Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กำหนดการสอน ชีววิทยา5 ม.6

กำหนดการสอน ชีววิทยา5 ม.6

Published by Sudaporn Suboonpiam, 2023-04-14 05:27:18

Description: กำหนดการสอน ชีววิทยา5 ม.6

Search

Read the Text Version

บันทกึ ขอ้ ความ สว่ นราชการ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 22 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ที่ ………………………………… วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 เร่อื ง ขออนุมัตใิ ชโ้ ครงการสอนในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2566 เรียน ผ้อู ำนวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 22 ด้วยข้าพเจ้า นางสาวสุดาภรณ์ สืบบุญเปี่ยม ครูผู้สอน ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 รับผิดชอบสอนรายวิชาชีววิทยา5 รหัสวิชา ว30245 ชั้นมัธยมศึกษาปีที 6/1 รายวิชาชีววิทยา5 รหัสวิชา กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ที่ 22 บัดน้ี ได้จดั ทำโครงการสอนในรายวิชาดงั กล่าวข้างตน้ เสร็จสนิ้ เรียบร้อยแลว้ ผู้สอนจงึ ขออนมุ ัติการ ใช้โครงการสอนดังกล่าวเป็นแนวทางในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนตอ่ ไป จึงเรยี นมาเพื่อโปรดอนมุ ตั ิ ลงชื่อ................................................................ (นางสาวสุดาภรณ์ สืบบุญเปย่ี ม) ตำแหน่ง ครูผูช้ ่วย ความเห็นหวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ความเหน็ รองผอู้ ำนวยการ  อนุมตั ิ  ไม่อนมุ ัติ  อนมุ ตั ิ  ไม่อนุมตั ิ ลงช่อื ............................................................ ลงชื่อ................................................................ (นางพิลาสลกั ษณ์ ตาปินตา) (นายกิตติธัช จันทรา) หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองผอู้ ำนวยการกลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ ความเห็นผู้อำนวยการ  อนมุ ตั ิ  ไมอ่ นุมัติ ลงช่อื ................................................................ (นางสาววาสนา จนิ ดาสวัสด์ิ) ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๒๒

คำอธิบายรายวิชา รายวชิ า ชีววิทยา5 รหสั วชิ า ว30245 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 60 ช่วั โมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ คำอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาเกี่ยวกับการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์ การสืบพันธุ์ของสัตว์ การสืบพันธุ์ของมนุษย์ การเจริญเติบโตของสัตว์ และการเจริญเติบโตของมนุษย์ ศึกษาเกี่ยวกับระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก การรับรู้และการตอบสนองของสัตว์ เซลล์ประสาท การทำงานของเซลล์ประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท การทำงานของระบบประสาท และอวัยวะรบั ความรู้สกึ ศึกษาเกี่ยวกับระบบต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ ฮอร์โมนจากต่อมไร้ ท่อและอวัยวะ ที่สำคัญ การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน และฟีโรโมน ศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของ สิ่งมีชีวิต การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว การเคลื่อนที่ของสัตว์ และการเคลื่อนที่ของมนุษย์ ศึกษาเกี่ยวกับ พฤติกรรมของสัตว์ ประเภทของพฤติกรรม ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับพัฒนาการของระบบประสาท และการสื่อสารระหว่างสตั ว์ โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ การสืบคน้ ขอ้ มูล การสังเกต การวิเคราะห์ การทดลอง การอภิปราย การอธิบาย และการสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการ ตัดสินใจ สอื่ สารส่งิ ที่เรยี นรู้และนำความรูไ้ ปใช้ในชีวิตของตนเอง มีจติ วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และค่านยิ ม

ผลการเรียนรู้ 1. สบื ค้นขอ้ มูล อธิบาย และยกตวั อย่างการสบื พันธแ์ุ บบไมอ่ าศัยเพศและการสืบพนั ธแ์ุ บบอาศยั เพศในสตั ว์ 2. สบื ค้นข้อมูล อธบิ ายโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะในระบบสืบพันธเ์ุ พศชายและระบบสบื พันธเุ์ พศหญงิ 3. อธิบายกระบวนการสร้างสเปริ ์ม กระบวนการสรา้ งเซลลไ์ ข่ และการปฏิสนธใิ นมนุษย์ 4. อธิบายการเจริญเตบิ โตระยะเอ็มบริโอและระยะหลังเอ็มบริโอของกบ ไก่ และมนษุ ย์ 5. สบื ค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทยี บโครงสร้างและหนา้ ท่ขี องระบบประสาทของไฮดรา พลานาเรีย ไสเ้ ดอื นดนิ กุ้ง หอย แมลง และสัตว์มีกระดูกสนั หลัง 6. อธบิ ายเกย่ี วกับโครงสรา้ งและหนา้ ทข่ี องเซลล์ประสาท 7. อธิบายเกี่ยวกับการเปลย่ี นแปลงของศักย์ไฟฟ้าที่เยอ่ื หุ้มเซลล์ของเซลล์ประสาท และกลไกการถ่ายทอด กระแสประสาท 8. อธิบาย และสรปุ เกีย่ วกับโครงสร้างของระบบประสาทสว่ นกลางและระบบประสาทรอบนอก 9. สืบค้นขอ้ มูล อธิบายโครงสร้างและหน้าท่ขี องส่วนต่างๆ ในสมองส่วนหน้า สมองส่วนกลาง สมองสว่ นหลัง และไขสันหลัง 10. สบื คน้ ขอ้ มูล อธิบาย เปรียบเทียบ และยกตัวอย่างการทำงานของระบบประสาทโซมาตกิ และระบบ ประสาทอตั โนวัติ 11. สืบค้นขอ้ มูล อธบิ ายโครงสรา้ งและหนา้ ที่ของตา หู จมูก ล้ิน และผิวหนังของมนษุ ย์ ยกตวั อย่างโรคต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง และบอกแนวทางในการดูแลป้องกนั และรักษา 12. สังเกต และอธบิ ายการหาตำแหน่งของจุดบอด โฟเวยี และความไวในการรบั สัมผัสของผวิ หนงั 13. สืบค้นขอ้ มูล อธิบาย และเขยี นแผนผังสรุปหน้าที่ของฮอร์โมนจากต่อมไรท้ ่อและเนอื้ เยื่อทส่ี ร้างฮอรโ์ มน 14. สืบคน้ ข้อมูล อธบิ าย และเปรียบเทยี บโครงสรา้ งและหน้าท่ีของอวัยวะท่เี กยี่ วข้องกบั การเคล่อื นท่ีของ แมงกะพรุน หมกึ ดาวทะเล ไส้เดอื นดนิ แมลง ปลา และนก 15. สบื ค้นขอ้ มูล และอธบิ ายโครงสร้างและหน้าที่ของกระดูกและกลา้ มเน้ือที่เก่ยี วข้องกบั การเคลือ่ นไหวและ การเคล่อื นท่ีของมนุษย์ 16. สงั เกต และอธิบายการทำงานของข้อต่อชนิดต่าง ๆ และการทำงานของกลา้ มเน้อื โครงรา่ งท่ีเก่ียวข้องกบั การเคล่อื นไหวและการเคลอื่ นท่ีของมนุษย์ 17. สบื คน้ ข้อมูล อธบิ าย เปรยี บเทียบ และยกตัวอย่างพฤติกรรมที่เป็นมาแต่กำเนิดและพฤติกรรมที่เกดิ จาก การเรียนรู้ของสัตว์ 18. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอยา่ งความสัมพนั ธ์ระหว่างพฤติกรรมกบั วิวฒั นาการของระบบประสาท 19. สืบคน้ ขอ้ มูล อธิบาย และยกตัวอย่างการสือ่ สารระหวา่ งสัตวท์ ่ที ำให้สตั ว์แสดงพฤติกรรม รวมท้ังหมด 19 ผลการเรยี นรู้

ผังมโนทศั น์ รายวชิ า ชีววิทยา5 รหัสวิชา ว30245 ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6/1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2566 ช่อื หน่วยท่ี 1 การสืบพนั ธแุ์ ละการ ชอ่ื หน่วยท่ี 2 ระบบประสาทและอวยั วะ เจริญเติบโตของสตั ว์ รบั ความร้สู ึก จำนวน 12 ช่ัวโมง : 20 คะแนน จำนวน 16 ชว่ั โมง : 30 คะแนน รายวชิ า ชีววทิ ยา5 ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6/1 จำนวน 60 ชัว่ โมง ชอ่ื หน่วยท่ี 3 ระบบตอ่ มไรท้ อ่ ชอื่ หนว่ ยท่ี 4 การเคล่ือนที่ของ จำนวน 14 ชัว่ โมง : 25 คะแนน สิ่งมชี วี ิต จำนวน 11 ชว่ั โมง : 15 คะแนน ช่อื หนว่ ยที่ 5 พฤตกิ รรมของสตั ว์ จำนวน 7 ชว่ั โมง : 10 คะแนน

กำหนดการสอนรายวิชา รายวชิ า ชีววิทยา5 รหสั วิชา ว30245 ชอ่ื หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 การสบื พันธุแ์ ละการเจรญิ เติบโตของสัตว์ ชั้น มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6/1 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2566 ท่ี ช่อื หน่วย ผลการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา คะแนน A (ชม.) รวม K P 6 1 การสบื พนั ธ์ุ 1. สืบคน้ ข้อมูล อธิบาย และยก ก าร สืบพ ัน ธ ุ์ขอ ง สัตว ์แบ่ง 12 20 6 8 และการ ตวั อยา่ งการสบื พันธุ์แบบไมอ่ าศัย ออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ การสบื พนั ธุ์ เจริญเติบโต เพศและการสืบพันธ์ุแบบอาศัย แบบไมอ่ าศัยเพศเป็นการสบื พันธ์ุท่ีไม่มี ของสัตว์ เพศในสตั ว์ การรวมของเซลล์สืบพันธุ์ และการ สืบพนั ธ์ุแบบอาศยั เพศเป็นการสืบพันธุ์ 2. สบื ค้นขอ้ มูล อธิบายโครงสร้าง ที่เกิดจากการรวมนิวเคลียสของเซลล์ และหน้าท่ขี องอวยั วะในระบบ สืบพันธุ์ซึ่งมีทั้งการปฏิสนธิภายนอก สืบพันธุ์เพศชายและระบบ และการปฏสิ นธิภายใน สบื พันธเ์ุ พศหญงิ การสืบพันธุ์ของมนุษย์เป็นการ สบื พันธแ์ุ บบอาศัยเพศ โดยการปฏสิ นธิ 3. อธิบายกระบวนการสรา้ ง ของสเปิร์มที่สร้างจากเซลล์สเปอร์มา สเปิร์ม กระบวนการสร้างเซลลไ์ ข่ โทโกเนียมภายในอัณฑะกับเซลล์ไข่ และการปฏสิ นธใิ นมนษุ ย์ จากเซลล์โอโอโกเนียมภายในรังไข่ ก ร ะ บ ว น ก า ร ส ร ้ า ง ส เ ป ิ ร ์ ม เ ริ่ ม 4. อธบิ ายการเจริญเตบิ โตระยะ จากสเปอร์มาโทโกเนียมแบ่งเซลล์แบบ เอ็มบริโอและระยะหลงั เอม็ บรโิ อ ไมโทซิสได้สเปอร์มาโทโกเนียม ซึ่ง ของกบ ไก่ และมนุษย์ ต่อมาบางเซลล์พัฒนาเป็นสเปอร์มาโท ไซต์ระยะแรก โดย สเปอร์มาโทไซต์ ระยะแรกจะแบ่งเซลล์แบบ ไมโอซิส I ได้สเปอร์มาโทไซต์ระยะที่สองซึ่งจะ แบ่งเซลล์แบบไมโอซิส II ได้สเปอร์มา ทิด จากน ั้น พ ัฒ น าเป็น สเปิร์ ม กระบวนการสร้างเซลลไ์ ข่เร่ิมจากโอโอ โกเนยี มแบง่ เซลล์แบบไมโทซสิ ได้ โอโอ โกเนียมซึ่งจะพัฒนาเป็นโอโอไซต์ ระยะแรก แลว้ แบ่งเซลลแ์ บบไมโอซิส I ไดโ้ อโอไซต์ระยะทีส่ องซึง่ จะเกิดการตก ไข่ต่อไป เมื่อได้รับการกระตุ้นจาก สเปริ ์ม

ท่ี ชื่อหนว่ ย ผลการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา คะแนน A (ชม.) รวม K P 1 การสืบพนั ธ์ุ และการ โอโอไซตร์ ะยะทส่ี องซึง่ จะเกิดการตกไข่ เจรญิ เตบิ โต ของสัตว์ ต่อไป เมื่อได้รับการกระตุ้นจากสเปริ ์ม โอโอไซต์ระยะที่สองจะแบ่งแบบไมโอ ซิส II แล้วพัฒนาเป็นเซลล์ไข่ การ ปฏิสนธิเกิดขึ้นภายในท่อนำไข่ได้ไซโก ตซึ่งจะเจริญเป็นเอ็มบริโอและฝังตัวท่ี ผนังมดลูกจนกระทัง่ ครบกำหนดคลอด การเจริญเติบโตของสัตว์ เช่น กบ ไก่ และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม เริ่มต้น ดว้ ยการแบง่ เซลลข์ อง ไซโกต การเกิด เน้ือเยอ่ื เอ็มบริโอ 3 ช้ัน การเกิดอวัยวะ โดยมีการเพิ่มจำนวน ขยายขนาด และ การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของเซลล์เพื่อ ทำหน้าที่เฉพาะอย่าง ซึ่งพัฒนาการ ของอวัยวะต่าง ๆ จะทำให้มีการเกิด รปู รา่ งทีแ่ น่นอนในสตั ว์แต่ละชนดิ การเจริญเติบโตของมนุษย์จะมี ขั้นตอนคล้ายกับการเจริญเติบโตของ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม โดยเอ็มบริโอ จะฝังตัวที่ผนังมดลูกและมีการ แลกเปลี่ยนสารระหว่างแม่กับลูกผ่าน ทางรก

กำหนดการสอนรายวชิ า รายวชิ า ชวี วิทยา5 รหัสวชิ า ว30245 ชอ่ื หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 2 ระบบประสาทและอวยั วะรับความร้สู ึก ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6/1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2566 ท่ี ชอ่ื หน่วย ผลการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา คะแนน (ชม.) รวม K P A 2 ระบบ 5. สืบคน้ ขอ้ มูล อธบิ าย และ สัตว์มรี ะบบประสาททำใหส้ ามารถ 16 30 10 10 10 ประสาท เปรยี บเทยี บโครงสร้างและ รับรู้และตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้ เช่น และอวยั วะ หนา้ ทข่ี องระบบประสาทของ ไฮดรามีร่างแหประสาท พลานาเรีย รบั ความ ไฮดรา พลานาเรีย ไส้เดอื นดนิ ไส้เดือนดิน กุ้ง หอย และแมลงมีปม รสู้ กึ กงุ้ หอย แมลง และสตั ว์มกี ระดูก ประสาทและเส้นประสาท ส่วนสัตว์มี สันหลงั กระดูกสันหลัง มีสมอง ไขสันหลัง ปม ประสาท และเสน้ ประสาท 6. อธบิ ายเก่ียวกับโครงสร้างและ เซลล์ประสาทประกอบด้วยตัว หนา้ ทขี่ องเซลลป์ ระสาท เซลล์และ เส้นใยประสาท แบ่ง ออกเป็นเดนไดรต์เป็นเส้นใยประสาทท่ี 7. อธิบายเก่ียวกบั การ นำกระแสประสาทออกจากตัวเซลล์และ เปล่ียนแปลงของศกั ย์ไฟฟา้ ที่เยื่อ แอกซอนเปน็ เสน้ ใยประสาทท่นี ำกระแส หุม้ เซลลข์ องเซลลป์ ระสาท และ ประสาทเขา้ สตู่ วั เซลล์ กลไกการถา่ ยทอดกระแส เซลล์ประสาทจำแนกตามหน้าที่ได้ ประสาท 3 ประเภท ได้แก่ เซลล์ประสาทรับ ความรู้สึก เซลล์ประสาท สั่งการ และ 8. อธบิ าย และสรุปเกยี่ วกบั เซลล์ประสาทประสานงาน เซลล์ โครงสร้างของระบบประสาท ประสาทจำแนกตามรูปร่างได้ 4 ส่วนกลางและระบบประสาท ประเภท ได้แก่ เซลล์ประสาทขั้วเดียว รอบนอก เซลล์ประสาทขั้วเดียวเทียม เซลล์ ประสาทสองขั้ว และเซลล์ประสาท 9. สบื ค้นขอ้ มูล อธิบาย หลายขัว้ โครงสรา้ งและหน้าทขี่ องสว่ น กระแสประสาทเกิดจากการ ต่างๆ ในสมองสว่ นหนา้ สมอง เปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้าที่เยื่อหุ้มเซลล์ สว่ นกลาง สมองส่วนหลงั ของเดนไดรต์และ แอกซอน ทำให้มี และไขสนั หลงั การถ่ายทอดกระแสประสาทจากเซลล์ ประสาทไปยังเซลล์ประสาทหรือเซลล์ อืน่ ๆ ผา่ นทางไซแนปส์

ท่ี ชื่อหน่วย ผลการเรียนรู้ สาระสำคญั เวลา คะแนน A (ชม.) รวม K P 2 ระบบ ประสาท 10. สบื ค้นขอ้ มูล อธิบาย ระบบประสาทของมนุษย์แบ่งได้ และอวยั วะ รับความ เปรยี บเทยี บ และยกตวั อยา่ งการ เป็น 2 ระบบ ได้แก่ ระบบประสาท รสู้ กึ ทำงานของระบบประสาทโซ ส่วนกลางเป็นการทำงานของสมองและ มาติก และระบบประสาท ไขสันหลัง และระบบประสาทรอบนอก อัตโนวัติ เป็นการทำงานของเส้นประสาทสมอง และเส้นประสาทไขสันหลัง 11. สบื คน้ ขอ้ มูล อธิบาย สมองแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ โครงสรา้ งและหน้าทขี่ องตา หู สมองส่วนหน้า สมองส่วนกลาง และ จมูก ลิ้น และผิวหนงั ของมนุษย์ สมองสว่ นหลัง มเี ส้นประสาททแ่ี ยกออก ยกตัวอย่างโรคต่างๆ ทีเ่ กย่ี วข้อง จากสมอง 12 คู่ ไปยังอวัยวะต่างๆ ซ่ึง และบอกแนวทางในการดูแล บางคู่ทำหน้าที่รับความรู้สึกเข้าสู่สมอง ปอ้ งกนั และรกั ษา หรือนำคำสั่งจากสมองไปยังหน่วย ปฏิบัตงิ าน หรือทำหน้าท่ีท้ังสองอย่าง ไข 12. สังเกต และอธิบายการหา สนั หลังเป็นสว่ นทีต่ อ่ จากสมองอยู่ภายใน ตำแหนง่ ของจุดบอด โฟเวีย และ กระดูกสันหลัง และมีเส้นประสาทแยก ความไวในการรับสมั ผัสของ ออกจากไขสันหลังเป็นคู่ ทำหน้าที่ ผิวหนัง ประมวลผลการตอบสนองโดยไขสันหลัง เส้นประสาทไขสันหลังทุกคู่จะทำหน้าที่ รับความรสู้ กึ เข้าสูไ่ ขสนั หลังและนำคำส่ัง ออกจากไขสนั หลงั ระบบประสาทรอบนอก ส่วนที่ส่ัง การแบ่งเป็นระบบประสาทโซมาติกซ่ึง ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อโครง ร่าง และระบบประสาทอัตโนวัติซ่ึง ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ กลา้ มเนอ้ื เรียบ และตอ่ มต่างๆ

ท่ี ชอื่ หน่วย ผลการเรยี นรู้ สาระสำคัญ เวลา คะแนน A (ชม.) รวม K P 2 ระบบ ประสาท ตาประกอบด้วยชั้นสเคลอรา โค และอวยั วะ รับความ รอยด์ และ เรตนิ า เลนสต์ าเปน็ เลนส์นูน รสู้ กึ อยู่ถัดจากกระจกตา ทำหน้าที่รวมแสง จากวัตถุไปที่เรตินา ซึ่งประกอบ ด้วย เซลล์รับแสงและเซลล์ประ สาทท่ี น ำ ก ร ะ แ ส ป ร ะ ส า ท ส ู ่ ส ม อ ง หู ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ หูส่วนนอก หู ส่วนกลาง และหูส่วนใน ภายในหูส่วนใน มีคอเคลีย ซึ่งทำหน้าที่รับและเปลี่ยน คลื่นเสียงเป็นกระแสประสาท นอกจากน้ี ยงั มีเซมเิ ซอร์คิวลาร์-แคเเนล ทำหน้าที่รับรู้เกี่ยวกับการทรงตัวของ ร่างกาย จมูกมีเซลล์ประสาทรับกลิน่ อยู่ ภายใน เยื่อบุจมูกที่เป็นตัวรับสารเคมี บางชนดิ แลว้ เกดิ กระแสประสาทส่งไปยงั สมอง ลิ้นทำหน้าที่รับรส โดยมีตุ่มรบั รส กระจายอย่ทู ว่ั ผิวลน้ิ ตมุ่ รับรสมีเซลล์รับ รสอยู่ภายใน เมื่อเซลล์รับรสถูกกระตุ้น ด้วยสารเคมีจะกระตุ้นเดนไดรต์ของ เซลล์ประสาทเกิดกระแสประสาทส่งไป ยังสมอง ผิวหนังมีหน่วยรับสิ่งเร้าหลาย ชนิด เช่น หน่วยรับสัมผัส หน่วยรับแรง กด หน่วยรับความเจ็บปวด หน่วยรับ อุณหภมู ิ

กำหนดการสอนรายวิชา รายวิชา ชวี วทิ ยา5 รหัสวชิ า ว30245 ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 ระบบต่อมไรท้ ่อ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6/1 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2566 ท่ี ชอ่ื หนว่ ย ผลการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา คะแนน A (ชม.) รวม KP 8 89 3 ระบบตอ่ ม 13. สืบคน้ ขอ้ มูล อธิบาย และ ฮอร์โมนเป็นสารที่ควบคุม 14 25 ไรท้ ่อ เขยี นแผนผงั สรุปหนา้ ท่ีของ สมดุลต่าง ๆ ของร่างกายโดยผลิต ฮอรโ์ มนจากตอ่ มไร้ท่อและเน้อื เย่อื จากต่อมไร้ทอ่ หรอื เน้ือเยอื่ ตอ่ มไรท้ ่อ ท่สี ร้างฮอรโ์ มน สร้างหรือหลั่งฮอร์โมนโดยอาศัย ระบบหมุนเวียนเลือดไปยังอวัยวะ เป้าหมายทจ่ี ำเพาะเจาะจง ต่อมไพเนียลสร้างเมลาโทนิน ซึ่งยับยัง้ การเจริญเติบโตของอวยั วะ สืบพันธุ์ช่วงก่อนวัยเจริญพันธุ์และ ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของ แสงในรอบวัน ตอ่ มใตส้ มองสว่ นหน้าสร้างและ หลง่ั โกนาโดโทรฟิน (FSH LH) โกรท ฮอร์โมน ไทรอยด์สติมิว- เลติง ฮอร์โมน อะดรีโนคอร์ติโคโทรปิน โพรแลกทนิ ซ่ึงทำหนา้ ท่แี ตกต่างกนั ต ่ อ ม ใ ต ้ ส ม อ ง ส ่ ว น ห ล ั ง ห ล่ั ง ฮอร์โมนซึ่งสร้างจากไฮโพทาลามัส ไดแ้ ก่ ฮอรโ์ มนแอนตไิ ด-ยูเรตกิ และ ออกซโิ ทซนิ ซงึ่ ทำหนา้ ท่แี ตกตา่ งกัน ตอ่ มไทรอยดส์ ร้างไทรอกซินซึ่ง ควบคุมอัตราเมแทบอลิซึมของ ร่างกาย และสร้างแคลซิโทนิน ซ่ึง ควบคุมระดับแคลเซียมในเลือดให้ ปกติ ต่อมพาราไทรอยด์สร้างพารา ทอร์โมนซึ่งควบคุมระดับแคลเซียม ในเลอื ดใหป้ กติ

ท่ี ชื่อหนว่ ย ผลการเรยี นรู้ สาระสำคัญ เวลา คะแนน A (ชม.) รวม KP 3 ระบบตอ่ ม ไร้ท่อ ตับอ่อนมีกลุ่มเซลล์ที่สร้าง อินซูลินและ กลูคากอนซึ่งควบคุม ระดบั นำ้ ตาลในเลือดใหป้ กติ ต่อมหมวกไตส่วนนอกสร้าง กลูโคคอร์ติคอยด์ มิเนราโลคอร์ติ คอยด์ และฮอร์โมนเพศ ซึ่งมีหน้าท่ี แตกต่างกัน ส่วนต่อมหมวกไตส่วน ในสร้าง เอพิเนฟรินและนอร์ เอพเิ นฟริน ซึ่งมหี นา้ ทเี่ หมือนกัน อัณฑะมีกลุ่มเซลล์สร้างเทสโท สเทอโรน ส่วนรังไข่มีกลุ่มเซลล์ท่ี สร้างอีสโทรเจนและ โพรเจสเทอ โรนซง่ึ มหี น้าทแี่ ตกตา่ งกัน เนื้อเยื่อบางบริเวณของอวัยวะ เช่น รก ไทมัส กระเพาะอาหาร ลำไส้เล็ก สามารถสร้างฮอร์โมนได้ หลายชนดิ ซึ่งมหี นา้ ทแ่ี ตกตา่ งกัน การควบคุมการหลั่งฮอร์โมน จากตอ่ มไรท้ อ่ มีทง้ั การควบคุมแบบ ป้อนกลับยับยั้ง และการควบคุม แบบป้อนกลับกระตุ้น เพื่อรักษา ดลุ ยภาพของรา่ งกาย ฟีโรโมนเปน็ สารเคมีที่ผลิตจาก ต่อมมีทอ่ ของสตั วซ์ ่ึงส่งผลตอ่ สัตว์ตัว อน่ื ทีเ่ ปน็ ชนิดเดียวกนั

กำหนดการสอนรายวชิ า รายวิชา ชวี วทิ ยา5 รหสั วิชา ว30245 ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 4 การเคล่ือนท่ขี องสงิ่ มีชีวิต ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2566 ท่ี ชื่อหน่วย ผลการเรยี นรู้ สาระสำคัญ เวลา คะแนน A (ชม.) รวม K P 5 4 การ เคลอ่ื นท่ี 14. สบื คน้ ข้อมูล อธิบาย และ สิง่ มชี ีวติ เซลลเ์ ดียวบางชนิดเคล่ือนท่ี 11 15 5 5 ของ สิ่งมีชวี ิต เปรยี บเทียบโครงสรา้ งและหน้าท่ี โดยการไหลของไซโทพลาซึม เช่น ของอวยั วะทเี่ ก่ยี วข้องกบั การ อะมีบา บางชนิดใช้ แฟลเจลลัม เช่น เคลือ่ นท่ขี องแมงกะพรุน หมกึ ยูกลีนา บางชนิดใช้ซิเลีย เช่น ดาวทะเล ไส้เดอื นดินแมลง ปลา พารามเี ซียม และนก สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น แมงกะพรุน เคลื่อนที่โดยอาศัยการหด 15. สบื คน้ ขอ้ มูล และอธบิ าย ตัวของเนื้อเยื่อบริเวณขอบกระดิ่งและ โครงสร้างและหน้าทขี่ องกระดกู แรงดันน้ำ หมึกเคลื่อนที่โดยอาศัยการ และกล้ามเนอ้ื ที่เกี่ยวข้องกับการ หดตัวของกล้ามเนื้อบริเวณลำตัว ทำให้ เคลือ่ นไหวและการเคลอ่ื นท่ีของ น้ำภายในลำตัวพ่นออกมาทางไซฟอน มนษุ ย์ ส่วนดาวทะเลใช้ระบบท่อน้ำในการ เคลื่อนที่ ไส้เดือนดินมีการเคลื่อนที่โดย 16. สังเกต และอธิบายการ อาศัยการหดตัวและคลายตัวของ ทำงานของขอ้ ต่อชนิดตา่ งๆ และ กล้ามเนื้อวงและกล้ามเนื้อตามยาวซ่ึง การทำงานของกล้ามเนือ้ โครงรา่ ง ทำงานในสภาวะตรงกันข้าม แมลง ท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การเคลอื่ นไหวและ เคลื่อนที่โดยใช้ปีกหรือขา ซ่ึงมกี ล้ามเน้ือ การเคลือ่ นท่ีของมนษุ ย์ ภายในเปลือกหุ้มทำงานในสภาวะ ตรงกันข้าม ส่วนสัตว์มีกระดูกสันหลัง เช่น ปลาเคลื่อนที่โดยอาศัยการหดตัว และคลายตัวของกล้ามเนื้อที่ยึดติดอยู่ กับกระดูกสันหลังทั้ง 2 ข้าง ทำงานใน สภาวะตรงกันข้าม และมีครีบที่อยู่ใน ตำแหน่งต่างๆ ช่วยโบกพัดในการ เคลื่อนที่ นกเคลื่อนที่โดยอาศัยการหด ตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้อกดปีกกับ กล้ามเนื้อยกปีกซึ่งทำงานในสภาวะ ตรงกนั ขา้ ม

กำหนดการสอนรายวชิ า รายวิชา ชีววิทยา5 รหัสวิชา ว30245 ช่ือหนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 5 พฤตกิ รรมของสัตว์ ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 6/1 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2566 ท่ี ชือ่ หนว่ ย ผลการเรยี นรู้ สาระสำคัญ เวลา คะแนน A (ชม.) รวม K P 3 5 พฤตกิ รรม ของสตั ว์ 17. สบื ค้นข้อมูล อธบิ าย เปรียบ พฤติกรรมของสัตว์เป็นผลจาก 7 10 3 4 เทยี บ และยกตัวอยา่ งพฤติกรรม พันธุกรรมและส่งิ แวดล้อม แบง่ ออกเป็น ท่เี ปน็ มาแตก่ ำเนดิ และพฤตกิ รรม 2 ประเภท ไดแ้ ก่ พฤติกรรมท่ีเป็นมาแต่ ทเี่ กดิ จากการเรยี นรขู้ องสตั ว์ กำเนิดแบ่งออกเป็นหลายชนิด เช่น โอเรียนเตชัน (แทกซิสและไคนีซิส) 18. สบื คน้ ขอ้ มูล อธบิ าย และ รีเฟล็กซ์ ฟิกแอกชันแพทเทิร์น และ ยกตัวอย่างความสัมพนั ธ์ระหว่าง พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ แบ่ง พฤติกรรมกบั ววิ ฒั นาการของ ออกเป็นแฮบบิชูเอชัน การฝังใจ การ ระบบประสาท ลองผดิ ลองถกู การมเี งื่อนไข และการใช้ เหตุผล 19. สืบคน้ ขอ้ มูล อธิบาย และ พ ฤ ต ิ ก ร ร ม ท ี ่ ส ั ต ว ์ แ ต ่ ล ะ ช นิ ด ยกตวั อย่างการส่ือสารระหว่าง แสดงออกจะแตกต่างกันซึ่งเป็นผลมา สัตวท์ ที่ ำให้สัตว์แสดงพฤตกิ รรม จากวิวัฒนาการของระบบประสาทท่ี แตกตา่ งกัน การสอื่ สารเปน็ พฤตกิ รรมทางสังคม แบบหนงึ่ ซงึ่ มหี ลายวิธี ได้แก่ การสื่อสาร ด้วยท่าทาง การสื่อสารด้วยเสียง การ สื่อสารด้วยสารเคมี และการสื่อสารดว้ ย การสัมผัส กลางภาค (ระบบสบื พนั ธแุ์ ละการเจรญิ เติบโตของสตั ว์ 50 และระบบประสาทและอวัยวะรบั ความร้สู กึ ) 50 ปลายภาค (ระบบตอ่ มไรท้ อ่ การเคล่ือนที่ของสง่ิ มชี วี ติ และพฤตกิ รรมของสัตว์) 60 100 32 36 32 รวมทัง้ ส้นิ

การวิเคราะหม์ าตรฐานและตัวชวี้ ัด รายวชิ า ชวี วิทยา5 รหัสวชิ า ว30245 ชอื่ หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 1 ระบบสบื พันธแ์ุ ละการเจริญเติบโตของสัตว์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6/1 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2566 ผลการเรยี นรู้ รู้อะไร ทำอะไร ภาระงาน/ชิ้นงาน สมรรถนะสำคัญ คณุ ลกั ษณะ คุณลักษณะ ของวชิ า อนั พงึ 1. สบื ค้นขอ้ มูล รู้อะไร ชิ้นงานที่ 1 1. ความสามารถใน ประสงค์ อธบิ าย และ 1. ความ ยกตวั อย่างการ การสืบพันธุ์ของสัตว์ แบบทดสอบก่อน การคดิ รอบคอบ 1.มุง่ มน่ั สบื พนั ธุแ์ บบไมอ่ าศัย 2. กระบวน ในการ เพศและการสบื พนั ธุ์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท เรียน หนว่ ยการเรยี น 2. ความสามารถใน การกลุม่ ทำงาน แบบอาศัยเพศใน 2. มีวินัย สัตว์ ดังน้ี เรอ่ื ง ระบบสืบพนั ธุ์ การแก้ปญั หา 3. ใฝเ่ รียนรู้ 2. สืบค้นข้อมูล 1. การสืบพันธ์ุแบบไม่อาศัย และการเจรญิ เติบโต อธิบายโครงสรา้ ง และหนา้ ที่ของ เพศ เป็นการสืบพันธุ์ที่ไม่มี ของสตั ว์ อวัยวะในระบบ สืบพันธุเ์ พศชายและ การรวมของเซลล์สืบพันธุ์ ระบบสบื พนั ธ์เุ พศ หญิง เช่น การงอกใหม่ การแตก ช้นิ งานท่ี 2 3. อธบิ ายกระบวน หน่อ การหกั เป็นทอ่ น พาร์ที ใบงาน เรื่อง การสรา้ งสเปริ ์ม กระบวนการ โนเจเนซิส การสรา้ งสเปิรม์ และ สรา้ งเซลล์ไข่ และ การปฏิสนธิในมนุษย์ 2. การสืบพันธุ์แบบอาศัย เซลล์ไข่ 4. อธิบายการ เพศ เป็นการสืบพันธุ์ที่เกิด เจริญเติบโตระยะ เอ็มบรโิ อและระยะ จากการรวมกันนิวเคลียส ชนิ้ งานที่ 3 หลังเอม็ บริโอของกบ ไก่ และมนษุ ย์ ของเซลล์สืบพันธุ ์แ บ่ง ใบงาน เรื่อง อ อ ก เ ป ็ น ก า ร ป ฏ ิ ส น ธิ การเปลย่ี นแปลงใน ภายนอกและการปฏิสนธิ ระยะเอม็ บริโอของ ภายใน ซึ่งสัตว์ส่วนใหญ่จะ สตั ว์ แยกเพศกนั แตส่ ตั วบ์ างชนิด มี 2 เพศ ในตัวเดียวกัน แต่ ชน้ิ งานที่ 4 การผสมพันธุ์ส่วนใหญ่จะ แบบทดสอบหลงั ผสมข้ามตัว เรยี นหน่วยการเรยี น ทำอะไร รู้ เรอ่ื ง ระบบสบื พนั ธ์ุ 1 อธิบายและเปรียบเทียบ และการเจริญเติบโต การสืบพนั ธุแ์ บบไมอ่ าศัย ของสตั ว์ เพศและแบบอาศยั เพศของ สตั ว์

ผลการเรยี นรู้ ร้อู ะไร ทำอะไร ภาระงาน/ชิ้นงาน สมรรถนะสำคัญ คณุ ลักษณะ คุณลกั ษณะ ของวชิ า อนั พึง 4. อธบิ ายการ ทำอะไร 1. ความสามารถใน ประสงค์ เจรญิ เตบิ โตระยะ 2. จำแนกและยกตัวอยา่ ง การคิด 1. ความ เอม็ บรโิ อและระยะ สัตว์ทมี่ กี ารสืบพันธ์แุ บบไม่ 2. ความสามารถใน รอบคอบ 1.มงุ่ ม่ัน หลงั เอม็ บริโอของ อาศัยเพศและแบบอาศยั การแกป้ ัญหา 2. กระบวน ในการ กบ ไก่ และมนุษย์ เพศ การกลมุ่ ทำงาน 3. อธบิ ายโครงสร้างและ 2. มวี นิ ยั หนา้ ทข่ี องอวัยวะสบื พันธใ์ุ น 3. ใฝ่ ระบบสบื พนั ธเ์ุ พศชายและ เรยี นรู้ ระบบสบื พันธเุ์ พศหญงิ 4. อธบิ ายกระบวนการสร้าง สเปิร์มและกระบวนการ สร้างเซลลไ์ ข่ 5. อธบิ ายการเปลยี่ นแปลง ของเอม็ บรโิ อในระยะต่าง ๆ 6. อธบิ ายและเปรยี บเทยี บ การเจริญเตบิ โตในระยะ เอ็มบริโอของกบ ไก่ และ มนุษย์

การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ รายวิชา ชวี วทิ ยา3 รหสั วชิ า ว32243 ชือ่ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ระบบสบื พันธแุ์ ละการเจรญิ เตบิ โตของสัตว์ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6/1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2566 เป้าหมายการเรียนรู้ ภาระงาน/ช้ินงาน วิธวี ดั เคร่ืองมอื วัด ประเดน็ /เกณฑ์ คะแนน 1. แบบทดสอบ การใหค้ ะแนน 20 สาระสำคัญ ช้นิ งานท่ี 1 1. ตรวจแบบทดสอบ ก่อนเรยี น หน่วย การเรยี น เรื่อง รอ้ ยละ 65 การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัย แบบทดสอบกอ่ น กอ่ นเรยี น หนว่ ยการ ระบบสืบพันธแุ์ ละ ของคะแนนที่ การเจรญิ เตบิ โต ได้โดยดคู วาม เพศ เป็นการสืบพันธุ์ที่ไม่มีการ เรียน หน่วยการเรยี น เรยี น เรอ่ื ง ระบบ ของสัตว์ ถูกต้องของ เนื้อหาท่ี รวมของเซลล์สืบพันธุ์ เช่น การ เรอ่ื ง ระบบสบื พันธ์ุ สืบพนั ธุ์และการ 2. ใบงาน เร่ือง ผู้เรียนบันทึก การสร้างสเปิรม์ และความ งอกใหม่ การแตกหน่อ การหัก และการเจริญเติบโต เจริญเตบิ โตของสตั ว์ และเซลลไ์ ข่ ตง้ั ใจในการทำ กจิ กรรม เปน็ ท่อน พาร์ทีโนเจเนซสิ ของสตั ว์ 3. ใบงาน เรื่อง การเปลี่ยนแปลงใน การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ ระยะเอม็ บรโิ อ ของสตั ว์ เป็นการสืบพันธุ์ที่เกิดจากการ ช้นิ งานท่ี 2 2. ตรวจใบงาน เรื่อง 4. แบบทดสอบ รวมกันนิวเคลียสของเซลล์ ใบงาน เร่อื ง การสร้างสเปิรม์ และ หลงั เรยี นหน่วยการ เรยี นรู้ เร่อื ง ระบบ สืบพันธุ์ แบ่งออกเป็นการ การสร้างสเปริ ม์ และ เซลล์ไข่ สืบพันธแุ์ ละการ เจริญเตบิ โตของ ปฏิสน ธ ิภายน อก และ ก า ร เซลล์ไข่ สตั ว์ ปฏิสนธิภายใน ซึ่งสัตว์ส่วนใหญ่ จะแยกเพศกัน แต่สัตว์บางชนดิ ชนิ้ งานท่ี 3 3. ตรวจใบงาน เรอ่ื ง มี 2 เพศ ในตัวเดียวกัน แต่การ ใบงาน เรือ่ ง การเปลี่ยนแปลงใน ผสมพันธุ์ส่วนใหญ่จะผสมข้าม การเปลี่ยนแปลงใน ระยะเอม็ บริโอ ตวั ระยะเอม็ บริโอ ของสตั ว์ มนุษย์มีการสืบพันธุ์แบบ ของสตั ว์ อ า ศ ั ย เ พ ศ แ ล ะ ม ี ก า ร ป ฏ ิ ส น ธิ ภายในร่างกาย เพศผู้สร้างเซลล์ ช้นิ งานที่ 4 4. ตรวจแบบทดสอบ สืบพันธุ์เพศผู้ เรียกว่า สเปิร์ม แบบทดสอบหลงั หลงั เรยี นหนว่ ยการ เพศเมียสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศ เรียนหน่วยการเรยี น เรียนรู้ เรื่อง ระบบ เมีย เรยี กวา่ เซลลไข เม่อื สเปริ ์ม รู้ เรือ่ ง ระบบ สืบพันธุแ์ ละการ เข้าผสมกับเซลล์ไข่ในร่างกาย สบื พนั ธุแ์ ละการ เจรญิ เตบิ โตของสตั ว์ เพศเมียจะเกิดการปฏิสนธิได้ เจริญเติบโตของสัตว์ เป็นไซโกต ซึ่งจะแบ่งเซลล์เพิ่ม จำนวนและพัฒนาเป็นเอม็ บริโอ และเจริญเติบโตเป็นทารก เด็ก และผู้ใหญ่ต่อไป

การวเิ คราะหม์ าตรฐานและตัวชวี้ ัด รายวชิ า ชวี วทิ ยา3 รหสั วชิ า ว30245 ชอ่ื หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2566 ผลการเรยี นรู้ รอู้ ะไร ทำอะไร ภาระงาน/ช้ินงาน สมรรถนะ คณุ ลักษณะ คณุ ลกั ษณะ สำคัญ ของวิชา อนั พึงประสงค์ 5. สบื ค้นขอ้ มูล อธบิ าย รอู้ ะไร ชิ้นงานที่ 1 1. ความ 1. ความ และเปรียบเทียบ สามารถใน รอบคอบ 1. มงุ่ มัน่ โครงสร้างและหน้าทขี่ อง 1. สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง แบบทดสอบก่อนเรีย การคิด 2. กระบวน ในการทำงาน ระบบประสาทของ มีการรับรู้และการตอบสนองที่ นหน่วยการเรียนรู้ 2. ความ การกลุ่ม 2. มวี ินัย ไฮดรา พลานาเรีย แตกต่างกนั สามารถใน 3. ใฝเ่ รียนรู้ ไส้เดอื นดนิ กงุ้ หอย 2. สตั ว์มกี ระดูกสนั หลัง เร่ือง ระบบประสาท การแกป้ ญั หา แมลง และสัตวม์ ีกระดูก และอวยั วะรบั สนั หลงั มเี ซลล์ประสาทรวทกันเปน็ สมองบรเิ วณส่วนหัว มีไขสันหลัง ความรู้สึก 6. อธบิ ายเกย่ี วกับ โครงสรา้ งและหน้าทขี่ อง ทอดยาวไปตามลำตัว และมี ชิน้ งานท่ี 2 เซลลป์ ระสาท เส้นประสาทแยกออกมาจำนวน ใบงาน เร่ือง มากเพอ่ื ทำหน้าท่ีควบคุมและ เซลล์ประสาท 7. อธิบายเกยี่ วกบั การ ประสาทงานตา่ ง ๆ เปล่ียนแปลงของ ศกั ย์ไฟฟ้าทเ่ี ย่อื ห้มุ เซลล์ 3. เซลล์ประสาททำหน้าท่ี ของเซลล์ประสาทและ กลไกการถา่ ยทอด รับและสง่ สญั ญาณประสาทไป กระแสประสาท ยังเซลลต์ ่าง ๆ ทว่ั รา่ งกาย มี โครงสรา้ งแบง่ ออกเปน็ 2 ส่วน ไดแ้ ก่ ตัวเซลล์ และเสน้ ใย ประสาท ทำอะไร 1. อธบิ ายและเปรยี บเทียบ โครงสรา้ งและหนา้ ทีข่ องระบบ ประสาทของสตั ว์ 2. อธิบายโครงสร้าง หนา้ ท่ี และ การทำงานของเซลลป์ ระสาทใน การส่งกระแสประสาท 3. เขียนแผนภาพแสดงการ เปลี่ยนแปลงศักยไ์ ฟฟ้าทเ่ี ย่อื หุม้ เซลล์และการถา่ ยทอดกระแส ประสาท

ผลการเรยี นรู้ รู้อะไร ทำอะไร ภาระงาน/ชิ้นงาน สมรรถนะ คณุ ลกั ษณะ คุณลกั ษณะ สำคญั ของวชิ า อันพึงประสงค์ 8. สืบค้นข้อมูล อธบิ าย รอู้ ะไร ชน้ิ งานที่ 3 1. ความ 1. ความ สามารถใน รอบคอบ 1. มงุ่ มนั่ โครงสรา้ งและหน้าที่ของ ศ ู น ย ์ ค ว บ ค ุ ม ร ะ บ บ ใบงาน เร่ือง สมอง การคิด 2. กระบวน ในการทำงาน 2. ความ การกลมุ่ 2. มีวนิ ยั ส่วนต่าง ๆ ในสมองส่วน ประสาทแบ่งออกเป็น 2 สามารถใน 3. ใฝ่เรียนรู้ การแกป้ ญั หา หนา้ สมองสว่ นกลาง สว่ น ดังนี้ สมอง บรรจอุ ยใู่ น ชิ้นงานที่ 4 สมอง ส่วนหลัง และไข กระโหลกศีรษะ ไขสันหลัง ใบงาน เรอ่ื ง ระบบ สนั หลงั เป็นระบบประสาทที่ต่อมา ประสาทอัตโนวตั ิ จากสมอง 10. สืบค้นขอ้ มูล อธบิ าย การทำงานของระบบ ช้นิ งานที่ 5 เปรียบเทยี บ และ ประสาทแบง่ ออกเป็น 2 ใบงาน เรอ่ื ง การ ยกตวั อยา่ งการทำงาน สว่ น คอื สว่ นรบั ความรู้สกึ ทำงานของระบบ ของระบบประสาทโซ และส่วนส่ังการ ซ่งึ ประสาท มาติกและระบบ ส่วนส่ังการแบ่งการทำงาน ชน้ิ งานที่ 6 ประสาทอตั โนวตั ิ ออกเป็น 2 ระบบ ได้แก่ ใบงาน เรอื่ ง ระบบประสาทโซมาติก อวัยวะรบั ความรู้สกึ เป็นระบบประสาทภายใต้ อำนาจจิตใจ ระบบประสาท ชิน้ งานที่ 7 อัตโนวัติ เป็นระบบ แบบทดสอบ ประสาทนอกอำนาจจติ ใจ หลงั เรียน ทำอะไร 1. อธิบาย เปรยี บเทียบ และยกตัวอย่างการทำงาน ของระบบประสาทโซมาตกิ และระบบประสาทอัตโนวตั ิ 2. อธิบายโครงสร้างและ หนา้ ทข่ี องอวยั วะรบั ความรู้สกึ ต่าง ๆ 3. หาตำแหนง่ ของจดุ บอด และโฟเวยี และทดสอบ ความไวในการรบั สัมผสั ของ ผวิ หนัง

การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ รายวิชา ชีววทิ ยา5 รหัสวชิ า ว30245 ชอ่ื หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 ระบบประสาทและอวยั วะรับความรู้สึก ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6/1 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2566 เป้าหมายการเรยี นรู้ ภาระงาน/ช้ินงาน วิธวี ดั เครอื่ งมอื วดั ประเดน็ /เกณฑ์ คะแนน 1. แบบทดสอบก่อน การให้คะแนน 30 สาระสำคัญ ชิ้นงานที่ 1 1. ตรวจแบบทดสอบ เรียนหนว่ ยการเรยี นรู้ เรอื่ ง ระบบประสาท รอ้ ยละ 70 ระบบประสาท แบบทดสอบกอ่ นเรียน ก่อนเรียนหน่วยการ และอวัยวะรับ ของคะแนนที่ ความรสู้ ึก ไดโ้ ดยดคู วาม ของมนษุ ยแ์ บง่ ไดเ้ ป็น หนว่ ยการเรยี นรู้ เรื่อง เรียนรู้ เรื่อง ระบบ ถูกต้องของ 2. ใบงาน เรื่อง เซลล์ เนอ้ื หาท่ี 2 ระบบ ไดแ้ ก่ ระบบ ระบบประสาท ประสาทและอวัยวะรบั ประสาท ผเู้ รียนบนั ทกึ และความ ประสาทสว่ นกลาง และอวัยวะรบั ความรสู้ ึก 3. ใบงาน เร่อื ง สมอง ตัง้ ใจในการทำ กิจกรรม และระบบประสาท ความร้สู กึ 4. ใบงาน เรอ่ื ง ระบบ ประสาทอตั โนวตั ิ รอบนอก ชน้ิ งานท่ี 2 2. ตรวจใบงาน เรือ่ ง สมองแบง่ ออกเปน็ ใบงาน เร่อื ง เซลลป์ ระสาท 5. ใบงาน เรื่อง การทำ เซลล์ประสาท งานของระบบประสาท 3 สว่ น คือ สมองส่วน หนา้ สมองส่วนกลาง 6. ใบงาน เรือ่ ง อวยั วะ รับความรสู้ กึ และสมองสว่ นหลัง มี ช้ินงานที่ 3 3. ตรวจใบงาน เรื่อง เส้นประสาทที่แยก ใบงาน เร่ือง สมอง สมอง ออกจากสมอง 12 คู่ ระบบประสาท ชน้ิ งานที่ 4 4. ตรวจใบงาน เรอ่ื ง รอบนอก ส่วนที่สัง่ ใบงาน เรื่อง ระบบ ระบบประสาทอตั โนวตั ิ การแบ่งเป็นระบบ ประสาทอตั โนวัติ ประสาทโซมาติกซงึ่ ควบคุมการทำงาน ช้ินงานที่ 5 5. ตรวจใบงาน เรอ่ื ง ของกล้ามเนอื้ โครง รา่ ง และระบบ ใบงาน เรื่อง การทำ การทำงานของ ประสาทอตั โนวัติซึ่ง งานของระบบประสาท ระบบประสาท ควบคุมการทำงาน ช้นิ งานที่ 6 6. ตรวจใบงาน เร่ือง ของกลา้ มเน้อื หวั ใจ ใบงาน เรือ่ ง อวยั วะรบั ความรู้สกึ กล้ามเน้อื เรยี บ และ อวยั วะรับความร้สู ึก ตอ่ มตา่ งๆ ชน้ิ งานท่ี 7 7. ตรวจแบบทดสอบ 7. แบบทดสอบหลงั เรียน แบบทดสอบหลังเรยี น หลงั เรยี น

การวเิ คราะห์มาตรฐานและตัวชีว้ ัด รายวิชา ชีววิทยา5 รหสั วชิ า ว30245 ชอื่ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 3 ระบบตอ่ มไร้ท่อ ชั้น มธั ยมศึกษาปีท่ี 6/1 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2566 ผลการเรยี นรู้ รอู้ ะไร ทำอะไร ภาระงาน/ช้นิ งาน สมรรถนะสำคญั คุณลักษณะ คุณลกั ษณะ ของวิชา อันพงึ 13. สืบคน้ ข้อมูล รู้อะไร ชิน้ งานที่ 1 1. ความสามารถใน ประสงค์ อธิบาย และเขียน การคดิ 1. ความ แผนผังสรุปหนา้ ที่ของ ระบบต่อมไร้ทอ่ แบบทดสอบ 2. ความสามารถใน กระตือรือรน้ 1. มุ่งมนั่ ฮอรโ์ มนจากต่อมไรท้ อ่ การส่อื สาร 2. ความ ในการทำงาน และเนือ้ เย่ือทสี่ ร้าง (endocrine system) กอ่ นเรียน เร่ือง 3. ความสามารถใน รอบคอบ 2. มีวนิ ยั ฮอรโ์ มน การแก้ปญั หา 3. กระบวน 3. ใฝ่เรียนรู้ เปน็ ระบบตอ่ มไม่มที ่อ ระบบต่อมไรท้ อ่ การกลมุ่ ทำหน้าที่สรา้ งฮอรโ์ มน ชน้ิ งานที่ 2 แล้วหลัง่ ออกส่ขู องเหลว ใบงาน เรอื่ ง ภายในรา่ งกาย เพอ่ื ฮอรโ์ มนจากต่อมไร้ท่ ลำเลียงไปควบคุม อและอวยั วะท่สี ำคัญ เนอ้ื เยอ่ื ของอวยั วะต่าง ๆ และต่อมไรท้ อ่ อน่ื ๆ ชิ้นงานที่ 3 ทำให้มีการทำงานอย่าง ใบงาน เรื่อง สมดุล โรคหรือกลุ่มอาการ ที่เกิดจากความ ฮอร์โมนจากตอ่ มไร้ ผดิ ปกตขิ องฮอรโ์ มน ท่อและอวัยวะทส่ี ำคญั มี ดงั น้ี ต่อมไพเนียล ต่อมใต้สมองส่วนหนา้ ชิน้ งานที่ 4 ตอ่ มใต้สมองสว่ นหลงั เร่อื ง การรักษา ตอ่ มไทรอยด์ ตอ่ มพารา ดุลยภาพของร่างกาย ไทรอยด์ ตบั อ่อน ต่อม ด้วยฮอรโ์ มน หมวกไต อวัยวะสบื พนั ธ์ุ รก ไทมสั และลำไสเ้ ล็ก ชิ้นงานท่ี 5 การหลงั่ ฮอรโ์ มนถกู แบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ควบคุมโดยวิธกี าร 3 ระบบตอ่ มไร้ทอ่ ควบคมุ แบบปอ้ นกลบั แบ่งออกเป็น 2 ประเภท แบบป้อนกลบั ยบั ย้งั และแบบป้อนกลบั กระต้นุ

ผลการเรียนรู้ รู้อะไร ทำอะไร ภาระงาน/ชิ้นงาน สมรรถนะสำคัญ คุณลกั ษณะ คณุ ลักษณะ ของวชิ า อนั พงึ ประสงค์ 13. สบื ค้นข้อมูล รอู้ ะไร อธบิ าย และเขียน ฟโี รโมน แผนผังสรุปหน้าทข่ี อง ฮอรโ์ มนจากต่อมไรท้ อ่ (pheromone) เป็น และเนื้อเยอ่ื ที่สร้าง สารเคมีทสี่ ร้างจากต่อมมี ฮอร์โมน ท่อของสตั ว์เพือ่ ใช้ ตดิ ต่อส่ือสารกัน ทำอะไร 1. วเิ คราะห์ อภิปราย และสรปุ ผลการทดลอง ของของนักวิทยาศาสตร์ เพื่อศกึ ษาการเปลีย่ น แปลงทางสรีรวิทยาของ ลูกไก่ 2. อธบิ ายและเปรียบ เทียบการทำงานของ ตอ่ มมีทอ่ และตอ่ มไรท้ ่อ 3. เปรียบเทียบความ แตกต่างการทำงานของ รา่ งกายโดยระบบตอ่ มไร้ ท่อและระบบประสาท 4. อธิบาย และสรุป หน้าท่ขี องฮอรโ์ มนจาก ตอ่ มไร้ทอ่ และอวยั วะท่ี สรา้ งฮอร์โมน 5. อธบิ ายและเปรยี บ เทยี บการควบคมุ แบบ ยับยัง้ และแบบป้อนกลบั กระตนุ้ และแตกต่าง ระหวา่ งฮอร์โมนกบั ฟโี รโมน

การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ รายวิชา ชวี วิทยา5 รหสั วชิ า ว30245 ชื่อหนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3 ระบบตอ่ มไรท้ ่อ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6/1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2566 เป้าหมายการเรยี นรู้ ภาระงาน/ชิ้นงาน วธิ วี ดั เครอ่ื งมือวัด ประเด็น/เกณฑ์ คะแนน 1. ตรวจแบบทดสอบ 1. แบบทดสอบ การให้คะแนน 25 สาระสำคัญ ชน้ิ งานที่ 1 ก่อนเรียน เร่ือง กอ่ นเรยี น เรอ่ื ง รอ้ ยละ 70 ของ ระบบต่อมไร้ท่อ ระบบตอ่ มไร้ท่อ คะแนนทีไ่ ด้โดย ฮอร์โมนเป็นสารที่ แบบทดสอบ ดูความถกู ต้อง 2. ตรวจใบงาน เรอื่ ง 2. ใบงาน เร่ือง ของเน้อื หาที่ ควบคุมสมดุลต่าง ๆ ของ กอ่ นเรยี น เร่ือง ฮอรโ์ มนจากต่อมไร้ ฮอรโ์ มนจากต่อมไร้ ผู้เรยี นบันทกึ ท่อและอวยั วะท่ี ทอ่ และอวยั วะท่ี และความตัง้ ใจ ร่างกายโดยผลิตจากต่อม ระบบต่อมไรท้ อ่ สำคัญ สำคญั ในการทำ กิจกรรม ไร้ท่อหรือเนื้อเยื่อต่อมไร้ 3. ตรวจใบงาน เรื่อง 3. ใบงาน เรอื่ ง โรคหรือกล่มุ อาการ ฮอรโ์ มนจากต่อมไร้ ท่อสร้างหรือหลั่งฮอร์โมน ชิน้ งานท่ี 2 ที่เกิดจากความ ทอ่ และอวัยวะท่ี ผดิ ปกตขิ องฮอรโ์ มน สำคัญ โดยอาศัยระบบหมุนเวียน ใบงาน เรอื่ ง 4. ตรวจเรอ่ื ง การ 4. เร่อื ง การรักษา เ ล ื อ ด ไ ป ย ั ง อ ว ั ย ว ะ ฮอร์โมนจากต่อมไรท้ อ่ รักษาดุลยภาพของ ดุลยภาพของร่างกาย รา่ งกายด้วยฮอร์โมน ด้วยฮอร์โมน เปา้ หมายทจ่ี ำเพาะเจาะจง และอวยั วะทส่ี ำคญั 5. ตรวจแบบทดสอบ 5. แบบทดสอบหลงั ต่อมไพเนียลสร้างเมลา หลังเรยี น หนว่ ยการ เรยี น หน่วยการ เรียนร้ทู ี่ 3 ระบบ เรียนร้ทู ่ี 3 ระบบ โ ท น ิ น ซ ึ ่ ง ย ั บ ย ั ้ ง ก า ร ช้นิ งานท่ี 3 ตอ่ มไร้ทอ่ ต่อมไร้ทอ่ เจริญเติบโตของอวัยวะ ใบงาน เร่อื ง สืบพันธุ์ช่วงก่อนวัยเจริญ โรคหรอื กลุ่มอาการ พันธแ์ุ ละตอบสนองต่อการ ท่เี กิดจากความ เปลี่ยนแปลงของแสงใน ผิดปกติของฮอรโ์ มน รอบวนั ต่อมใต้สมองส่วนหน้า ชน้ิ งานที่ 4 สร้างและหลั่งโกนาโดโทร เรอ่ื ง การรกั ษา ฟ ิ น ( FSH LH) โ ก ร ท ดลุ ยภาพของรา่ งกายด้ ฮอร์โมน ไทรอยด์สติมิว- วยฮอร์โมน เลตงิ ฮอรโ์ มน อะดรีโนคอร์ ติโคโทรปิน โพรแลกทิน ช้นิ งานท่ี 5 ซง่ึ ทำหนา้ ทแี่ ตกต่างกัน แบบทดสอบหลงั เรยี น ต่อมใต้สมองส่วนหลัง หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 หลั่งฮอร์โมนซึ่งสร้าง ระบบต่อมไรท้ ่อ จากไฮโพทาลามัส ได้แก่ ฮอรโ์ มนแอนตไิ ด-ยเู รติก

เป้าหมายการเรียนรู้ ภาระงาน/ชิ้นงาน วิธีวดั เคร่อื งมือวดั ประเดน็ /เกณฑ์ คะแนน การให้คะแนน สาระสำคญั และออกซิโทซิน ซึ่งทำ หนา้ ท่แี ตกต่างกัน ต่อมไทรอยด์สร้างไทร อกซินซึ่งควบคุมอัตราเม แทบอลิซึมของร่างกาย และสร้างแคลซิโทนิน ซึ่ง ควบคุมระดับแคลเซียมใน เลอื ดให้ปกติ ต ่ อ ม พ า ร า ไ ท ร อ ย ด์ ส ร ้ า ง พ า ร า ท อ ร ์ โ ม น ซ่ึ ง ควบคุมระดับแคลเซียมใน เลือดใหป้ กติ ตับอ่อนมีกลุ่มเซลล์ท่ี สร้างอินซูลินและ กลูคา ก อ น ซ ึ่ง ควบคุมระดับ น้ำตาลในเลอื ดใหป้ กติ ต่อมหมวกไตส่วน นอกสร้างกลูโคคอร ์ติ คอยด์ มิเนราโลคอร์ติ คอยด์ และฮอร์โมนเพศ ซึ่งมีหน้าที่แตกต่างกัน ส่วนต่อมหมวกไตส่วนใน สร้าง เอพิเนฟรินและนอร์ เอพิเนฟริน ซึ่งมีหน้าท่ี เหมอื นกัน อ ั ณ ฑ ะ ม ี ก ล ุ ่ ม เ ซ ล ล์ สรา้ งเทสโทสเทอโรน สว่ น รังไข่มีกลุ่มเซลล์ที่สร้างอสี โทรเจนและ โพรเจสเทอ โรนซ่งึ มหี นา้ ท่แี ตกต่างกัน

เปา้ หมายการเรียนรู้ ภาระงาน/ชิ้นงาน วิธีวัด เครอ่ื งมือวดั ประเด็น/เกณฑ์ คะแนน การให้คะแนน สาระสำคญั เนื้อเยื่อบางบริเวณ ของอวัยวะ เช่น รก ไทมัส กระเพาะอาหาร ลำไส้เล็ก สามารถสร้างฮอร์โมนได้ หลายชนิด ซึ่งมีหน้าที่ แตกต่างกัน การควบคุมการหล่ัง ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อ มี ทั้งการควบคุมแบบ ป้อนกลับยับยั้ง และการ ค ว บ ค ุ ม แ บ บ ป ้ อ น ก ลั บ กระตุ้น เพื่อรักษาดุลย ภาพของร่างกาย ฟโี รโมนเปน็ สารเคมที ี่ ผลติ จากตอ่ มมที ่อของสัตว์ ซึ่งส่งผลต่อสัตว์ตัวอื่นท่ี เปน็ ชนิดเดียวกัน

การวเิ คราะหม์ าตรฐานและตัวชี้วัด รายวิชา ชีววิทยา5 รหัสวชิ า ว30245 ชอื่ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 4 การเคล่อื นทข่ี องสิ่งมีชวี ิต ชั้น มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผลการเรยี นรู้ รู้อะไร ทำอะไร ภาระงาน/ชน้ิ งาน สมรรถนะสำคญั คุณลักษณะ คณุ ลักษณะ ของวชิ า อนั พึง 14. สืบค้นขอ้ มูล รอู้ ะไร ชิ้นงานท่ี 1 1. ความสามารถ ประสงค์ ในการคิด 1. ความ อธบิ าย และ - การเคลื่อนที่ของ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 2. ความสามารถ กระตอื รือร้น 1. มุ่งมัน่ ในการสอ่ื สาร 2. ความรอบคอบ ในการทำงาน เปรยี บเทยี บ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวมี หนว่ ยการเรยี น เรอื่ ง 3. ความสามารถ 3. กระบวนการ 2. มวี ินัย ในการแก้ปัญหา กลุม่ 3. ใฝ่เรียนรู้ โครงสรา้ งและหน้าท่ี ลักษณะแตกต่างกัน การเคล่อื นท่ขี อง ของอวัยวะที่ ตามโครงสร้างของ สง่ิ มีชีวติ เกย่ี วขอ้ งกบั เซลล์ ดงั นี้ การเคล่ือนทีข่ อง 1. การเคลื่อนที่โดย ชนิ้ งานที่ 2 แมงกะพรนุ หมกึ อาศัยการไหลของไซ ใบงาน เรื่อง ดาวทะเล ไส้เดอื นดิน โทพลาซมึ การเคล่อื นท่ขี องสงิ่ มีชี แมลง ปลา และนก 2. การเคลื่อนที่โดย วิตเซลลเ์ ดยี ว อาศัยซิเลียและแฟล 15. สบื คน้ ข้อมูล เจลลมั ชน้ิ งานท่ี 3 และอธบิ ายโครงสรา้ ง - สัตว์แต่ละชนิดมี ใบงาน เรอ่ื ง และหนา้ ทีข่ อง โครงสร้างที่ใช้ในการ การเคลอ่ื นที่ของสัตว์ กระดูกและกลา้ มเน้อื เคลื่อนที่แตกต่างกัน (ตอนท่ี 1) ทเี่ กยี่ วข้องกบั ดงั นี้ แมงกระพรุน การเคล่อื นไหวและ หมึก ดาวทะเล ปลา ชน้ิ งานที่ 4 การเคลอ่ื นทขี่ อง ไสเ้ ดือนดนิ แมลง ใบงาน เร่ือง มนุษย์ และนก การเคลือ่ นท่ีของสัตว์ - การเคลื่อนที่ของ (ตอนที่ 2) 16. สังเกต และ มนุษย์เกิดจากการ อธิบายการทำงาน ทำงานร่วมกันของ ชน้ิ งานท่ี 5 ของข้อตอ่ ชนิดต่างๆ ระบบโครงกระดูกและ ใบงาน เรอื่ ง ข้อต่อ และการทำงานของ ระบบกล้ามเนื้อ ดังน้ี กล้ามเนือ้ โครงร่างท่ี ร ะ บ บ โ ค ร ง ก ร ะ ดูก ชิ้นงานท่ี 4 เกย่ี วข้องกับการ ประกอบด้วยกระดูก ใบงาน เรื่อง เคลื่อนไหวและการ ทง้ั หมด 206 ชิ้น เซลลก์ ล้ามเนอื้ เคลอื่ นท่ขี องมนุษย์

ผลการเรียนรู้ รอู้ ะไร ทำอะไร ภาระงาน/ช้นิ งาน สมรรถนะสำคญั คุณลกั ษณะ คณุ ลกั ษณะ ของวิชา อนั พงึ ประสงค์ 14. สบื ค้นข้อมูล รู้อะไร อธบิ าย และ ระบบกล้ามเนื้อ แบ่ง เปรยี บเทียบ กล้ามเนื้อออกเป็น 3 โครงสรา้ งและหนา้ ที่ ประเภท ได้แก่ ของอวยั วะที่ กลา้ มเนือ้ หัวใจ เก่ยี วขอ้ งกบั กล้ามเนื้อเรยี บ การเคลอ่ื นที่ของ กล้ามเนอ้ื โครงรา่ ง แมงกะพรนุ หมึก ทำอะไร ดาวทะเล ไส้เดอื นดิน - อธิบายการ แมลง ปลา และนก 15. สบื คน้ ข้อมูล เคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต และอธบิ ายโครงสร้าง เซลล์เดยี ว และหน้าที่ของ กระดกู และกลา้ มเน้ือ - เปรียบเทียบ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกับ โครงสร้างที่ใช้ในการ การเคล่ือนไหวและ เคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต การเคล่อื นท่ีของ เซลลเ์ ดยี ว มนุษย์ 16. สงั เกต และ - สังเกตลักษณะ อธิบายการทำงาน และโครงสร้างที่ใช้ใน ของขอ้ ต่อชนดิ ตา่ งๆ การเคลื่อนที่ของ และการทำงานของ ไส้เดอื นดนิ กลา้ มเนอื้ โครงรา่ งที่ เกีย่ วขอ้ งกับการ - และอธิบาย เคลอ่ื นไหวและการ โครงสร้างและหน้าที่ เคลอื่ นท่ขี องมนษุ ย์ ของระบบโครงกระดูก และระบบกล้ามเนื้อท่ี เกี่ยวข้องกับการ เคลื่อนไหวและการ เคลอ่ื นท่ีของมนษุ ยไ์ ด้

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ รายวิชา ชวี วทิ ยา5 รหัสวิชา ว30245 ช่อื หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 4 การเคล่ือนท่ีของสิ่งมชี ีวิต ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6/1 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2566 ประเดน็ / เป้าหมายการเรยี นรู้ ภาระงาน/ช้นิ งาน วธิ ีวัด เครื่องมือวดั เกณฑ์การ คะแนน 15 ใหค้ ะแนน สาระสำคญั ชิ้นงานที่ 1 1.ตรวจแบบทดสอบ 1. แบบทดสอบ รอ้ ยละ 70 สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวบางชนิด แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ก่อนเรียน หนว่ ยการ กอ่ นเรียน หน่วย ของคะแนน เคลอ่ื นท่โี ดยการไหลของไซโทพลา หนว่ ยการเรยี น เรอ่ื ง เรยี น เร่อื ง การ การเรยี น เร่ือง การ ที่ได้โดยดู ซมึ เช่น อะมบี า บางชนิดใช้ แฟล การเคลอ่ื นทข่ี อง เคล่ือนท่ีของ เคล่อื นทข่ี อง ความ เจลลัม เช่น ยูกลีนา บางชนิดใช้ซิ สงิ่ มชี วี ิต ส่งิ มีชวี ติ สง่ิ มีชวี ิต ถกู ตอ้ งของ เลยี เชน่ พารามีเซียม เนือ้ หาที่ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น ชน้ิ งานท่ี 2 2. ตรวจใบงาน เรือ่ ง 2. ใบงาน เรอ่ื ง ผูเ้ รียน แมงกะพรุน เคลือ่ นที่โดยอาศยั การ ใบงาน เรอ่ื ง การเคล่อื นทข่ี อง การเคลอ่ื นท่ีของ บนั ทึกและ หดตัวของเนื้อเยื่อบริเวณขอบ การเคล่อื นท่ี สิ่งมีชวี ิตเซลล์เดียว สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ความตงั้ ใจ ก ร ะ ดิ่ง และแร งดันน้ำ หมึก ของสง่ิ มชี วี ติ เซลลเ์ ดยี ว ในการทำ เคลื่อนที่โดยอาศัยการหดตัวของ กจิ กรรม กล้ามเนื้อบริเวณลำตัว ทำให้น้ำ ชิ้นงานที่ 3 3. ตรวจใบงาน เร่ือง 3. ใบงาน เร่อื ง ภายในลำตัวพ่นออกมาทางไซฟอน ใบงาน เรื่อง การเคลอื่ นทีข่ อง การเคล่อื นทข่ี อง ส่วนดาวทะเลใช้ระบบท่อน้ำในการ การเคลื่อนท่ีของสัตว์ สัตว์ (ตอนท่ี 1) สตั ว์ (ตอนที่ 1) เคลอ่ื นท่ี ไส้เดอื นดนิ มกี ารเคล่ือนท่ี (ตอนท่ี 1) โดยอาศัยการหดตัวและคลายตัว ของกล้ามเนื้อวงและกล้ามเน้ือ ชน้ิ งานท่ี 4 4. ตรวจใบงาน เรอ่ื ง 4. ใบงาน เรอ่ื ง การเคล่อื นทีข่ อง ตามยาวซึ่งทำงานในสภาวะตรงกัน ใบงาน เรือ่ ง การเคล่อื นทขี่ อง สตั ว์ (ตอนท่ี 2) ขา้ ม การเคล่ือนที่ของสัตว์ สตั ว์ (ตอนท่ี 2) (ตอนที่ 2) ชิน้ งานท่ี 5 5. ตรวจใบงาน เรื่อง 5. ใบงาน เรือ่ ง ใบงาน เรือ่ ง ข้อต่อ ข้อตอ่ ข้อตอ่ ช้นิ งานที่ 6 6. ตรวจใบงาน เรื่อง 6. ใบงาน เร่อื ง ใบงาน เร่ือง เซลลก์ ล้ามเนอื้ เซลลก์ ล้ามเนื้อ เซลล์กล้ามเนือ้

เป้าหมายการเรยี นรู้ ภาระงาน/ช้นิ งาน วธิ ีวัด เครอื่ งมือวดั ประเดน็ /เกณฑ์ คะแนน การให้คะแนน สาระสำคัญ แมลงเคลื่อนที่โดยใช้ปีก หรือขา ซึ่งมกี ลา้ มเนอื้ ภายใน เปลือกหุ้มทำงานในสภาวะ ตรงกันข้าม ส่วนสัตว์มี กระดูกสันหลัง เช่น ปลา เคลอ่ื นทโี่ ดยอาศัยการหดตัว และคลายตวั ของกล้ามเน้ือที่ ยึดติดอยู่กับกระดูกสันหลัง ทั้ง 2 ข้าง ทำงานในสภาวะ ตรงกันข้าม และมีครีบที่อยู่ ในตำแหน่งต่างๆ ช่วยโบก พัดในการเคลื่อนที่ นก เคล่อื นท่ีโดยอาศัยการหดตัว และคลายตัวของกล้ามเน้ือ กดปีกกับกล้ามเนื้อยกปีกซ่ึง ทำงานในสภาวะตรงกนั ข้าม

การวิเคราะหม์ าตรฐานและตัวชี้วัด รายวชิ า ชวี วิทยา5 รหสั วชิ า ว30245 ช่อื หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 พฤติกรรมของสัตว์ ชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2566 ผลการเรียนรู้ รอู้ ะไร ทำอะไร ภาระงาน/ สมรรถนะ คุณลกั ษณะ คุณลกั ษณะ ชิ้นงาน สำคัญ ของวิชา อันพงึ ประสงค์ 17. สืบคน้ ขอ้ มูล รู้อะไร ชน้ิ งานที่ 1 1. ความ 1. การ 1. มงุ่ มนั่ สังเกต ในการทำงาน อธิบาย เปรยี บ พฤติกรรมของสัตว์เป็นผลจาก แบบทดสอบกอ่ น สามารถใน 2. การลง 2. มีวินัย ความเหน็ 3. ใฝเ่ รียนรู้ เทียบ และ พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม แบ่ง เรียน หน่วยท่ี 5 การคิด จากขอ้ มลู ยกตัวอย่าง ออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ พฤติกรรม เรอ่ื ง พฤตกิ รรม 2. ความ พฤติกรรมท่เี ปน็ มา ที่เป็นมาแต่กำเนิดแบ่งออกเป็นหลาย ของสัตว์ สามารถใน แตก่ ำเนดิ และ ชนิด เช่น โอเรียนเตชัน (แทกซิสและ การสอ่ื สาร พฤตกิ รรมทเ่ี กิดจาก ไคนซี สิ ) รเี ฟลก็ ซ์ ฟิกแอกชนั ชน้ิ งานที่ 2 3. ความ การเรียนรขู้ องสัตว์ แพทเทิร์น และพฤติกรรมที่เกิดจาก ใบงาน เร่ือง สามารถใน การเรียนรู้ แบ่งออกเป็นแฮบบิชูเอชัน ประเภทของพฤติ การแก้ปัญหา 18. สืบคน้ ข้อมูล การฝังใจ การลองผิดลองถูก การมี กรรม อธิบาย และยก เง่ือนไข และการใช้เหตผุ ล ตัวอยา่ ง พฤติกรรมที่สัตว์แต่ละชนิด ช้นิ งานท่ี 3 ความสมั พนั ธ์ แสดงออกจะแตกต่างกันซึ่งเป็นผลมา ใบงาน เรื่อง ระหวา่ งพฤติกรรม จากวิวัฒนาการของระบบประสาทที่ ความสมั พนั ธข์ อง กบั วิวัฒนา การของ แตกตา่ งกนั ระบบประสาทกับ ระบบประสาท การสื่อสารเป็นพฤติกรรมทาง พฤตกิ รรม สังคมแบบหนงึ่ ซึง่ มีหลายวธิ ี ไก้แก่ การ ของสัตว์ 19. สบื ค้นข้อมูล สื่อสารด้วยท่าทาง การสื่อสารด้วย อธิบาย และยก เสียง การส่อื สารดว้ ยสารเคมี และการ ชิ้นงานท่ี 4 ตวั อย่างการสอื่ สาร สื่อสารด้วยการสัมผัส ใบงาน เรื่อง ระหว่างสตั วท์ ่ีทำให้ ทำอะไร การสื่อสาร สตั วแ์ สดง - อธิบาย และยกตัวอย่างพฤติกรรม ระหว่างสตั ว์ พฤติกรรม ของสัตว์ - อธบิ ายความสัมพันธร์ ะหวา่ ง ชน้ิ งานที่ 5 ววิ ัฒนาการของระบบประสาทกบั แบบทดสอบหลัง พฤติกรรมของสัตว์ เรียน หน่วยท่ี 5 - อธิบายและยกตัวอย่างการสื่อสาร เรอ่ื ง พฤติกรรม ประเภทต่าง ๆ ของสัตว์ ของสัตว์

การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ รายวชิ า ชีววทิ ยา5 รหัสวชิ า ว30245 ช่ือหน่วยการเรียนรทู้ ่ี 5 พฤติกรรมของสัตว์ ชั้น มธั ยมศึกษาปที ่ี 6/1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2566 เปา้ หมายการเรยี นรู้ ภาระงาน/ชนิ้ งาน วธิ ีวดั เครื่องมือวดั ประเด็น/เกณฑ์ คะแนน การใหค้ ะแนน 10 สาระสำคญั ชิ้นงานท่ี 1 1. ตรวจ 1. แบบทดสอบ รอ้ ยละ 70 ของ ก่อนเรยี น หน่วยที่ คะแนนที่ไดโ้ ดยดู พฤติกรรมของสัตว์เป็น แบบทดสอบกอ่ น แบบทดสอบก่อน 5 เร่ือง พฤตกิ รรม ความถูกตอ้ งของ ของสตั ว์ เนอ้ื หาทผี่ ู้เรยี น ผ ล จ า ก พ ั น ธ ุ ก ร ร ม แ ล ะ เรียน หน่วยท่ี 5 เรียน หน่วยที่ 5 บันทึกและความ 2. ใบงาน เรือ่ ง ตงั้ ใจในการทำ สิ่งแวดล้อม แบ่งออกเป็น 2 เรอ่ื ง พฤตกิ รรม เรือ่ ง พฤตกิ รรม ประเภท กจิ กรรม ของพฤตกิ รรม ประเภท ได้แก่ พฤติกรรมที่ ของสัตว์ ของสตั ว์ 3. ใบงาน เรอ่ื ง เป็นมาแต่กำเนิดแบ่งออกเป็น ความสมั พนั ธข์ อง ระบบประสาทกับ หลายชนิด เช่น โอเรียนเตชัน ช้นิ งานท่ี 2 2. ตรวจใบงาน พฤติกรรมของสตั ว์ (แทกซิสและไคนีซิส) รีเฟล็กซ์ ใบงาน เรอ่ื งประเภท เรื่องประเภท 4. ใบงาน เรื่อง การสื่อสารระหว่าง ฟิกแอกชนั ของพฤติกรรม ของพฤตกิ รรม สัตว์ แพทเทิร์น และพฤติกรรมที่ 5. แบบทดสอบ หลังเรยี น หนว่ ยที่ เกิดจากการเรียนรู้ แบ่ง ชน้ิ งานที่ 3 3. ตรวจใบงาน 5 เรอื่ ง พฤติกรรม ของสัตว์ ออกเป็นแฮบบิชูเอชัน การฝัง ใบงาน เรื่อง เรื่อง ความสัมพันธ์ ใจ การลองผิดลองถูก การมี ความสมั พันธ์ของระ ของระบบประสาท เงอ่ื นไข และการใช้เหตุผล บบประสาทกับพฤติ กับพฤตกิ รรมของ พฤติกรรมที่สัตว์แต่ละ กรรมของสัตว์ สตั ว์ ชนิดแสดงออกจะแตกต่างกัน ซึ่งเป็นผลมาจากวิวัฒนาการ ชิ้นงานท่ี 4 4. ตรวจใบงาน ของระบบประสาทที่แตกต่าง ใบงาน เรื่อง การ เรอ่ื ง การ กนั สื่อสารระหว่างสตั ว์ ส่อื สารระหวา่ งสัตว์ การสื่อสารเป็นพฤติกรรม ทางสังคมแบบหนึ่งซึ่งมีหลาย ชน้ิ งานที่ 5 5. ตรวจ วิธี ไก้แก่ การสื่อสารด้วย แบบทดสอบหลัง แบบทดสอบหลงั ท่าทาง การสื่อสารด้วยเสียง เรยี น หนว่ ยที่ 5 เรียน หนว่ ยท่ี 5 การสื่อสารด้วยสารเคมี และ เร่ือง พฤตกิ รรม เรอ่ื ง พฤติกรรม การสือ่ สารด้วยการสมั ผัส ของสัตว์ ของสัตว์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook