Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภูมิเมือง

ภูมิเมือง

Published by clac dusit, 2022-02-01 02:22:45

Description: ภูมิเมือง

Search

Read the Text Version

พ.ศ.2427 – 2436 สยามเริ่มเข้ามาปรับปรุงระเบียบ พ.ศ.2478 พระราชกฤษฎีกาจัดต้ังเทศบาลเมืองลาปาง การปกครองอย่างจริงจัง ปฏิบัติการเกิดข้ึนในฝ่ ังตะวันตก จงั หวัดลาปาง เปน็ หน่วยการเมืองทส่ี าคัญท่ีได้รับการคาดหวงั สามหวั เมืองใหญ่ ไดแ้ ก่ เชียงใหม่ ลาพู น และละกอน โดยเข้า ว่าจะเป็นการกระจายอานาจให้ท้องถ่ินจัดการตัวเอง โดยระบุ มาดาเนนิ การสองส่วน สว่ นแรก คอื แกไ้ ขปัญหาชายแดนและ ขอบเขตของเทศบาลเมืองลาปาง พร้อมท้ังแผนที่แสดง การทาไม้ที่เก่ียวข้องกับการเมืองระหว่างประเทศ กับส่วนที่ ขอบเขตและการอาคารสถานที่ ทาให้เราเห็นถึงการกระจายตัว สอง คือ การจัดการปกครองภายในดินแดนด้วยการจัดต้ัง และความหนาแน่นในเขตเทศบาลเมืองลาปางได้ชดั เจนเป็นครั้ง เสนาหกตาแหนง่ ทีส่ อดคลอ้ งกับโครงสร้างการปกครองของ แรกๆ (ท่ีมา : ภิญญพั นธุ์ พจนะลาวัลย์, 2561. น้าวัง รถไฟ สยาม (ท่ีมา : ภิญญพั นธ์ุ พจนะลาวัลย์, 2561. น้าวัง รถไฟ ไฮเวย์ ประวัตศิ าสตรล์ าปางสมัยใหม่) ไฮเวย์ ประวัติศาสตร์ลาปางสมัยใหม)่ พ.ศ.2459 เปิดทาการสถานีรถไฟนครลาปางสถานีรถไฟ พ.ศ.2520 เทศบาลได้ริเริ่มปรับเปล่ียนโฉมเมืองลาปางอีกคร้ัง ต้ังแต่การ นครลาปาง เร่ิมก่อสร้างในปี พ.ศ.2458 และเปิดทาการเดิน ออกแบบตราสัญลักษณ์ให้มีลักษณะทันสมัย ลดทอนรายละเอียด ประกอบให้ รถต้ังแต่ พ.ศ.2459 โดยเปน็ สถานีปลายทางของขบวนรถไฟ กลายเป็นเพี ยงเส้นเรขาคณิต ท้ังยังมีการป้ ันประติมากรรมลอยตัวรูปไก่ขาว สายเหนือ (ก่อนจะขยายการก่อสร้างต่อไปถึงนครพิงค์หรือ พร้อมกบั สรา้ งนา้ พุ หน้าเทศบาลเมอื งลาปาง เมืองเชียงใหม่ในปี พ.ศ.2464) อันเป็นพ้ื นท่ีชุมทางขนส่ง มวลชนท่ีทันสมัยที่สุด และเป็นตัวแปรสาคัญในการเปลี่ยน พ.ศ.2521 การกาหนดขอบเขตผงั เมืองรวมท่เี ป็นการขีดเสน้ ขอบเขตนอกเขต เศรษฐกจิ ของเมอื ง ดว้ ยการเป็นจุดขนถา่ ยสนิ คา้ และสง่ เสริม การเดินทางของผู้คนจากกรุงเทพฯ ก่อนจะเดินทางต่อไปสู่ เทศบาลจังหวัดลาปาง เริ่มสารวจและจัดทาผังเมืองในเขตตัวเมืองตาม พื้นท่ีอื่นๆ ในภาคเหนือ และการอพยพเข้ามาทามาค้าขายของ พระราชกฤษฎีกา กาหนดเขตท่ีดินที่จะทาการสารวจเพื่ อการวางและจัดทาผัง ชาวจีนในย่านสบตุ๋ย (ที่มา : จิราพร แซ่เตียว, เกร็ดประวัติ เมืองรวม ศาตร์สถานีรถไฟนครลาปาง. วารสารเมืองโบราณ. 27 ก.ค. (ทม่ี า : จิราพร แซเ่ ตียว, เกรด็ ประวัตศิ าตร์สถานีรถไฟนครลาปาง. วารสารเมอื ง 2020 (ออนไลน)์ ) โบราณ. 27 ก.ค.2020 (ออนไลน์))

1) พ.ศ.2427 – 2442 เมอื งละกอนกบั การลอ่ งแมน่ า้ วงั และจดุ เชือ่ มกับสยาม (ท่มี า : ภิญญพั นธ์ุ พจนะลาวัลย์, 2561. นา้ วัง รถไฟ พ.ศ.2427 – 2436 ไฮเวย์ ลาปางสมัยใหม)่ พ.ศ.2438 สยามเรม่ิ เขา้ มาปรบั ปรงุ ระเบยี บการปกครองอยา่ งจรงิ จัง พ.ศ.2440 – 2465 ปฏิบตั กิ ารเกดิ ข้ึนในฝ่ ังตะวันตกสามหวั เมืองใหญ่ ไดแ้ ก่ พ.ศ.2441 เชยี งใหม่ ลาพู น และละกอน โดยเขา้ มาดาเนินการสองส่วน สว่ นแรก คือ แก้ไขปญั หาชายแดนและการทาไม้ทเี่ ก่ยี วข้องกับ การเมืองระหว่างประเทศ กับสว่ นทส่ี อง คอื การจัดการ ป ก ค ร อ ง ภ า ย ใ น ดิ น แ ด น ด้ ว ย ก า ร จั ด ต้ั ง เ ส น า ห ก ต า แ ห น่ ง ท่ีสอดคล้องกับโครงสร้างการปกครองของสยาม การเดินทางของเหล่ามิชชันนารีอเมริกันเพรสไบทีเรียน ชาวตะวันตกที่ เดนิ ทางขน้ึ มาสารวจในเขตที่ราบลุ่มแมน่ ้าเจ้าพระยาตอนบน และ ภารกิจที่ ผูกพั นกับการเผยแพร่ศาสนาโดยเดินทางทวนกระแสน้าเจ้าพระยาผ่าน ปากน้าโพและแยกขึ้นไปทางแม่น้าวัง และเดินทางตรงมาถึงเมืองละกอน ดว้ ยเรือ ผ่านบริเวณชมุ ชนใหญ่ทเี่ รียกว่า “ลาปางกลาง” ในสมัยเจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตย์ รัฐบาลสยามได้รับที่ดินจากเจ้านายนคร ล า ป า ง ผ่ า น ก า ร บ ริ จ า ค เ พื่ อ ส ร้ า ง ส ถ า น ท่ี ร า ช ก า ร ใ น บ ริ เ ว ณ พื้ น ที่ ใจกลางเมือง ก่อตงั้ โรงเรยี นบญุ วาทยว์ ิทยาลยั ณ วดั พระแก้วดอนเตา้ จากนั้นย้ายไปสอนท่ีวัดสุชาดารามในปี 2442 และวัดแสนเมืองมา ในปี 2443

2) พ.ศ.2442 – 2475 นครลาปางกบั การมาถึงของรถไฟ ภายใต้อานาจสยามท่คี วบคมุ เวลา - สถานท่ี (ท่มี า : ภิญญพันธ์ุ พจนะลาวัลย,์ 2561. นา้ วงั รถไฟ ไฮเวย์ ประวัติศาสตร์ลาปางสมัยใหม่) พ.ศ.2442 การศกึ ษาแผนใหมแ่ ละโรงบ่มเพาะอดุ มการณ์ พ.ศ.2445 การจดั การศกึ ษาหลงั ปี พ.ศ.2442 เป็นต้นมา สอดคล้องกับนโยบายการแก้ไข ปัญหาขาดแคลนบุคลากร และเพื่ อสร้างความเป็นเอกภาพของชาติ ถือเป็นการ “ชกั ภาให้กลมเกลียวสนทิ กับไทยมากขน้ึ ” - ก าร จัด ต้ังโรงเรี ยนต่างอาเภอ อาทิ อาเภ อป่ าตั น ( ปั จจุบันคือ อาเภอแม่ทะ) ถึง 2 โรง ในปี 2453 - โครงการศึกษา (เพ่ื อป้องกันมิให้ราษฎรศึกษาเพี ยงคร่ึงๆ กลางๆ) พ.ศ.2456 - การปับปรงุ การศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาที่ยงั ไม่มกี ารเรยี นตอ่ สายวิสามัญ โดยเพิ่มวิสามญั ศึกษาชั้นมัธยม และเนน้ การศกึ ษาของสตรเี พิ่มมากขึน้ - การจัดตั้งโรงเรียนประชาบาลที่ขึ้นอยู่กับต้นสังกัดเทศบาลเมืองลาปาง อาทิ โรงเรียนวัดศรี บุญเรือง สร้างในปี 2468 และโรงเรียนวัดเชียงราย สร้างในปี 2470 กบฏเงีย้ วกอ่ การจลาจล ยกกาลงั ไปยึดเมอื งแพร่ และโจมตี สถานท่รี าชการเมืองต่างๆ อย่าง พะเยา เชียงราย เชียงแสน แขวงแมอ่ อน เชียงใหม่ และนครลาปาง

พ.ศ.2448 โครงการเร่งรัดก่อสรา้ งเส้นทางรถไฟสายเหนอื ถึงปากน้าโพ พ.ศ.2457 ภายหลังเหตุการณ์จราจลในมณฑลพายัพครั้งใหญ่ ทาให้รัฐบาลสยามตระหนักถึง ความด้อยประสิทธิภาพในการเดินทาง และความสาคัญของการเข้าถึงด้วยรถไฟ จงึ เป็นเหตใุ ห้เกดิ การเร่งรดั โครงการกอ่ สรา้ งเสน้ ทางรถไฟสายเหนอื ขน้ึ (ทม่ี า : ภิญญพั นธ์ุ พจนะลาวัลย์, 2561. นา้ วงั รถไฟ ไฮเวย์ ประวัตศิ าสตร์ลาปาง สมยั ใหม)่ การเริ่มก่อสร้างถนนทางหลวง เส้นทางเช่ือมไปยังจังหวัดพะเยาและเชียงราย ตอนเหนอื การเกดิ ขึน้ ของเสน้ ทางรถไฟสายเหนอื กอ่ ใหเ้ กดิ ทางหลวงอันเน่อื งมาจาก นโยบายรัฐที่มุ่งหวังจะสร้างเครือข่ายการเดินทางร่วมกัน โดยใช้ทางหลวงเป็นตัวจ่าย การเดินทางจากรถไฟไปยังจุดต่างๆ ทางหลวงสาคัญ คือ เส้นทางท่ีเชื่อมไปยังพะเยา และเชียงราย ระยะทางรวม 83 กิโลเมตร (อ้างอิง : ภิญญพั นธุ์ พจนะลาวัลย์, การศึกษาพั ฒนาการทางประวัติศาสตร์ของ “ผังเมืองลาปาง” สมัยใหม่ (พ.ศ.2442 – 2557) กรณีศึกษาเขตผังเมืองรวมจังหวัด ลาปาง)

การขยายตวั ทางเศรษฐกิจจากรมิ น้า สู่ทางรถไฟ พ.ศ.2459 เปดิ ทาการสถานีรถไฟนครลาปาง สถานีรถไฟนครลาปาง เริ่มก่อสร้างในปี พ.ศ.2458 และเปิดทาการเดินรถต้ังแต่ พ.ศ.2459 โดยเป็นสถานีปลายทางของขบวนรถไฟสายเหนอื (ก่อนจะขยายการกอ่ สรา้ ง ต่อไปถึงนครพิงค์หรอื เมอื งเชียงใหมใ่ นปี พ.ศ.2464) อันเป็นพ้ืนที่ชมุ ทางขนส่งมวลชน ที่ทันสมัยที่สดุ และเป็นตัวแปรสาคญั ในการเปลย่ี นเศรษฐกิจของเมือง ด้วยการเป็นจุด ขนถ่ายสนิ คา้ และส่งเสริมการเดนิ ทางของผคู้ นจากกรุงเทพฯ กอ่ นจะเดนิ ทางตอ่ ไปสู่ พื้นทีอ่ น่ื ๆ ในภาคเหนอื และการอพยพเขา้ มาทามาคา้ ขายของชาวจนี ในยา่ นสบตยุ๋ (ทม่ี า : จิราพร แซเ่ ตียว, เกร็ดประวัติศาตรส์ ถานรี ถไฟนครลาปาง. วารสารเมือง โบราณ. 27 ก.ค.2020 (ออนไลน์)) ดังพบไดจ้ าก ในปี พ.ศ.2460 ปริมาณการส่งออกหมจู ากจังหวดั ลาปางมากทีส่ ุดใน ภาคเหนือรายการสินค้าออก พบว่า นครลาปาง มีปริมาณการส่ง “หมู” ออกมากท่ีสุด ในภาคเหนือ โดยทางรถไฟ จานวน 4,203 ตัว เพ่ิมขึ้นเป็น 10,178 ตัว ในปี พ.ศ.2461 และในปี พ.ศ.2473 ลาปางมีการสง่ หมูออกมากถงึ 34,342 ตัว (ที่มา : กนกวรรณ จงเจริญยิ่งยง, 2551. ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจเมืองนครลาปาง. 2 ฟาแมน่ า้ วัง 2 ฝ่ งั นครลาปาง. ไพโรจน์ ไชเมอื งชืน่ (บรรณาธิการ)) พ.ศ.2464 - 2466การประกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั ิประถมศกึ ษา พ.ศ.2464 จานวน 3 ฉบับ พ.ศ.2466 การสร้างโรงเรียนจีนแห่งแรกในจังหวัดลาปาง และต้ังอยู่ในพื้นท่ีสบตุ๋ย คือ โรงเรียน ยกสา่ ย(ปจั จบุ ัน คอื โรงเรยี นมธั ยมวิทยา) กล่าวกันว่า ในระยะแรก ลูกคนจีนในลาปางเรียนภาษาจีนที่ จือป้อเสีย ที่บริษัทจังหวัด ลาปาง ก่อนจะมีโรงเรียน ในปี พ.ศ.2466 ท่ีพ่อค้าชาวจีนไหหลาซ้ือที่ดินสร้างโรงเรียน จีนแหง่ แรกในลาปาง เรียกวา่ โรงเรยี นยกสา่ ย สอนภาษาจนี กลางและจนี ไหหลา (ปัจจุบัน คือ โรงเรียนมธั ยมวทิ ยา)

พ.ศ.2466 การสร้างสนามบนิ จังหวดั ลาปาง พื้นที่นอกกาแพงเมอื งไปทางทิศใต้ โดยความร่วมมือ พ.ศ.2469 ขอข้าราชการมหาดไทยทมี่ หาอามาตย์ตรี พระยาสุเรนทรราชเสนา ปลัดมณฑลประจา พ.ศ.2470 จังหวลั าปางเปน็ ผูอ้ านวยการสรา้ ง (เข้าใจวา่ ใช้ในทางการทหารมากกว่าทางการพานชิ ) (ทม่ี า : ภิญญพั นธุ์ พจนะลาวลั ย์, 2561. นา้ วงั รถไฟ ไฮเวย์ ประวตั ศิ าสตรล์ าปาง สมัยใหม)่ การเสดจ็ ของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจา้ อยู่หวั รัชกาลที่ 7 ณ จงั หวัดลาปาง การเสด็จเยือนหัวเมืองต่างๆ ของเจ้านายกรุงทพฯ ท่ีสะดวกและย่นระยะเวลาได้มากขึน้ เช่น การเสดจ็ โดยรถไฟของสมเด็จเจา้ ฟา้ กรมหลวงนครราชสมี าในปี พ.ศ.2463 สมเดจ็ กรมพระยาดารงราชานุภาพในปี พ.ศ.2464 และเสด็จของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 7 ณ จังหวัดลาปางในปี พ.ศ.2469 ซ่ึงแสดงให้เห็นถึงการแสดง อานาจทางการเมืองในฐานะเจ้าผู้ปกครองต่อผู้ถูกปกครอง ที่จะต้องมีการเฝ้ารับเสด็จ การตระเตรียมพิธกี ารใหส้ มพระเกยี รติ การกอ่ ต้ังโรงเรยี นจนี ขนึ้ อีกแหง่ ในช่อื ว่า โรงเรียนฮ่วั เคย้ี ว ในปี พ.ศ.2468 ทบี่ า้ นไม้ช้ัน เดียวในย่านสบตุ๋ย เป็นที่ตั้งของชมรมชาวจีนโพ้นทะเล ด้านหลังห้องอ่านหนังสือพิมพ์ ได้เร่ิมมีการสอนหนังสือให้แก่เด็กนักเรียนจีน โดยนายชูล้ง แซ่ลี้ ชาวจีนแต้จิ๋ว ในบังคับสยามเป็นครูผู้สอน ในชื่อเรียกโรงเรียนว่า “ฮั่วเคี้ยวจือป้อเสียสบตุ๋ย” เรยี กส้ันๆ วา่ “จอื ปอ้ เสีย” เม่ือเรือ่ งรไู้ ปถงึ ธรรมการจังหวดั จงั ไดส้ ่ังยุติการสอน เนื่องจากไมไ่ ดม้ กี ารจดแจง้ จัดต้ังโรงเรยี นใหถ้ กู ตอ้ งตามพระราชบัญญัติโรงเรยี น ราษฎร์ และไดม้ ีการชีแ้ จงต่อทางการจนสามารถจดั ต้งั โรงเรยี นจีนขึ้นอกี แห่งไดใ้ นปี พ.ศ.2470 คือ “โรงเรยี นฮว่ั เคีย้ ว” ซึ่งเป็นของกลุ่ม ช า ว จี น แ ต้ จ๋ิ ว จี น แ ค ะ แ ล ะ จีนกวา้ งตุ้ง (ที่มา : ชัยประสาน สรุ วิชัย, 2563. ลาปางทาให้ฉันคิดถึงย่า)

พ.ศ.2470 การจดั ทะเบยี น “สโมสรลาปาง” ในปี 2470 โดยการรวมตัวกนั ของขา้ ราชการในนคร พ.ศ.2471 ลาปาง (ท่ีมา : ภญิ ญพั นธุ์ พจนะลาวัลย์, 2561. นา้ วงั รถไฟ ไฮเวย์ ประวัตศิ าสตร์ ลาปางสมยั ใหม่) พ.ศ.2473 บริษัทกิจการไฟฟา้ เริ่มจ่ายไฟ การดาเนินการกจิ การไฟฟา้ ของเอกชน โดยหม่องโพเขง่ คหบดพี มา่ ใตบ้ งั คับองั กฤษไดร้ บั สมั ปทาน ต่อมาไดจ้ ดทะเบียนรร่วมกับชาวจนี และ ข้าราชการสยามรวมเป็น 7 คน กจิ การ ดังกลา่ วไดม้ กี ารปรับเปล่ียนผู้ถอื หุ้นใหม่จนเหลือ เพียงแตช่ าวพมา่ ทั้งหมด 7 คน หน่ึงในนั้นเปน็ ชาวพมา่ ผู้มง่ั คง่ั จากกรงุ เทพฯ บรษิ ัท เรม่ิ จา่ ยไฟในปี 2471 โดยมีโรงจ่ายไฟอยู่ 2 แห่ง นน่ั คือ บริเวณสบตุ๋ยใกล้กบั สถานี รถไฟและบริเวณตัวเมืองอันเป็นย่านตลาดและสถานที่ราชการ (ที่มา : ภิญญพั นธุ์ พจนะลาวลั ย์, 2561. นา้ วงั รถไฟ ไฮเวย์ ประวตั ศิ าสตรล์ าปางสมยั ใหม)่ ก่อต้งั ธนาคารสยามกัมมาจลที่นครลาปาง เม่ือระบบการปกครองทาให้กิจกรรมทางเศรษฐกจิ ค่อยๆ ถา่ ยโอยความสัมพันธม์ าสู่ กรุงเทพฯ มากขึ้น แต่ปัญหาท่ียังแก้ไม่ตก คือ เงินตราที่ใช้ในภูมิภาคยังคงใช้เงินรูปี หรอื เงินแถบท่เี ปน็ ระบบเงินตราท่ีพึ่งพิงกับองั กฤษและเมืองพม่า นาไปส่กู ารกอ่ ตง้ั ธนาคารสยามกัมมาจลทน่ี ครลาปางในชว่ งปี พ.ศ.2473 และการครอบงาการค้าส่วนใหญ่ของชาวจีนในลาปาง เช่น ธุรกิจค้าข้าว ธุรกิจโรงสี คา้ ลูกไม้ และโรงฟอกหนัง ตลอดจนควบคมุ หุ้นโรงไฟฟา้ ขนาดใหญ่ เหลอื เพียง อุตสาหกรรมปา่ ไม้เพียงอย่างเดยี วท่ียังอยู่ในการควบคมุ ของอังกฤษและพมา่ เนื่องจากชาวจนี ไมค่ ่อยใหค้ วามสนใจ

3) พ.ศ.2475 – 2500 ลาปางกับรอยตอ่ ของทางรถไฟและทางหลวง ช่วงรฐั พ.ศ.2475 ประชาชาติ รัฐธรรมนูญ และเมืองหลงั สงคราม (ทม่ี า : ภิญญพันธุ์ พจนะลาวลั ย์, 2561. นา้ วงั รถไฟ ไฮเวย์ พ.ศ.2478 ประวตั ิศาสตรล์ าปางสมยั ใหม)่ พ.ศ.2480 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 พระราชทานนามสกุล “ณ ลาปาง” แด่เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตย์ ในคราวเดียวกับ ณ น่าน และ ณ เชียงใหม่ อันแสดงถึงการผูกโยงทางภูมิศาสตร์ และหมายถึงช่ือบ้าน นามเมืองทีถ่ ูกกาหนดจากกษตั รยิ ์ ชอื่ “นครลาปาง” ทหี่ ายไป ยอ่ มทาให้ความหมายของ “นคร” “ละกอน” สญู สลายไปด้วย ...โดยในเอกสาร ของราชการพบการใช้ชอื่ เรยี ก “จังหวดั ลาปาง” มาต้งั แต่ปี 2460 เป็นอยา่ งช้า (ทีม่ า : ภิญญพั นธุ์ พจนะลาวัลย์, 2561. นา้ วัง รถไฟ ไฮเวย์ ประวัติศาสตร์ ลาปางสมัยใหม)่ พระราชกฤษฎีกาจัดต้ังเทศบาลเมืองลาปาง จังหวัดลาปาง เป็นหน่วยการเมือง ที่สาคัญที่ได้รับการคาดหวังว่าจะเป็นการกระจายอานาจให้ท้องถ่ินจัดการตัวเอง โดยระบุขอบเขตของเทศบาลเมืองลาปาง พร้อมทั้งแผนที่แสดงขอบเขตและการ อาคารสถานที่ ทาให้เราเหน็ ถงึ การกระจายตัว และความหนาแน่นในเขตเทศบาล เมืองลาปางได้ชัดเจนเปน็ คร้ังแรกๆ การเกดิ ขนึ้ ของตลาดสดจานวนหน่งึ อนั แสดงให้เหน็ ได้ถงึ การขยายตวั ของ ป ร ะ ช า ก ร ก าร ค้ า ข าย เ ล็ ก ๆ น้ อ ย ๆ แ ล ะ ก า ร บริ โ ภ ค ใ น ร ะ ดั บ ช าว บ้ าน แล ะ นายทุนทอ้ งถนิ่ อาทิ ตลาดนากว่ มใต้ ในปี 2484 (ทม่ี า : ภญิ ญพั นธ์ุ พจนะลาวลั ย์, 2561. นา้ วงั รถไฟ ไฮเวย์ ประวัตศิ าสตร์ ลาปางสมัยใหม่)

พ.ศ.2481 การจัดการควบคมุ พื้นท่ีของรัฐ โดยการสารวจและรังวัดท่ดี นิ มีการเปิดทีท่ าการ พ.ศ.2486 หอทะเบยี นทดี่ นิ จงั หวัดลาปางในปี 2481 (ทีม่ า : ภญิ ญพั นธุ์ พจนะลาวัลย์, 2561. นา้ วงั รถไฟ ไฮเวย์ ประวตั ิศาสตร์ พ.ศ.2488 ลาปางสมยั ใหม)่ - การออกกฎหมายกดี กันคนตา่ งด้าว (โดยเฉพาะชาวจนี ) การออกกฎหมายกีดกันคนต่างด้าว (โดยเฉพาะชาวจีน) โดยเร่ิมใช้กับภาคเหนือ เมื่อปลายเดือนมกราคม พ.ศ.2486 ครอบคลุมพ้ืนท่ี 6 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ ลาพู น ลาปาง เชยี งราย แพร่ อุตรดิตถ์ - ลาปาง กับช่วงสงครามโลกครั้งท่ี 2 ระเบิดครั้งใหญ่ที่เกิดข้ึนเมื่อสิ้นปี 2486 ลาปางถูกทิ้งระเบิดอย่างหนัก ส่งผลกระทบต่อความรู้สึกนึกคิดของคนใน สังคมอยา่ งมาก จนเกิดปรากฏการณ์ต่างๆ เช่น การสร้างหลมุ หลบภัยไว้ตาม บ้านเรือนและสถานที่ต่างๆ มีการอาพรางตึกและอาคารด้วยทางมะพร้าวบน หลังคาและทาสีดาตามอาคาร เพ่ื อหลบการท้ิงระเบิดจากฝ่ายพั นธมิตร ผู้คน ส่วนหน่ึงพากันหลบหนีออกไปอยู่นอกเมืองเป็นการชั่วคราวจนลาปางเกือบ เปน็ เมืองรา้ ง ก า ร ร ว ม ก ลุ่ ม เ พ่ื อ ส ร้ า ง อ า น า จ ต่ อ ร อ ง แ ล ะ ส ร้ า ง ส วั ส ดิ ก า ร ร่ ว ม กั น ภายในกลุ่ม อาทิ ศาลเจ้าหรือศาสนสถานของชาวจีน เพื่ อประกอบพิ ธีกรรม ตามความเชื่อ เช่น ศาลเจ้าแม่ทับทิบของชาวจีนไหหลา ศาลเจ้าปูนเฒ่ากง ของชาวจนี แต้จวิ๋ และจีนแคะในพ้ืนที่สบตุ๋ย (ที่มา : On Lampang Article เปิดโลกลาปาง ผา่ น “สุม้ เสยี งจากบทความ”, http://olparticle.blogspot.com/2006/12/3_09.html)

พ.ศ.2490 เคร่ืองบินและสนามบินได้รบั การใชง้ านเชงิ พาณิชย์ เนอื่ งจากความคุ้มคา่ ทางตน้ ทุนการ พ.ศ.2491 ส่งไปรษณยี ์ทางอากาศที่มีความคมุ้ คา่ กว่าเมอื่ เทยี บกบั รถไฟ พ.ศ.2492 พ.ศ.2493 โรงเรียนชา่ งเย็บเสอื้ และทอผ้า เปล่ียนชอ่ื เป็น “โรงเรยี นการช่างสตรลี าปาง” พ.ศ.2495 การรวมตัวกันก่อตั้งสมาคมล้อเล่ือนจังหวัดลาปาง โดยกลุ่มสมาคมวิชาชีพรถม้า พ.ศ.2496 ซง่ึ ริเรมิ่ โดยขุนอุทานคดี อดีตนายกเทศมนตรีเมอื งลาปาง การโอนกจิ การของโรงพยาบาลเทศบาลเมืองลาปางใหแ้ ก่ กรมการแพทย์ กระทรวง สาธารณสขุ และได้เปลยี่ นชอ่ื เป็น “โรงพยาบาลเมอื งลาปาง” การซื้อที่ดินโดยรัฐบาลจากสถานกงสุลอังกฤษ เพื่อเป็นที่ทาการให้ของกองบังคับการ ตารวจภธู รเขต 1 และเปลี่ยนเปน็ กองบงั คบั การตารวจภูธรเขต 5 ในปี 2494 การเปล่ียนแปลงของวงการทหารในลาปาง การได้รับพระราชทานนามค่ายว่า “ค่ายสรุ ศักดิ์ม น ต รี ” เ พื่ อ เ ป็ น อ นุ ส ร ณ์ แ ด่ จ อ ม พ ล เ จ้ า พ ร ะ ย า สุ ร ศั ก ด์ิ ม น ต รี (เจิม แสงชูโต) การก่อต้ังโรงเรียนระดับอนุบาล - ประถมศึกษา โรงเรียนอนุบาลลาปาง (เขลางค์รัตน์ อนุสรณ)์

4) พ.ศ.2500 - 2530 บนถนนหนทางซูปเปอร์ไฮเวย์ (ทีม่ า : ภญิ ญพันธ์ุ พจนะลาวลั ย์, 2561. น้าวัง รถไฟ ไฮเวย์ พ.ศ.2501 ประวัติศาสตร์ลาปางสมยั ใหม)่ การขยายตัวของโรงเรียนเอกชนระลอกใหม่ อาทิ การก่อต้ังโรงเรียนอัสสัมชัญ พ.ศ.2502 ลาปาง อนั เป็นโรงเรียนชมูลนิธิคณะเซนต์คาเบรยี ลแหง่ ประเทศไทย เครือข่าย พ.ศ.2504 เดียวกบั โรงเรียนอรโุ ณทยั ที่เปิดก่อนหนา้ ในปี 2490 พ.ศ.2508 การจัดต้ังสานักงานประชาสัมพันธ์เขตลาปาง และสถานีวิทยุกระจายเสียงขนาด พ.ศ.2512 10 กิโลวตั ต์ ข้นึ ในภาคเหนือที่จังหวัดลาปาง การก่อต้ังเหลา่ กาชาดจังหวดั ลาปาง พ.ศ.2515 พ.ศ.2516 - การกอ่ ตัง้ คา่ ยลกู เสือจังหวัดลาปาง - การขยายตัวของทนุ ท้องถิ่น ห้างนยิ มพานิชในปี 2508 - การประกาศกาหนดท่ีตงั้ ของสถานีขนสง่ จังหวดั ลาปางอยา่ งเปน็ ทางการ บรเิ วณริมถนนพหลโยธิน - การก่อตง้ั ธนาคารแหง่ ประเทศไทย สาขาภาคเหนอื จังหวัดลาปาง กลุ่มของบุญเทียม สุวรรณอัตถ์ ชนะการเลือกตั้งเทศบาลเมืองลาปาง ทาให้เธอ กลายเปน็ นายกเทศมนตรีหญิงคนแรกของไทย กอ่ สร้างสนามกฬี าจงั หวดั ลาปาง เพ่ือรองรบั การแข่งขนั กฬี าเขต 5 จงั หวัด ลาปาง

พ.ศ.2519 การจัดตัง้ มลู นิธิเพื่อการศกึ ษาประชาวทิ ย์ - มัธยมวทิ ยา ความพยายามในการรวมทัง้ สองโรงเรียนจนี ในลาปางเข้าด้วยกนั ก่อนช่วงสงครามโลก พ.ศ.2520 ครั้งท่ีสองแตใ่ นท่ีสุดโรงเรยี นทัง้ สองกถ็ ูกสัง่ ปดิ ในช่วงสงคราว และโรงเรียนยกส่าย พ.ศ.2523 ถูกยึดเป็นฐานที่พักพิง จนถึง พ.ศ.2489 พ่อค้าจีนก็ขอเปิดโรงเรียนท้ังสอง โดยรวม เ ป็ น โ ร ง เ รี ย น เ ดี ย ว กั น ใ น น า ม “ โ ร ง เ รี ย น ย ก ฮั้ ว ” ห รื อ โ ร ง เ รี ย น ป ร ะ ช า วิ ท ย์ (หรือกงลยิ ิหวา) เป็นโรงเรียนระดับประถมศกึ ษา ขณะท่ีใช้โรงเรียนยกส่าย เป็นที่ต้ัง สโมสรชาวจนี (หวาเฉยี วจี้เลาะป้)ู ชอ่ื สโมสรสหมิตร ในปี พ.ศ.2495 จึงขอใชพ้ ื้นที่ โรงเรยี นยกส่าย เปน็ ที่ต้ังโรงเรยี นและใชช้ ่อื ว่า “โรงเรียนมัธยมวิทยา” จนในท่สี ุด ความ พยายามดงั กล่าวก็ปรากฏเป็นเครือข่ายในนาม มลู นธิ ิเพื่อการศึกษาประชาวิทย์ – มธั ยม วทิ ยา เมอื่ ปี พ.ศ.2519 (ทมี่ า : On Lampang Article เปิดโลกลาปาง ผ่าน “สุ้มเสยี งจากบทความ”, http://olparticle.blogspot.com/2006/12/3_09.html) เทศบาลได้ริเริ่มปรับเปล่ียนโฉมเมืองลาปางอีกครั้ง ต้ังแต่การออกแบบตราสัญลักษณ์ ให้มีลักษณะทันสมัย ลดทอนรายละเอียด ประกอบให้กลายเป็นเพี ยงเส้นเรขาคณิต ทั้งยังมีการป้ ันประติมากรรมลอยตัวรูปไก่ขาว พร้อมกับสร้างน้าพุ หน้าเทศบาล เมอื งลาปาง การขยายตวั ของทุนทอ้ งถ่ิน ห้างลคั ก้ี (สะอาดลาปาง) หา้ งแฟช่นั สโตรใ์ นปี 2523

พ.ศ.2524 การจดั ทะเบียนสหกรณ์เดนิ รถลาปาง จากัด (หน่วยงานท่รี วมกลมุ่ กันเพ่ือสวสั ดิการ ของพนักงานขับรถโดยสารประจาทางภายในจังหวัดลาปาง หรือที่รู้จักกันในนาม พ.ศ.2523 “รถสี่ลอ้ ” เพื่อการจดั การระบบขนส่งภายในจงั หวดั ลาปาง โดยได้รับการจดทะเบียน พ.ศ.2525 อย่างเปน็ ระบบมากขน้ึ พ.ศ.2527 การขยายตวั ของทนุ ทอ้ งถนิ่ เสรีสรรพสนิ คา้ ในปี 2524 พ.ศ.2528 พ.ศ.2532 การสร้างสนามเทนนิสและเปิดการแขง่ ขนั เทนนิสโอเพ่น 25 ปี ในปี 2525 การสร้างอนสุ าวรยี ์เจ้าทิพย์ช้าง บริเวณถนนซูปเปอรไ์ ฮเวย์ลาปาง - งาว ภาพตัวแทน ข อ ง ส ถ า น ะ ท่ี สู ง ส่ ง ข อ ง เ มื อ ง ล า ป า ง ใ น ฐ า น ะ ท่ี เ จ้ า ทิ พ ย์ ช้ า ง เ ป็ น ค น ล า ป า ง แ ล ะ เ ป็ น บรรพบุรุษต้นตระกลู ของเหลา่ ณ เชียงใหม่ ณ ลาปาง และ ณ ลาพู น การสร้างคลังกา๊ ซ ปตท.ลาปาง การยกเลกิ สมั ปทานป่าไม้ในลาปาง



1. พฒั นาการและแนวโน้มการเปล่ยี นแปลงทางเศรษฐกจิ สงั คม ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มของ จงั หวัดลำปาง เป็นการนำเสนอข้อมูลเชิงเปรียบเทียบการวิเคราะห์ข้อมูลพัฒนาการและแนวโน้มการพัฒนาของจังหวัดที่ครอบคลุมในทุกมิติทั้งด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม โดยมีรายละเอยี ดดงั น้ี 1.1 พฒั นาการและแนวโนม้ การเปล่ยี นแปลงทางเศรษฐกิจ จังหวัดลำปางมีอัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลง ผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดปี 2560 มูลค่า 70,0 23 ล้านบาท ในปี 2562 เพมิ่ ขึ้นเป็น 71,417 ล้านบาท เมื่อวิเคราะห์รายละเอียดในสาขาการผลิตจะพบว่ามูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคอุตสาหกรรมมีแนวโน้มลดลง มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตร ขาดเสถยี รภาพมีทง้ั เพมิ่ เพิ่มข้ึนและลดลงในภาพรวมถอื ขยายตัวในอัตราทต่ี ่ำ มเี พยี งมูลคา่ ผลิตภัณฑ์มวลรวมของภาคบริการเท่านน้ั ทม่ี แี นวโน้มเพ่ิมข้นึ สาขา 2558 มูลค่าเพ่มิ (VA)ลา้ นบาท 2562 growth (%) 65,892 2559 2560 2561 71,417 2560 2561 2562 Gross provincial 68,545 70,023 70,894 2.2 1.2 0.7 product (GPP) 90,424 100,711 GPP Per capita 94,779 97,291 99,230 2.7 2.0 1.5 (Baht)

45,000 ผลติ ภณั ฑม์ วลรวม ณ ราคาประจาปี (ลา้ นบาท) จงั หวดั ลาปาง 40,000 35,000 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0 2010 2011 2012 2013 2014r 2015r 2016r 2017r 2018r 2019p 2009 4,966 5,476 7,115 7,602 7,601 8,337 7,837 7,718 7,465 7,696 25,738 27,151 24,825 25,700 25,151 24,407 25,761 25,857 25,482 24,795 1LPG Agriculture 4,909 26,731 27,344 30,751 31,524 31,986 33,149 34,947 36,447 37,947 38,926 5LPG Industrial 22,697 10LPG Services 25,151 (ท่มี า : สำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาต)ิ

เมื่อเปรียบเทยี บกับระดบั ประเทศ พบว่าตัวชี้วัดด้านเศรษฐกิจในภาพรวมส่วนใหญ่ต่ำกวา่ ระดับค่าเฉลี่ยของระดับประเทศ โดยเฉพาะอัตราการขยายตัว ต่อปีของการลงทุนภาครัฐอยู่ในอันดับที่ 71 ของประเทศ และอัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมอยู่ในอันดบั ที่ 59 ของประเทศ รวมทั้งผลิ ตภาพแรงงาน เฉลี่ยอยู่ในระดับ 49 ของประเทศ มีเพียงตัวชี้วัดเดียวที่มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศคือรายได้ของจังหวัด (ไม่รวมเงินอุดหนุน) ต่อมูลค่าผลิตภัณฑ์มว ลรวม จังหวดั แบบปริมาณลูกโซ่

เมื่อพิจารณาเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) ในมิติที่ 3 เศรษฐกิจและความมั่งคั่ง (Prosperity) ที่วัด ความเป็นอยู่ทีด่ แี ละสอดคล้องกบั ธรรมชาติ ของประชาชนพบวา่ จังหวัดลำปางจดั อยู่ในกลมุ่ ที่ 3 มีคา่ ดชั นผี สมสงู กวา่ ระดบั ประเทศและเป็นจังหวดั ที่มีศกั ยภาพ และพร้อมทีจ่ ะพัฒนา แต่มีคา่ ดัชนีบางตัวทีม่ ีค่าร้อยกวา่ ค่าเฉล่ียของประเทศที่ต้องเร่งพัฒนา คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงของรายไดเ้ ฉลี่ย อัตราการเปลี่ยนแปลง ของผลิตภณั ฑม์ วลรวมจังหวัด และอตั ราส่วนหนี้เฉลี่ยตอ่ รายได้เฉลี่ยของครัวเรอื นของครวั เรอื นในจงั หวัด



ภาคบริการ การคา้ การลงทนุ ภาคบริการเป็นสาขากการผลิตของจังหวัดลำปางที่มีอัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมเพิ่มขึ้น มีมูลค่าของผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคบริการ ในปี 2562 เท่ากับ 39,926 ล้านบาทมีสัดส่วน ถึงร้อยละ 54 ของมูลค่าของผลิตภัณฑ์มวลรวมทั้งหมดของจังหวัด และสาขาที่มีสัดส่วนสูงสุด 3 อันดั บแรกคือ การ กอ่ สร้าง การขายสง่ การขายปลีก การซอ่ มยานยนตแ์ ละจกั รยานยนต์ การขนส่งและสถานี ที่เก็บสนิ คา้

เมื่อวิเคราะห์ ตัวชี้วัดด้านบริการของจังหวัดลำปาง พบว่ารายได้จากการท่องเที่ยว สัดส่วนมลู ค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมด้านการท่องเที่ยวต่อผลิตภัณฑ์ มวลรวมทั้งหมด อัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคบริการ (นอกเหนือจากบริการภาครัฐ) ยังมีค่ าเฉลี่ยต่ำกว่าระดับประเทศ มีเพียง 2 ตัวชี้วัดที่มี ค่าเฉลยี่ สูงกวา่ ระดับประเทศคือ สดั สว่ นมูลคา่ ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมสาขาตัวกลางทางการเงินต่อผลิตภัณฑม์ วลรวมทง้ั หมดอัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวม ภาคบริการ (นอกเหนือจากบริการภาครฐั )

ดา้ นการทอ่ งเทยี่ ว ด้านการทอ่ งเที่ยวของจังหวัดลำปางถงึ แม้จะมีสดั ส่วนของรายไดท้ ี่ตำ่ กว่าค่าเฉลยี่ ของระดบั ประเทศ แต่ถ้าพจิ ารณาในภาพรวมของจังหวัดลำปางจะ พบว่าช่วง 10 ปีการท่องเที่ยวของจังหวัดลำปางมีอัตราขยายตัวค่อนข้างสูงและมีอัตราเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเมื่อเที ยบกับอัตราการขยายตัวของสาขาการผลิต อื่น ๆ รายการ หนว่ ย 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 SI คน 22,402 55,958 394,883 417,407 449,323 481,908 576,727 604,758 614,450 371,068 จานวนผ้เู ข้าพกั ล้าน kwh 9 9 10 10 10 10 10 10 10 9 ปริมาณการใช้ไฟฟา้ ภาคบริการ ล้านบาท 7 8 8 8 9 10 11 12 14 10 ภาษมี ูลค่าเพม่ิ หมวดโรงแรมและภัตตาคาร ลา้ นบาท รายไดจ้ ากผู้เยยี่ มเยอื น 627 1,163 2,345 2,505 2,805 2,969 3,774 4,203 4,366 2,292 จานวนนกั ทอ่ งเทย่ี วทเี่ ข้ามาในจงั หวัด คน 478,222 719,823 761,823 804,161 859,083 904,653 984,037 1,291,730 1,358,846 816,486 ยอดขายสินค้าของหา้ งสรรพสินค้าในจงั หวัด ล้านบาท พนื้ ทใ่ี หอ้ นญุ าตกอ่ สร้างดา้ นทอี่ ยอู่ าศัย 3,298 4,610 4,814 4,747 4,958 4,841 4,743 4,603 4,664 3,958 สินเช่ือรวม ตรม. 138,566 146,734 199,356 275,182 262,480 299,123 252,744 279,273 320,069 345,117 ล้านบาท 549,009 633,706 698,592 649,027 701,773 723,176 722,404 751,417 861,290 849,553



จำนวนนกั ทอ่ งเท่ียว/นกั ทศั นาจร รายการ ปี2561 รวม ป2ี 562 รวม ปี 2563 666,645 677,935 ชาวไทย ชาวตา่ งประเทศ จำนวน ชาวไทย ชาวตา่ งประเทศ ชาวไทย ชาวต่างประเทศ นักทอ่ งเท่ยี ว 684,322 ขอ้ มูลอยู่ระหว่างจำแนก 608,317 58,328 618,668 59,267 เปน็ ขอ้ มูล (คน) จำนวน 610,081 56,161 666,242 627,341 56,974 จำนวนผเู้ ย่ียมเยอื น นักทัศนาจร 821,581 (คน) รวม 1,218,398 114,489 1,332,887 1,246,009 116,241 1,362,257 821,581 เปรยี บเทียบรายไดจ้ ากการทอ่ งเท่ยี วจังหวดั ลำปาง รายไดจ้ ากการทอ่ งเทีย่ ว (ล้านบาท) ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 3,710.69 3,799.23 2,181.53 ชาวไทย 2,581.93 3,285.02 538.75 552.34 124.38 4,249.44 4,351.57 2,305.91 ชาวตา่ งประเทศ 387.02 488.93 รวม 2,968.95 3,773.95 ทมี่ า: สำนักงานการท่องเท่ยี วและกีฬาจังหวดั ลำปาง

อุตสาหกรรมและหัตถอุสาหกรรม ภาคอุตสาหกรรมของจังหวัดมีอัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมมีแนวโน้มลดลง มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคอุตสาหกรรมปี 2562 เท่ากับ 24,795 ล้านบาท ลดลงจากปี 2561 ที่มีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคอุตสาหกรรม เท่ากับ 25,482 ล้านบาท และสัดส่วนของผลิตภัณฑ์ มวลรวมภาคอุตสาหกรรมต่อผลติ ภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดก็มีสัดส่วนลดลง ในปี 2562 ภาคอุตสาหกรรม มีสัดส่วนท่ีร้อยละ 35 ของผลิตภณั ฑ์ มวลรวมของจังหวดั สาขาการผลิตทม่ี ีสัดสว่ นสูงทส่ี ดุ คือการทำเหมอื งแรแ่ ละเหมืองหนิ รองลงมาเป็นการผลติ อตุ สาหกรรม ไฟฟา้ ก๊าซ และระบบปรบั อากาศ การประปาและการจดั การของเสีย ตามลำดบั

เมื่อพิจารณาดัชนีด้านอุตสาหกรรมพบว่า ตัวชี้วดั ส่วนใหญ่มคี ่าเฉลี่ยต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ มีเพียง 3 ตัวชี้วัดเท่านัน้ ที่มีคา่ เฉลี่ยสงู กวา่ ระดับประเทศคอื สัดส่วนมลู ค่าสินคา้ อตุ สาหกรรมเกษตรต่อผลิตภณั ฑม์ วลรวมทงั้ หมด ปรมิ าณการใช้นำ้ มันดเี ซล และอัตราการเปลี่ยนแปลงของ ปรมิ าณการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจก

รายการ 2559 2560 2561 2562 2563 IPI 16,860 16,241 14,418 14,029 13,405 ปริมาณลกิ ไนต์ ปริมาณหินอตุ สาหกรรม (หนิ ปนู - กอ่ สร้าง) 1,750 1,910 1,942 1,902 1,541 ปริมาณดนิ ขาว ปริมาณการใช้ไฟฟา้ ภาคอตุ สาหกรรม 339 199 250 272 302 ภาษมี ูลคา่ เพมิ่ หมวดอตุ สาหกรรม ปริมาณการผลติ กระแสไฟฟา้ (กฟผ.) 607,681,855 607,285,161 604,949,892 625,964,057 625,883,438 มูลคา่ การจาหนา่ ยผลติ ภัณฑเ์ ซรามิก อัตราการเปลย่ี นแปลง 181 132 164 181 141 มูลคา่ การจาหนา่ ยผลติ ภัณฑห์ ัตถอตุ สาหกรรม อัตราการเปลยี่ นแปลง 19,086 18,875 17,494 16,731 18,278 2,382 2,328 2,323 2,192 1,464 - 2.31 - 2.69 - 0.23 - 6.95 - 32.27 557 624 737 616 626 0.12 0.18 - 0.16 0.02 - 0.22

เมื่อพิจารณาอุตสาหกรรมเด่นของจังหวัดลำปางคือเซรามิก พบว่า มูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าเซรามิกของจงั หวัดลำปางในช่วง ระยะ 5 ปี ที่ผ่านมา (พ.ศ.2559 - 2563) มการเปลี่ยนแปลงลดลงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นผลมาจากปัญหาภาวะทางเศรษฐกิจทำให้ผู้ประกอบการราย ใหญป่ ิดตัวลง และทำเปน็ กจิ การขนาดเลก็ รายย่อย รวมท้ัง ความนยิ มใชภ้ าชนะจากเซรามกิ ในกลุม่ ประชาชน ยงั มจี ำนวนไมม่ าก หรือมีแนวโนม้ เพ่ิมขึ้นแต่ อย่างใด ส่วนหตั ถอุตสาหกรรมมแี นวโนม้ ในการขยายตัวเพิม่ ขึ้น เมื่อเปรียบเทยี บกับระดบั ประเทศพบวา่ ในปี 2563 จงั หวัดลำปางมีอัตราเพม่ิ ของ รายได้จากการจำหน่ายสินค้า OTOP ถึงร้อยละ 19.8 อยู่อันดับที่ 2 ของประเทศ และมีจำนวนวิสาหกิจชุมชนและเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนที่ได้รับ อนุมตั ิการจดทะเบียนถงึ 1,816 แหง่ อยู่ในอันดับที่ 15 ของประเทศ



ข้อมูลโรงงานอตุ สาหกรรม ปัจจุบันโรงงานตามพระราชบญั ญัตโิ รงงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 ที่กำหนดต้องมีเคร่ืองจกั ร ตั้งแต่ 50 แรงมา้ ขึ้นไปหรือคนงาน 50 คน ขึ้นไป ในส่วนของจังหวัดลำปาง มีโรงงานจำนวนทั้งสิน้ จำนวน 526 โรงงาน เงินลงทุนรวม 60,080.41 ล้านบาท คนงาน 21,962 คน (ข้อมูล ณ 31 กรกฎาคม 2564) โดยกลุ่มอุตสาหกรรมสำคัญทส่ี ง่ ผลต่อเศรษฐกิจของจังหวัดลำปางดา้ นการลงทนุ และด้านแรงงาน ดังนี้ 1. อุตสาหกรรมด้านพลังงาน ได้แก่ การผลิตพลังงานไฟฟ้าโดยใช้ถ่านหินลิกไนต์ การผลิตพลังงานไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ การผลิต พลังงานไฟฟ้าจากลมร้อนทิ้งจากการผลิตปูนซีเมนต์ และการผลติ เช้ือเพลิงชีวมวลอัดแทง่ อัดเม็ด ตามลำดับ จำนวนเงินลงทนุ 53,792.65 ล้านบาท คนงาน 4,181 คน 2. อตุ สาหกรรมผลิตภณั ฑจ์ ากพชื ไดแ้ ก่ การอบพืชหรอื เมล็ดพชื การเกบ็ รกั ษาหรือลำเลียงพืชการสขี ้าว การทำมันเสน้ และการกะเทาะ เมล็ดพชื ตามลำดบั จำนวนเงินลงทนุ 1,553.42 ลา้ นบาท คนงาน 1,407 คน 3. อตุ สาหกรรมผลิตภณั ฑอ์ โลหะ ไดแ้ ก่ การผลติ ปูนซีเมนตเ์ ป็นหลัก รองลงมาได้แก่ ผลติ ภณั ฑเ์ ซรามิกผลิตภัณฑ์คอนกรีต และผลติ ภัณฑ์ กระเบ้ือง ตามลำดบั เงินลงทุน 1,518.51 ลา้ นบาท คนงาน 5,700 คน

ตารางแสดงจำนวนโรงงานรวมทัง้ หมด จำแนกเปน็ รายปี (ปี พ.ศ. 2560 - 2564) ในส่วนของมูลค่าการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมจังหวัดลำปาง ระหว่างปี 2559 - 2563 (คิดจากเงินทุนจากการขออนุญาตตั้งโรงงาน อตุ สาหกรรมและการขอขยายโรงงานอุตสาหกรรม) มีรายละเอยี ดดังน้ี หนว่ ย : ลา้ นบาท ปี พ.ศ. 2559 2560 2561 2562 2563 จำนวนเงนิ ลงทนุ 489.74 1,443.22 721.5 290.35 891.44 อัตราการขยายตวั (ร้อยละ) - 194.69 -50.01 -59.76 207.02

ภาคเกษตร ภาคเกษตรของจังหวัดลำปางมีอัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมในระดับต่ำ เมื่อพิจารณาดัชนีวัดด้านเกษตรโดยภาพรวมพบว่า สัดส่วนมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตรต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมทั้งหมด อัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตร ต่ำกว่าระดับค่าเฉล่ยี ของประเทศ และตัวชี้วัดส่วนใหญ่จะมีค่าต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ มีเพียง 3 ตัวชี้วัดเท่านั้นที่สูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ คือ อั ตราเพ่ิมเฉลี่ยของ ผลผลิตสินคา้ เกษตรสำคญั เฉล่ียต่อไรพ่ นื้ ทช่ี ลประทาน สัดส่วนหมบู่ า้ นมีน้ำใชเ้ พอ่ื การเกษตรเพยี งพอตลอดปี



เมื่อพจิ ารณาปริมาณการผลิตภาคเกษตร พบวา่ ปรมิ าณการผลิตภาคเกษตรจงั หวดั ลำปาง 10 ปีทผ่ี ่านมามีโครงสรา้ งการผลติ ภาคเกษตร ท่เี ปล่ียนแปลง เป็นการผลิตเกษตรเชิงเดย่ี วมอี ัตราเพ่มิ ขึ้นทุกปี ซ่ึงเปน็ ประเด็นทีจ่ ะต้องนำมาวิเคราะหเ์ พ่ือเพม่ิ แนวทางบริหารจดั การ



1.2 พฒั นาการและแนวโนม้ การเปลีย่ นแปลงทางสงั คม ด้านสังคมและความมน่ั คงในภาพรวมเม่อื วเิ คราะห์ตามเปา้ หมายการพัฒนาทย่ี ั่งยนื (Sustainable Development Goals–SDGs) ด้านการ พฒั นาคน (People) พบว่ามติ ิด้านการพัฒนาคน (People) ในจัด ถกู จดั ให้อยู่กลุม่ ที่ 4 เป็นจังหวัดที่มีความเขม้ แข็งและพรอ้ มขยายผลไปภายนอก คือ จงั หวดั ที่มคี า่ ดัชนผี สม สงู กวา่ ค่ากลางของประเทศ ตัวชวี้ ัดมติ ดิ ้านการพฒั นาคน (People) ประกอบดว้ ย 5 ดัชนีชวี้ ดั คือ ร้อยละของประชากรท่ีอยู่ใต้ เส้นความยากจน ร้อยละของทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ร้อยละของประชากรที่เจ็บป่วยที่เป็นผู้ป่วยใน อัตราส่วนประชากรต่อแพทย์ อตั ราการเข้าเรียนรวมระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายและอาชีวศึกษา จ้านวนปีการศกึ ษาเฉลี่ยประชากรไทยอายุ 15 - 59 ปี (ป)ี คา่ เฉล่ยี คะแนน o-net มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (คะแนน) ทกุ ตัวช้ีวดั มคี ่าเฉลย่ี สูงกวา่ ระดบั ประเทศ

ดา้ นสังคม การศกึ ษา เรยี นรู้และอาชีพ เมื่อวิเคราะห์ดา้ นสังคม การศึกษา เรียนรู้และอาชีพพบว่าตัวชี้วัดส่วนใหญ่ยังอยู่ในระดับที่ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ ตัวชี้วัดท่ี สูงกวา่ ระดับประเทศมี 5 ตัวชีว้ ดั ประกอบด้วย - คะแนนเฉลยี่ ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา (O-NET) ชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย อันดับ 13 ของประเทศ - คะแนนเฉลย่ี สตปิ ัญญา (IQ) เด็กนักเรยี นไทย อนั ดับ 18 ของประเทศ - รอ้ ยละของเดก็ นกั เรียนท่มี ีคะแนน EQ ไม่ต่ำกวา่ เกณฑ์มาตรฐาน อนั ดบั 14 ของประเทศ - อัตราการอ่านของประชากรอายุ 6 ปขี ึน้ ไป อนั ดบั 29 ของประเทศ - จำนวนผมู้ ีภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่นหรือปราชญ์ชาวบา้ นเฉลย่ี ตอ่ หมบู่ ้าน อนั ดบั 7 ของประเทศ และตวั ช้ีวดั ท่นี ้อยกวา่ คา่ เฉล่ียของประเทศมถี ึง 8 ตวั ชีว้ ดั ประกอบด้วย - จำนวนปีการศกึ ษาเฉลี่ย - อตั ราการเขา้ เรยี นของประชากรวัยเรยี นในระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน - สัดสว่ นคนอายุ 6 ปีขนึ้ ไปปฏบิ ัติกิจกรรมทางศาสนาอยา่ งน้อยสปั ดาห์ละ 1 คร้ัง - สัดส่วนผ้ใู ช้อนิ เตอร์เน็ตต่อจำนวนประชากร - อตั ราเพิ่มของผ้เู รียนระบบทวิภาคี - สัดสว่ นคนอายุ 15 - 59 ปี มอี าชีพและมรี ายได้ - สดั ส่วนคนอายุ 60 ปีข้นึ ไป มีอาชีพและมรี ายได้ - สดั สว่ นแรงงานเพศหญิงตอ่ ประชากรแรงงาน - สดั ส่วนผู้หญงิ ในระดบั บรหิ ารหรอื ในระดบั การตดั สนิ ใจต่อจำนวนแรงงานในระดับบรหิ ารทั้งหมด



ด้านการศึกษา ปีการศึกษา 2562 มีจำนวนนักเรียน นักศึกษาในจังหวัดลำปาง รวมทุกสังกัด จำนวนทั้งสิ้น 127,040 คน โดยมีจำนวน นักเรียนในระดับประถมศึกษามากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 31.91 รองลงมาได้แก่นักเรียนระดับมัธยม คิดเป็นร้อยละ 29.17 ระดับอาชีวศึกษาและ

อดุ มศกึ ษา คิดเป็นรอ้ ยละ 22.09 ตามลำดบั ท้งั นี้มจี ำนวนนักเรียนท่ีออกกลางคนั จำนวน 230 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.27 ของจำนวนนกั เรียนทัง้ หมด ท้ังนี้ มีจำนวนครัวเรอื นทเี่ ข้าถงึ อนิ เตอรเ์ น็ต จำนวน 162,480 ครวั เรือน คิดเป็นร้อยละ 60.7 ของครวั เรอื นท้งั หมด ด้านการมีงานทำและมีรายได้ สถานการณ์ด้านการมีงานทำและมีรายได้ ข้อมูลปี 2562 แยกออกเป็นด้านการกำลังแรงาน ด้าน ผ้ปู ระกนั ตน และดา้ นรายได้ของครัวเรือน ซง่ึ สรปุ ไดด้ งั น้ี - กำลังแรงงานในจังหวัดลำปาง ณ ปี 2562 มีจำนวน 405,925 คน มีจำนวนผู้มีงานทำ ในจังหวัดทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 99.14 ผู้ วา่ งงานคดิ เป็นร้อยละ 0.86 ของกำลังแรงงานทง้ั หมด - ในจงั หวัดลำปาง มีสถานประกอบการ จำนวน 3,403 แหง่ มผี ้ปู ระกันตนในระบบกองทนุ ประกันสังคมจำนวนทงั้ สิน้ 113,865 คน โดย เป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 33 มากที่สดุ คิดเป็นร้อยละ 47.05 ของจำนวนผู้ประกันตนทัง้ หมด รองลงมาเป็นผูป้ ระกันตนมาตรา 40 คิดเป็นรอ้ ยละ 40.87 และผู้ประกนั ตนตามมาตรา 39 คดิ เป็นร้อยละ 12.08 ตามลำดบั - รายได้เฉลี่ยของครัวเรือนต่อเดือน ณ ปี 2562 คิดเป็น 194,480 บาท มีรายจ่ายเฉลี่ยของครัวเรือนต่อเดือน จำนวน 11,536.21 บาท และหน้ีสินของครวั เรอื นรวม จำนวน 155,359 บาท/ครวั เรอื น

ขอ้ มูลประชากร จงั หวดั ลำปางมปี ระชากร จำนวน 727,262 คน เป็นชาย 354,467 คน หญงิ 372,795 คน อำเภอท่ีมปี ระชากรมากทส่ี ุดได้แก่ อำเภอเมือง ลำปาง รองลงไป คือ อำเภอเกาะคา เถนิ และแม่ทะ ปี ชาย (คน) หญิง (คน) รวม (คน) ลดลงจากปที ผี่ า่ นมา (-) 727,262 -8,764 2564 354,467 372,795 736,026 738,316 - 2,290 คน 2563 359,137 376,889 743,724 - 5,408 คน 746,547 - 2,823 คน 2562 362,324 377,992 748,850 - 2,303 คน 752,356 - 3,506 คน 2561 363,762 379,962 753,013 - 657 คน 754,862 - 1,849 คน 2560 365,389 381,158 756,811 - 1,949 คน 757,534 - 723 คน 2559 366,857 381,993 - 4,415 คน 2558 369,033 382,323 2557 369,819 383,194 2556 37๑,269 38๓,593 2555 372,756 384,055 2554 373,104 384,430 (ทีม่ า : ท่ีทำการปกครองจงั หวัดลำปาง ขอ้ มลู ณ เดือนพฤษภาคม 2564 )

จะเห็นได้ว่าจำนวนประชากรในจังหวัดลำปางตงั้ แต่ปี 2554 จนถึงปี 2564 นั้นประชากร มีจำนวนลดลงจาก 757,534 คน และ จำนวน ประชากรปจั จบุ ันท่ี 727,262 คน



จำนวนและร้อยละของประชากร จำแนกตามกลมุ่ อายุ จังหวัดลำปาง ปี 2563 กลุม่ อายุ ชาย หญิง รวมท้งั หมด 0 - 4 ปี จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ 5 - 9 ปี 12,804 1.74 10-14 ปี 15,197 2.06 12,176 1.65 24,980 3.39 15-19 ปี 16,254 2.21 20-24 ปี 17,810 2.42 14,624 1.99 29,821 4.05 25-29 ปี 23,285 3.16 30-34 ปี 27,157 3.69 15,466 2.10 31,720 4.31 35-39 ปี 25,408 3.45 40-44 ปี 24,852 3.38 17,113 2.33 34,923 4.74 45-49 ปี 24,588 3.34 50-54 ปี 26,664 3.62 22,823 3.10 46,108 6.26 55-59 ปี 29,667 4.03 60-64 ปี 32,472 4.41 25,726 3.50 52,883 7.18 65-69 ปี 29,644 4.03 70-74 ปี 21,369 2.90 24,524 3.33 49,932 6.78 75-79 ปี 13,243 1.80 80+ ปี 8,028 1.09 23,991 3.26 48,843 6.64 10,695 1.45 24,949 3.39 49,537 6.73 28,898 3.93 55,562 7.55 34,121 4.64 63,788 8.67 36,443 4.95 68,915 9.36 32,764 4.45 62,408 8.48 24,030 3.26 45,399 6.17 14,959 2.03 28,202 3.83 9,657 1.31 17,685 2.40 14,625 1.99 25,320 3.44

กลุม่ อายุ ชาย หญิง รวมทง้ั หมด รวม จำนวน 359,137 รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ 48.79 376,889 51.21 736,026 100.00 อตั ราเกดิ ในปีงบประมาณ 2563 จงั หวดั ลำปางมอี ัตราเกดิ 4.87 ต่อ พนั ประชากร ซงึ่ มแี นวโนม้ ลดลงอย่างตอ่ เนื่อง จากอัตราเกิด 5.96 ต่อพันประชากร ในปีงบประมาณ 2559 เป็นอัตรา 5.11 ต่อพันประชากร ในปีงบประมาณ 2562 ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2559 - 2562 พบอัตราเกิด 5.96, 5.77, 5.40 และ 5.11 ตอ่ พนั ประชากร ตามลำดบั ซ่งึ จงั หวัดลำปางมีอัตราเกดิ ตำ่ กวา่ ภาพรวมประเทศ (ปงี บประมาณ 2562 ภาพรวมประเทศ มอี ตั ราเกดิ 9.30 ต่อพนั ประชากร) อัตราตาย ในปีงบประมาณ 2563 จังหวัดลำปางมีอัตราตาย 10.33 ต่อพันประชากรซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากอัตราตาย 9.53 ตอ่ พนั ประชากร ในปีงบประมาณ 2561 เปน็ อตั รา 10.46 ตอ่ พนั ประชากร ในปีงบประมาณ 2562 ตงั้ แตป่ งี บประมาณ 2559 - 2562 พบ อตั รา ตาย 10.64, 9.63, 9.53 และ 10.46 ตอ่ พนั ประชากร ตามลำดบั ซ่ึงจงั หวดั ลำปางมอี ตั ราตาย สงู กวา่ ภาพรวมประเทศ (ปงี บประมาณ 2562 ภาพรวม ประเทศ มอี ตั ราตาย 7.60 ต่อพนั ประชากร) อัตราเพิ่มตามธรรมชาติ ในปีงบประมาณ 2563 จังหวัดลำปางมีอัตราเพิ่มตามธรรมชาติ ร้อยละ -0.55 มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง จาก รอ้ ยละ -0.47 ในปงี บประมาณ 2559 เป็นรอ้ ยละ -0.53 ในปงี บประมาณ 2562 ตง้ั แตป่ ีงบประมาณ 2559 - 2562 มอี ตั ราเพมิ่ ตามธรรมชาติ รอ้ ย ละ -0.47, -0.39, -0.41 และ -0.53 ตามลำดับ

อตั ราเกิด อัตราตาย จังหวดั ลำปาง ปงี บประมาณ 2554-2563 อตั ราต่อพนั ประชากร 10.64 10.46 10.33 ร้อยละ 9.11 9.35 9.47 9.43 9.63 9.53 12 6.98 6.45 6.11 6.16 5.96 5.77 5.40 5.11 10 9.10 4.87 8 6.63 6 4 2 0 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 อัตราเกดิ : 1,000 ประชากร อัตราตาย : 1,000 ประชากร

อตั ราเพิ่มประชากร จังหวดั ลำปาง ปงี บประมาณ 2554-2563 ร้อยละ 1.00 0.00 -0.25 -0.29 -0.29 -0.34 -0.24 -0.47 -0.39 -0.41 -0.53 -0.55 -1.00 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 แหลง่ ข้อมูล : สำนกั ทะเบยี นราษฎรก์ ลาง กระทรวงมหาดไทย (ขอ้ มูล ณ 31 มนี าคม 2562)

ผู้สงู อายุ จากรายงานสถานการณผ์ สู้ ูงอายจุ งั หวดั ลำปางของสำนักงานสถติ ิจังหวัดลำปาง พบวา่ ตั้งแตป่ ี 2558 ถึง 2562 จำนวนประชากรจังหวัด ลำปาง มีแนวโนม้ ลดลงอย่างต่อเนื่อง จาก 752,356 คน ในปี 2558 เป็น 738,316 คน ในปี 2562 แต่จำนวนผู้สูงอายุกลับมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากปี 2558 มีจำนวนผู้สูงอายุ142,277 คน เป็น 174,267 คน ในปี 2562 เมื่อพิจารณาพีระมิดประชากรจังหวัดลำปาง จะเห็นวา่ ในปี 2562 ฐานพีระมิด แคบลง และยอดพีระมิดกว้างขึ้น นั่นก็เนื่องมาจากจำนวนประชากรวัยเด็กลดลง และจำนวนประชากรวัยสูงอายุเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเป็นผลให้จำนวน ประชากรโดยรวมมีแนวโน้มลดลง เนื่องจากอัตราการเกิดและการตายลดลง โดยมีประชากร วัยแรงงานลดน้อยลงในขณะที่ประชากรที่เป็น ผ้สู ูงอายเุ พม่ิ จำนวนขึน้ อย่างเหน็ ไดช้ ัด จนกลายเป็นสังคมผูส้ ูงอายุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook