหน้านี้มาระยะหนึ่ง ระยะเวลานี้ จะสัน้ หรอื ยาว ข้นึ อยู่กบั ชนิดของผลผลิต เชน่ พวกผกั กใ็ ช้เวลาส้นั แต่ถา้ เป็นสตั วข์ นาดเลก็ เช่น สัตว์ปีกและสุกร กจ็ ะใชเ้ วลายาวข้ึนไปอีก เป็นต้น ประกอบกับการเกษตรในปัจจุบันมีความแตกต่างกับในอดีต เพราะในอดีตการ ทาการเกษตรเป็นแบบเลี้ยงตัวเอง ท่ีแต่ละครัวเรือนจะต้องพยายามผลิตทุกอย่างท่ีต้องการใช้ในครอบครัว ถ้ามี เหลอื จงึ จะขายหรือนาไปแลกเปล่ียนกับเพ่ือนบา้ นในส่วนท่ีตนผลิตไม่ได้ หรือผลิตได้ไม่เพียงพอกับความต้องการ แตใ่ นปจั จบุ ัน ส่วนใหญ่ประกอบการเกษตรเป็นแบบการค้า ผลิตสินค้ามาเพ่ือขาย แล้วนารายได้จากการขายมา เพ่อื ซอื้ สินคา้ และบริการตา่ งๆทค่ี รอบครวั ต้องการการทาการเกษตรจึงจาเป็นต้องพิจารณาตลาดท่ีรองรับผลผลิต ที่ผลติ ข้นึ มา ดังนน้ั การดาเนนิ งานธรุ กจิ การเกษตร ผู้ทาธุรกิจต้องมองภาพรวมทั้งในด้านการผลิตและการตลาด สินค้าเกษตรควบคไู่ ปด้วยกัน นั่นคอื ต้องติดตามการเปลีย่ นแปลงการบริโภคของผู้บริโภค และปรับการผลิตและ การตลาดใหเ้ ข้ากบั การเปล่ียนแปลงน้นั 2. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชี้วดั ชั้นป/ี ผลการเรียนรู้/เป้าหมายการเรียนรู้ ง1.1 ม4-6 ๑. อธิบายวิธกี ารทางานเพื่อการดารงชวี ิต ๒. สร้างผลงานอย่างมีความคดิ สรา้ งสรรค์ และมีทักษะการทางานรว่ มกัน ๓. มีทักษะการจดั การในการทางาน ๔. มที กั ษะ กระบวนการแกป้ ัญหาในการทางาน ๕ มที กั ษะในการแสวงหาความรเู้ พ่ือการดารงชวี ิต ๖. มีคณุ ธรรมและลกั ษณะนสิ ยั ในการทางาน ๗. ใช้พลังงาน ทรัพยากร ในการทางานอย่างค้มุ ค่าและย่ังยืนเพอื่ การอนรุ ักษ์สงิ่ แวดล้อม 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 เน้ือหาสาระหลัก : Knowledge ๑. แนวทางการประกอบธรุ กิจการเกษตร ๒. วธิ ีการการจัดการธรุ กจิ การเกษตรและการวิเคราะห์กลยุทธ์ในการประกอบธรุ กจิ การเกษตร ๓. ทักษะในการการจัดการและแก้ไขปัญหาในการประกอบธุรกิจการเกษตร 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process ๑. อธบิ ายแนวทางการประกอบธรุ กจิ การเกษตรได้ ๒. อธิบายวธิ ีการจดั การธรุ กิจการเกษตรได้ ๓. วิเคราะห์กลยุทธ์ในการประกอบธรุ กจิ การเกษตรได้
๔. มที กั ษะในการการจัดการและแก้ปญั หาในการประกอบธรุ กิจการเกษตร 3.3 คณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ : Attitude 1. มีวินยั 2. มีความรบั ผิดชอบ 3. ตรงตอ่ เวลา 4. มุ่งมัน่ ในการเรียน 4. สมรรถนะสาคัญของนกั เรยี น 1 ความสามารถในการคดิ 2 ความสามารถในการแก้ปญั หา 3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 5. คณุ ลกั ษณะของวิชา 1.ความรับผิดชอบ 2.ตรงตอ่ เวลา 6. คุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ 1. ซือ่ สตั ยส์ จุ ริต 2. มีวินัย 3. ใฝเ่ รียนรู้ 4. มุ่งมั่นในการทางาน 7. ชิน้ งาน/ภาระงาน : - ใบกิจกรรมที่ 1 เรอ่ื ง การประกอบธุรกิจการเกษตร - ใบงานที่ 1.1 เรอื่ ง การประกอบธุรกิจการเกษตร 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ ชัว่ โมงท่ี 1-๒ (ความสามารถในการวเิ คราะห์/ใฝเ่ รยี นรู้/เทคนคิ การสบื ค้น) - ขนั้ นาเขา้ สู่บทเรยี น/ขัน้ ต้ังคาถาม 1. ทักทายนักเรียนก่อนเรยี น 2. เช็ดชอ่ื นักเรียนก่อนเขา้ สู่บทเรยี น ขนั้ สอน ๑. ทาความเข้าใจและชี้แจงสาระการเรียนรู้ให้นักเรียนทราบในหน่วยการเรียนรู้เรื่องการประกอบ ธุรกจิ การเกษตร ครูอธิบายเก่ียวกับแนวทางการประกอบธุรกิจการเกษตร ครูให้นักเรียนจดบันทึก ตามทคี่ รอู ธิบาย ๒. ครูให้นกั เรยี นทาใบงาน เรื่องการแนวทางการประกอบธุรกิจการเกษตร ครูมอบหมายงานให้ นักเรยี นทารายงาน เร่ือง การประกอบธรุ กจิ การเกษตร ๓. ครูมอบหมายให้นกั เรียนไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกยี่ วกับวิธกี ารการจดั การธุรกจิ การเกษตรและการ วเิ คราะห์กลยทุ ธ์ในการประกอบธุรกิจการเกษตร ข้ันสรปุ ๑. ครแู ละนกั เรียนร่วมกันสรปุ เน้ือหาท่เี รียนมา ๒. ครนู ัดหมายการเรยี นครั้งต่อไป
ชั่วโมงท่ี 3 (ความสามารถในการวเิ คราะห์/ใฝ่เรยี นรู/้ ชว่ ยกนั คดิ ช่วยกันเรียน) - ข้ันนาเขา้ สู่บทเรียน/ข้ันตั้งคาถาม 1. ทกั ทายนักเรยี นก่อนเรียน 2. เช็ดชอื่ นกั เรียนกอ่ นเขา้ สู่บทเรยี น ข้ันสอน 1. ครูและนักเรียนทบทวนบทเรียนทีผ่ ่านมา 2. ครูใหน้ ักเรียนมาแลกเปลี่ยนเรยี นรู้เน้อื หาทคี่ รูมอบหมายในสปั ดาหท์ ่ีผา่ นมา 3. ครอู ธิบายเกีย่ วกบั วิธกี ารการจัดการธุรกจิ การเกษตรและการวิเคราะห์กลยุทธใ์ นการประกอบธุรกจิ การเกษตร 4. ครใู ห้นกั เรยี นจดบันทกึ ลงในสมดุ 5. ครใู ห้นกั เรยี นทาใบงานเรอ่ื งทักษะในการการจัดการและแก้ไขปัญหาในการประกอบธรุ กจิ การเกษตร ข้นั สรปุ 6. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาทีเ่ รียนมา 7. ครนู ัดหมายการเรียนคร้งั ต่อไป 9. สือ่ การเรียนการสอน / แหลง่ เรยี นรู้ รายการสือ่ จานวน สภาพการใช้สื่อ 1. สอื่ การเรยี น 1 ชุด ขนั้ ตรวจสอบความรเู้ ดิม 2. ใบงาน 1.1 เรอ่ื ง การประกอบธรุ กจิ การเกษตร 30 ชุด ตรวจหาคาตอบ และรปู ภาพ 3. ห้องสมุด สบื ค้นขอ้ มลู 10. การวัดผลและประเมนิ ผล เปา้ หมาย หลกั ฐานการเรยี นรู้ วธิ วี ดั เคร่อื งมอื วัดฯ ประเด็น/ -ความถูกต้อง เกณฑ์การให้คะแนน การเรยี นรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน ความเข้าใจและ 1. มีเนอ้ื หาสาระครบถ้วน ความถูกต้อง สมบูรณ์ ๑. อธิบายแนวทาง ใบความรู้ 9-10 คะแนน การประกอบธุรกจิ ใบงาน 2.มเี นื้อหาสาระค่อนข้าง ครบถ้วน การเกษตรได้ 7-8 คะแนน 3.มีเนื้อหาสาระไมค่ รบถ้วน ๒. อธบิ ายวิธกี าร แต่ภาพรวมของสาระท้ังหมด จดั การธุรกิจ อยู่ในเกณฑป์ านกลาง 5-6 การเกษตรได้ ๓. วิเคราะหก์ ลยุทธ์ ในการประกอบธุรกิจ การเกษตรได้ ๔. มที กั ษะในการ การจัดการและ
แกป้ ัญหาในการ คะแนน ประกอบธรุ กิจ 4. มีเนอ้ื หาสาระไมค่ รบถ้วน การเกษตร แต่ภาพรวมของสาระท้งั หมด อยใู่ นเกณฑต์ ้องพอใช้ 4-3 คะแนน 5. มีเนอื้ หาเพยี งเล็กนอ้ ยแตภ่ าพ รวมของสาระท้ังหมดอยู่ในเกณฑ์ ต้องปรบั ปรุง 2-1 คะแนน 6. ไม่มเี นือ้ หาเลย 0 คะแนน ลงชือ่ ..................................................ผสู้ อน (นายนา่ นมงคล อินด้วง) ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย
ใบความรู้ 1. ธุรกิจการเกษตร หมายถึง การดาเนินกิจกรรมทั้งหลายนับตั้งแต่การผลิตและจาหน่ายปัจจัยการผลิต การ ผลิตสินค้าเกษตรในระดับฟาร์ม การเก็บรักษา การแปรรูปสินค้าเกษตร และการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้า เกษตรและผลิตผลพลอยได้ ดังนน้ั ธุรกจิ ท่เี กย่ี วข้องกบั การเกษตรทกุ ประเภทถือว่าเป็นธุรกจิ การเกษตรทั้งสน้ิ 2. ขอบเขตของธุรกิจการเกษตร ขอบเขตของธุรกิจการเกษตรจึงครอบคลุมธุรกิจทุกอย่างที่ เกี่ยวข้องกับ การเกษตร นับต้ังแต่ธุรกิจท่ีผลิตและจาหน่ายปัจจัยการผลิต ธุรกิจการผลิตสินค้าเกษตร ธุรกิจการแปรรูปและ การค้าสินค้าเกษตร นอกจากนี้ยังมีธุรกิจที่สนับสนุนการทาธุรกิจการเกษตรอีกด้วย เช่น การขนส่ง การเงินและ คลังสินคา้ เปน็ ต้น 3. ความสาคัญของธุรกิจการเกษตร เมื่อพจิ ารณาจากความหมายและขอบเขตแลว้ สามารถแบ่งได้ 3 ประการ ดว้ ยกนั คอื 3.1 ความสาคญั ในแงช่ ีวิตประจาวันของมนุษย์ทั้งมวล มนุษย์ท่ีเกิดมาและมีชีวิต อยู่ได้ย่อมต้องการ อาหารเพื่อการบริโภค และใช้สิ่งอ่ืนเข้าช่วยในการดารงชีวิต การดาเนินงานธุรกิจการเกษตรเป็นการตอบสนอง ความต้องการของผ้บู รโิ ภค การทีผ่ ู้บรโิ ภคไดร้ ับอาหารแตล่ ะมอื้ ในวันนี้ เกดิ จากการคาดคะเนและการตัดสินใจใน การผลิตสนิ คา้ เกษตรก่อนหนา้ นมี้ าระยะหนงึ่ ระยะเวลานีจ้ ะสั้นหรือยาว ข้ึนอยู่กับชนิดของผลผลิต เช่น พวกผัก ก็ใช้เวลาส้ัน แต่ถ้าเป็นสัตว์ขนาดเล็ก เช่น สัตว์ปีกและสุกรก็จะใช้เวลายาวข้ึนไปอีก เป็นต้น ประกอบกับ การเกษตรในปัจจุบันมีความแตกต่างกับในอดีต เพราะในอดีตการทาการเกษตรเป็นแบบเลี้ยงตัวเอง ที่แต่ละ ครัวเรือนจะต้องพยายามผลิตทุกอย่างที่ต้องการใช้ในครอบครัว ถ้ามีเหลือจึงจะขายหรือนาไปแลกเปลี่ยนกับ เพ่ือนบ้านในส่วนท่ีตนผลิตไม่ได้ หรือผลิตได้ไม่เพียงพอกับความต้องการ แต่ในปัจจุบัน ส่วนใหญ่ประกอบการ เกษตรเป็นแบบการค้า ผลิตสินค้ามาเพ่ือขาย แล้วนารายได้จากการขายมาเพ่ือซื้อสินค้าและบริการต่างๆ ที่ ครอบครัวต้องการ การทาการเกษตรจึงจาเป็นต้องพิจารณาตลาดที่รองรับผลผลิตที่ผลิตข้ึนมา ดังน้ัน การ ดาเนินงานธุรกิจการเกษตร ผู้ทาธุรกิจต้องมองภาพรวมทั้งในด้านการผลิตและการตลาดสินค้าเกษตรควบคู่ไป ด้วยกัน น่ันคือ ต้องติดตามการเปลี่ยนแปลงการบริโภคของผู้บริโภค และปรับการผลิตและการตลาดให้เข้ากับ การเปลย่ี นแปลงน้นั 3.2 ความสาคัญในแง่ธุรกิจ จากความหมายแสดงให้เห็นว่า กว่าสินค้าเกษตรจะ ผลิตมาได้เกษตรกร จะต้องลงทุนในด้านปัจจัยการผลิต และเม่ือผลิตมาได้แล้ว กว่าสินค้าจะถึงมือผู้บริโภคคนสุดท้ายจะต้องผ่านคน กลางและกระบวนการต่างๆ มากมายแล้วแต่ชนิดของสินค้า หรือเรียกว่า วิถีการตลาด (Marketing channel) คือ การแสดงให้เห็นว่าสินค้าน้ันจากผู้ผลิตผ่านคนกลางประเภทใดบ้าง ในปริมาณร้อยละเท่าใด กว่า จะถงึ มอื ผูบ้ ริโภคหรือผู้ใช้ ซ่ึงบางชนิดออกจากไร่นาก็ไปสู่ผู้ขายปลีกและผู้บริโภคเลย บางชนิดต้องผ่านคนกลาง และการแปรรูปหลายขั้นตอน ยิ่งกว่าน้ัน ผลผลิตบางชนิดไม่ได้ผลิตเพื่อสนองความต้องการของผู้บริโภคใน ประเทศเพียงอย่างเดียว ยังสนองความต้องการของผู้บริโภคในต่างประเทศอีกด้วย เช่น ข้าว ยางพารา มัน สาปะหลัง ไกเ่ น้ือ กงุ้ กลุ าดา ปลาทนู ากระป๋อง หนอ่ ไมฝ้ ร่งั กระเจ๊ียบเขียว หน่อไม้ไผ่ตง และขิงอ่อนดอง เป็นต้น ดังนั้น จึงมีคนกลางประเภทผู้ส่งออกเข้ามาเก่ียวข้องด้วย จึงเห็นได้ว่า ธุรกิจการเกษตร มีนักธุรกิจการเกษตรท่ี เก่ียวขอ้ งจานวนมาก ต้ังแต่ผผู้ ลิต/ผนู้ าเข้าปัจจัยการผลิต จนถึงผู้ค้าปลีกสินค้าเกษตรและผลิตผลพลอยได้ให้กับ ผู้บริโภคในประเทศ และผู้ส่งออกท่ีส่งออกสินค้าเกษตรและผลิตผลพลอยได้ไปต่างประเทศ ซ่ึงยังไม่นับรวมผู้ที่ สนับสนุนในการดาเนินธุรกิจของนักธุรกิจการเกษตร เช่น สถาบันการเงิน ผู้ประกอบการขนส่ง ผู้ประกอบการ
คลังสินค้า หน่วยงานของรัฐและอ่ืนๆ ในการดาเนินงานธุรกิจ นักธุรกิจการเกษตรเองจาเป็นต้องทราบว่า ลักษณะการดาเนินธรุ กจิ นนั้ เปน็ อย่างไรบ้าง และต้องเก่ียวพันกับคนอื่นมากน้อยเพียงใด เพื่อท่ีจะทาให้ธุรกิจน้ัน อยรู่ อดและกา้ วหนา้ ตอ่ ไป 3.3 ความสาคัญในแง่เศรษฐกิจของชาติ ธุรกิจการเกษตรเกี่ยวข้องกับการเกษตร ทั้งหมดและ บางส่วนของอุตสาหกรรม และถ้าทาธุรกิจสินค้านั้นให้ครบวงจร หมายถึงว่า หน่วยธุรกิจมีการเปล่ียนสินค้า เกษตรซ่ึงมีลักษณะเป็นวัตถุดิบนั้นให้เป็นผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้ายก่อนที่จะจาหน่ายให้กับผู้บริโภคหรือผู้ใช้ ตวั อย่างเชน่ ขา้ วโพดอาจนามาสกัดนา้ มันขา้ วโพดและผลติ เปน็ แป้งขา้ วโพด หรอื นาไปเลี้ยงสตั ว์เป็นการผลิตสัตว์ แทนที่จะส่งออกในรปู ของเมลด็ ข้าวโพด การกระทาดังกล่าวจะต้อง มีการลงทุนด้านต่างๆ ที่ต่อเน่ืองกัน มีการใช้ ผลิตผลและปัจจัยการผลิตอย่างต่อเน่ืองและสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน หรือเรียกว่า การผลิตเป็นแบบอนุกรม สามารถเพิม่ มูลค่าให้กับผลผลิตน้ัน และสร้างงานมากมายให้กับคนในประเทศ อย่างไรกต็ าม ธรุ กจิ การเกษตรในประเทศไทยในปัจจบุ นั มีสินค้าเกษตรหลายชนิดที่ทาธุรกิจได้ครบวงจร เช่น ข้าวโพดซึ่งในอดีตผลิตมาเพื่อการส่งออกเป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์ แต่ในปัจจุบันนามาใช้ผลิตเป็นอาหารสัตว์ ในประเทศมากจนกระท่ังผลิตได้ไม่เพียงพอกับความต้องการ ต้องมีการนาเข้ามาบางส่วน ทาให้ประเทศไทย นอกจากส่งออกผลิตภัณฑ์สัตว์แทนแล้ว ยังสร้างงานในธุรกิจการเลี้ยงสัตว์และธุรกิจท่ีต่อเน่ืองจากการเล้ียงสัตว์ ผักและผลไม้บางชนิดก็มีการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เพ่ือการส่งออก แต่ก็มีสินค้าเกษตรอีกหลายชนิดท่ีประเทศ ไทยยังมีข้อจากัดทางเทคโนโลยีและมีอุปสรรคอ่ืนๆ ที่ไม่สามารถทาให้ธุรกิจครบวงจรได้ เช่น ผลิตภัณฑ์มัน สาปะหลังในรูปของมันเส้นและมันอัดเม็ดยังมีการใช้ผลิตเป็นอาหารสัตว์ได้ในวงจากัด ยางพารามีข้อจากัดทาง เทคโนโลยีที่จะแปรรูปในขั้นต่อไปจึงต้องส่งออกในรูปของยางแผ่นรมควัน ประเทศไทยเพ่ิงเร่ิมมีการแปรรูปเป็น ผลิตภัณฑ์ยางได้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 6 และกาแฟ มีอุปสรรคในการส่งออก ผลิตภัณฑ์สาเร็จรูป จึงยังจาเป็นต้องส่งออกในรูปผลิตภัณฑ์แปรรูปขั้นต้น คือ เมล็ดกาแฟแทน ถ้าประเทศไทย สามารถนาสินค้าเหล่านี้มาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้ายที่ตลาดต้องการได้ นอกจากลดปัญหาความผันผวนของ ราคาสนิ คา้ ขน้ั ต้นท่ีรัฐบาลตอ้ งเข้าไปแทรกแซงโดยตลอดแล้วยงั ก่อให้เกดิ การลงทนุ ทต่ี อ่ เนือ่ ง เปิดโอกาสให้คนใน ชาติมีงานทามากข้ึนและมูลคา่ สินคา้ น้นั เพิม่ ข้นึ ตามกจิ กรรมท่ีทา 4. องคป์ ระกอบของระบบธุรกิจการเกษตร โครงสร้างของระบบธุรกจิ การเกษตรของ ประเทศไทยสามารถ จาแนกออกเป็น 2 ฝา่ ย ไดแ้ ก่ ฝา่ ยดาเนินการและฝ่ายสนบั สนุน ดงั นี้ 4.1 ฝา่ ยดาเนนิ การ หมายถึง ฝา่ ยทด่ี าเนินกจิ กรรมทัง้ หลายนบั ต้ังแต่การผลิตและ จาหน่ายปัจจัยการ ผลิต การผลติ สนิ คา้ เกษตรในระดับฟาร์ม การเก็บรักษา การแปรรูปสินค้าเกษตร และการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ สนิ ค้าเกษตรและผลิตผลพลอยได้ ฝา่ ยดาเนนิ การจาแนกออกเปน็ 6 ระบบย่อย ไดแ้ ก่ 1) ระบบยอ่ ยปจั จัยการผลิตสินคา้ เกษตร 2) ระบบยอ่ ยการผลิตสนิ ค้าเกษตร 3) ระบบย่อยการจดั หาสนิ ค้าเกษตร 4) ระบบย่อยการแปรรปู /การเกบ็ รักษาสนิ ค้าเกษตร 5) ระบบย่อยการจัดจาหน่ายสนิ ค้าเกษตร 6) ระบบยอ่ ยการส่งออกสินค้าเกษตร 4.2 ฝ่ายสนับสนุน หมายถงึ องค์กรหรือหนว่ ยงานที่อานวยความสะดวกต่างๆ ใหก้ ับฝา่ ยดาเนินการ ทาใหฝ้ า่ ยดาเนินการสามารถทางานได้อยา่ งมีประสิทธิภาพย่ิงข้นึ
จากการศึกษาข้อมูลธุรกิจท่ีเกี่ยวข้องกับการเกษตรกลับพบว่าการทาธุรกิจเกษตรนั้นไม่ได้ยากจนเสมอ ไป คนท่ที าแลว้ ร่ารวยและประสบความสาเรจ็ ก็มีมากมาย ทาแลว้ ล้มเหลวยากจนก็มเี ช่นกัน อย่างไรก็ตามใน บท น้ีขอนาเสนอธุรกิจท่ีเกี่ยวข้องกับการเกษตรเพื่อเป็นแนวทางในการลงลึกไปถึงประเด็นของการทาธุรกิจ เกษตร ใหร้ วยอยา่ งยั่งยนื 1. ธุรกิจการเพาะปลูกพืชผลทางการเกษตรแบบอุตสาหกรรมเกษตร การเพาะปลูกพืชผลทางการ เกษตรนั้นมีให้เห็นกันมากมายในปัจจุบัน ส่วนใหญ่มักเป็นการเพาะปลูกที่ เน้นผลผลิตมากๆ หรือเป็น อุตสาหกรรมเกษตร ถ้าจะให้เข้ากับเหตุการณ์ปัจจุบันก็คงเป็นเร่ืองของการปลูกข้าว และนาไปจานากับทาง รัฐบาล ข้อดีของการทาอุตสาหกรรมเกษตรก็คือการที่เกษตรกรจะได้เงินจากการ เพาะปลูกแต่ละรอบเป็นก้อน ใหญแ่ ตข่ อ้ เสียกค็ อื การเพาะปลกู ต้องใชต้ น้ ทุนคา่ ปยุ๋ ยาและการดแู ลรกั ษาท่ี คอ่ นขา้ งสูงมาก โดยเฉพาะค่าปุ๋ยนั้น ข้ึนราคาทุกปีเนื่องจากปุ๋ยนั้นเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้มาจากน้ามัน (ปิโตเลียม) ซ่ึงราคาก็จะขึ้นลงตามราคาตลาดโลก ทาใหค้ วบคมุ ไดย้ ากและการเพาะปลูกแบบนตี้ อ้ งอาศัยสารเคมีปริมาณ มาก ทาให้ในระยะยาวแล้วดินเสีย แหล่ง น้าสกปรกปนเปื้อนสารเคมีทาลายส่ิงแวดล้อมในระยะยาวและหาก เกษตรกรหันมาเพาะปลูกพืชชนิดเดียวกัน มากๆ ก็จะเกิดปัญหา “สินค้าล้นตลาด” ทาใหร้ าคาตกต่าา ทาไปทา มากอ็ าจจะทาให้ “ขาดทุน” ได้ 2. ธุรกิจการเพาะปลูกพืชผลทางการเกษตรแบบอินทรีย์ ธุรกิจการเพาะปลูกพืชผลน้ีจะเน้น “เกษตร ปลอดสาร” ขอ้ ดีก็คือตน้ ทนุ มกั จะต่ากวา่ การใช้สารเคมี ใชป้ ุ๋ยเคมที ่รี าคาน้นั อ้างอิงกับตลาดโลกเพราะปุ๋ยอินทรีย์ นั้นทาได้ทั้งหมักใช้เองและใช้แบบสารสกัดที่ราคาไม่ แกว่งตัวข้ึนๆ ลงๆ ตามราคาตลาดโลก เม่ือเป็นแบบน้ีก็จะ สามารถควบคุมต้นทุนการผลิตได้ง่ายกว่าและที่ สาคัญเทรนด์การบริโภคอาหารของโลกใบนี้จะเป็นกระแสของ การบริโภคอาหารปลอดสารพิษ ทาให้สินค้า เกษตรปลอดสารน้ันขายได้ราคาดีกว่าและไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ ส่ิงแวดล้อม ไม่มีสารเคมีตกค้าง ผู้บริโภคก็ ไม่เป็นโรคสะสมสารพิษ เกษตรกรก็สุขภาพแข็งแรงเพราะไม่มี สารเคมีสะสมในร่างกายและการบริโภคพืชผล ปลอดสารพิษจะเป็นเพิ่มขึ้นเร่ือยๆ ในระยะเวลาอันรวดเร็วใน อนาคต ยกตัวอย่างเช่น ข้าว หากบ้านเราจะ ยกระดับการเกษตรการปลูกข้าวจาก “ข้าวเคมี” ไปเป็น “ข้าว อินทรีย์” เพราะข้าวเคมีน้ันเป็น “ข้าวราคาถูก” คือขายได้จริงไม่ถึงตันละ 1.5 หมื่นบาท ผิดกับข้าวอินทรีย์ถือ เป็นข้าวทีม่ ี value สามารถขายไดถ้ งึ ตันละ 6 หมนื่ บาททั้งท่ีต้นทุนถูกกว่าข้าวเคมีมากมาย ปล่อยให้ประเทศอ่ืน ผลิตข้าวเคมีที่เป็นข้าวราคาถูก ไม่ต้องไปแข่ง กับเขา หันมาปลูกข้าวอินทรีย์ท่ีมี value up สูงกว่ากันดีกว่า ต้นทุนถูก ขายได้ราคา คนกินข้าวไม่มีสารเคมี ตกค้าง คนขายข้าวก็ร่ารวยอย่างย่ังยืน ส่ิงแวดล้อมก็ไม่เสียหาย ทรัพยากรธรรมชาตกิ อ็ ุดมสมบรู ณ์ 3. ธรุ กิจขายอปุ กรณ์การเกษตร โดยสินค้าท่ีเก่ียวข้องกับการเพาะปลูก เช่น อุปกรณ์ทาสวน เมล็ดพันธุ์ ปุ๋ยชีวภาพและอาหารเสรมิ สตู รชวี ภาพท่ใี ช้กบั พืชผลทางการเกษตรและใช้ในครัวเรือน เป็นต้น จากข้อมูลพบว่า กระแสของเกษตรปลอด สาร เกษตรชีวภาพและการบริโภคอาหารปลอดสารพิษ อาหารสุขภาพ เพิ่มข้ึนเร่ือยๆ ทุกปีและเทรนด์ท่ีน่าสังเกตและเห็นค่อนข้างชัดเจนในปัจจุบันก็คือ กระแสท่ีผู้คนหันมาปลูกผักทานเองใน ครอบครัว เพราะการท่ี ปลูกผักเองกินเองน้ันม่ันใจ 100% ว่าได้ใส่อะไรไปบ้าง ใส่ปุ๋ยชีวภาพหรือปุ๋ยเคมีและ สว่ นใหญ่แล้วคนมักจะ เลอื กแนวทางปลอดสารเคมีเนื่องจากการปลูกผักกินเองในรั้วบ้านนั้น หากใช้สารเคมีเด็ก หรือครอบครัวก็จะ ได้รับไปด้วย ผักท่ีปลูกเองนอกจากจะปลอดสารพิษแล้ว ยังรู้สึกดีเพราะเราปลูกเองกับมือ แนน่ อนว่าธุรกจิ ลักษณะน้อี นาคตสดใสและยังไปไดอ้ ยา่ งย่ังยืนอีกดว้ ย
10 อันดับอาชพี ‘เกษตรสร้างรายได’้ อนั ดบั ที่ 1 เกษตรกรไทยไอเดยี เจ๋ง ทาไสเ้ ดือนแอฟรกิ นั เอคอร์เดอร์ ทาเงินมหาศาล!! การเพาะเลี้ยง ‘ไส้เดือน’ ก็ยังคงเป็นท่ีนิยมในหลายๆกลุ่ม ทั้งกลุ่มเกษตรกร กลุ่มคนรุ่นใหม่ที่มองหา อาชีพด้านการเกษตร ที่ไม่ได้ลงทุนมาก และใช้เวลาในการดูแลน้อย เช่นเดียวกับกลุ่มเกษตรกร จ.พะเยา ที่ร่วม แรงร่วมใจกันเพาะเลี้ยงไส้เดือน เพ่ือผลิตเป็นปุ๋ยอินทรีย์จากมูลไส้เดือนออกจาหน่าย อีกท้ังยังสงเสริมให้ เกษตรกรในพ้นื ทที่ าเกษตรแบบปลอดสารพษิ อันดับที่ 2 เจาะลึก ‘ทุเรียนนนท์’ กับเหตุผลทาไมต้องลูกละหม่ืน!! อกี หน่ึงอาชพี เกษตรท่จี ะไม่พดู ถงึ ไมไ่ ด้นน้ั คือ ‘ทุเรียน’ หลายๆคนเคยได้ลองล้มิ ชิมรสชาติกันมามากมาย แล้ว แต่หากพูดถึง ‘ทุเรียนนนท์’ แล้วคงสงสัยกันว่าทาไมราคาถึงแพงจนราคาแตะหลักหม่ืน ซึ่งทีมข่าวเราก็ได้ ลงพนื้ ทไ่ี ปยัง ‘สวนทุเรียนนนท์ ปา้ ตอ้ ย-ลุงหม’ู เพอื่ ไปหาคาตอบว่าทาไมราคาถึงสูงขนาดนี้
อันดบั ที่ 3 ‘ไกซ่ ิลค์ก้ี’ สัตวเ์ ลี้ยงเทรนดใ์ หม่สรา้ งรายไดค้ ร่ึงแสนตอ่ เดือน!! อย่างที่กล่าวไปข้างต้นว่า ‘เกษตรสร้างรายได้’ ของเราน้ันไม่ได้มีเพียงแค่การปลูกผักผลไม้เท่าน้ัน ยังมี การเพาะเลยี้ ง ‘ไกซ่ ิลคก์ ี้’ และ ‘ไก่โปแลนด์’ เพื่อจาหน่ายโดยไก่สายพันธ์ุนี้เป็นไก่สวยงาม ซึ่งขณะน้ีกาลังเป็นที่ แพร่หลายอย่างมาก ซึ่ง ‘คุณน้ิง’ เป็นเกษตรกรอีกท่านหนึ่งท่ีหันหลังให้กันงานประจาและมุ่งสู่การเพาะเล้ียงไก่ สายพันธน์ุ ้ีอย่างเต็มตัวจนได้รับความนยิ มอย่างมาก อันดบั ท่ี 4 เล้ยี ง ‘ก้งุ เครยฟ์ ชิ ’ ง่ายๆ รายไดเ้ ฉยี ดครึ่งลา้ นตอ่ เดือน ‘กุ้งเครย์ฟิช’ เป็นอีกอาชีพท่ีมีกระแสตอบรับที่ดีมาก ในช่วง 1-2 ปี ที่ผ่านมา จนมีกลุ่มเกษตรกรหน้า ใหม่ทั้งวัยรุ่น วัยทางาน หันมาเพาะเลี้ยงกันเป็นจานวนมาก อย่างเดียวกันคุณเหม็ง ท่ียอมออกจากงานประจา เพื่อมุ่งสู่การเพาะเลี้ยงกุ้งเครย์ฟิชอย่างเต็มตัว ลองผิดลองถูกจนประสบความสาเร็จสร้างรายได้มาสู่ครอบครัว อีกทั้งยงั มีเทคนิคการเพาะเล้ียงมากมาย
อันดบั ที่ 5 สุดยอด! เกษตรกรเมอื งคอนเลี้ยง ‘กบเนื้อ’ ส่งออกนอกรายได้นับลา้ นบาทตอ่ ปี ‘กบเน้ือ’ เป็นอีกหนึ่งอาชีพท่ีเกษตรกรจานวนมากให้ความสนใจ เพราะเป็นอีกอาชีพทางเลือก ซ่ึง เกษตรกรใน จ.นครศรีธรรมราชกว่า 100 ครัวเรือน หันมาเพาะเลี้ยงกันอย่างแพร่หลาย โดยสารมารถสร้าง รายได้ครัวเรือนละประมาณ 500,000 – 1 ลา้ นบาท อนั ดบั ท่ี 6 ครหู นุม่ นกั ดนตรีไม่ท้งิ งานรกั หนั มาปลูก ‘ผกั สลดั ’ สร้างรายไดเ้ สริม ไฮโดรโปนิสก์ ‘สลัดผัก ครูแบงค์’ หลายๆคน คงจะจากันได้ของครูหนุ่มผู้ท่ีรักในเรื่องดนตรี นาเอาวิชา ความรูท้ ร่ี ่าเรยี นมา ถา่ ยทอดไปสู่เดก็ นกั เรียน แตด่ ้วยความช่ืนชอบในการปลูกผักเขาจึงทาผัดสลัดควบคุมไปด้วย ลองผดิ ลองถกู จนประสบความสาเร็จอย่างมาก เรียกได้วา่ ผัดสลัดไม่พอจาหนา่ ยกนั เลยทีเดียว
อนั ดับท่ี 7 ครูจนั ทบรุ ีปลกู ‘มัลเบอร์รี’ ในสวนทเุ รยี นโกยนบั หมนื่ ครูสาวเมืองจันทบุรีน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ปลูก ‘มัลเบอร์รี’ ในสวนทุเรียนสร้างรายได้ ต่อเดือนนับ 1 หมื่นบาท โดยได้นาต้นหม่อนมัลเบอร์รี มาทดลองปลูกแซมในช่องว่างระหว่างต้นทุเรียน ในสวน ผลไม้ของครอบครวั ในเนือ้ ที่ 9 ไร่ ซ่ึงได้ผลสาเรจ็ สามารถสร้างรายไดเ้ สรมิ หลักหม่ืนบาทต่อเดอื น อันดบั ที่ 8 ปลกู ‘มะพรา้ วนา้ หอม’ แปรรูปได้หลากหลาย สร้างรายไดร้ ะยะยาว ลุงเจน อายุ 63 ปี เป็นเกษตรกรชาว จ.นนทบุรี ด่ังเดิม ปัจจุบันเป็นเจ้าของสวน ‘มะพร้าวน้าหอม‘ ภายใต้ช่ือสวน ‘บ้านกล้วยดงตาล‘ อ.ไทรน้อย จ.นนทบุรี ซึ่งเป็นสวนที่ปลูกพืชหลากชนิด แต่ที่เน้นหลักๆ คือ ‘มะพร้าวน้าหอม’ พร้อมนาผลผลิตที่ได้จากมะพร้าวไปแปรรูปต่อยอดได้อย่างมากมาย โดยเป็นการทาเกษตร ผสมผสาน และยึดหลักเศรษฐกจิ พอเพียงของในหลวงรชั กาลท่ี 9
อนั ดบั ท่ี 9 เกษตรกรเมืองตรังปลูก ‘เมลอ่ น’ ใช้เทคนคิ แกะสลกั ชอ่ื สรา้ งมลู คา่ เพ่มิ การปลูกเมล่อน ได้รบั ความนิยมอยา่ งในหลายๆปีทผ่ี า่ นมา แต่สาหรับ ลุงสุนทร เอี่ยมอักษร อายุ 68 ปี เกษตรกรเมืองตรังรายน้ี ยังต่อยอดด้วยการสลักช่ือลงไปบนผิวของเมล่อน ซ่ึงจากราคาลูกละประมาณ 270 บาท หากลกู ค้าสนใจที่ให้สลกั ชือ่ นั้นราคาก็จะเพม่ิ เกือบเท่าตัว อนั ดับที่ 10 เกษตรกรเมอื งนนท์หันปลูก ‘อินทผลัม’ ผลไม้ราคาแพงกาไรมหาศาล ปิดท้ายด้วยการปลุก ‘อินทผลัม’ ของคุณปรีชา ธรรมเชาวรัตน์ อายุ 77 ปี เจ้าของ ‘สวนอินทผลัม ปรีชา’ ท่ีหันมาปลูก ‘อินทผลัม’ ส่งขายทั้งแบบเพาะเน้ือเย้ือ และจาหน่ายท้ังลูกอินทผลัม จากการกับเกี่ยว ประสบการณ์ไปศึกษาจากสวนต่างๆ ก่อนจะนามาปรับใช้ในแบบของตัวเองได้อย่างลงตัว เช่ือว่าในอนาคตการ เพาะ ‘อนิ ทผลัม’ จะเปน็ ทีน่ ยิ มอยา่ งกว้างขวางแนน่ อน
กลยทุ ธก์ ารตลาด 4P (Marketing Mix) มอี ะไรบา้ ง 4P สาหรับบางคน ทฤษฎี 4P อาจเป็นอะไรท่ีผ่านหูผ่านตากันมาบ้าง แต่หลาย ๆ คนอาจยังไม่รู้จักทฤษฏี ทางการตลาดนี้ Marketing ถือเปน็ หวั ใจในการดาเนินธรุ กิจอยา่ งหนึ่ง เพราะการไม่ทาการตลาด ก็ไม่สามารถทา การสื่อสารไปยงั กลุ่มลกู คา้ ได้อย่างตรงจุดและมีประสิทธิภาพมากพอ วันน้ี เรามารู้จักกับทฤษฏี 4P และมาดูกัน วา่ เอามาใช้กับธุรกจิ พ่อค้า แม่คา้ ออนไลน์ไดย้ ังไงบ้าง กลยทุ ธ์ 4P มอี ะไรบา้ ง 4P หรอื Marketing Mix ท่ีแปลเปน็ ไทยได้วา่ “ส่วนผสมทางการตลาด” คือ การวิเคราะห์และทาความ เข้าใจส่วนผสมทางการตลาด ซึ่งสามารถนาไปวิเคราะห์ร่วมกับ ทฤษฎี 4Cs ได้เช่นกัน ส่วนผสมทางการตลาด 4P จะแบ่งส่วนผสมทางการตลาดออกเป็น 4 ส่วน เพ่ือให้สามารถวางแผนทางการตลาดได้อย่างเหมาะสม ถือ เป็นทฤษฎีทางการตลาดท่ีสาคัญอย่างหน่ึง กลยุทธ์ 4P แบ่งส่วนผสมทางการตลาดเป็นอะไรบ้าง ติดตามกันได้ เลย้ ยย 1. 4P : Product มาเร่ิมกันท่ี P ตัวแรก ได้แก่ Product หรือ สินค้าหรือบริการของเราน่ันเอง ซึ่งถือเป็นองค์ประกอบ หลักของการทาธุรกิจเลยทีเดียว โดยการเลือกสินค้าและบริการมาขายนั้น ก็ข้ึนอยู่กับผู้ขายว่าต้องการขาย ผลติ ภณั ฑ์ใหก้ บั ใคร ต้องการนาเสนอผู้บรโิ ภคกล่มุ ไหน โดยการเลือกอาจมีกลยุทธ์แตกต่างกันไป เช่น เลือกสินค้าท่ียังไม่มีวางขายในตลาด เลือกขายสินค้าท่ี เป็นที่นิยมและกาลังอยู่ในกระแส หรือเลือกขายสินค้าท่ีมีส่วนแบ่งทางการตลาดน้อย แต่เป็นสินค้าประเภทที่ จาเพาะเจาะจงหรือ Niche Market เปน็ ตน้ การเขา้ ใจและสามารถวิเคราะห์ถึงสินค้า-บริการของตวั เองได้ จะทาให้ผู้ประกอบการเข้าใจส่วนผสมทาง การตลาดอ่ืน ๆ เพราะอย่างท่ีบอกว่า Product เป็นส่วนประกอบหลักในการทาธุรกิจ ทาให้เราสามารถเข้าใจ จดุ เดน่ และจุดขายเพ่ือนาเสนอสินค้า-บรกิ ารได้ ตลอดจนทาใหเ้ ขา้ ใจกล่มุ ลกู คา้ เปา้ หมายอีกดว้ ย 2. 4P : Price ส่วนผสมทางการตลาดตัวท่ีสองคือ Price หรือราคาขายน่ันเอง เป็นการวิเคราะห์ในการต้ังราคาของ สินค้าและบริการ ซึ่งกลยุทธ์ในการต้ังราคาสินค้า-บริการก็ขึ้นอยู่กับ การทาความเข้าใจ Product รวมไปถึง กลุ่มเป้าหมาย ยกตัวอย่างเช่น สินค้าบางอย่างก็มีมูลค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับราคาและมุมมองของผู้ถือ ฐานะ และรายไดท้ ่ีวิเคราะหไ์ ดจ้ ากกลมุ่ เป้าหมาย เปน็ ต้น นอกจากนีย้ ังอาจวิเคราะห์ Price ได้จากวิธีการขายสินค้า เช่น ขายสินค้าออนไลน์บนแพลทฟอร์ม อาจ ตั้งราคาขายจากค่าเฉลี่ยของสินค้าประเภทเดียวกันบนแพลทฟอร์ม หรือสินค้าขายผ่านการ Live สด อาจตั้ง ราคาไม่สงู มากเพ่ือให้ง่ายตอ่ การตัดสนิ ใจในระยะเวลาที่รวดเร็วนน่ั เอง
3. 4P : Place P ที่ 3 ได้แก่ Place ซ่ึงในที่น้ีหมายถึง ช่องทางการขายสินค้า-บริการของเรานั่นเอง โดยเราจะต้อง วเิ คราะห์หาช่องทางการจาหน่ายสินค้า-บริการของเราให้สามารถเข้าถึง และกระจายสินค้าไปยังลูกค้าให้ได้มาก ทีส่ ดุ โดยปัจจุบันช่องทางการขายสินค้า-บริการก็มีมากข้ึน ท้ังการขายแบบ Offline เช่น ร้านค้าทั่วไป ห้างสรรพสินค้า เป็นต้น และยังมีการขายบนช่องทาง Online อาทิเช่น Social Media Platform หรือการขาย บน Market place นน่ั เอง 4. 4P : Promotion P สุดท้ายได้แก่ Promotion เป็นส่วนผสมทางการตลาดท่ีพูดถึงการสื่อสารทางการตลาด (Marketing Communication) หรือกลยุทธ์การส่งเสริมการขาย เพื่อสร้างความรับรู้และเพิ่มความต้องการให้ลูกค้าสนใจ อยากซ้ือสินค้า-บริการจากเรา ซึ่งก็รวมทุกอย่างต้ังแต่การทาโฆษณาท้ังแบบ Offline และ Online การจัด โปรโมชัน่ ลด แลก แจก แถม และการประชาสมั พนั ธล์ ูกค้าน่ันเอง ขอ้ ดขี องการวิเคราะห์ 4P แน่นอนว่าการเข้าใจ ส่วนผสมทางการตลาด 4P ในผลิตภัณฑ์-บริการที่เราต้องการนาเสนอและขาย ให้กับลูกค้าได้ ย่อมเป็นประโยชน์ต่อการทาธุรกิจอย่างแน่นอน ซึ่งข้อดีของการวิเคราะห์และวางกลยุทธ์ทาง การตลาดดว้ ย 4P ประกอบดว้ ย 1. ทฤษฎี 4P ทาใหส้ ามารถสร้างแผนการตลาดที่เหมาะสมกบั สินคา้ หรอื กลมุ่ ลูกค้าเป้าหมาย 2. ใชก้ ารวเิ คราะห์ 4P เพอ่ื ช่วยในการพฒั นาสินค้า-บรกิ ารให้มีความเหมาะสมกับกลยุทธ์ทางการตลาด มากขึน้ 3. สามารถใช้ 4P เพอื่ ใชใ้ นการวเิ คราะห์ และวางแผนกลยุทธ์การตงั้ ราคาขายสนิ ค้า-บริการ 4. 4P ทาให้เข้าใจพฤติกรรมในการซื้อของผู้บริโภค รวมทั้งใช้วิเคราะห์ช่องทางการขายท่ีมี ประสทิ ธิภาพ 5. ใชส้ ่วนผสมทางการตลาด 4P เพ่อื วิเคราะห์ตลาด ประเมนิ ตวั เองและคแู่ ข่ง กลยุทธ์ 4P นับเป็นกลยุทธ์ทางการตลาดท่ีนักการตลาดให้ความสาคัญ เพราะช่วยให้การทาการตลาด ในดา้ นตา่ ง ๆ แม่นยา และประสบความสาเร็จมากยง่ิ ขึ้นได้นั่นเอง แกป้ ัญหาใหเ้ กษตรกรไทย ด้วยเกษตรสมยั ใหม่ใชเ้ ทคโนโลยี จากสถานการณป์ ัญหาราคาพืชผลทางการเกษตรมีความผันผวน และไม่มีเสถียรภาพ โดยเฉพาะยางพารา และปาล์มน้ามัน ปัจจัยหลักท่ีส่งผลกระทบต่อราคายาง อาทิ ผลผลิตยางพารามีเกินความต้องการของตลาด สภาวะเศรษฐกิจโลกชะลอตัว และราคาน้ามันที่ปรับโตสูงข้ึน แม้ไทยเป็นหน่ึงในแหล่งผลิตยางที่สาคัญของโลก แต่กลับใชใ้ นอตุ สาหกรรมต่าง ๆ ค่อนข้างน้อย ทาให้มีส่วนในการกาหนดราคาน้อยกว่าจีน ท่ีใช้ยางพารามากกก
ว่าไทย จึงทาให้ราคายางไทยมีความผันผวนสูง ซ่ึงในระยะท่ีผ่านมาผลผลิตยางพาราเกินกว่าเป้าหมายที่กาหนด ไว้ ทาให้ราคายางพาราตกตา่ ขณะท่สี ถานการณ์ราคาผลปาลม์ ที่ปรบั ลดลงเช่นกัน เนอื่ งจากมสี ต๊อกปาล์มเก่าท่ียังคงค้างอยู่สูง ซ่ึงเป็น ผลจากตลาดโลกที่ซบเซา รวมถึงสภาพอากาศร้อนจัด ส่งผลให้ปาล์มสุกเร็ว ทาให้ผลผลิตปาล์มดิบออกสู่ตลาด มาก รัฐบาลได้มีมาตรการต่าง ๆ ออกมาเพื่อแก้ไขปัญหา เช่น ปรับสมดุลน้ามันปาล์มในประเทศ โดยใช้น้ามัน ปาล์มดิบไปผลิตกระแสไฟฟ้า ส่งเสริมการใช้น้ามันดีเซล บี 20 รวมท้ังเข้มงวดตรวจสอบสต๊อกน้ามันปาล์มดิบ คงเหลือ ปัญหาราคาพืชผลทางเกษตรท่ีผันผวน เป็นโจทย์สาคัญและท้าทายอย่างยิ่ง ภาครัฐจึงมีแนวทางแก้ไข ปญั หา อาทิ ประการแรก นาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้กับข้อมูลด้านการเกษตร โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ร่วมกับกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้พัฒนาระบบแผนท่ีเกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุกออนไลน์ (Agri-Map Online) เครื่องมือที่แสดงผลข้อมูลเชิงภูมิสารสนเทศ สาหรับบริหารจัดการเกษตร ท่ีสามารถเข้าถึง ข้อมูลและติดตามข้อมูลได้อย่างถูกต้องรอบด้าน นาไปใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการทรัพยากรน้า การ เพาะปลูกและผลผลิตด้านการเกษตร ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ทั้งปัจจัยการผลิต อุปสงค์ อุปทาน ท่ีจะตอบ โจทยก์ ารช่วยเหลือ และแกป้ ัญหาให้กบั เกษตรกรไทยได้ ประการท่ีสอง เร่งพัฒนา Smart Farmer ที่ให้เกษตรกรนานวัตกรรมมาใช้ประโยชน์ ใช้ภูมิปัญญา ความรูค้ วามเชีย่ วชาญ ผสมผสานกบั เทคโนโลยี มาใช้หรอื พัฒนาการผลติ สินคา้ เกษตรให้มีคุณภาพ ตลอดจนเป็น ข้อมูลประกอบการตัดสินใจ และนาไปวางแผนการผลิตให้มีปริมาณท่ีสอดคล้องกับความต้องการของตลาดบน ฐานข้อมูลราคาและการตลาดท่ีถูกต้อง สามารถปรับเปล่ียนรูปแบบการเพาะปลูกให้สอดคล้องกับบริบทที่ เปล่ียนแปลงไปได้ โดยหนึ่งในแนวทางที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้นามาใช้ในการพัฒนาให้เกิด Smart Farmer คือ การพัฒนา Big Data ดา้ นการเกษตรให้เปน็ เอกภาพและเช่ือมโยงกับระบบของรัฐบาลให้ก้าวทันยุค ดิจิทัล โดยใช้ฐานข้อมูลเกษตรกรกลาง (Farmer ONE) ในการบริหารจัดการเชิงนโยบายด้วยการจัดทา Big data ที่จะเชื่อมโยงกับภาคการตลาด ซึ่งจะช่วยให้ทราบปริมาณผลผลิต ช่วงเวลา แหล่งผลิตที่สาคัญ เพ่ือใช้ บรหิ ารจัดการการจาหนา่ ย การกระจายสนิ คา้ กาหนดราคาได้อยา่ งเหมาะสม ประการท่สี าม สง่ เสริมใหเ้ กษตรกรหันมาทาการเกษตรแบบผสมผสาน ตามแนวพระราชดาริไม่ยึดติด กับการปลูกพืชเชิงเดี่ยวที่มีความเสี่ยงสูง หากเกิดความผันผวนของราคาตลาดท่ีเป็นมาต่อเนื่อง หลายปี อนั เปน็ ภูมิคุม้ กนั ทดี่ ใี ห้แก่เกษตรกร นอกจากแนวทางแก้ไขปัญหาที่กล่าวมาน้ัน ภาครัฐยังผลักดันการขับเคลื่อนไปสู่ Smart Farmer โดย กาหนดเป็นตัวชี้วัด อาทิ ประเมินความสาเร็จของการพัฒนา Big Data ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อ ช่วยให้เกษตรกรมีข้อมูลสนับสนุนในการวางแผนการผลิต ประเมินประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ที่สาคัญ เพอื่ ผลกั ดันใหเ้ กิดการยกระดับผลิตภาพ ประสทิ ธภิ าพการผลติ ให้ผลผลิตต่อไร่สูงข้ึน ตลอดจนผลักดันให้มีพื้นที่ ทาการเกษตรยั่งยืน เพื่อให้เกษตรกรปรับรูปแบบระบบการทาการเกษตรที่คานึงถึงส่ิงแวดล้อมที่ย่ังยืน การดาเนินการของภาครัฐเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรเหล่าน้ี เป็นเพียงส่วนหนึ่งในการช่วยแก้ไขปัญหา สถานการณร์ าคาพืชผลทางเกษตร ซง่ึ ภาครัฐจะมุ่งม่นั ให้การทางานให้เป็นแบบระบบราชการ 4.0 ด้วยการสร้าง นวตั กรรม พัฒนาเปน็ ระบบดจิ ิทัล เพอ่ื ปรบั เปลีย่ นการเกษตรแบบดั้งเดิมให้เป็นเกษตรสมัยใหม่ที่เน้นการจัดการ และเทคโนโลยี ตอบสนองความตอ้ งการและสร้างคุณภาพชวี ิตทดี่ ีขึน้ ให้แก่ประชาชน
คะแนน ใบงานท่ี 1 หน่วยเรยี นรทู้ ่ี ๒ เร่ือง การประกอบธุรกิจการเกษตร ช่อื ……………………………………………สกุล……………………………..…………..ระดับช้นั …..….….หอ้ ง…….…เลขท่ี……… คาช้ีแจง ใหน้ ักเรยี นตอบคาถามตอ่ ไปนี้ ๑. ธุรกจิ การเกษตร หมายถึง ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ขอบเขตของธุรกจิ การเกษตร คอื ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………… ๓. ความสาคัญของธรุ กจิ การเกษตร สามารถแบ่งได้ ๓ ประการ คือ …..………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๔. ฝ่ายดาเนนิ การ จาแนก ออกเปน็ ๖ ระบบยอ่ ย ได้แก่ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๕. ฝา่ ยสนับสนนุ หมายถึง ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๖. ธุรกิจท่เี กยี่ วข้องกบั การเกษตร มี ๓ ธุรกจิ คือ …..………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๗. ธรุ กจิ การเพาะปลูกพชื ผลทางการเกษตรแบบอนิ ทรีย์ ข้อดคี ือ ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๘. ยกตัวอย่าง ๑๐ อนั ดับอาชีพ เกษตรสรา้ งรายได้ จานวน ๑๐ อาชพี ไดแ้ ก่ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๙. กลยุทธก์ ารตลาด ๔P มอี ะไรบา้ ง …..………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑๐. แกป้ ญั หาใหเ้ กษตรกรไทย ด้วยเกษตรสมยั ใหม่ใช้เทคโนโลยี มี ๓ ประการ อะไรบ้าง …..………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …..………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แบบบันทึกหลังการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้ที่……………… เรือ่ ง……………………………………………………………….. แผนการเรียนรทู้ ี่……… เรอ่ื ง……………………………………………………………….. รายวชิ า……………………………….. ชัน้ …………………………. รหสั วชิ า……………………………………. ครูผูส้ อน นายนา่ นมงคล อินด้วง ตาแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย เวลาท่ใี ช้………ช่ัวโมง ************************* ผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ข้อคน้ พบระหวา่ ง ปญั หาท่ีพบ แนวทางแก้ไข ที่มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เนือ้ หา กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื ประกอบการเรียนรู้ พฤติกรรม/การมีส่วนร่วมของ ผู้เรยี น ลงชอื่ ..................................................ผสู้ อน (นายนา่ นมงคล อินดว้ ง) ตาแหน่ง ครผู ้ชู ว่ ย
แบบบนั ทึกหลงั การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ช่อื หนว่ ยการเรียนรู้ท…ี่ …………… เร่ือง……………………………………………………………….. รายวิชา……………………………….. ชน้ั …………………………. รหสั วิชา……………………………………. ครูผ้สู อน นายน่านมงคล อินด้วง ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย เวลาทใี่ ช้………ช่ัวโมง ***************************** เมอื่ เสร็จส้ินกจิ กรรมประเมนิ ผลการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ดังนี้ (ใหท้ าเครอื่ งหมาย ตามผลการประเมิน) ที่ ประเดน็ ท่ปี ระเมิน ผลการประเมนิ 1 ความเหมาะสมของระยะเวลา ดมี าก ดี พอใช้ ตอ้ งปรับปรงุ 2 ความเหมาะสมของเนอื้ หา 3 ความเหมาะสมของกจิ กรรมการเรยี นรู้ 4 ความเหมาะสมของสือ่ ประกอบการเรยี นรู้ท่ีใช้ 5 พฤติกรรม/การมสี ่วนร่วมของนกั เรียน การประเมนิ ดา้ นความรู้ : Knowledge ผลการประเมนิ จากการทดสอบความรู้ก่อนและหลังเรยี น การประเมนิ การประเมนิ ผล ประเมินผล โดยใช้ คะแนนเต็ม/ คะแนน คิดเป็นรอ้ ยละ ดา้ นต่างๆ เกณฑก์ ารประเมนิ เฉลยี่ ด้านความรู้ : กอ่ นเรียน Knowledge หลงั เรยี น ด้านทกั ษะกระบวนการ : Process การประเมินดา้ นคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ : Attitude จานวน ……………… คะแนนเต็ม คณุ ลักษณะ ประเมนิ ผล ผลการประเมิน ผลการประเมนิ ระดบั ดีขน้ึ ไป อนั พงึ ประสงค์ โดยใช้ ดีเย่ยี ม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน จานวน (คน) คดิ เปน็ รอ้ ยละ ดา้ นซ่อื สตั ย์ สุจรติ ดา้ นมีวนิ ัย ดา้ นใฝเ่ รียนรู้ ดา้ นมุ่งม่นั ในการทางาน การประเมินสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน จานวน ……………… คะแนนเตม็
ผลการประเมิน ผลการประเมิน ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ปรบั ปรงุ สมรรถนะสาคัญ ประเมนิ ผล ระดับดีขน้ึ ไป โดยใช้ จานวน คดิ เปน็ ร้อยละ (คน) ความสามารถในการสอ่ื สาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการแกป้ ญั หา ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ปัญหาอุปสรรค ท่คี ้นพบระหวา่ งทมี่ กี ารจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ดงั นี้ ด้านเนอ้ื หา : ...………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………..………………….. ดา้ นกจิ กรรมการเรยี นรู้ : ...………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………………..………….. ด้านส่ือประกอบการเรยี นรู้ : ...………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………..….. ด้านพฤติกรรม/การมีสว่ นร่วมของนกั เรยี น : ...………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………..…..
แนวทางแกไ้ ข จดั กิจกรรมเสริมทกั ษะหรือซ่อมเสริม วธิ ดี าเนินกจิ กรรม รายการ ลงช่อื ..................................................ผสู้ อน (นายน่านมงคล อนิ ด้วง) ตาแหนง่ ครูผู้ชว่ ย
ผังมโนทัศน์ รายวชิ า การงานอาชพี รหสั วิชา ง33101 ชน้ั . ม.6 หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๓ เรื่อง การจัดการผลผลิตสินค้าเกษตร จานวน ๖ ชั่วโมง : ๑0 คะแนน ชื่อเรือ่ ง การจัดการคุณภาพสินคา้ เกษตรการใชน้ วัตกรรมและ เทคโนโลยี จานวน ๑.๕ ชว่ั โมง : ๒ คะแนน หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ๓ เรอื่ ง การจัดการคุณภาพสนิ ค้าเกษตรการใช้ นวัตกรรมและเทคโนโลยี จานวน ๕ ชวั่ โมง ชอื่ เรือ่ ง ช่ือเรอ่ื ง การจดั การผลติ และการจดั ทาแผนปฏบิ ตั กิ าร การลดต้นทนุ การผลติ สนิ คา้ เกษตร จานวน ๑.๕ ชว่ั โมง : ๓ คะแนน จานวน ๓ ชั่วโมง : ๕ คะแนน
แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๓ เรือ่ ง การจดั การผลผลิตสนิ ค้าเกษตร แผนจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๓ เรอื่ ง การจัดการผลผลติ สินคา้ เกษตร รายวิชา การงานอาชีพพ้ืนฐาน รหสั วิชา ง33101 ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 256๔ น้าหนักเวลาเรียน ๐.๕ (นน./นก.) เวลาเรยี น ๒0 ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลาทใี่ ช้ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ๖ ช่ัวโมง ............................................................................................................................. ............................. 1. สาระสาคญั (ความเขา้ ใจทีค่ งทน) ประเทศไทยให้ความสาคัญของการควบคุมคุณภาพสินค้า โดยรัฐบาลได้จัดตั้งสานักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) สังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม เป็นสถาบันมาตรฐานแห่งชาติ ที่จัดต้ังขึ้นตาม พระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 มีหน้าที่ดาเนินงานด้านมาตรฐานของประเทศ เพ่อื ความปลอดภัยและเศรษฐกิจของประเทศแลว้ ยังมหี นา้ ที่ส่งเสรมิ อตุ สาหกรรม เพื่อสนองนโยบายของรัฐบาล ตามแผนพัฒนาเศรษฐกจิ ละสงั คมแห่งชาติอกี ดว้ ย 2. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชี้วดั ชน้ั ปี/ผลการเรยี นรู้/เป้าหมายการเรยี นรู้ ง1.1 ม4-6 ๑. อธบิ ายวิธกี ารทางานเพ่ือการดารงชีวติ ๒. สรา้ งผลงานอยา่ งมีความคดิ สร้างสรรค์ และมที ักษะการทางานรว่ มกัน ๓. มีทักษะการจัดการในการทางาน ๔. มที กั ษะ กระบวนการแก้ปญั หาในการทางาน ๕ มีทกั ษะในการแสวงหาความรเู้ พื่อการดารงชวี ิต ๖. มคี ณุ ธรรมและลกั ษณะนิสยั ในการทางาน ๗. ใช้พลังงาน ทรพั ยากร ในการทางานอย่างค้มุ ค่าและยั่งยืนเพ่อื การอนุรักษ์สิ่งแวดลอ้ ม 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 เนอื้ หาสาระหลกั : Knowledge ๑. การจัดการคุณภาพสินคา้ เกษตร นวตั กรรมและเทคโนโลยีการผลติ สนิ คา้ ๒. การลดตน้ ทุนการผลิตสนิ ค้าเกษตร ๓. การจัดการผลผลิตและการจัดทาแผนปฏิบตั กิ ารผลติ สินค้าเกษตร 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process ๑. อธิบายวิธีการจดั การคณุ ภาพสินคา้ เกษตรและการใชน้ วัตกรรมและเทคโนโลยีการผลติ สินคา้ ได้ ๒. อธิบายวิธีการลดต้นทนุ การผลติ สินคา้ เกษตรได้ ๓. มที ักษะในการจดั การผลิตและจดั ทาแผนปฏิบัติการผลติ สินค้าเกษตรได้ ๔. เห็นประโยชนข์ องการจดั การผลผลติ สนิ คา้ เกษตร 3.3 คุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ : Attitude 1. มีวนิ ยั 2. มคี วามรับผิดชอบ 3. ตรงตอ่ เวลา 4. ม่งุ มัน่ ในการเรียน
4. สมรรถนะสาคัญของนกั เรียน 1 ความสามารถในการคดิ 2 ความสามารถในการแกป้ ัญหา 3 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 5. คุณลักษณะของวิชา 1.ความรบั ผดิ ชอบ 2.ตรงตอ่ เวลา 6. คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ 1. ซอ่ื สัตย์สุจริต 2. มีวนิ ัย 3. ใฝเ่ รยี นรู้ 4. มุ่งม่นั ในการทางาน 7. ช้นิ งาน/ภาระงาน : - ใบกิจกรรมที่ 1 เรอ่ื ง การจัดการผลผลิตสินค้าเกษตร - ใบงานท่ี 1.1 เรื่อง การจัดการผลผลติ สนิ คา้ เกษตร 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงท่ี 1-๒ (ความสามารถในการวิเคราะห์/ใฝ่เรียนร/ู้ เทคนคิ การสบื คน้ ) - ขัน้ นาเข้าสู่บทเรยี น/ขัน้ ตั้งคาถาม 1. ทักทายนักเรยี นก่อนเรยี น 2. เช็ดช่ือนกั เรยี นกอ่ นเขา้ สู่บทเรยี น ขน้ั สอน ๑. ทาความเข้าใจและชี้แจงสาระการเรียนรู้ให้นักเรียนทราบในหน่วยการเรียนรู้เร่ืองการจัดการผลผลิต สินค้าเกษตร ครูอธิบายเก่ียวกับการจัดการคุณภาพสินค้าเกษตร นวัตกรรมและเทคโนโลยีการผลิต สนิ ค้า ครูให้นักเรียนจดบันทึกตามท่ีครอู ธิบาย ๒. ครูใหน้ ักเรยี นทาใบงาน เร่ืองการจดั การคุณภาพสนิ คา้ เกษตร นวัตกรรมและเทคโนโลยีการผลิตสนิ คา้ ครมู อบหมายงานให้นักเรียนทารายงาน เรือ่ ง การจดั การคุณภาพสนิ คา้ เกษตร นวัตกรรมและเทคโนโลยี การผลติ สนิ คา้ ๓. ครูมอบหมายใหน้ กั เรียนไปศึกษาค้นควา้ เพ่ิมเตมิ เก่ยี วกับวิธกี ารการจัดการผลผลิตและการจัดทา แผนปฏิบัตกิ ารผลิตสินค้าเกษตร ขนั้ สรปุ ๑. ครูและนักเรียนร่วมกันสรปุ เน้ือหาทเ่ี รยี นมา ๒. ครูนดั หมายการเรยี นครัง้ ต่อไป ชว่ั โมงท่ี 3 (ความสามารถในการวิเคราะห/์ ใฝ่เรยี นรู้/ช่วยกันคดิ ช่วยกนั เรยี น) - ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขน้ั ต้ังคาถาม 1. ทักทายนักเรียนก่อนเรยี น 2. เช็ดช่อื นักเรียนก่อนเข้าสู่บทเรียน
ขั้นสอน 1. ครแู ละนักเรียนทบทวนบทเรียนท่ีผา่ นมา 2. ครูใหน้ ักเรยี นมาแลกเปล่ยี นเรยี นรู้เนื้อหาทคี่ รูมอบหมายในสัปดาหท์ ่ีผา่ นมา 3. ครอู ธบิ ายเกี่ยวกับวิธกี ารการการลดตน้ ทนุ การผลติ สนิ ค้าเกษตร 4. ครใู ห้นักเรยี นจดบันทกึ ลงในสมุด 5. ครใู หน้ ักเรยี นทาใบงานเรอื่ งการลดตน้ ทุนการผลติ สินค้าเกษตร ข้ันสรปุ 6. ครูและนักเรยี นร่วมกนั สรุปเนื้อหาทเ่ี รียนมา 7. ครนู ัดหมายการเรียนครงั้ ต่อไป 9. ส่อื การเรยี นการสอน / แหลง่ เรยี นรู้ รายการสอ่ื จานวน สภาพการใช้สื่อ 1. สื่อการเรยี น 1 ชุด ขัน้ ตรวจสอบความรเู้ ดิม 2. ใบงาน 1.1 เรือ่ ง การจัดการผลผลติ สินค้าเกษตร 30 ชดุ ตรวจหาคาตอบ และรูปภาพ 3. ห้องสมดุ สืบคน้ ข้อมูล 10. การวดั ผลและประเมนิ ผล เปา้ หมาย หลกั ฐานการเรียนรู้ วิธวี ัด เคร่ืองมือวัดฯ ประเดน็ / -ความถูกต้อง เกณฑก์ ารให้คะแนน การเรียนรู้ ช้ินงาน/ภาระงาน ความเข้าใจและ 1. มีเนื้อหาสาระครบถว้ น ความถกู ตอ้ ง สมบูรณ์ ๑. อธิบายวิธีการ ใบความรู้ 9-10 คะแนน 2.มเี น้ือหาสาระค่อนข้าง จดั การคณุ ภาพสนิ ค้า ใบงาน ครบถ้วน 7-8 คะแนน เกษตรและการใช้ 3.มีเนอ้ื หาสาระไมค่ รบถว้ น แต่ภาพรวมของสาระท้ังหมด นวตั กรรมและ อยใู่ นเกณฑป์ านกลาง 5-6 คะแนน เทคโนโลยีการผลติ 4. มเี นือ้ หาสาระไมค่ รบถว้ น แตภ่ าพรวมของสาระทง้ั หมด สนิ ค้าได้ อยู่ในเกณฑ์ต้องพอใช้ 4-3 คะแนน ๒. อธิบายวิธีการลด 5. มเี นื้อหาเพยี งเล็กน้อยแตภ่ าพ ตน้ ทนุ การผลติ สนิ ค้า เกษตรได้ ๓. มีทักษะในการ จัดการผลติ และ จดั ทาแผนปฏิบตั ิการ ผลติ สินคา้ เกษตรได้ ๔. เหน็ ประโยชน์ ของการจัดการ ผลผลติ สนิ คา้ เกษตร
Search