แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าชวี วทิ ยา5 มัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 1 โดย ครูสุดาภรณ์ สืบบุญเปีย่ ม กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าชวี วทิ ยา5 มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6/1 2 แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรับความรสู้ ึก แผนจัดการเรียนรทู้ ี่1 เร่อื ง การรบั ร้แู ละการตอบสนองของสตั ว์ รายวชิ า ชวี วทิ ยา5 รหัสวิชา 30245 ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2565 น้ำหนักเวลาเรยี น 1.5 (นน./นก.) เวลาเรียน 3 ชว่ั โมง/สัปดาห์ เวลาท่ใี ชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 2 ชั่วโมง บรู ณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน .......................................................................................................................................................... 1. สาระสำคญั สตั ว์มกี ารรบั รแู้ ละการตอบสนองต่อสง่ิ เร้าแตกต่างกัน ดังนี้ 1. สัตว์ไม่มีกระดูกสนั หลัง มกี ารรบั ร้แู ละการตอบสนองท่แี ตกต่างกัน ดังนี้ - ไฮดรา มีร่างแหประสาทเชื่อมโยงกัน เมื่อเส้นใยประสาทถกู กระตุ้น ทุกส่วนของลำตัวจะหด จากการทำงานประสานกันระหวา่ งเซลล์ - พลานาเรยี มปี มประสาทสมองบรเิ วณหัว 2 ปม ทำหน้าท่ีเปน็ สมอง มีเสน้ ประสาทด้าน ข้าง 2 เส้น ที่ตอ่ มาจากปมประสามสมอง และมเี ส้นประสาทตามขวางเชื่อมเสน้ ประสาทดา้ นข้างท้ัง 2 เส้น - ไส้เดอื นดนิ มปี มประสาทสมองบรเิ วณหวั 2 ปม มีเสน้ ประสาทรอบคอหอย 2 เส้น โอบรอบ คอหอยมาเชื่อมกันเป้นปมประสาทใต้คอหอยและเชื่อมกับปมประสาทคู่ด้านท้อง อีกทั้งยังมีปมประสาทท่ี ปลอ้ งทุกปล้องตามแนวยาวของลำตวั ซ่ึงมีแขนงประสาทยน่ื เขา้ ไปในชั้นกล้ามเนอ้ื - หอยทาก มีปมประสาท 3 คู่ ได้แก่ ปมประสาทสมองควบคมุ บริเวณสว่ นหวั ปมประสาทเท้า ควบคุมการหดตัวของกล้ามเนื้อสำหรับการเคลื่อนที่ และปมประสาทอวัยวะภายในควบคุมการทำงานของ อวยั วะภายใน - กงุ้ มีสมองเปน็ ปมประสาทบริเวณส่วนหัว สมองมเี สน้ ประสาทล้อมรอบหลอดอาหารลงมายัง ปมประสาทด้านล่างรวมกันเปน็ ปมประสาททรวงอกซึ่งมี 7 ปม ทอดยาวเป็นปมประสาทส่วนท้อง และมีปม ประสาทแยกออกไปยงั กลา้ มเน้อื และระยางค์ต่าง ๆ - แมลง มีปมประสาทส่วนหวั 6 คู่ (3 คู่ รวมเปน็ สมอง และ 3 คู่ รวมเป็นปมประสาทใต้สมอง) ซึ่งจะเชอื่ มตอ่ กับปมประสาทตามปล้องตลอดแนวยาวของลำตัวและมีเส้นประสาทแยกไปเลยี งอวัยวะต่าง ๆ 2. สตั ว์มกี ระดูกสันหลงั มีเซลล์ประสาทรวทกนั เป็นสมองบริเวณสว่ นหัว มไี ขสันหลงั ทอดยาวไปตาม ลำตวั และมีเสน้ ประสาทแยกออกมาจำนวนมากเพอ่ื ทำหนา้ ท่ีควบคมุ และประสาทงานตา่ ง ๆ โดย ครสู ดุ าภรณ์ สบื บญุ เป่ียม กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาชวี วทิ ยา5 มธั ยมศึกษาปที ่ี 6/1 3 2. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวชวี้ ัดช้ันป/ี ผลการเรียนรู้/เป้าหมายการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ 5. สืบคน้ ขอ้ มูล อธิบาย และเปรยี บเทียบโครงสร้างและหนา้ ท่ขี องระบบประสาทของไฮดรา พลานาเรยี ไส้เดอื นดิน กุง้ หอย แมลง และสัตว์มีกระดกู สนั หลัง 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 เนอื้ หาสาระหลกั : Knowledge 1. อธบิ ายและเปรียบเทียบโครงสรา้ งและหน้าท่ีของระบบประสาทของสัตว์ 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process 1) ใชเ้ ครื่องมือและอปุ กรณ์ทางวทิ ยาศาสตร์ได้อยา่ งถกู ต้อง 3.3 คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ : Attitude 1) สนใจใฝร่ ู้ในการศึกษาและมุ่งม่นั ในการทำงาน 4. สมรรถนะสำคัญของนกั เรยี น 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 2. ความสามารถในการคดิ 1) ทกั ษะการสงั เกต 2) ทกั ษะการสำรวจคน้ หา 3) ทักษะการเปรียบเทยี บ 4) ทักษะการลงความเหน็ จากขอ้ มูล 3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต 5. คณุ ลักษณะของวิชา 1) ความอยากรู้อยากเห็น 2) ความมวี จิ ารณญาณ 3) ความใจกว้าง 6. คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งม่ันในการทำงาน 7. ช้นิ งาน/ภาระงาน : 1) แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรูส้ กึ 2) ใบกจิ กรรม เรอื่ ง การตอบสนองของไฮดรา 3) ใบงานที่ 6 เรอ่ื ง การเก็บขอ้ มลู การใชป้ ระโยชน์ของสตั วใ์ นทอ้ งถิน่ (บูรณาการงานสวนพฤกษฯ) 4) ผงั มโนทัศน์ เรอ่ื ง การรบั รแู้ ละการตอบสนอง โดย ครูสดุ าภรณ์ สืบบุญเปย่ี ม กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาชวี วทิ ยา5 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 4 8. การบรณู าการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดำริสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีวัตถุประสงค์ให้เยาวชนได้มีโอกาสใกล้ชิดกับพืชพรรณไม้ ได้ เรียนร้ถู ึงพชื ท้องถน่ิ ของตน ช่วยกันดูแลไมใ่ ห้สูญพนั ธ์ุ ซึ่งจะกอ่ ใหเ้ กิดจติ สำนึกในการที่ จะอนุรักษ์สืบไป การ ดำเนนิ งานประกอบด้วย 5 องค์ประกอบและ 3 สาระการเรยี นรู้ และฐานทรัพยากรทอ้ งถิน่ เรื่องที่จะบรู ณาการ (หัวข้อย่อยในแบบประเมิน) ฐานทรพั ยากรทอ้ งถ่ิน ใบความรู้ ใบงานที่ 6 เรื่อง การเก็บขอ้ มูลการใช้ประโยชนข์ องสตั ว์ในท้องถ่ิน 9. กิจกรรมการเรียนรู้ ชวั่ โมงท่ี 1-2 ข้นั นำ การใชค้ วามรู้เดิมเช่อื มโยงความรใู้ หม่ (Prior Knowledge) 1. ครูแจ้งผลการเรยี นร้ขู องหน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 ระบบประสาทและอวยั วะรบั ความรูส้ ึก ใหน้ ักเรียน ทราบ 2. ครูใหน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 ระบบประสาทและอวยั วะรบั ความรสู้ ึก 3. ครูทบทวนความรู้เดมิ เร่อื ง การรับรูแ้ ละการตอบสนองของสงิ่ มีชวี ิต ซง่ึ มีการทำงานอยา่ ง เป็นระบบ เมื่อมีสิ่งเร้ากระตุ้น หน่วยรับความรู้สึกหรืออวัยวะรับความรู้สึกจะส่งกระแสประสาทผ่านเซลล์ ประสาทรับความรู้สึกไปยังเซลล์ไขสันหลังหรือสมอง ซึ่งไขสันหลังหรือสมองจะสั่งการไปยังหน่วยปฏิบัติงาน หรอื อวยั วะทตี่ อบสนองผ่านเซลลป์ ระสาทสั่งการ ทำให้เกิดการตอบสนองตอ่ ส่งิ เรา้ ดังนี้ 4. ครูเขียนแผนผงั หรอื ใชแ้ ผนภาพแสดงการรับรู้และการตอบสนอง โดยยกตัวอย่างสถานการณ์ เช่น ถกู หนามของตน้ กระบองเพรชทิม่ น้ิว ให้นักเรยี นร่วมกันวเิ คราะห์ แล้วเตมิ คำในกรอบให้สมบูรณ์ หนาม 1. ผวิ หนงั บริเวณนิ้ว 2. เซลลป์ ระสาท รับความรู้สึก 3. เซลลป์ ระสาท ประสานงานใน ไขสันหลังหรอื สมอง 6. ยกน้วิ ออกจาก 5. กล้ามเนือ้ โคร่ง 4. เซลลป์ ระสาท ตน้ กระบองเพรช ร่างบริเวณแขน สง่ั การ โดย ครสู ุดาภรณ์ สืบบญุ เป่ียม กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาชวี วทิ ยา5 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6/1 5 5. ครูถามคำถาม เพื่อให้นักเรียนร่วมกนั วิเคราะห์ว่า “เพราะเหตุใด มนุษย์จึงมีการตอบสนองต่อสิ่งเรา้ ซบั ซ้อนกวา่ สตั ว์ชนดิ อน่ื ๆ” (แนวตอบ: มนุษย์มีสมองและไขสันหลังทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางควบคุมการทำงานของระบบประสาท และมเี สน้ ประสาทแยกจากสมองและไขสนั หลงั นำคำสั่งไปยงั อวัยวะต่าง ๆ ของรา่ งกาย จึงมี การตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่ซับซ้อน การตอบสนองสว่ นใหญ่จะผ่านการประมวณผลของสมอง และตอบสนองเฉพาะหนว่ ยปฏบิ ตั กิ ารทถ่ี ูกกระตนุ้ ในขณะทสี่ ตั ว์บางชนดิ เช่น ไฮดรามีระบบ ประสาทแบบร่างแหจึงตอบสนองโดยการหดตวั สว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกาย หรอื พลานาเรียมีปม ประสาททำหนา้ ที่เป็นศนู ย์กลางนำคำส่ังไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย การตอบจงึ เกิดเฉพาะ สว่ นของร่างกาย แต่ยงั ไมซ่ บั ซ้อนเท่ากับของสตั ว์มีกระดกู สันหลงั ) 6. นักเรียนดูวีดิทัศน์แสดงการตอบสนองต่อสิ่งเรา้ ของสตั ว์ เช่น การขดตัวของกิง้ กอื เมื่อเม่ือสัมผสั กิ้งไม้ ตัวอย่างวีดทิ ัศน์ เช่น - https://www.youtube. com/watch?v=Uis0boLNN8A แลว้ ถามคำถาม กับนกั เรียนว่า “สัตวต์ ่าง ๆ ตอบสนองตอ่ สิง่ เรา้ แตกต่างกันอยา่ งไร” (แนวตอบ: สตั ว์แต่ละชนิดตอบสนองต่อสิง่ เรา้ แตกตา่ งกนั เนือ่ งจากมีระบบประสาทแตกต่างกัน สัตว์ท่ีมี วิวัฒนาการต่ำจะตอบสนองต่อสิ่งเร้าแบบไม่ซับซ้อนเนื่องจากไม่มีศูนย์กลางควบคุม การทำงานของระบบประสาท แตส่ ตั ว์ที่มวี วิ ัฒนาการสูงข้นึ มศี ูนยก์ ลางควบคุมการทำงานของ ระบบประสาท เชน่ ปมประสาท สมอง จงึ ตอบสนองต่อสง่ิ เรา้ ในรปู แบบท่ซี ับซ้อนขน้ึ ) ขั้นสอน รู้ (Knowing) 1. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า สัตว์กลุ่มต่าง ๆ มีโครงสร้างของระบบประสาทที่แตกต่างกัน จึง ตอบสนองตอ่ ส่งิ เร้าในรปู แบบทีแ่ ตกต่างกนั สัตวท์ ่ีมีววิ ฒั นาการต่ำ เชน่ ไฮดรา พลานาเรีย จะมกี ารตอบสนอง ในรูปแบบที่ไม่ซับซ้อน แต่สัตว์ที่มีวิวัฒนาการสูง เช่น สัตว์มีกระดูกสันหลัง จะมีการตอบสนองในรูปแบบท่ี ซบั ซ้อนขึ้น 2. นักเรียนแบ่งกลุม่ กลุ่มละ 4-5 คน ทำกจิ กรรม การตอบสนองของไฮดรา เพ่ือศกึ ษาการรับรแู้ ละ การตอบสนองของไฮดราเมือ่ ถูกกระตุ้นจากส่งิ เรา้ 3. สุ่มเลือกนักเรยี นอย่างน้อย 3 กลุม่ นำเสนอผลและอภิปรายผลกิจกรรม การตอบสนองของไฮดรา และถามคำถามท้ายกจิ กรรมกบั นักเรียน ดังนี้ - ถ้าใชเ้ ข็มแตะท่ีปลายเทนทาเคิลของไฮดราจะเกดิ อะไรขึ้น นักเรยี นอธิบายผลการทดลองน้ี วา่ อยา่ งไร โดย ครูสุดาภรณ์ สบื บญุ เปยี่ ม กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าชวี วิทยา5 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6/1 6 (แนวตอบ: ลำตัวของไฮดราจะหดส้นั ลง เพราะเซลลป์ ระสาทของไฮดราเชอ่ื มโยงกนั เปน็ ตา ขา่ ย ทำใหม้ ีกระแสประสาทแผ่กระจายไปทว่ั รา่ งกาย) 4. นักเรยี นและครูร่วมกันอภปิ รายผลกจิ กรรม การตอบสนองของไฮดรา เพอ่ื ให้ได้ขอ้ สรปุ ดงั น้ี เม่ือ ใชเ้ ข็มแตะท่ีปลายเทนทาเคิลของไฮดรา เทนทาเคิลและสว่ นอืน่ ๆ ของร่างกายจะหดส้นั ลง เพราะเซลล์ ประสาทของไฮดราเชื่อมโยงกนั เป็นรา่ งแห ทำให้มกี ระแสประสาทแผก่ ระจายไปทัว่ รา่ งกาย 5. นักเรยี นแต่ละกลุ่มร่วมกันศกึ ษาการตอบสนองของสตั ว์ไม่มีกระดกู สันหลงั ได้แก่ ไฮดรา พลานาเรยี ไส้เดือนดิน หอยทาก กุ้ง แมลง และสัตว์มกี ระดูกสันหลัง เข้าใจ (Understanding) 1. ครูสมุ่ เลือกนักเรียนแต่ละกล่มุ จับสลากเลอื กสัตว์ต่าง ๆ โดยมีตวั อย่างสตั ว์ เช่น - แมงกระพรุน - พยาธใิ บไม้ - ปลงิ น้ำจดื - หมกึ - กั้ง - ตัก๊ แตน - สนุ ัข - แมลงสาบ - ปลา - ววั นกั เรียนรว่ มกนั วเิ คราะห์ระบบประสาทและการตอบสนองต่อสง่ิ เร้าของสัตว์ที่จับสลากได้ วาดภาพ โครงสร้างของระบบประสาท แลว้ ส่งตัวแทนกลมุ่ นำเสนอโครงสร้างของระบบประสาทและการตอบสนองตอ่ สงิ่ เร้าทีห่ นา้ ช้นั เรยี น (ครูสามารถทำสลากตัวอยา่ งสัตว์ทนี่ อกเหนือจากตัวอยา่ งขา้ งตน้ ) 2. ครูถามคำถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของนกั เรยี น เช่น - ถ้าใชเ้ ข็มแตะท่ีปลายเทนทาเคิลของไฮดราจะเกดิ อะไรขนึ้ (แนวตอบ: เทนทาเคิลและสว่ นอน่ื ๆ ของร่างกายจะหดส้นั ลง เพราะเซลล์ประสาทของไฮดรา เชอ่ื มโยงกันเปน็ ตาข่ายทำใหม้ กี ระแสประสาทแผ่กระจายไปทั่วร่างกาย) - การรบั รูแ้ ละการตอบสนองต่อส่ิงเร้าของไฮดรากับพลานาเรยี แตกต่างกนั อยา่ งไร (แนวตอบ: ไฮดรามีร่างแหประสาท เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้น ย่อมมีกระแสประสาทแผ่กระจายไปทั่ว ร่างกาย ทำใหไ้ ฮดราตอบสนองโดยการหดสว่ นต่าง ๆ ของร่างกาย ส่วนพลานาเรยี มปี มประสาทอยู่ท่ีหวั เม่ือมี ส่งิ เรา้ มากระต้นุ จะเกิดกระแสประสาทจากบริเวณท่ีถูกกระต้นุ ไปตามเสน้ ประสาทสง่ ไปยังปมประสาท ซึ่งเป็น ศูนย์กลางที่มีเซลล์ประสาทอยู่หนาแนน่ แล้วส่งกระแสประสาทไปยังหน่วยปฏิบัติงาน ดังนั้น การตอบสนอง ของพลานาเรยี จงึ เกดิ เฉพาะสว่ นของรา่ งกาย) - พลานาเรยี ไส้เดือนดนิ และแมลงตอบสนองตอ่ สงิ่ เร้าเหมอื นหรอื แตกต่างกันอย่างไร (แนวตอบ: มีการรับรู้และการตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่างกัน คือ ปมประสาทของพลานาเรียอยู่ที่หัว ดงั น้ัน การรับรู้และการสง่ั งานใหเ้ กิดการตอบสนองจะอยทู่ ่ีปมประสาทสว่ นหวั สำหรงั ไสเ้ ดอื นดนิ กบั แมลงมปี ม ประสาทอยู่ตามแนวกลางลำตัว แต่ละปมประสาทมีเส้นประสาทเชื่อมโยงกัน ดังนั้น การรับรู้และการสั่งจึง ออกจากปมประสาทไปยังหนว่ ยปฏบิ ตั ิงานได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ) โดย ครสู ุดาภรณ์ สืบบญุ เป่ยี ม กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าชวี วิทยา5 มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 7 ข้ันลงมอื ทำ (Doing) 1. นักเรียนแบ่งกลมุ่ กลมุ่ ละ 4-5 คน สำรวจสัตว์บริเวณบา้ นหรอื ชมุ ชนของนกั เรยี น 10 ชนิด แบ่ง ออกเปน็ สัตว์ไม่มกี ระดกู สันหลัง 5 ชนดิ และสัตว์มีกระดูกสนั หลัง 5 ชนดิ สืบคน้ ขอ้ มลู และอธบิ ายโครงสร้าง ของระบบประสาท และการรบั รู้และการตอบสนองตอ่ ส่งิ เรา้ ของสัตว์ จดั ทำเป็นรายงานส่งครผู ู้สอน ขน้ั สรุป 1. นักเรยี นและครรู ว่ มกนั สรปุ เก่ยี วกับการรบั รแู้ ละการตอบสนองของสัตว์ เพือ่ ให้ได้ข้อสรุป ดังน้ี - ไฮดรา มีร่างแหประสาทเชื่อมโยงกนั เมอื่ เส้นใยประสาทถกู กระต้นุ ทุกส่วนของลำตวั จะหดจากการ ทำงานประสานกนั ระหว่างเซลล์ - พลานาเรีย มีปมประสาทสมองบริเวณหวั 2 ปม ทำหน้าท่เี ป็นสมอง มเี สน้ ประสาทด้านข้าง 2 เส้น ทต่ี ่อมาจากปมประสามสมอง และมเี ส้นประสาทตามขวางเชอ่ื มเส้นประสาทด้านขา้ งท้ัง 2 เส้น - ไส้เดอื นดิน มีปมประสาทสมองบรเิ วณหัว 2 ปม มีเสน้ ประสาทรอบคอหอย 2 เสน้ โอบรอบคอ หอยมาเชอ่ื มกนั เป็นปมประสาทใต้คอหอยและเชื่อมกบั ปมประสาทคู่ดา้ นทอ้ ง อีกทงั้ ยงั มีปมประสาทท่ปี ล้อง ทุกปลอ้ งตามแนวยาวของลำตวั ซึง่ มแี ขนงประสาทยื่นเข้าไปในช้ันกลา้ มเนอื้ - หอยทาก มปี มประสาท 3 คู่ ได้แก่ ปมประสาทสมองควบคมุ บริเวณส่วนหวั ปมประสาทเทา้ ควบคมุ การหดตวั ของกล้ามเน้ือสำหรบั การเคลอ่ื นท่ี และปมประสาทอวยั วะภายในควบคมุ การทำงานของอวัยวะ ภายใน - กงุ้ มีสมองเปน็ ปมประสาทขนาดใหญอ่ ย่บู ริเวณสว่ นหัว มีแขนงแยกไปเลี้ยงตาและหนวด สมองมี เสน้ ประสาทล้อมรอบหลอดอาหารลงมายงั ปมประสาทด้านล่าง รวมกันเป็นปมประสาททรวงอกซงึ่ มี ปมประสาท 7 ปม ทอดยาวเปน็ ปมประสาทสว่ นทอ้ ง และมปี มประสาทแยกออกไปยงั กลา้ มเนอ้ื และระยางค์ ตา่ ง ๆ - แมลง มปี มประสาทสว่ นหวั 6 คู่ (3 คู่ รวมเป็นสมอง และ 3 คู่ รวมเปน็ ปมประสาทใต้สมอง) ซึ่งจะ เชอ่ื มตอ่ กบั ปมประสาทตามปลอ้ งตลอดแนวยาวของลำตัวและมเี สน้ ประสาทแยกไปเลยี งอวยั วะ ต่าง ๆ - สัตวม์ ีกระดูกสันหลัง มีเซลล์ประสาทรวทกันเป็นสมองบริเวณสว่ นหวั มีไขสนั หลงั ทอดยาวไปตาม ลำตวั และมเี ส้นประสาทแยกออกมาจำนวนมากเพ่ือทำหนา้ ทคี่ วบคมุ และประสาทงานตา่ ง ๆ 2. นกั เรียนเขียนสรปุ ในรูปแบบผงั มโนทัศน์ เรอื่ ง การรบั รู้และการตอบสนอง โดยอธบิ ายโครงสรา้ ง และหน้าท่ีของระบบประสาทของสตั ว์ไม่มีกระดกู สนั หลงั และสัตว์มกี ระดูกสนั หลัง รวมทงั้ อธบิ ายความสัมพันธ์ ของระบบประสาทกบั ววิ ฒั นาการของสัตว์ ลงในกระดาษ A4 ขนั้ ประเมินผล 1. ประเมนิ ความร้เู ก่ยี วกบั เรื่อง การรบั รแู้ ละการตอบสนอง โดยสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม ตรวจ แบบทดสอบก่อนเรียน ตรวจผงั มโนทศั น์ และใบงานท่ี 6 เร่ือง การเกบ็ ขอ้ มูลการใชป้ ระโยชนข์ องสัตว์ใน ทอ้ งถ่ิน (บรู ณาการงานสวนพฤกษฯ) โดย ครูสดุ าภรณ์ สบื บญุ เป่ียม กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าชวี วิทยา5 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6/1 8 2. ประเมินทกั ษะและกระบวนการ โดยสังเกตพฤติกรรมพฤตกิ รรมการทำปฏบิ ัติการในกจิ กรรม และ การใชเ้ ครื่องมือและอปุ กรณท์ างวทิ ยาศาสตร์ 3. ประเมินคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ โดยสงั เกตพฤตกิ รรมความสนใจใฝ่รู้ในการศกึ ษาและความ มงุ่ ม่นั ในการทำงาน 10. ส่ือการเรียนการสอน / แหลง่ เรียนรู้ จำนวน สภาพการใชส้ ื่อ รายการสอ่ื 1 ชดุ ข้ันนำ 1 ชดุ ขน้ั สอน 1) แบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบประสาทและอวยั วะรับ 1 ชุด ขั้นสอน ความรู้สกึ 1 ชุด ขั้นสอน 2) ใบกจิ กรรม เร่ือง การตอบสนองของไฮดรา 1 ชดุ ขนั้ สอน 3) ใบงานที่ 6 เร่ือง การเกบ็ ขอ้ มูลการใช้ประโยชน์ของสตั วใ์ นทอ้ งถ่ิน (บูรณาการ งานสวนพฤกษฯ) 4) ผังมโนทศั น์ เร่ือง การรบั รู้และการตอบสนอง 5. PowerPoint เร่ือง ระบบประสาทและอวยั วะรบั ความรสู้ กึ โดย ครูสุดาภรณ์ สืบบญุ เปี่ยม กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าชวี วทิ ยา5 มธั ยมศึกษาปที ่ี 6/1 9 11. การวดั ผลและประเมนิ ผล เปา้ หมาย หลักฐานการเรียนรู้ วธิ วี ัด เครอ่ื งมือวดั ฯ ประเดน็ / การเรยี นรู้ ช้ินงาน/ภาระงาน เกณฑ์การให้ 1.อธบิ ายและ 1. แบบทดสอบก่อน ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน คะแนน ประเมนิ ตามสภาพ เปรียบเทียบ เรียน หน่วยการ กอ่ นเรียน จรงิ โครงสรา้ งและหนา้ ท่ี เรยี นรูท้ ี่ 2 ระดับคณุ ภาพดี ผา่ นเกณฑ์ ของระบบประสาท 2. ผงั มโนทัศน์ เรอื่ ง ตรวจผงั มโนทัศน์ แบบประเมิน รอ้ ยละ 65 ผา่ น ของสตั ว์ (K) การรับร้แู ละการ เรอื่ ง การรบั รู้และ ผงั มโนทศั น์ เกณฑ์ 2. ใชเ้ ครือ่ งมอื และ ตอบสนอง การตอบสนอง ระดบั คณุ ภาพดี ผ่านเกณฑ์ อปุ กรณท์ าง 3. ใบงานท่ี 6 เรอ่ื ง ตรวจใบงานที่ 6 ใบงานที่ 6 วทิ ยาศาสตรไ์ ด้อย่าง การเกบ็ ขอ้ มูลการใช้ เรื่อง การเก็บข้อมูล ถูกตอ้ ง (P) ประโยชน์ของสัตวใ์ น การใชป้ ระโยชน์ 3. สนใจใฝ่ร้ใู น ทอ้ งถิน่ (บูรณาการงาน ของสัตว์ในทอ้ งถนิ่ การศึกษาและมุ่งมน่ั สวนพฤกษฯ) (บูรณาการงาน ในการทำงาน (A) สวนพฤกษฯ) 4. การปฏิบตั ิการ ตรวจประเมิน ประเมนิ การปฏบิ ตั กิ าร การปฏิบตั ิการ 5. การนำเสนอผลงาน ประเมนิ การ ผลงานทีน่ ำเสนอ ระดับคุณภาพ 2 นำเสนอผลงาน ผา่ นเกณฑ์ 6. พฤตกิ รรมการ แบบสังเกตพฤตกิ รรม ทำงานรายกลุ่ม สงั เกตพฤติกรรม การทำงานรายกลมุ่ ระดับคุณภาพ 2 การทำงานรายกล่มุ แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์ 7. คุณลักษณะ อนั พึงประสงค์ อันพงึ ประสงค์ สงั เกตความมวี นิ ัย ระดบั คุณภาพ 2 ใฝเ่ รียนรแู้ ละมงุ่ มัน่ ผา่ นเกณฑ์ ในการทำงาน โดย ครูสุดาภรณ์ สืบบญุ เปีย่ ม กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าชวี วทิ ยา5 มธั ยมศึกษาปที ่ี 6/1 10 แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน คำชีแ้ จง : ใหผ้ สู้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี ✓ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน ลำดบั ที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 3 21 1 เน้ือหาละเอียดชดั เจน 2 ความถูกต้องของเน้ือหา 3 ภาษาท่ใี ช้เข้าใจงา่ ย 4 ประโยชน์ที่ไดจ้ ากการนำเสนอ 5 วิธีการนำเสนอผลงาน รวม ลงชือ่ ...................................................ผู้ประเมนิ (นางสาวสดุ าภรณ์ สบื บญุ เปี่ยม) ............./................../............... เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมินสมบรู ณช์ ัดเจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมินเป็นส่วนใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ บางสว่ น เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14 - 15 ดมี าก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช้ ตำ่ กวา่ 8 ปรับปรงุ โดย ครูสุดาภรณ์ สืบบญุ เปย่ี ม กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาชวี วิทยา5 มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6/1 11 แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล คำชแ้ี จง : ให้ผ้สู อนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขดี ✓ลงในชอ่ งที่ ตรงกับระดับคะแนน ลำดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดับคะแนน 3 21 1 การแสดงความคิดเห็น 2 การยอมรับฟงั ความคดิ เหน็ ของผู้อน่ื 3 การทำงานตามหนา้ ที่ที่ไดร้ บั มอบหมาย 4 ความมนี ้ำใจ 5 การตรงต่อเวลา รวม ลงช่อื ...................................................ผู้ประเมนิ (นางสาวสุดาภรณ์ สืบบุญเป่ยี ม) ............./................../............... เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครัง้ ให้ 1 คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครัง้ เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14 - 15 ดมี าก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช้ ตำ่ กวา่ 8 ปรับปรุง โดย ครสู ุดาภรณ์ สืบบญุ เป่ียม กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาชวี วทิ ยา5 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 12 แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกล่มุ คำช้แี จง : ให้ผสู้ อนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องท่ี ตรงกับระดบั คะแนน การมี การแสดง การยอมรบั การทำงาน ความมี สว่ นรว่ มใน รวม ชือ่ – สกลุ ความ ฟังคนอืน่ ตามทีไ่ ด้รับ น้ำใจ การ 15 ลำดับท่ี ของนกั เรียน คดิ เหน็ มอบหมาย ปรับปรงุ คะแนน ผลงานกลุ่ม 321321321321321 เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลงชื่อ...................................................ผูป้ ระเมนิ ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ (นางสาวสดุ าภรณ์ สบื บุญเปย่ี ม) ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครัง้ ............../.................../............... ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14 - 15 ดมี าก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรบั ปรุง โดย ครสู ุดาภรณ์ สืบบญุ เป่ยี ม กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าชีววิทยา5 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6/1 13 แบบประเมินคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ คำช้แี จง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ลงในชอ่ งท่ี ตรงกับระดับคะแนน คณุ ลักษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน อนั พึงประสงคด์ า้ น 321 1. รักชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาตไิ ด้ กษตั รยิ ์ 1.2 เข้ารว่ มกิจกรรมท่ีสร้างความสามคั คี ปรองดอง และเปน็ ประโยชน์ ต่อโรงเรียน 1.3 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทางศาสนาที่ตนนบั ถือ ปฏบิ ตั ิตามหลักศาสนา 1.4 เขา้ รว่ มกจิ กรรมท่ีเกี่ยวกบั สถาบนั พระมหากษตั ริยต์ ามทโี่ รงเรยี นจัดขน้ึ 2. ซื่อสตั ย์ สุจรติ 2.1 ใหข้ อ้ มลู ทถี่ ูกตอ้ ง และเปน็ จรงิ 2.2 ปฏิบัตใิ นสิ่งทถี่ กู ต้อง 3. มวี ินยั รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบตั ิตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คบั ของครอบครัว มคี วามตรงต่อเวลาในการปฏิบัตกิ จิ กรรมต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวนั 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 4.1 รจู้ กั ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์ และนำไปปฏบิ ัติได้ 4.2 รจู้ ักจดั สรรเวลาใหเ้ หมาะสม 4.3 เชื่อฟงั คำสงั่ สอนของบิดา - มารดา โดยไมโ่ ตแ้ ย้ง 4.4 ตงั้ ใจเรียน 5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรพั ยส์ ินและส่งิ ของของโรงเรียนอยา่ งประหยัด 5.2 ใชอ้ ปุ กรณก์ ารเรียนอยา่ งประหยัดและรคู้ ุณค่า 5.3 ใชจ้ า่ ยอย่างประหยดั และมกี ารเกบ็ ออมเงนิ 6. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน 6.1 มคี วามตัง้ ใจและพยายามในการทำงานทไี่ ด้รับมอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไม่ทอ้ แทต้ อ่ อปุ สรรคเพอ่ื ให้งานสำเร็จ 7. รักความเปน็ ไทย 7.1 มจี ติ สำนกึ ในการอนุรกั ษว์ ฒั นธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย 7.2 เหน็ คณุ คา่ และปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มจี ติ สาธารณะ 8.1 รจู้ กั ช่วยพอ่ แม่ ผู้ปกครอง และครทู ำงาน 8.2 รจู้ ักการดูแลรักษาทรัพยส์ มบตั แิ ละส่งิ แวดลอ้ มของหอ้ งเรยี นและ โรงเรยี น ลงชือ่ ...................................................ผปู้ ระเมิน ............../.................../............... เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ พฤตกิ รรมท่ีปฏิบัตชิ ัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ พฤติกรรมทป่ี ฏิบัติชัดเจนและบอ่ ยคร้ัง ให้ 2 คะแนน 51-60 ดมี าก พฤติกรรมที่ปฏบิ ตั ิบางครั้ง ให้ 1 คะแนน 41-50 ดี 30-40 พอใช้ ตำ่ กว่า 30 ปรับปรุง โดย ครูสุดาภรณ์ สืบบุญเปย่ี ม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาชวี วิทยา5 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6/1 14 แบบประเมนิ การปฏิบตั กิ าร คำชีแ้ จง : ใหผ้ ู้สอนประเมินการปฏิบตั กิ ารของนักเรยี นตามรายการทก่ี ำหนด แล้วขีด ✓ ลงในช่องท่ตี รงกับ ระดบั คะแนน ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 4321 1 การปฏิบตั กิ ารทดลอง 2 ความคล่องแคล่วในขณะปฏิบัตกิ าร รวม 3 การนำเสนอ ลงช่ือ ................................................... ผ้ปู ระเมนิ ................./................../.................. โดย ครสู ดุ าภรณ์ สืบบญุ เป่ียม กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาชวี วทิ ยา5 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6/1 15 เกณฑก์ ารประเมนิ การปฏิบตั ิการ ประเด็นที่ประเมนิ 4 ระดับคะแนน 1 32 ตอ้ งให้ความช่วยเหลอื 1. การปฏบิ ตั กิ าร ทำการทดลองตาม ทำการทดลองตาม ต้องให้ความช่วยเหลือ อย่างมากในการทำการ ทดลอง และการใช้ ทดลอง ข้ันตอน และใชอ้ ปุ กรณ์ ขน้ั ตอน และใช้อุปกรณ์ บา้ งในการทำการ อุปกรณ์ ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง ได้อย่างถูกต้อง แต่อาจ ทดลอง และการใช้ ตอ้ งได้รบั คำแนะนำบ้าง อุปกรณ์ 2. ความ มีความคลอ่ งแคล่ว มคี วามคลอ่ งแคล่ว ขาดความคลอ่ งแคลว่ ทำการทดลองเสรจ็ ในขณะทำการทดลอง ในขณะทำการทดลอง ไมท่ ันเวลา และทำ คล่องแคล่ว ในขณะทำการทดลอง แตต่ อ้ งได้รับคำแนะนำ จึงทำการทดลองเสรจ็ อปุ กรณ์เสียหาย บา้ ง และทำการทดลอง ไม่ทนั เวลา ในขณะ โดยไม่ตอ้ งไดร้ บั เสรจ็ ทนั เวลา ตอ้ งให้ความช่วยเหลือ บนั ทกึ และสรุปผล ตอ้ งใหค้ ำแนะนำในการ อย่างมากในการบนั ทกึ ปฏิบตั กิ าร คำชแ้ี นะ และทำการ การทดลองได้ถูกต้อง บันทกึ สรปุ และ สรุป และนำเสนอผล แต่การนำเสนอผล นำเสนอผลการทดลอง การทดลอง ทดลองเสรจ็ ทนั เวลา การทดลองยงั ไม่เปน็ ขนั้ ตอน 3. การบันทึก สรุป บันทกึ และสรุปผล และนำเสนอผล การทดลองได้ถูกต้อง การทดลอง รัดกมุ นำเสนอผลการ ทดลองเป็นขั้นตอน ชัดเจน เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 11-12 ดมี าก 9-10 ดี 6-8 พอใช้ ต่ำกว่า 6 ปรบั ปรงุ โดย ครูสุดาภรณ์ สืบบญุ เป่ียม กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาชวี วทิ ยา5 มธั ยมศึกษาปีที่ 6/1 16 แบบบันทึกหลงั การจัดการเรยี นรู้ ช่อื หน่วยการเรียนรทู้ ่ี.......... เรื่อง................................................................ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี........... เร่ือง................................................... รายวชิ า.......................................... ชั้น....................... รหสั วชิ า....................... ครผู สู้ อน นางสาวสุดาภรณ์ สืบบญุ เปย่ี ม ตำแหนง่ ครผู ูช้ ว่ ย เวลาที่ใช้................. ชว่ั โมง ผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรอื ผทู้ ไี่ ดร้ ับมอบหมาย ........................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ.................................................. (..............................................) รองผ้อู ำนวยการฝา่ ยวชิ าการ ข้อค้นพบระหว่าง ปญั หาทพ่ี บ แนวทางการจัดการเรยี นรู้ การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ เนือ้ หา กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่อื ประกอบการเรียนรู้ พฤตกิ รรม/การมีส่วนร่วมของผเู้ รียน ลงชอ่ื ..................................................ผสู้ อน นางสาวสดุ าภรณ์ สบื บญุ เปย่ี ม) ตำแหน่ง ครูผู้ชว่ ย โดย ครูสดุ าภรณ์ สบื บญุ เปย่ี ม กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาชวี วิทยา5 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6/1 17 แบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 คำช้ีแจง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบท่ีถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว 1. สตั วใ์ นข้อใดมีการสบื พนั ธ์ุโดยการแตกหน่อ 5. เซลลใ์ นขอ้ ใดมีโครโมโซมแบบแฮพลอยด์ 1. ฟองน้ำ ไสเ้ ดอื นดิน 1. โอโอทิด 2. โอโอโกเนยี ม 2. ฟองนำ้ สาหรา่ ยไฟ 3. โอโอไซต์ระยะแรก 4. สเปอรม์ าโทโกเนยี ม 3. ไฮดรา หนอนตัวแบน 5. สเปอรม์ าโทไซตร์ ะยะแรก 4. พลานาเรยี ไส้เดือนดิน 6. คอรป์ ัสลูเทยี มเปลีย่ นแปลงมาจากโครงสร้างใด 5. ไส้เดือนดิน สาหร่ายทะเล 1. เซลล์ไข่ 2. ฟอลลิเคิล 2. สัตว์ในข้อใดสืบพันธุ์ได้ทั้งแบบอาศัยเพศและ 3. โพลาร์บอดี 4. หลอดเลอื ดฝอย ไมอ่ าศัยเพศ 5. เย่อื บผุ นังมดลูก 1. ผง้ึ 2. ตกั๊ แตน 7. การปฏสิ นธิเกดิ ข้ึนท่ใี ด 3. ดาวทะเล 4. ไส้เดอื นดิน 1. รังไข่ 2. มดลกู 5. หนอนตวั แบน 3. ฟิมเบรีย 4. ทอ่ นำไข่ 3. ต่อมคาวเปอร์ทำหนา้ ที่ใด 5. ช่องคลอด 1. ผลิตฮอร์โมนเพศชาย 8. กระบวนการใดเป็นการเปลี่ยนแปลงของ 2. สร้างอาหารเลีย้ งสเปริ ม์ เอม็ บรโิ อในระยะบลาสทเู ลชัน 3. เก็บสเปิรม์ ทส่ี ร้างจากอัณฑะ 1. กลุ่มเซลลช์ ้ันนอกบมุ่ ตวั เข้าไปดา้ นใน 4. สร้างสารหล่อลืน่ ท่ีมสี มบัตเิ ปน็ เบส 2. เกดิ เน้อื เย่อื 3 ชั้น และมีชอ่ งวา่ งเกิดขน้ึ 5. ควบคมุ อณุ หภูมิให้เหมาะสมตอ่ การเจรญิ 3. เซลล์เคลื่อนที่แยกจากกันไปเรียงตัวบริเวณ ของสเปริ ์ม ผวิ ช้นั นอก 4. ข้อใดกลา่ วถึงกระบวนการสร้างเซลล์ไข่ได้ถูกต้อง 4. เกิดการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสเพื่อเพิ่ม 1. โอโอโกเนียม 1 เซลล์ จะพัฒนาเป็นเซลล์ไข่ จำนวนของเซลล์ 4 เซลล์ 5. กลุ่มเซลล์ที่แบ่งตัวอย่างรวดเร็วเคลื่อนที่ลง 2. เซลลไ์ ข่ทีต่ กเข้าสูท่ อ่ นำไขอ่ ยใู่ นระยะโอโอไซต์ มาคลุมกลมุ่ เซลล์ที่แบ่งตัวช้ากว่า ระยะที่ 2 9. เอ็มบรโิ อของสตั ว์ปกี กำจัดของเสยี ออกทางใด 3. โอโอไซตร์ ะยะแรกจะแบง่ เซลล์แบบไมโทซิส 1. ไข่แดง 2. คอเรียน เมอ่ื ถูกกระตุ้นดว้ ย FSH 3. ถงุ น้ำครำ่ 4. เปลือกไข่ 4. โอโอโกเนียมจะเริ่มแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส 5. ถุงแอลแลนทอยส์ เม่ือเพศหญงิ เจริญเข้าสู่วยั เจรญิ พนั ธ์ุ 5. ภายในรังไข่ของทารกเพศหญิงจะพบโอโอไซต์ ระยะแรกท่แี บง่ เซลล์ถงึ ระยะเมทาเฟส I โดย ครูสุดาภรณ์ สืบบุญเปีย่ ม กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาชีววทิ ยา5 มธั ยมศึกษาปีที่ 6/1 18 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 คำชแ้ี จง : ใหน้ กั เรยี นเลือกคำตอบท่ีถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 10. ขอ้ ใดกล่าวถงึ การตงั้ ครรภ์ไดถ้ กู ตอ้ ง 1. ฟีตัสจะสามารถแยกเพศได้ก็ต่อเมื่อมีอายุ 3 เดอื น 2. เอ็มบริโอที่เข้าฝังตัวที่ผนังมดลูกอยู่ในระยะ แกสทรูเลชัน 3. เอ็มบริโอจะเริ่มปรากฏร่องรอยของอวัยวะ เม่ือมีอายุ 8 สัปดาห์ 4. รกจะเจริญร่วมกับเนื้อเยื่อชั้นเพอริมิเทรียม ของมดลูกเพ่ือยดึ เกาะแมก่ บั ลูก 5. หลังจากอายุ 12 เดือน เอ็มบริโอจะถูก เรยี กว่าฟตี ัส ซึ่งจะมอี วยั วะต่าง ๆ เจรญิ ครบ โดย ครูสดุ าภรณ์ สืบบญุ เปี่ยม กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าชวี วิทยา5 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6/1 19 แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 2 เร่อื ง ระบบประสาทและอวัยวะรบั ความรสู้ ึก แผนจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 เรือ่ ง เซลล์ประสาทและการทำงานของเซลลป์ ระสาท รายวิชา ชวี วิทยา5 รหสั วชิ า 30245 ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6/1 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565 น้ำหนกั เวลาเรยี น 1.5 (นน./นก.) เวลาเรียน 3 ช่วั โมง/สัปดาห์ เวลาที่ใช้ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 3 ชั่วโมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสำคัญ เซลล์ประสาททำหน้าที่รับและส่งสัญญาณประสาทไปยังเซลล์ต่าง ๆ ทั่วร่างกาย มีโครงสร้างแบ่ง ออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ตัวเซลล์ประกอบดว้ ยนวิ เคลียสและไซโทพลาซึมที่มอี อร์แกเนลล์อยู่ภายใน ทำหน้าที่ สงั เคราะหส์ ารท่จี ำเป็นต่อการดำรงชวี ิตของเซลล์ และเสน้ ใยประสาททำหน้าท่ีรบั และส่งกระแสประสาท แบ่ง ออกเปน็ 2 ชนดิ ได้แก่ เดนไดรตท์ ำหนา้ ทีน่ ำกระแสประสาทเขา้ สูต่ ัวเซลล์และแอกซอน ทำหนา้ ท่ีนำกระแส ประสาทออกจากตวั เซลล์ เซลล์ประสาทจำแนกตามหน้าที่การทำงานได้ 3 ประเภท ได้แก่ เซลล์ประสาทรับความรู้สึก เซลล์ ประสาทสง่ั การ และเซลลป์ ระสาทประสานงาน และจำแนกตามรูปร่างได้ 4 ประเภท ได้แก่ เซลล์ประสาทข้ัว เดยี ว เซลล์ประสาทขว้ั เดยี วเทยี ม เซลล์ประสาทสองข้วั และเซลล์ประสาทหลายข้ัว การถ่ายทอดกระแสประสาทจากเซลล์ประสาทหน่งึ ไปยังอีกเซลล์ประสาทหนึง่ อาศัยการเปล่ียนแปลง ศักย์ไฟฟ้าที่เยื่อหุ้มเซลล์ เรียกว่า แอกชันโพเทนเชียล ซึ่งการถ่ายทอดกระแสประสาทจะเกิดขึ้นระหว่าง ไซแนปส์ เมื่อกระแสประสาทถูกส่งมาที่ปลายแอกซอนของเซลล์ประสาทก่อนไซแนปส์จะมีถุงบรรจุสารสื่อ ประสาทเคลื่อนที่ไปยงั เซลลป์ ระสาทหลงั ไซแนปส์ ทำให้เกิดการถา่ ยทอดกระแสประสาทไปยงั เซลล์ประสาท ถดั ไป 2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้ีวัดชั้นปี/ผลการเรยี นร้/ู เปา้ หมายการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ 6. อธิบายเก่ียวกับโครงสร้างและหนา้ ทีข่ องเซลล์ประสาท 7. อธบิ ายเกย่ี วกบั การเปลยี่ นแปลงของศกั ย์ไฟฟ้าท่ีเยอ่ื หุม้ เซลล์ของเซลล์ประสาทและกลไกการ ถา่ ยทอดกระแสประสาท 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 เนือ้ หาสาระหลัก : Knowledge 1. อธิบายโครงสร้าง หน้าที่ และการทำงานของเซลล์ประสาทในการสง่ กระแสประสาท 2. เขยี นแผนภาพแสดงการเปลีย่ นแปลงศักยไ์ ฟฟา้ ท่ีเย่อื ห้มุ เซลลแ์ ละการถ่ายทอด กระแสประสาท โดย ครูสุดาภรณ์ สืบบญุ เป่ียม กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาชีววทิ ยา5 มัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 20 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process 1) ใช้กล้องจุลทรรศนใ์ นการศึกษาไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง 3.3 คุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ : Attitude 1) สนใจใฝร่ ้ใู นการศึกษาและมุ่งม่ันในการทำงาน 4. สมรรถนะสำคญั ของนักเรยี น 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 1) ทกั ษะการสังเกต 2) ทกั ษะการสำรวจค้นหา 3) ทกั ษะการเปรียบเทียบ 4) การลงความเหน็ จากขอ้ มลู 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต 5. คณุ ลักษณะของวิชา 1) ความอยากรอู้ ยากเหน็ 2) ความมีวจิ ารณญาณ 3) ความใจกว้าง 6. คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุ่งม่ันในการทำงาน 7. ชน้ิ งาน/ภาระงาน : 1) ใบงาน เรอื่ ง เซลล์ประสาท 2) ผงั มโนทศั น์ เรอื่ ง โครงสรา้ งและประเภทของเซลล์ประสาท 3) แผนภาพ เร่ือง การเปล่ียนแปลงศกั ยไ์ ฟฟา้ ทเี่ ย่ือหุ้มเซลล์และการถ่ายทอดกระแสประสาทระหว่าง เซลลป์ ระสาท โดย ครสู ดุ าภรณ์ สบื บุญเปย่ี ม กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาชวี วิทยา5 มัธยมศึกษาปที ี่ 6/1 21 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชัว่ โมงท่ี 1-2 ขนั้ นำ การใชค้ วามรู้เดิมเชอื่ มโยงความรู้ใหม่ (Prior Knowledge) 1. นำบตั รภาพหรอื สไลดถ์ าวรของเซลลป์ ระสาทและเซลล์ชนิดอน่ื ๆ เช่น เซลลเ์ ย่ือบุข้างแก้ม เซลลก์ ล้ามเนือ้ เซลลเ์ มด็ เลือด มาให้นักเรียนดแู ละศกึ ษาความแตกต่าง ∆ เซลล์ประสาท ∆ เซลลก์ ล้ามเนอ้ื ∆ เซลล์เยอ่ื บขุ า้ งแก้ม ∆ เซลล์เม็ดเลอื ด 2. ครูถามคำถาม กับนักเรียนวา่ “เซลล์ประสาทมีลกั ษณะเหมือนหรือแตกตา่ งจากเซลล์อ่นื ๆ อย่างไร” (แนวตอบ: เซลล์ประสาทมลี ักษณะแตกตา่ งจากเซลล์อื่น ๆ ของร่างกาย เนอื่ งจากเซลลป์ ระสาทมี เสน้ ใยประสาทยืน่ ออกมาจากตัวเซลล์ แต่มโี ครงสร้างของเซลล์ท่วั ไป ได้แก่ เยือ่ หุ้มเซลล์ ไซโท- พลาซมึ และ นิวเคลยี ส เหมอื นกับเซลล์ร่างกายอ่ืน ๆ) โดย ครสู ุดาภรณ์ สบื บุญเปย่ี ม กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าชีววิทยา5 มธั ยมศึกษาปที ่ี 6/1 22 ขน้ั สอน รู้ (Knowing) 1. นักเรยี นแบ่งกลุ่ม กล่มุ ละ 4-5 คน ศกึ ษาโครงสรา้ งของเซลล์ประสาทภายใต้กลอ้ งจลุ ทรรศน์ โดย ศึกษาโครงสรา้ งของเซลลป์ ระสาทและประเภทของเซลล์ประสาท (จำแนกตามหนา้ ทีก่ ารทำงานและจำแนก ตามรปู รา่ ง) 2. นกั เรียนแต่ละกลุม่ วาดภาพเซลล์ประสาทที่สังเกตเห็นภายใต้กล้องจุลทรรศน์ พรอ้ มอธบิ าย โครงสรา้ งของเซลลป์ ระสาท 3. นักเรียนทำใบงาน เรอ่ื ง เซลลป์ ระสาท 4. ถามคำถามเพ่ือตรวจสอบความเข้าใจของนกั เรียน เชน่ - เซลล์ประสาทมีลักษณะอย่างไร (แนวตอบ: เซลล์ประสาทประกอบด้วยตวั เซลล์ ซึ่งมีนวิ เคลียสและออร์แกเนลล์ต่าง ๆ อยู่ใน ไซโทพลาซึม และมเี สน้ ใยประสาทแยกออกจากตัวเซลล์ แบง่ เปน็ เดรนไซต์และแอกซอน) - เดนไดรตก์ บั แอกซอนมลี กั ษณะแตกต่างกนั อยา่ งไร (แนวตอบ: เดนไดรต์เป็นเสน้ ใยประสาททน่ี ำกระแสประสาทเขา้ สู่ตัวเซลล์ เซลลป์ ระสาท 1 เซลลอ์ าจ มีเดนไดรตแ์ ยกออกจากตวั เซลล์ 1 เสน้ ใย หรือหลายเสน้ ใย สว่ นแอกซอนเป็นเสน้ ใยประสาททน่ี ำกระแส ประสาทออกจากตัวเซลล์ เซลล์ประสาท 1 เซลล์จะมีแอกซอนเพียง 1 เส้น เท่าน้ัน) - เซลล์ประสาทที่สงั เกตเหน็ ภายใตก้ ลอ้ งจุลทรรศน์จำแนกตามรปู ร่างไดเ้ ปน็ ประเภทใด อธิบาย ประกอบ (แนวตอบ: คำตอบข้นึ อยู่กับสไลดถ์ าวรของเซลล์ประสาททีน่ ำมาประกอบการสอน เช่น เซลล์ ประสาทสองขว้ั มเี สน้ ใยประสาทแยกออกจากตัวเซลล์ 2 เสน้ เสน้ หนง่ึ เปน็ เดรนไดรต์และอกี เส้นเปน็ แอกซอน หรือเซลลป์ ระสาทหลายข้วั มีเสน้ ใยประสาทแยกออกจากตัวเซลล์จำนวนมาก ซง่ึ มีเดรนไดรต์ 2 เส้น หรอื มากกว่า แตม่ ีแอกซอนเพยี งเส้นเดียว) 5. นกั เรียนแต่ละกลุ่มรว่ มกันศึกษาการเกดิ กระแสประสาท ซง่ึ สามารถใช้วีดิทศั น์ ดงั น้ี - https://www.youtube.com/watch?v=oa6rvUJlg7o - https://www.youtube.com/watch?v=FEHNIELPb0s - https://www.youtube.com/watch?v=fHRC8SlLcH0 6. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาการถา่ ยทอดกระแสประสาทผา่ นไซแนปส์ ซึง่ สามารถใช้วดี ิทศั น์ ดังนี้ - https://www.youtube.com/watch?v=mItV4rC57kM - https://www.youtube.com/watch?v=ecGEcj1tBBI 7. นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ รว่ มกันเขยี นแผนภาพแสดงการเปลีย่ นแปลงศักย์ไฟฟา้ ทเ่ี ยอื่ หมุ้ เซลลป์ ระสาท ในสภาวะท่ถี ูกกระตนุ้ และเขยี นแผนผังแสดงการถ่ายทอดกระแสประสาทผา่ นไซแนปส์ โดย ครสู ดุ าภรณ์ สบื บญุ เปย่ี ม กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาชวี วิทยา5 มธั ยมศึกษาปที ่ี 6/1 23 ชว่ั โมงที่ 3 ข้นั สอน ขน้ั เข้าใจ (Understanding) 1. ครถู ามคำถาม กบั นกั เรียนวา่ กระแสประสาทถูกส่งจากเซลล์ประสาทหนง่ึ ไปยงั อีกเซลล์ประสาทหน่ึง ได้อย่างไร (แนวตอบ: การถ่ายทอดกระแสประสาทผ่านไซแนปส์ โดยอาศัยสารสื่อประสาทในการนำและควบคุม สัญญาณไฟฟ้าจากเซลล์ประสาทหนึ่งไปยังอีกเซลล์ประสาทหนึ่ง ทำให้เกิดการส่งกระแส ประสาทไปเรอ่ื ย ๆ) 9. สุ่มเลอื กนกั เรียน 2 กลุม่ อธิบายโครงสร้างของเซลลป์ ระสาทจากภาพวาดเซลล์ประสาททสี่ ังเกต ภายใตก้ ล้องจลุ ทรรศน์ สุ่มเลอื กนักเรียน 2 กลุม่ อธบิ ายการเกดิ กระแสประสาท จากแผนภาพ สมุ่ เลือกนักเรียน 2 กลุ่ม อธบิ ายการถา่ ยทอดกระแสประสาทผ่านไซแนปส์ จากแผนผงั สมุ่ เลอื กนักเรียน 2 กลุ่ม เปรยี บเทียบการถ่ายทอดกระแสประสาทระหวา่ งเซลล์ประสาทท่มี ีเยื่อไมอีลนิ หุม้ กับเซลลป์ ระสาททีไ่ ม่มีเยอ่ื หุ้ม 10. ครูถามคำถามเพ่ือตรวจสอบความเขา้ ใจของนกั เรยี น เช่น - โนดออฟแรนเวียรส์ ่งผลต่อการถ่ายทอดกระแสประสาทอย่างไร (แนวตอบ: โนดออฟแรนเวียร์ทำให้การส่งกระแสประสาทเกิดได้เร็วขึ้น เนื่องจากการเกิดแอกชัน- โพแทนเชยี ลจะเคลอ่ื นทจี่ ากโนดออฟแรนเวียร์หนึ่งขา้ มไปยงั อีกโนดออฟแรนเวียรห์ น่งึ ) - การเปลีย่ นแปลงศักยเ์ ยอ่ื เซลล์ระยะพกั และระยะที่ถูกกระตุน้ มลี ักษณะอย่างไร (แนวตอบ: ในระยะศักย์เยื่อเซลล์ระยะพัก ภายนอกเซลล์มี Na+ และภายในเซลล์มี K+ มีค่าศักย์ เยื่อเซลล์ระยะพกั -70 mV แต่เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้นจะทำให้ช่องโซเดียมเปิด Na+ ไหล เข้าสู่เซลล์มากขึ้น ทำให้ภายในเซลล์มีศักย์ไฟฟ้าเป็นบวกมากขึ้น ค่างต่างศักยี่เยื่อหุ้ม เซลล์เปลี่ยนจาก -70 mV เป็น +50 mV จากนั้นช่องโซเดียมจะปิด ช่องโพแทสเซยี มจะ เปดิ K+ ไหลออกนอกเซลล์ ทำใหภ้ ายในเซลล์สญู เสียประจุบวก ค่างตา่ งศักย่ีเย่ือหุ้มเซลล์ เปลย่ี นจาก +50 mV เปน็ -70 mV หรือกลับเขา้ สรู่ ะยะพักอกี คร้งั ) - หากไม่มีการขับ Na+ ออกจากเซลล์ และดงึ K+ เขา้ ส่เู ซลล์ จะเกดิ ผลต่อการสง่ กระแสประสาทอย่างไร (แนวตอบ: เซลลป์ ระสาทไม่เข้าสรู่ ะยะพกั ) - ความเรว็ ของการส่งกระแสประสาทขึน้ อยู่กับปัจจยั ใดบ้าง (แนวตอบ: ขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลางและระยะของโนดออฟแรนเวียร์ (เฉพาะเซลล์ประสาทที่มี เยื่อไมอีลินหุม้ )) - ถ้าไมม่ กี ารส่งสารสือ่ ประสาทจากแอกซอนของเซลล์ประสาทกอ่ นไซแนปสจ์ ะเกิดการส่งกระแสประสาท ขนึ้ ทเี่ ดรนไดรตข์ องเซลล์ประสาทหลังไซแนปส์หรือไม่ โดย ครูสุดาภรณ์ สบื บญุ เปยี่ ม กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าชวี วทิ ยา5 มธั ยมศึกษาปที ี่ 6/1 24 (แนวตอบ: ไม่เกดิ กระแสประสาท) - เยอ่ื ไมอลี นิ ทหี่ ุม้ บริเวณแอกซอนของเซลล์ประสาทสง่ ผลตอ่ การเคลอ่ื นท่ขี องกระแสประสาทอยา่ งไร (แนวตอบ: เยื่อไมอีลินที่หุ้มบริเวณแอกซอนของเซลล์ประสาททำหน้าที่เป็นฉนวนกั้นไฟฟ้า ทำให้ แอกซอนบริเวณที่มีเยื่อไมอีลินหุ้มไม่เกิดแอกชันโพเทนเชียล ทำให้แอกชันโพเทนเชียล เคลอื่ นที่จากโนดออฟเรนเวียร์หนง่ึ ขา้ มไปยงั อีกโนดออฟเรนเวยี ร์หนึ่ง กระแสประสาทจึง เคลื่อนท่ีได้เรว็ ขนึ้ ) - เพราะเหตุใดจึงพบสารสื่อประสาทเฉพาะที่ปลายแอกซอน และมีผลต่อการเคลื่อนที่ของกระแส ประสาทอย่างไร (แนวตอบ: สารสอื่ ประสาทพบเฉพาะท่ปี ลายแอกซอน ทำให้การเคลอ่ื นท่ีของกระแสประสาทเกิดข้ึน ในทิศทางเดียว จากแอกซอนของเซลล์ประสาทหนึง่ ไปยังเดนไดร์ตของอกี เซลล์ประสาท หนึ่ง) ขั้นลงมือทำ (Doing) 1. นกั เรยี นศกึ ษาเซลล์ประสาทบริเวณต่าง ๆ ของรา่ งกาย หาภาพเซลล์ประสาท 10 ภาพ นำมาระบุ ประเภทของเซลล์ประสาทตามหนา้ ที่การทำงานและประเภทของเซลล์ประสาทตามรปู รา่ ง 2. นักเรยี นศกึ ษาคำว่า “electrical synapse” และ “chemical synapse” แลว้ เปรยี บเทยี บความ แตกตา่ งของ electrical synapse และ chemical synapse พร้อมยกตวั อย่างประกอบ ขั้นสรุป 1. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับเซลล์ประสาทและการทำงานของเซลล์ประสาท เพื่อให้ได้ ข้อสรุปวา่ เซลลป์ ระสาทมโี ครงสร้างประกอบด้วยตัวเซลล์ทำหน้าทส่ี งั เคราะห์สารท่ีจำเปน็ ต่อการดำรงชีวิตของ เซลล์ และเส้นใยประสาททำหน้าที่รบั ส่งกระแสประสาท แบ่งออกเป็นเดนไดรต์ทำหน้าที่นำกระแสประสาท เขา้ สูต่ วั เซลล์ และแอกซอนทำหนา้ ทนี่ ำกระแสประสาทออกจากตัวเซลล์ เซลล์ประสาทแบ่งประเภทตามหน้าที่ การทำงานไดเ้ ป็นเซลล์ประสาทรับความรู้สกึ เซลล์ประสาทสั่งการ และเซลล์ประสาทประสานงาน และแบ่ง ประเภทตามรปู ร่างได้เป็นเซลล์ประสาทขวั้ เดียว เซลล์ประสาทขั้วเดยี วเทียม เซลล์ประสาทสองขั้ว และเซลล์ ประสาทหลายขั้ว กระแสประสาทจะถูกการถ่ายทอดจากเซลล์ประสาทหนึ่งไปยังอีกเซลล์ประสาทหนึ่งโดย กระบวนการแอกชนั โพเทนเชียลซึ่งเปน็ การเปลย่ี นแปลงศกั ย์ไฟฟ้าทเี่ ย่อื หุ้มเซลล์ การถ่ายทอดกระแสประสาท จะเกิดขึน้ ระหวา่ งไซแนปส์ เม่ือกระแสประสาทถูกส่งมาท่ีปลายแอกซอนของเซลล์ประสาทก่อนไซแนปส์ จะมี ถงุ บรรจสุ ารสื่อประสาทเคล่ือนทีไ่ ปยังเซลลป์ ระสาทหลังไซแนปส์ ทำให้เกดิ การถ่ายทอดกระแสประสาทไปยัง เซลลป์ ระสาทถดั ไป 2. นักเรียนเขียนสรุปในรูปแบบผังมโนทัศน์ เรื่อง โครงสร้างและประเภทของเซลล์ประสาท ลงใน กระดาษ A4 โดย ครูสุดาภรณ์ สืบบญุ เปีย่ ม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าชีววิทยา5 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6/1 25 3. นักเรียนสร้างตารางเปรียบเทียบประเภทเซลล์ประสาทตามหน้าที่ของเซลล์ประสาทและตาม จำนวนใยประสาท ลงในสมุดบนั ทกึ ของนักเรยี น 4. นักเรียนเขยี นแผนภาพ เร่อื ง การเปลี่ยนแปลงศกั ย์ไฟฟ้าทีเ่ ยอ่ื หุ้มเซลล์และการถา่ ยทอดกระแส ประสาทระหวา่ งเซลลป์ ระสาท ลงในกระดาษ A4 ขั้นประเมิน 1. ประเมนิ ความรู้เก่ียวกับ เร่ือง เซลลป์ ระสาทและการทำงานของเซลล์ประสาท โดยสังเกต พฤตกิ รรมการตอบคำถาม ตรวจใบงาน ตรวจผังมโนทัศน์ และตรวจแผนภาพ 2. ประเมินทักษะและกระบวนการ โดยสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่ พฤติกรรมการทำงาน รายบุคคล การใช้กล้องจลุ ทรรศน์ในการศึกษา และการนำเสนอผลงาน 3. ประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ โดยสงั เกตพฤตกิ รรมความสนใจใฝ่รู้ในการศึกษาและความ ม่งุ ม่ันในการทำงาน 9. สอื่ การเรียนการสอน / แหล่งเรยี นรู้ จำนวน สภาพการใชส้ ือ่ รายการส่ือ 1 ชุด ข้นั สอน 1 ชุด ขั้นสอน 1. ใบงาน เร่ือง เซลลป์ ระสาท 2. PowerPoint เรอื่ ง ระบบประสาทและอวยั วะรบั ความรู้สกึ 1 ชดุ ขน้ั สอน 3. วีดิทัศน์ เร่ือง เกิดกระแสประสาท และการถ่ายทอดกระแสประสาทผา่ น ไซแนปส์ 1 ชดุ ขั้นสอน 4. บตั รภาพเซลล์ในร่างกาย โดย ครูสดุ าภรณ์ สบื บญุ เป่ียม กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาชวี วทิ ยา5 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6/1 26 10. การวัดผลและประเมินผล เปา้ หมาย หลกั ฐานการเรียนรู้ วิธวี ัด เครือ่ งมอื วดั ฯ ประเดน็ / ใบงาน เรอ่ื ง เซลลป์ ระสาท เกณฑ์การให้คะแนน การเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน ตรวจใบงาน เรื่อง แบบประเมนิ ผังมโนทัศน์ ร้อยละ 65 ผา่ นเกณฑ์ เซลล์ประสาท แบบประเมนิ แผนภาพ 1. อธบิ ายโครงสร้าง 1. ใบงาน เรื่อง เซลล์ ระดบั คุณภาพดี ตรวจผังมโนทศั น์ ผลงานทนี่ ำเสนอ ผา่ นเกณฑ์ หนา้ ท่ี และการทำงาน ประสาท เรอื่ ง โครงสร้างและ แบบประเมนิ การปฏบิ ัติการ ประเภทของเซลล์ ระดับคณุ ภาพดี ของเซลล์ประสาทใน ประสาท ผา่ นเกณฑ์ การส่งกระแสประสาท 2. ผังมโนทัศน์ เรือ่ ง ตรวจแผนภาพ เร่ือง การเปลย่ี นแปลง ระดับคณุ ภาพดผี ่าน (K) โครงสรา้ งและประเภทของ ศักยไ์ ฟฟา้ ทเี่ ยื่อหมุ้ เกณฑ์ เซลลแ์ ละการถา่ ยทอด ระดบั คุณภาพดี 2. เขียนแผนภาพแสดง เซลล์ประสาท กระแสประสาท ระหวา่ งเซลลป์ ระสาท ผา่ นเกณฑ์ การเปลยี่ นแปลง ประเมนิ การนำเสนอ ผลงาน ศักยไ์ ฟฟ้าท่ีเยอ่ื หมุ้ เซลล์ 3. แผนภาพ เรื่อง การ ประเมินการ และการถ่ายทอด เปลีย่ นแปลงศักยไ์ ฟฟา้ ท่ี ปฏิบตั กิ าร กระแสประสาท (K) เย่อื หมุ้ เซลล์และการ 2. ใชก้ ล้องจลุ ทรรศน์ใน ถ่ายทอดกระแสประสาท การศึกษาได้อยา่ ง ระหวา่ งเซลลป์ ระสาท ถกู ตอ้ ง (P) 3. สนใจใฝ่รูใ้ น 4. การนำเสนอผลงาน การศึกษาและมงุ่ มน่ั ใน การทำงาน (A) 5. การปฏิบัตกิ าร 6. พฤติกรรมการทำงาน สังเกตพฤตกิ รรมการ แบบสงั เกตพฤติกรรมการ ระดบั คณุ ภาพดี ผ่านเกณฑ์ กลุ่ม ทำงานกลมุ่ ทำงานกลมุ่ 7. คุณลกั ษณะอนั พงึ สงั เกตความมวี ินัย แบบประเมินคุณลักษณะ ร ะ ด ั บ ค ุ ณ ภ า พ ดี ประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น อันพึงประสงค์ ผา่ นเกณฑ์ ในการทำงาน โดย ครสู ุดาภรณ์ สืบบญุ เปย่ี ม กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาชวี วิทยา5 มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6/1 27 แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน คำชีแ้ จง : ให้ผสู้ อนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขีด ✓ลงในช่องที่ ตรงกบั ระดับคะแนน ลำดบั ท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน 3 21 1 เน้ือหาละเอียดชดั เจน 2 ความถูกตอ้ งของเนื้อหา 3 ภาษาทใี่ ชเ้ ข้าใจงา่ ย 4 ประโยชนท์ ่ีได้จากการนำเสนอ 5 วธิ กี ารนำเสนอผลงาน รวม ลงชอ่ื ...................................................ผู้ประเมนิ (นางสาวสดุ าภรณ์ สบื บุญเปยี่ ม) ............./................../............... เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมินสมบรู ณช์ ดั เจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมนิ เป็นส่วนใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินบางสว่ น เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ 14 - 15 ดีมาก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรับปรงุ โดย ครูสดุ าภรณ์ สบื บญุ เปย่ี ม กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาชวี วทิ ยา5 มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6/1 28 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล คำชแ้ี จง : ให้ผ้สู อนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขดี ✓ลงในชอ่ งที่ ตรงกับระดับคะแนน ลำดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดับคะแนน 3 21 1 การแสดงความคิดเหน็ 2 การยอมรบั ฟังความคดิ เหน็ ของผูอ้ ่ืน 3 การทำงานตามหน้าท่ีทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย 4 ความมนี ้ำใจ 5 การตรงตอ่ เวลา รวม ลงช่อื ...................................................ผู้ประเมนิ (นางสาวสดุ าภรณ์ สืบบุญเป่ยี ม) ............./................../............... เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบอ่ ยครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครง้ั เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14 - 15 ดมี าก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช้ ตำ่ กวา่ 8 ปรับปรุง โดย ครสู ุดาภรณ์ สืบบญุ เปยี่ ม กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าชีววทิ ยา5 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 29 แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ คำชีแ้ จง : ให้ผสู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องท่ี ตรงกับระดับคะแนน การมี การแสดง การยอมรบั การทำงาน ความมี สว่ นรว่ มใน รวม ชื่อ – สกลุ ความ ฟังคนอนื่ ตามที่ไดร้ บั น้ำใจ การ 15 ลำดับท่ี ของนกั เรียน คดิ เห็น มอบหมาย ปรับปรงุ คะแนน ผลงานกลุ่ม 321321321321321 เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลงชอ่ื ...................................................ผูป้ ระเมนิ ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่ำเสมอ (นางสาวสดุ าภรณ์ สบื บุญเปย่ี ม) ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครงั้ ............../.................../............... ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14 - 15 ดมี าก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรบั ปรุง โดย ครสู ุดาภรณ์ สบื บญุ เป่ียม กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาชวี วทิ ยา5 มัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 30 แบบประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ คำชแ้ี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขีด ✓ลงในชอ่ งที่ ตรงกบั ระดับคะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อนั พึงประสงค์ด้าน 32 1 1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติได้ กษัตรยิ ์ 1.2 เข้าร่วมกจิ กรรมทส่ี รา้ งความสามัคคี ปรองดอง และเปน็ ประโยชน์ ต่อโรงเรียน 1.3 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถอื ปฏิบตั ติ ามหลักศาสนา 1.4 เข้าร่วมกจิ กรรมทีเ่ กยี่ วกับสถาบนั พระมหากษัตริย์ตามท่โี รงเรียนจดั ข้ึน 2. ซอ่ื สัตย์ สจุ ริต 2.1 ให้ข้อมลู ทถ่ี กู ตอ้ ง และเปน็ จริง 2.2 ปฏบิ ัตใิ นส่งิ ทถ่ี ูกตอ้ ง 3. มวี นิ ัย รบั ผิดชอบ 3.1 ปฏิบตั ิตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บงั คับของครอบครัว มีความตรงตอ่ เวลาในการปฏิบัติกิจกรรมตา่ ง ๆ ในชวี ิตประจำวัน 4. ใฝ่เรยี นรู้ 4.1 รจู้ กั ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์ และนำไปปฏบิ ตั ิได้ 4.2 รจู้ ักจัดสรรเวลาใหเ้ หมาะสม 4.3 เชื่อฟังคำสงั่ สอนของบดิ า - มารดา โดยไมโ่ ต้แย้ง 4.4 ต้ังใจเรยี น 5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใชท้ รัพยส์ นิ และส่ิงของของโรงเรียนอย่างประหยดั 5.2 ใช้อุปกรณก์ ารเรยี นอย่างประหยดั และรคู้ ณุ ค่า 5.3 ใช้จา่ ยอยา่ งประหยัดและมกี ารเก็บออมเงิน 6. มุ่งม่ันในการทำงาน 6.1 มคี วามตั้งใจและพยายามในการทำงานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไม่ทอ้ แท้ตอ่ อปุ สรรคเพื่อให้งานสำเร็จ 7. รกั ความเป็นไทย 7.1 มจี ติ สำนึกในการอนุรกั ษว์ ัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย 7.2 เหน็ คุณคา่ และปฏบิ ัตติ นตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รจู้ กั ชว่ ยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครทู ำงาน 8.2 รจู้ ักการดูแลรกั ษาทรัพยส์ มบัตแิ ละสงิ่ แวดล้อมของหอ้ งเรยี นและ โรงเรียน ลงชื่อ...................................................ผปู้ ระเมิน ............../.................../............... เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ พฤติกรรมท่ปี ฏิบตั ชิ ัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ พฤติกรรมทป่ี ฏิบัตชิ ัดเจนและบอ่ ยคร้ัง ให้ 2 คะแนน 51-60 ดีมาก พฤติกรรมทป่ี ฏิบตั บิ างครง้ั ให้ 1 คะแนน 41-50 ดี 30-40 พอใช้ ตำ่ กว่า 30 ปรบั ปรงุ โดย ครสู ุดาภรณ์ สบื บญุ เปี่ยม กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาชีววทิ ยา5 มธั ยมศึกษาปีที่ 6/1 31 แบบบนั ทกึ หลงั การจัดการเรยี นรู้ ช่อื หน่วยการเรียนรทู้ ่ี.......... เรื่อง................................................................ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี........... เร่ือง................................................... รายวชิ า.......................................... ชั้น....................... รหสั วชิ า....................... ครผู สู้ อน นางสาวสุดาภรณ์ สืบบญุ เป่ยี ม ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย เวลาที่ใช้................. ชว่ั โมง ผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรอื ผทู้ ไี่ ดร้ ับมอบหมาย ........................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ.................................................. (..............................................) รองผ้อู ำนวยการฝา่ ยวชิ าการ ข้อค้นพบระหว่าง ปญั หาทพ่ี บ แนวทางการจัดการเรยี นรู้ การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ เนือ้ หา กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่อื ประกอบการเรียนรู้ พฤตกิ รรม/การมีส่วนร่วมของผเู้ รียน ลงชอ่ื ..................................................ผสู้ อน นางสาวสดุ าภรณ์ สบื บญุ เปย่ี ม) ตำแหน่ง ครูผู้ชว่ ย โดย ครูสดุ าภรณ์ สบื บญุ เปย่ี ม กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาชวี วิทยา5 มธั ยมศึกษาปที ี่ 6/1 32 ใบงาน เร่ือง เซลล์ประสาท คำช้ีแจง : ระบุโครงสร้างและอธิบายลักษณะของเซลล์ประสาทท่ีกำหนดให้ 1 2 3 4 หมายเลข 1 คือ .................................................... หมายเลข 2 คอื .................................................... หนา้ ท่ี ................................................................... หน้าที่ .................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... หมายเลข 3 คอื .................................................... หมายเลข 4 คือ .................................................... หน้าท่ี ................................................................... หนา้ ท่ี .................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... โดย ครูสุดาภรณ์ สบื บญุ เปยี่ ม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าชีววิทยา5 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6/1 33 ใบงาน เฉลย เรือ่ ง เซลลป์ ระสาท คำชี้แจง : ระบุโครงสร้างและอธิบายลักษณะของเซลล์ประสาทที่กำหนดให้ 1 2 3 4 หมายเลข 1 คอื .เ.ด..น...ไ..ด..ร..ต..์..................................... หมายเลข 2 คือ .ต..วั..เ..ซ..ล..ล...์ ...................................... หน้าที่ ..เ.ส...้น..ใ..ย..ป...ร.ะ...ส..า..ท..ท...นี่...ำ..ก..ร..ะ..แ..ส...ป..ร..ะ...ส..า..ท...เ.ข..้า..ส...ู่ .. หน้าที่ ..ภ...า..ย..ใ.น...ป...ร..ะ..ก..อ...บ..ด...้ว..ย..น...ิว..เ.ค..ล...ีย..ส..ข...น..า..ด...ใ..ห..ญ...่. ..ต..ัว..เ.ซ...ล..ล..์...เ.ซ...ล..ล..ป์...ร..ะ..ส..า..ท.....1...เ..ซ..ล..ล...์ .อ..า..จ...ม..ีเ.ด...น..ไ..ด..ร..ต...์ . ..แ..ล..ะ...ม..อี..อ...ร..แ์ ..ก..เ..น..ล...ล..์ภ...า.ย...ใ.น...ไ.ซ...โ.ท...พ...ล..า..ซ..มึ....ท...ำ..ห...น..้า..ท...ี่. ..แ..ย..ก...อ...อ..ก...จ..า..ก...ต..ัว...เ.ซ..ล...ล..์ห...น...ึ่ง..เ..ส..้น...ใ..ย...ห...ล..า...ย..เ.ส...้น...ใ.ย.... ..ส..ัง...เ.ค...ร..า..ะ..ห...์ส...า..ร..ท...ี่จ...ำ..เ..ป..็น...ต...่อ...ก..า..ร..ด...ำ..ร..ง..ช...ีว..ิ.ต..ข...อ..ง... ..ห..ร..อื...อ..า..จ..ไ..ม..ม่...เี .ด..น...ไ.ด...ร..ต..์เ.ล...ย....................................... ..เ.ซ...ล..ล...์แ...ล..ะ...ข..น...ส...่ง..ส..า...ร..จ..า..ก...ต...ัว..เ..ซ..ล...ล..์ไ..ป...ย...ัง..เ.ส...้น...ใ..ย... ..ป..ร..ะ...ส..า..ท..อ...ืน่ ....ๆ......................................................... ............................................................................... หมายเลข 3 คือ .น...วิ ..เ.ค..ล...ีย..ส...................................... หมายเลข 4 คอื .แ..อ...ก..ซ..อ...น....................................... หนา้ ท่ี ..ค...ว...บ...ค..ุ.ม...ก..ิ.จ..ก...ร..ร...ม...ต..่.า..ง....ๆ....ข...อ...ง..เ..ซ...ล..ล...์ ... หน้าท่ี ..เ..ส..้น...ใ.ย...ป..ร..ะ...ส..า..ท...ท..ี่น...ำ..ก..ร..ะ...แ..ส..ป...ร..ะ..ส...า..ท..อ...อ..ก.... ..ป...ร..ะ..ส..า..ท.................................................................. ..จ..า...ก..ต...ั.ว..เ..ซ..ล...ล...์ .เ..ซ...ล...ล..์.ป...ร..ะ...ส..า...ท....1....เ..ซ...ล..ล...์..จ...ะ..ม...ี . ..แ..อ..ก...ซ..อ...น..เ.พ...ีย..ง..เ..ส..น้ ..ด...ีย..ว..เ.ท...่า..น...้ัน................................. ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... โดย ครสู ุดาภรณ์ สบื บญุ เป่ียม กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าชวี วทิ ยา5 มัธยมศึกษาปที ่ี 6/1 34 เซลลใ์ นรา่ งกาย โดย ครสู ุดาภรณ์ สบื บุญเปย่ี ม กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าชวี วทิ ยา5 มัธยมศึกษาปที ่ี 6/1 35 เซลลใ์ นรา่ งกาย โดย ครสู ุดาภรณ์ สบื บุญเปย่ี ม กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าชีววทิ ยา5 มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 36 แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรับความรสู้ กึ แผนจดั การเรยี นรู้ท่ี 3 เรอื่ ง ศนู ยค์ วบคมุ ระบบประสาท รายวิชา ชวี วทิ ยา5 รหัสวชิ า 30245 ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 น้ำหนักเวลาเรียน 1.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 3 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ เวลาที่ใช้ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 3 ชวั่ โมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสำคญั ศูนย์ควบคุมระบบประสาทแบง่ ออกเปน็ 2 ส่วน ดังนี้ - สมอง บรรจุอยู่ในกระโหลกศีรษะ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ สมองส่วนหน้าประกอบด้วย เซ รีบรัมทำหน้าที่ควบคุมความคิดและการทำงานต่าง ๆ ของร่างกาย ไฮโพทาลามัสทำหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิ การเต้นของหัวใจ ความดันเลือด และความต้องการพื้นฐานของร่างกาย ทาลามัสทำหน้าที่เป็นศูนย์ รวบรวมกระแสประสาทเข้าและออก และแยกกระแสประสาทส่งไปยังสมองส่วนต่าง ๆ สมองส่วนกลาง คือ ออพติกโลบทำหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนไหวของลูกตาและการปิดเปิดของรูม่านตาเมื่อได้รับแสง สมอง สว่ นทา้ ยประกอบด้วยเซรีเบลลัมทำหน้าทคี่ วบคุมการเคล่อื นไหวและการทรงตวั ของร่างกาย เมดลั ลาออบลอง กาตาทำหนา้ ทีค่ วบคุมการทำงานของระบบประสาทอตั โนมัติ พอนสท์ ำหน้าท่ีควบคุมการเค้ยี ว การหล่ังน้ำลาย การเคลื่อนไหวของใบหน้า และการหายใจ สมองมีเส้นประสาทแยกออกมา 12 คู่ ทำหน้าที่รับความรู้สึก (คทู่ ี่ 1 2 และ 8) สัง่ การ (คทู่ ี่ 3 4 6 11 และ 12) หรือรับความรสู้ กึ และสั่งการ (คทู่ ี่ 5 7 9 และ 10) - ไขสันหลงั เปน็ ระบบประสาทท่ีต่อมาจากสมอง อยูภ่ ายในกระดกู สนั หลงั ตัง้ แต่ข้อแรกถึงกระดูกบั้น เอวข้อที่ 2 และมีเส้นประสาทไขสันหลังแยกออกมา 31 คู่ ได้แก่ เส้นประสาทบริเวณคอ 8 คู่ เส้นประสาท บรเิ วณอก 12 คู่ เส้นประสาทบริเวณเอว 5 คู่ เสน้ ประสาทบรเิ วณกระเบนเหน็บ 5 คู่ และเสน้ ประสาทบริเวณ ก้นกบ 1 คู่ 2. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตวั ช้ีวัดชัน้ ป/ี ผลการเรียนรู้/เป้าหมายการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ 7. อธบิ าย และสรปุ เก่ยี วกบั โครงสรา้ งของระบบประสาทส่วนกลางและระบบประสาทรอบนอก 8. สืบคน้ ข้อมูล อธิบายโครงสร้างและหน้าทขี่ องส่วนต่าง ๆ ในสมองส่วนหนา้ สมองส่วนกลาง สมอง ส่วนหลัง และไขสนั หลัง 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 เน้อื หาสาระหลัก : Knowledge 1) อธิบายโครงสรา้ งของระบบประสาทสว่ นกลางและระบบประสาทรอบนอกได้ (K) 2) อธบิ ายโครงสร้างและหนา้ ที่ของสมองและไขสันหลังได้ (K) โดย ครูสดุ าภรณ์ สบื บญุ เปยี่ ม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าชวี วิทยา5 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6/1 37 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process 1) ปฏิบัตงิ านตามหนา้ ทที่ ไี่ ดร้ บั มอบหมายได้ครบถ้วน 3.3 คณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ : Attitude 1) สนใจใฝร่ ู้ในการศกึ ษาและมุ่งม่นั ในการทำงาน 4. สมรรถนะสำคัญของนักเรยี น 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคิด 1) ทักษะการสังเกต 2) ทกั ษะการสำรวจคน้ หา 3) ทักษะการจำแนกประเภท 4) ทักษะการลงความเห็นจากขอ้ มลู 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต 5. คณุ ลกั ษณะของวิชา 1) ความอยากร้อู ยากเหน็ 2) ความมีวิจารณญาณ 3) ความใจกวา้ ง 6. คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ 1. มีวนิ ัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน 7. ชิน้ งาน/ภาระงาน : 1) ใบงาน เร่ือง สมอง 2) ผังมโนทศั น์ เรอื่ ง ศนู ยค์ วบคมุ การทำงานของระบบประสาท 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชั่วโมงท่ี 1 ขั้นนำ การเตรยี มล่วงหนา้ (การเตรยี มการบรรยาย) 1) นำวิดีทศั นแ์ สดงการพฒั นาของสมองและไขสันหลังมาใช้ประกอบการสอน เช่น - https://www.youtube.com/watch?v=RbejYkPTaZ8 - https://www.youtube.com/watch?v=t7y11Lw2ZSA - https://www.youtube.com/watch?v=GN626O1iq30 โดย ครูสุดาภรณ์ สบื บุญเปีย่ ม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าชวี วิทยา5 มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6/1 38 แลว้ ถามคำถามเกีย่ วกับการพัฒนาของสมองและไขสนั หลงั จากวีดทิ ัศนท์ น่ี ำมาประกอบการสอน เช่น - เม่อื เอ็มบรโิ อมีมายุเพ่ิมมากข้ึน นวิ รลั ทวิ บม์ กี ารพัฒนาอยา่ งไร (แนวตอบ: นวิ รัลทวิ บ์เปน็ โครงสร้างทพ่ี บในระยะเอม็ บริโอของสัตวม์ ีกระดูกสนั หลงั มี ลักษณะเปน็ หลอดกลวง ซง่ึ จะพัฒนาเป็นสมองและไขสันหลัง โดยส่วนหนา้ ของนิวรลั ทวิ บ์จะพัฒนาเป็นสมอง และส่วนท้ายของนิวรัลทิวบ์จะพัฒนาเปน็ ไขสนั หลัง) - เมอื่ ทารกในครรภม์ ีอายุเพิ่มมากขนึ้ สมองส่วนใดมีการพฒั นามากที่สดุ (แนวตอบ: สมองสว่ นหน้ามพี ัฒนาการมากทส่ี ดุ ) ขน้ั สอน การบรรยาย 1. นักเรยี นแบ่งกลมุ่ กลมุ่ ละ 6 คน โดยนกั เรียนแต่ละกล่มุ แบ่งหน้าที่กนั ไปศึกษาแบบจำลองสมอง ของสัตว์กลุ่มต่าง ๆ ดงั น้ี - สมองของสัตว์สะเทินนำ้ สะเทินบก - สมองของปลา - สมองของสัตว์เลื้อยคลาน - สมองของสัตวป์ ีก - สมองของสัตว์เลยี้ งลกู ด้วยน้ำนม - สมองของมนุษย์ ∆ แบบจำลองสมองของกบ ∆ แบบจำลองสมองของฉลาม ∆ แบบจำลองสมองของสตั วเ์ ล้อื ยคลาน ∆ แบบจำลองสมองของนก ∆ แบบจำลองสมองของสนุ ขั ∆ แบบจำลองสมองของมนุษย์ โดย ครูสดุ าภรณ์ สบื บญุ เป่ียม กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าชวี วทิ ยา5 มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6/1 39 2. นักเรียนแต่ละคนที่ถูกแบ่งหน้าที่ไปศึกษาแบบจำลองสมองของสัตว์กลุ่มต่าง ๆ กลับมารวมกลุ่ม ของตนเอง แลว้ อธิบายให้เพอื่ นในกลุม่ ฟังเกีย่ วกับแบบจำลองท่ตี นเองได้ไปศกึ ษา 3. สมุ่ เลือกนกั เรียน 6 กลมุ่ ออกมาอธบิ ายแบบจำลองสมองของสัตวก์ ลมุ่ ตา่ ง ๆ ได้แก่ สัตวส์ ะเทินน้ำ สะเทินบก ปลา สัตวเ์ ลื้อยคลาน สตั วป์ กี สตั วเ์ ล้ียงลูกดว้ ยน้ำนม และมนษุ ย์ โดยระหวา่ งท่นี ักเรียนนำเสนอให้ นกั เรียนในชนั้ เรยี นร่วมกนั เสนอแนะ และครคู อยเพม่ิ เติมประเดน็ ทข่ี าดหายไป 4. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า สัตว์แต่ละกลุ่มมีพัฒนาการของสมองแตกต่างกัน เช่น ฉลามมีสมอง ส่วน อัลแฟกทอรีบัลบ์ขนาดใหญ่เพ่อื ประมวลผลเกี่ยวกับการรบั กลิน่ ทำใหฉ้ ลามมีจมูกไวและล่าเหยื่อได้ดี กบมีสมองส่วนออพติกโลบขนาดใหญ่เพื่อช่วยประมวลผลเกี่ยวกับการรับภาพ ทำให้กบมองเห็น การ เคลื่อนไหวของเหยือ่ ได้ดี นกมีสมองส่วนเซรีเบลลมั เจรญิ มากทำหน้าท่ีช่วยควบคุมและประสาน การเคลื่อนท่ี และการทรงตัว ทำให้นกบินเคลื่อนที่ใน 3 มิติได้ มนุษย์มีสมองส่วนเซรบี รัมเจรญิ ดีมากทำใหใ้ ช้ความคิดและ ความจำได้ดีกว่าสตั ว์กลุ่มอนื่ ๆ 5. ครูอธบิ ายใหน้ ักเรยี นฟงั ว่า ปริมาณรอยหยกั ในสมองทำให้พนื้ ท่ีผวิ ของสมองเพ่ิมมากขน้ึ เนื่องจาก เนื้อสีเทาของสมองอยู่สว่ นนอก สัตวท์ ีม่ รี อยหยกั บนสมองมากจะมพี นื้ ที่ผวิ ของเนอ้ื สีเทามาก หมายความว่ามี จำนวนเซลลป์ ระสาทมาก ทำให้สัตวม์ กี ารเรยี นรู้และความฉลาดมากกว่า สำหรับสดั ส่วนของน้ำหนักสมองต่อ น้ำหนักตัวเป็นเครื่องบ่งชี้คร่าว ๆ ว่า ถ้ามีสมองขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับน้ำหนักตัว มีแนวโน้มว่าจะมีเซลล์ ประสาทมากกว่าและฉลาดกว่า แต่ไมจ่ ำเปน็ เสมอไป 6. ถามคำถามเพอื่ ตรวจสอบความเข้าใจของนกั เรยี น เช่น - สตั วเ์ ลยี้ งลูกดว้ ยน้ำนมมพี ฒั นาการของสมองสว่ นใดมากกว่าสตั ว์กลุ่มอื่น ๆ และสมองสว่ นน้นั มี ความสำคัญอย่างไร (แนวตอบ: สมองสว่ นหนา้ ซง่ึ มบี ทบาทเก่ียวกับการเรียนรู้ ทำใหม้ ีความฉลาดมากขน้ึ ) - สัตว์ที่มีวิวฒั นาการสูงขึ้น สมองมีพฒั นาการแตกต่างจากสตั ว์ที่มวี วิ ัฒนาการต่ำกว่าอย่างไร (แนวตอบ: สัตวท์ ีม่ ีวิวัฒนาการสงู จะมสี มองสว่ นหนา้ และสมองส่วนหลงั พฒั นาดีกว่าสตั ว์ทีม่ ี ววิ ฒั นาการตำ่ กว่า แตส่ มองส่วนกลางจะมพี ฒั นาการนอ้ ยกวา่ ) - สัตวแ์ ตล่ ะกลุม่ มีสมองส่วนใดเจริญมากท่ีสุด เพราะเหตใุ ด (แนวตอบ: กบมีสมองสว่ นออพตกิ โลบเจรญิ ดีเพือ่ ชว่ ยประมวลผลเกยี่ วกับการรบั ภาพทำให้มองเห็น การเคลื่อนไหวของเหยอื่ ไดด้ ี ฉลามมีสมองส่วนอลั แฟกทอรีบลั บเ์ จรญิ ดเี พือ่ ประมวลผลเกีย่ วกบั การรับกลนิ่ ทำ ใหฉ้ ลามมีจมูกไวและลา่ เหยอ่ื ได้ดี นกมีสมองสว่ นเซรีเบลลัมเจรญิ ดีเพือ่ ช่วยควบคมุ และประสานการเคลื่อนท่ี และการทรงตวั ทำให้นกบนิ เคลอ่ื นท่ใี น 3 มิติได้ สัตวม์ ีกระดูกสันหลังมีสมองส่วนเซรบี รมั เจริญดมี ีทำให้ใช้ ความคิดและความจำไดด้ ี) โดย ครสู ดุ าภรณ์ สืบบุญเป่ียม กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าชวี วิทยา5 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6/1 40 ชว่ั โมงท่ี 2 ขน้ั สอน การบรรยาย 1. นกั เรียนแต่ละกลุม่ (กลมุ่ จากชวั่ โมงที่ 1) ศึกษาหนา้ ท่ขี องสมองสว่ นต่าง ๆ ของมนษุ ย์ จาก แบบจำลอง 2. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ วาดภาพสมองสว่ นตา่ ง ๆ ลงในกระดาษ A4 ระบตุ ำแหน่งของสมองสว่ นต่าง ๆ พร้อมอธิบายหน้าท่ีของสมองแตล่ ะสว่ น สมุ่ เลอื กนกั เรียน 3 กลุ่ม นำเสนอภาพวาดสมองสว่ นตา่ ง ๆ 3. นกั เรยี นและครรู ่วมกนั อภิปรายเพือ่ ใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ วา่ สมองแบ่งออกเปน็ ส่วนตา่ ง ๆ ดงั นี้ - เซรบี รมั เปน็ สมองส่วนหน้า มขี นาดใหญ่ที่สดุ มีรอยหยกั เป็นจำนวนมาก ทำหน้าท่คี วบคมุ ความคดิ ความจำ สติปัญญา การทำงานตา่ งๆ เช่น การสัมผสั การมองเห็น การได้ยนิ การรบั รส การดมกลน่ิ การทำงานของกล้ามเนอื้ โดยสมองสว่ นเซรีบรัมยังแบง่ ออกเปน็ 4 สว่ น ดังน้ี • ฟรอนทัลโลบ ทำหนา้ ทค่ี วบคมุ การเคลื่อนไหว การออกเสยี ง ความคิด ความจำ สติปัญญา และ ความร้สู ึก • เทม็ พอรัลโลบ ทำหนา้ ท่คี วบคมุ การไดย้ นิ และการดมกล่ิน • ออกซพิ ิทัลโลบ ทำหนา้ ทค่ี วบคมุ การมองเห็น • พาเรยี ทลั โลบ ทำหนา้ ทค่ี วบคุมการพูด การสมั ผสั และการรับรส - ออลเฟกทอรบี ลั บ์ เปน็ สมองสว่ นหนา้ อยดู่ ้านหนา้ สุด ทำหน้าทีค่ วบคุมการดมกล่ิน (ใน มนุษย์ไม่เจริญมากนกั แตใ่ นปลา กบ และสัตวเ์ ลื้อยคลานจะมขี นาดใหญ)่ - ไฮโพทาลามสั เปน็ สมองสว่ นหนา้ ทำหนา้ ที่เปน็ ศูนยก์ ลางของระบบประสาทอัตโนวัติ ไดแ้ ก่ ควบคมุ อุณหภูมิร่างกาย การเต้นของหัวใจ ความดันเลือด ความตอ้ งการพ้นื ฐาน เชน่ น้ำ อาหาร ความ ตอ้ งการทางเพศ รวมทั้งสรา้ งฮอรโ์ มนประสาทควบคุมการหลั่งฮอรโ์ มนของต่อมใต้สมองส่วนหน้า - ทาลามสั เป็นสมองส่วนหนา้ อย่ดู า้ นบนไฮโพทาลามัส ทำหน้าท่ศี ูนย์รวบรวมกระแส ประสาทเขา้ และออก และแยกกระแสประสาทส่งไปยงั สมองที่สัมพนั ธ์กบั กระแสประสาทนั้น - ออพติกโลบ เปน็ สมองสว่ นกลาง ทำหน้าทีค่ วบคมุ การเคล่อื นไหวของลกู ตา การปิดเปิด ของรมู ่านตาเมือ่ รบั แสง - เซรีบรมั เปน็ สมองส่วนทา้ ย อย่ดู ้านหลังสมองส่วนพอนส์และใต้สมองส่วนเซรบี รัม ทำ หนา้ ท่คี วบคมุ การเคล่อื นไหวและการทรงตวั ของรา่ งกาย - เมดัลลาออบลองกาตา เป็นสมองส่วนทา้ ยที่ตอ่ กบั ไขสันหลงั ทำหน้าท่ีควบคุมการทำงาน ระบบประสาทอัตโนวตั ิ เชน่ การเตน้ ของหวั ใจ การหายใจ ความดันเลือด การจาม การสะอกึ การอาเจยี น การกลืน เป็นทางผา่ นของกระแสประสาทระหว่างสมองกับไขสนั หลัง - พอนส์ เป็นสมองส่วนทา้ ย อยูด่ ้านหนา้ ซรี เี บลลัมและติดกับสมองสว่ นกลาง ทำหนา้ ท่ี ควบคุมการเคี้ยว การหลั่งน้ำลาย การเคล่ือนไหวของใบหน้า การหายใจ เปน็ ทางผ่านของกระแสประสาท ระหวา่ ง เซรบี รมั กับเซรเี บลลัมและระหวา่ งเซรีเบลลมั กับไขสันหลัง โดย ครสู ุดาภรณ์ สบื บญุ เปีย่ ม กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าชวี วทิ ยา5 มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6/1 41 4. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ ศกึ ษาตำแหน่งและหน้าทีข่ องเส้นประสาทสมองทั้ง 12 คู่ แล้วนกั เรียนและครู ร่วมกันอภปิ รายเพ่ือให้ไดข้ ้อสรปุ ว่า เสน้ เสน้ ประสาทสมองมี 12 คู่ แต่ละคู่ทำหน้าทรี่ ับความรู้สกึ สั่งการ หรือ ทง้ั รับความรสู้ กึ และสง่ั การ ดังนี้ - เส้นประสาทสมองคทู่ ่ี 1 ทำหน้าที่รบั ความรสู้ ึกจากจมกู - เสน้ ประสาทสมองคู่ที่ 2 ทำหน้าทร่ี บั ความรู้สึกจากตา - เสน้ ประสาทสมองคทู่ ี่ 3 ทำหน้าทสี่ ่งั การไปยงั กล้ามเน้ือลกู ตา - เสน้ ประสาทสมองคทู่ ่ี 4 ทำหนา้ ท่ีส่ังการไปยังกล้ามเน้ือลกู ตา - เส้นประสาทสมองคู่ที่ 5 ทำหนา้ ทร่ี ับความรู้สกึ จากใบหน้าและฟันทำหน้าท่สี ัง่ การไปยังใบหนา้ และฟัน - เส้นประสาทสมองคทู่ ่ี 6 ทำหนา้ ที่สงั่ การไปยังกล้ามเนื้อของลกู ตา - เสน้ ประสาทสมองคทู่ ่ี 7 ทำหน้าที่รบั ความรู้สึกจากตมุ่ รบั รสทำหน้าท่ีสง่ั การไปยังตอ่ มน้ำลายและ กล้ามเนอื้ ใบหน้า - เสน้ ประสาทสมองคูท่ ี่ 8 ทำหน้าที่รบั ความรสู้ ึกจากหู - เส้นประสาทสมองคู่ท่ี 9 ทำหนา้ ทร่ี ับความร้สู ึกจากคอหอยและต่มุ รบั รส ทำหน้าท่ีส่ังการไปยงั คอ หอยและต่อมนำ้ ลาย - เสน้ ประสาทสมองคู่ที่ 10 ทำหน้าทีร่ ับความรู้สึกจากชอ่ งอกและช่องท้อง ทำหน้าท่ีสัง่ การไปยงั ชอ่ ง อกและช่องท้อง - เสน้ ประสาทสมองคทู่ ่ี 11 ทำหนา้ ที่สัง่ การไปยังกล้ามเนื้อท่ใี ช้ยกไหล่ - เส้นประสาทสมองคู่ที่ 12 ทำหน้าทส่ี ง่ั การไปยังลน้ิ 5. นกั เรียนทำใบงาน เรอ่ื ง สมอง 6. ถามคำถามเพ่ือตรวจสอบความเข้าใจของนกั เรียน เช่น - สมองสว่ นใดหากไดร้ บั การกระทบกระเทอื นอาจทำให้เกิดอาการความจำเสื่อมและเป็นอมั พาต (แนวตอบ: สมองสว่ นเซรบี รมั ทำหนา้ ท่คี วบคมุ ความคดิ ความจำ สติปัญญา และการทำงานของ กลา้ มเน้ือ หากได้รบั การกระทบกระเทือนอาจทำให้เกดิ อาการความจำเสอ่ื มและเปน็ อัมพาตได้) - สมองสว่ นใดทำหน้าท่ีควบคมุ เกี่ยวกับการรกั ษาดุลยภาพต่าง ๆ ของร่างกาย (แนวตอบ: สมองส่วนไฮโพทาลามัสทำหน้าที่ควบคมุ อุณหภมู ิของร่างกายและยังสรา้ งฮอร์โมนไป ควบคุมการหล่งั แอนตไิ ดยูเรตกิ ฮอร์โมนทม่ี ผี ลตอ่ การดดู นำ้ กลับท่ีทอ่ หน่วยไตซ่ึงมีผลต่อการรักษาดุลยภาพของ นำ้ ในรา่ งกาย และสมองส่วนพอนสแ์ ละเมดัลลาออบลองกาตาทำหนา้ ทีค่ วบคุมการหายใจซ่ึงมีผลต่อการรกั ษา ดุลยภาพของกรด-เบสในรา่ งกาย) - เสน้ ประสาทสมองคูใ่ ดทำหน้าท่เี ปน็ เสน้ ประสาทผสม ทำหน้าทร่ี บั ความรสู้ กึ และสั่งการ (แนวตอบ: เสน้ ประสาทสมองคทู่ ่ี 5 7 9 และ 10) - ขณะรับประทานอาหาร เสน้ ประสาทสมองคู่ใดบ้างทท่ี ำงานเกี่ยวข้องโดยตรง (แนวตอบ: เสน้ ประสาทสมองค่ทู ี่ 5 7 9 และ 12) โดย ครสู ุดาภรณ์ สืบบุญเป่ียม กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าชีววิทยา5 มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 42 7. นักเรยี นจบั คกู่ บั เพื่อนที่น่งั ขา้ งกนั ศกึ ษาสถานการณท์ กี่ ำหนดให้ รว่ มกันวิเคราะห์และตอบคำถาม ในกรอบ วา่ “นางสาวไข่มกุ มคี วามผดิ ปกติของสมองสว่ นใดหรอื มีความผดิ ปกตขิ องเส้นประสาทสมองคู่ใด ให้ นกั เรียนวาดแผนภาพแสดงสมองส่วนตา่ ง ๆ และเสน้ ประสาทสมองทงั้ 12 คู่ พร้อมระบุสาเหตุความผดิ ปกติที่ เกิดขนึ้ ลงในแผนภาพ” (แนวตอบ: สมองส่วนที่ผิดปกติ ได้แก่ สมองส่วนเซรีบรัมซึ่งเป็นสมองส่วนที่ควบคุมคววามคิด ความจำ การดมกลิ่น และการทำงานของกล้ามเนื้อ เป็นสาเหตุของอัมพฤกษ์ สูญเสียความจำ และสูญเสีย ความสามารถการดมกลิ่น และสมองส่วนพอนส์ซึง่ เป็นสมองส่วนที่ควบคุมการเค้ียว เป็นสาเหตุให้ไม่สามารถ เคี้ยวอาหารได้ด้วยตนเอง ส่วนเส้นประสาทสมองที่ผิดปกติ ได้แก่ เส้นประสาทสมองคู่ที่ 1 ทำหน้าที่รับ ความรู้สกึ ท่จี มูก ส่งผลตอ่ การดมกล่ิน เส้นประสาทสมองคู่ท่ี 5 ทำหนา้ ทีร่ ับความรู้สกึ และส่ังการท่ีใบหน้าและ ฟนั ส่งผลต่อการเคี้ยวอาหาร เส้นประสาทสมองคู่ที่ 11 ทำหน้าทีส่ ัง่ การกลา้ มเน้ือที่ใชย้ กไหล่ ส่งผลต่อการเป็น อัมพฤกษ์ และเส้นประสาทสมองคูท่ ่ี 12 ทำหนา้ ที่ส่งั การลน้ิ สง่ ผลต่อการเค้ยี วอาหาร) 8. ส่มุ เลอื กนกั เรียนอย่างน้อย 3 คู่ ออกมาเฉลยคำตอบในกรอบ Apply Your Knowledge ท่หี น้า ชนั้ เรยี น โดยระหวา่ งทีน่ ักเรียนนำเสนอใหน้ กั เรียนในชน้ั เรยี นรว่ มกนั เสนอแนะ และครูคอยเพม่ิ เติมประเดน็ ที่ ขาดหายไป ชวั่ โมงที่ 3 ขั้นสอน การบรรยาย 1. นักเรียนแต่ละกลุ่ม (กลุ่มจากช่ัวโมงที่ 1) ศกึ ษาหน้าท่ีของไขสนั หลังและเส้นประสาทไขสันหลัง บริเวณ ต่าง ๆ แลว้ นกั เรียนและครรู ่วมกันอภิปรายเพือ่ ให้ไดข้ ้อสรุปวา่ เสน้ ประสาทไขสันหลงั แต่ละสว่ นจะส่ง กระแสประสาทไปควบคุมการทำงานของอวยั วะตา่ ง ๆ แตกต่างกัน ดังน้ี - เส้นประสาทไขสนั หลังบริเวณคอ มีจำนวน 8 คู่ ทำหนา้ ที่ควบคุมการเคล่ือนไหวและการรบั ความรู้สกึ ของคอ แขน และอกทอ่ นบน - เสน้ ประสาทไขสนั หลังบริเวณอก มีจำนวน 12 คู่ ทำหน้าทีค่ วบคุมการเคลอ่ื นไหวและการรับ ความรสู้ ึกของอก ลำตวั และท้อง - เสน้ ประสาทไขสนั หลังบรเิ วณเอว มีจำนวน 5 คู่ ทำหน้าท่ีควบคุมการเคลือ่ นไหวและการรับ ความรู้สกึ ของขา กระเพาะปัสสาวะ และอวยั วะสืบพันธุ์ - เส้นประสาทไขสนั หลงั บริเวณกระเบนเหนบ็ มจี ำนวน 5 คู่ ทำหนา้ ท่ีควบคมุ การเคลอ่ื นไหวและการ รับความรสู้ กึ ของขา กระเพาะปัสสาวะ และอวัยวะสบื พนั ธ์ุ - เส้นประสาทไขสันหลังบรเิ วณกน้ กบ มจี ำนวน 1 คู่ ทำหน้าท่ีควบคมุ การเคล่อื นไหวและการรบั ความรู้สึกของลำไสต้ รงและทวารหนกั โดย ครูสดุ าภรณ์ สืบบญุ เป่ยี ม กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าชีววทิ ยา5 มัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 43 2. นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ ศึกษาบตั รภาพการทดลองการส่งกระแสประสาทของเส้นประสาทไขสันหลงั ของ กบ ดังนี้ ก. เส้นประสาทไขสันหลังที่ไปยังขา กบ ข. ตดั รากลา่ งของเสน้ ประสาทไขสัน หลงั ระหว่างจุด 1 กบั 2 ค. ตัดรากบนของเส้นประสาทไขสัน หลังระหว่างจดุ 3 กับ 4 ∆ แผนภาพการทดลองการสง่ กระแสประสาทของเสน้ ประสาทไขสนั หลังของกบ 7. นกั เรยี นแต่กลมุ่ สรุปผลจากแผนภาพการทดลองการสง่ กระแสประสาทของเสน้ ประสาทไขสันหลัง ของกบ 8. สรปุ ผลการทดลองการส่งกระแสประสาทของเสน้ ประสาทไขสนั หลงั ของกบให้นกั เรยี นทราบ ดังน้ี - เม่อื ใชเ้ ขม็ แทงขาหลังของกบ พบวา่ กบจะหดขาหนี แสดงว่ากบสามารถรบั ความรู้สึกที่ถกู แทงและ ตอบสนองความรู้สึกได้ ซ่ึงการตอบสนองนไ้ี มผ่ ่านการควบคุมจากสมอง - เมอ่ื ตดั รากลา่ งของเสน้ ประสาทไขสันหลงั แลว้ ใชเ้ ข็มแทงที่ขาหลัง พบว่า กบไม่หดขาหนี แตถ่ ้าใช้ เขม็ เข่ียที่เส้นประสาทไขสันหลัง ตรงจดุ ท่ีถกู ตดั (จดุ ท่ี 2) พบว่า กบกระตกุ ขา แสดงว่ารากล่างขอเสน้ ประสาท ไขสันหลังทำหน้าทน่ี ำกระแสประสาทจากไขสันหลังส่งไปยงั หนว่ ยปฏบิ ตั งิ าน (บริเวณที่ตอบสนอง) - เมื่อตดั รากบนของเส้นประสาทไขสันหลัง แลว้ ใชเ้ ข็มแทงขาหลงั พบว่า กบไมก่ ระตกุ ขา แต่เม่อื ใช้ เขม็ แทงจุดที่ถูกตัด (จุดท่ี 3) พบว่า กบกระตกุ ขา แสดงว่ารากบนของเสน้ ประสาทไขสันหลงั ทำหน้าที่ นำกระแสประสาทจากหน่วยรับความรสู้ กึ เข้าสู่ไขสันหลงั - เมอ่ื ใช้เข็มแทงทผ่ี ิวหนังบรเิ วณขาหลังจะมีกระแสประสาทส่งไปยังรากบนเข้าสู่ไขสนั หลงั แล้วผ่าน รากลา่ งไปยังเสน้ ประสาทไขสนั หลัง ซ่งึ ทำให้กบหดขาหนี 9. ครูถามคำถามเพ่อื ตรวจสอบความเขา้ ใจของนักเรยี น เช่น - นักเรียนคดิ วา่ เสน้ ประสาทไขสันหลงั เป็นเส้นประสาทรบั ความรสู้ ึก เสน้ ประสาทสง่ั การ หรอื เสน้ ประสาทผสม (แนวตอบ : เสน้ ประสาทผสม ทำหนา้ ท่ที ้ังรับความรู้สกึ และส่ังการ) - นักเรยี นคดิ ว่า ไขสันหลงั ทำหน้าที่ใดบา้ ง (แนวตอบ : นำความรูส้ กึ จากหน่วยรับความร้สู กึ สง่ั การหนว่ ยปฏิบัตงิ านให้ทำงาน และเป็นทางผ่าน ของกระแสประสาทระหว่างหนว่ ยรับความรสู้ ึกกบั สมอง และสมองกับหน่วยปฏบิ ตั งิ าน) โดย ครูสุดาภรณ์ สืบบญุ เปีย่ ม กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าชีววิทยา5 มัธยมศึกษาปที ่ี 6/1 44 - เพราะเหตใุ ดการฉีดยาทไ่ี ขสันหลัง จงึ ควรฉดี ยาเข้าบรเิ วณที่ต่ำกวา่ กระดูกสันหลังบรเิ วณเอวข้อที่ 2 (แนวตอบ : บรเิ วณดังกลาวไมม่ ีตวั เซลล์ของเซลล์ประสาท มแี ต่เสน้ ใยประสาท ) ขัน้ สรปุ 1. นักเรียนและครูรว่ มกันสรุปเกีย่ วกบั ศนู ย์ควบคุมระบบประสาท เพอ่ื ให้ไดข้ ้อสรปุ วา่ ศนู ย์ควบคมุ ระบบประสาทแบ่งออก 2 สว่ น ไดแ้ ก่ - สมอง ซ่ึงแบ่งออกเป็น 3 สว่ น ไดแ้ ก่ สมองส่วนหนา้ (เซรีบรัมทำหน้าท่ีควบคมุ ความคิด ความจำ สติปัญญา และการทำงานดา้ นต่าง ๆ อลั แฟกทอรีบลั บม์ ำหน้าท่เี กีย่ วกับการดมกลิ่น ไฮโพทาลามสั ทำหนา้ ที่ ควบคุมอณุ หภูมิ ความดันเลอื ด การเต้นของหวั ใจ และความต้องการพ้ืนฐานของร่างกาย ทาลามสั ทำหนา้ ท่ี เป็นศูนย์รวบรวมกระแสประสาทและแยกกระแสประสาทไปยงั สมองส่วนต่าง ๆ) สมองส่วนกลาง (ออพติกโลบ ทำหน้าท่ีควบคุมการเคลื่อนไหวของลกู ตาและการเปดิ -ปิดของรมู า่ นตา) สมองสว่ นท้าย (เซรเี บลลัมทำหน้าท่ี ควบคุมการเคล่ือนไหวและการทรงตัวของร่างกาย เมดัลลาออบลองกาตาทำหน้าท่ีควบคมุ การเต้นของหัวใจ การหายใจ ความดนั เลอื ด การจาม การสะอกึ การอาเจยี น และการกลนื พอนสท์ ำหน้าทีค่ วบคมุ การเคีย้ ว การหลั่งน้ำลาย การเคล่อื นไหวของใบหน้า การหายใจ และเปน็ ทางผ่านของกระแสประสาทระหว่างเซรบี รัม กบั เซรเี บลลัมและระหว่างเซรเี บลลัมกับไขสนั หลงั ) มีเส้นประสาทแยกออกมาจากสมอง 12 คู่ ทำหนา้ ท่รี บั ความรู้สึก สงั่ การ หรอื ทั้งรับความรู้สกึ และสง่ั การ - ไขสันหลงั เป็นสว่ นทต่ี ่อมาจากสมอง อยู่ภายในกระดกู สันหลงั และมเี สน้ ประสาทแยกออกจากไข สนั หลัง 31 คู่ 2. นักเรยี นเขียนสรปุ ในรปู แบบผังมโนทัศน์ เรื่อง ศนู ย์ควบคุมการทำงานของระบบประสาท ซงึ่ แบง่ ออกเป็นสมองและไขสันหลงั ลงในกระดาษ A4 ขั้นประเมนิ 1. ประเมินความรู้เกี่ยวกับ เรื่อง ศูนย์ควบคุมระบบประสาท โดยสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม และตรวจผังมโนทศั น์ 2. ประเมินทักษะและกระบวนการ โดยสงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล 3. ประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยสังเกตพฤติกรรมความสนใจใฝ่รใู้ นการศกึ ษาและความ มุ่งมั่นในการทำงาน โดย ครูสุดาภรณ์ สบื บุญเปีย่ ม กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าชีววิทยา5 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6/1 45 9. สือ่ การเรยี นการสอน / แหลง่ เรียนรู้ จำนวน สภาพการใช้สอ่ื รายการสือ่ 1 ชดุ ข้ันสอน 1 ชดุ ข้นั สอน 1. ใบงาน เร่ือง สมอง 1 ชุด ขั้นสอน 2. PowerPoint เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรบั ความรสู้ กึ 1 ชดุ ขั้นสอน 3. แบบจำลองสมองของสตั วก์ ลุม่ ต่าง ๆ 4. ผงั มโนทศั น์ เร่ือง ศูนยค์ วบคุมการทำงานของระบบประสาท 10. การวัดผลและประเมินผล เป้าหมาย หลักฐานการเรียนรู้ วิธีวดั เคร่ืองมอื วัดฯ ประเด็น/ การเรียนรู้ ช้นิ งาน/ภาระงาน เกณฑ์การให้ 1. อธิบายโครงสรา้ ง 1. ใบงาน เรอ่ื ง สมอง ตรวจใบงาน เรอ่ื ง ใบงาน เรื่อง สมอง คะแนน สมอง ร้อยละ 65 ผา่ น ของระบบประสาท เกณฑ์ สว่ นกลางและระบบ 2. ผังมโนทัศน์ เรือ่ ง ตรวจผังมโนทศั น์ แบบประเมนิ ผงั มโน ระดบั คณุ ภาพดี ประสาทรอบนอกได้ ศนู ย์ควบคมุ ระบบ เร่ือง ศนู ยค์ วบคมุ ทศั น์ ผา่ นเกณฑ์ (K) ประสาท ระบบประสาท 2. อธิบายโครงสรา้ ง 3. พฤตกิ รรมการ สงั เกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดับคณุ ภาพดี และหน้าทีข่ องสมอง การทำงานกล่มุ การทำงานกลมุ่ ผ่านเกณฑ์ และไขสันหลงั ได้ (K) ทำงานกลุ่ม ระดับคณุ ภาพดี 3. ปฏิบตั งิ านตาม 4. คณุ ลกั ษณะ สงั เกตความมวี นิ ัย แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑ์ ใฝ่เรยี นรแู้ ละม่งุ มน่ั คณุ ลักษณะ หน้าท่ีท่ีไดร้ ับ อันพึงประสงค์ ในการทำงาน อนั พงึ ประสงค์ มอบหมายได้ ครบถว้ น (P) 4. สนใจใฝ่รู้ใน การศกึ ษาและมงุ่ ม่นั ในการทำงาน (A) โดย ครูสดุ าภรณ์ สบื บญุ เปีย่ ม กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าชีววทิ ยา5 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 46 แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ คำชีแ้ จง : ให้ผสู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องท่ี ตรงกับระดับคะแนน การมี การแสดง การยอมรบั การทำงาน ความมี สว่ นรว่ มใน รวม ชื่อ – สกลุ ความ ฟังคนอนื่ ตามที่ไดร้ บั น้ำใจ การ 15 ลำดับท่ี ของนกั เรียน คดิ เห็น มอบหมาย ปรับปรงุ คะแนน ผลงานกลุ่ม 321321321321321 เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลงชอ่ื ...................................................ผูป้ ระเมนิ ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่ำเสมอ (นางสาวสดุ าภรณ์ สบื บุญเปย่ี ม) ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครงั้ ............../.................../............... ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14 - 15 ดมี าก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรบั ปรุง โดย ครสู ุดาภรณ์ สบื บญุ เป่ียม กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าชวี วิทยา5 มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6/1 47 แบบประเมินผงั มโนทัศน์/แผ่นพับ/ปา้ ยนิเทศ/แผนภาพ คำชีแ้ จง : ใหผ้ ้สู อนประเมินชนิ้ งาน/ภาระงานของนกั เรยี นตามรายการท่ีกำหนด แลว้ ขีด ✓ ลงในช่องที่ตรง กบั ระดับคะแนน ลำดบั ท่ี รายการประเมิน ระดับคะแนน 4321 1 ความสอดคล้องกบั จดุ ประสงค์ 2 ความถูกตอ้ งของเน้ือหา 3 ความคดิ สรา้ งสรรค์ 4 ความตรงต่อเวลา รวม ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน ............../................../................ เกณฑ์การประเมนิ ผังมโนทัศน์/แผน่ พับ/ปา้ ยนิเทศ/แผนภาพ ประเด็นทปี่ ระเมนิ ระดับคะแนน 1. ความ 432 1 สอดคล้องกับ ผลงานไมส่ อดคลอ้ งกบั จุดประสงค์ ผลงานสอดคลอ้ งกบั ผลงานสอดคล้องกบั ผลงานสอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์ 2. ความถูกตอ้ ง จดุ ประสงคท์ ุกประเดน็ จดุ ประสงคเ์ ปน็ จดุ ประสงค์บางประเดน็ เนอื้ หาสาระของผลงาน ของเนื้อหา ไม่ถกู ต้องเปน็ ส่วนใหญ่ ส่วนใหญ่ เน้ือหาสาระของผลงาน เนือ้ หาสาระของผลงาน เน้อื หาสาระของผลงาน ถูกตอ้ งครบถ้วน ถูกตอ้ งเป็นส่วนใหญ่ ถกู ต้องบางประเด็น 3. ความคิด ผลงานแสดงถึงความคดิ ผลงานแสดงถึงความคดิ ผลงานมคี วามน่าสนใจ ผลงานไมม่ คี วาม สรา้ งสรรค์ แตย่ งั ไม่มแี นวคิดแปลก น่าสนใจ และไม่แสดง สรา้ งสรรค์ แปลกใหม่ สรา้ งสรรค์ แปลกใหม่ ใหม่ ถึงแนวคิดแปลกใหม่ 4. ความตรงตอ่ เวลา และเปน็ ระบบ แต่ยังไม่เปน็ ระบบ สง่ ช้นิ งานช้ากว่าเวลาที่ ส่งชน้ิ งานช้ากวา่ เวลาท่ี กำหนด 2 วนั กำหนด 3 วันขึ้นไป สง่ ช้นิ งานภายในเวลาที่ ส่งชิน้ งานชา้ กวา่ เวลาท่ี กำหนด กำหนด 1 วัน เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 14-16 ดีมาก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ตำ่ กว่า 8 ปรับปรงุ โดย ครูสุดาภรณ์ สืบบุญเปย่ี ม กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาชวี วทิ ยา5 มัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 48 แบบประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ คำชแ้ี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขีด ✓ลงในชอ่ งที่ ตรงกบั ระดับคะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อนั พึงประสงค์ด้าน 32 1 1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติได้ กษัตรยิ ์ 1.2 เข้าร่วมกจิ กรรมทส่ี รา้ งความสามัคคี ปรองดอง และเปน็ ประโยชน์ ต่อโรงเรียน 1.3 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถอื ปฏิบตั ติ ามหลักศาสนา 1.4 เข้าร่วมกจิ กรรมทีเ่ กยี่ วกับสถาบนั พระมหากษัตริย์ตามท่โี รงเรียนจดั ข้ึน 2. ซอ่ื สัตย์ สจุ ริต 2.1 ให้ข้อมลู ทถ่ี กู ตอ้ ง และเปน็ จริง 2.2 ปฏบิ ัตใิ นส่งิ ทถ่ี ูกตอ้ ง 3. มวี นิ ัย รบั ผิดชอบ 3.1 ปฏิบตั ิตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บงั คับของครอบครัว มีความตรงตอ่ เวลาในการปฏิบัติกิจกรรมตา่ ง ๆ ในชวี ิตประจำวัน 4. ใฝ่เรยี นรู้ 4.1 รจู้ กั ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์ และนำไปปฏบิ ตั ิได้ 4.2 รจู้ ักจัดสรรเวลาใหเ้ หมาะสม 4.3 เชื่อฟังคำสงั่ สอนของบดิ า - มารดา โดยไมโ่ ต้แย้ง 4.4 ต้ังใจเรยี น 5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใชท้ รัพยส์ นิ และส่ิงของของโรงเรียนอย่างประหยดั 5.2 ใช้อุปกรณก์ ารเรยี นอย่างประหยดั และรคู้ ณุ ค่า 5.3 ใช้จา่ ยอยา่ งประหยัดและมกี ารเก็บออมเงิน 6. มุ่งม่ันในการทำงาน 6.1 มคี วามตั้งใจและพยายามในการทำงานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไม่ทอ้ แท้ตอ่ อปุ สรรคเพื่อให้งานสำเร็จ 7. รกั ความเป็นไทย 7.1 มจี ติ สำนึกในการอนุรกั ษว์ ัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย 7.2 เหน็ คุณคา่ และปฏบิ ัตติ นตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รจู้ กั ชว่ ยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครทู ำงาน 8.2 รจู้ ักการดูแลรกั ษาทรัพยส์ มบัตแิ ละสงิ่ แวดล้อมของหอ้ งเรยี นและ โรงเรียน ลงชื่อ...................................................ผปู้ ระเมิน ............../.................../............... เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ พฤติกรรมท่ปี ฏิบตั ชิ ัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ พฤติกรรมทป่ี ฏิบัตชิ ัดเจนและบอ่ ยคร้ัง ให้ 2 คะแนน 51-60 ดีมาก พฤติกรรมทป่ี ฏิบตั บิ างครง้ั ให้ 1 คะแนน 41-50 ดี 30-40 พอใช้ ตำ่ กว่า 30 ปรบั ปรงุ โดย ครสู ุดาภรณ์ สบื บญุ เปี่ยม กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาชวี วทิ ยา5 มธั ยมศึกษาปีที่ 6/1 49 แบบบันทึกหลงั การจัดการเรยี นรู้ ช่อื หน่วยการเรียนรทู้ ่ี.......... เรื่อง................................................................ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี........... เร่ือง................................................... รายวชิ า.......................................... ชั้น....................... รหสั วชิ า....................... ครผู สู้ อน นางสาวสุดาภรณ์ สืบบญุ เปย่ี ม ตำแหนง่ ครผู ูช้ ว่ ย เวลาที่ใช้................. ชว่ั โมง ผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรอื ผทู้ ไี่ ดร้ ับมอบหมาย ........................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ.................................................. (..............................................) รองผ้อู ำนวยการฝา่ ยวชิ าการ ข้อค้นพบระหว่าง ปญั หาทพ่ี บ แนวทางการจัดการเรยี นรู้ การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ เนือ้ หา กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่อื ประกอบการเรียนรู้ พฤตกิ รรม/การมีส่วนร่วมของผเู้ รียน ลงชอ่ื ..................................................ผสู้ อน นางสาวสดุ าภรณ์ สบื บญุ เปย่ี ม) ตำแหน่ง ครูผู้ชว่ ย โดย ครูสดุ าภรณ์ สบื บญุ เปย่ี ม กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาชีววิทยา5 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 50 ใบงาน เรอื่ ง สมอง คำชี้แจง : ระบุและอธิบายหน้าท่ีของสมองส่วนต่าง ๆ ต่อไปน้ีให้ถูกต้อง 1 6 2 35 4 1 2 สมองสว่ น............................................................................... สมองสว่ น............................................................................... หน้าท่ี..................................................................................... หนา้ ที่..................................................................................... ............................................................................................... ............................................................................................... ............................................................................................... ............................................................................................... 3 4 สมองสว่ น............................................................................... สมองส่วน............................................................................... หน้าท่ี..................................................................................... หนา้ ท่ี..................................................................................... ............................................................................................... ............................................................................................... ............................................................................................... ............................................................................................... 5 6 สมองส่วน............................................................................... สมองส่วน............................................................................... หน้าที่..................................................................................... หน้าท่ี..................................................................................... ............................................................................................... ............................................................................................... ............................................................................................... ............................................................................................... โดย ครูสุดาภรณ์ สืบบญุ เปี่ยม กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Search