รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านและผลการประเมนิ ตนเองรายบุคคล(Self Assessment Report: SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖4 นางสาวสดุ าภรณ์ สบื บญุ เปีย่ ม ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 22 อำเภอปาย จงั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน สำนกั บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ
ก คำนำ รายงานการประเมินตนเอง(Self Assessment Report : SAR) เป็นการประเมินการปฏิบัติหน้าท่ี ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช ๒๕๔๒ และฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๔๕ รวมทั้ง มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน ข้าพเจ้าได้จัดทำขึ้นเพื่อรายงานผลการจัดการเรียน การสอนและการ ปฏบิ ตั หิ น้าทขี่ องข้าพเจา้ ตามฝ่าย/กล่มุ งาน ตลอดจนกจิ กรรมต่าง ๆ ทไี่ ด้ส่งเสริมให้นกั เรียนมีคุณลักษณะและ คุณภาพตามระดบั มาตรฐานคณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 22 ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖4 รายงานนี้ โรงเรียนสามารถนำผลการดำเนินงานไปจัดทำการประเมินคุณภาพภายในและสรุป รายงานให้ผู้บังคับบัญชาตามลำดับสายงาน ตลอดจนเผยแพรใ่ ห้กับผปู้ กครอง นักเรียน ชุมชนในสังคมได้ ทราบผลการปฏิบตั งิ านของบคุ ลากร โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 22 ข้อมูลที่ได้จากการประเมินในการประเมินตนเอง (SAR) ในครั้งนี้ ข้าพเจ้าจะได้นำไปใช้เป็น แนวทางในการปรับปรุงเพื่อพัฒนาการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของ ผเู้ รียนให้สูงขึน้ ในทกุ ๆดา้ นตอ่ ไป ลงช่ือ............................................... ( นางสาวสดุ าภรณ์ สืบบุญเป่ียม) ตำแหนง่ ครูผ้ชู ่วย
ข สารบญั เรอื่ ง หน้า คำนำ ก สารบัญ ข ๑. ข้อมูลทัว่ ไป ๑ ๒. ขอ้ มูลการปฏบิ ัติหนา้ ท่ี ๒ ๒.๑ ดา้ นการสอน ๒.๒ หนา้ ท่พี เิ ศษอ่นื ๒.๓ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ๓. การพัฒนาด้วยตนเอง 3-4 ๔. ความตอ้ งการ สภาพปัญหา เป้าหมายในการพฒั นาผู้เรียน 5 ๔.๑ ความต้องการหรอื จุดมุ่งหมายของหลกั สูตร/พระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ ๔.๒ สภาพทว่ั ไป/สภาพปัญหาของผู้เรียน ๔.๓ เปา้ หมายของการพัฒนานกั เรยี น ๕. ผลการปฏบิ ัตงิ าน 6-17 ๕.๑ ผลการจัดการเรยี นรู้ ๕.๒ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรยี น ๕.๓ ผลการปฏิบัติงานหน้าทีพ่ เิ ศษ ๕.๔ ผลการประเมินการสอนของครโู ดยนักเรยี น ๕.๕ การประเมนิ ตนเองเกย่ี วกบั การจดั ทำแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ๕.๖ ผลการดำเนนิ งานตามมาตรฐานการศึกษา ๕.๗ ผลการประเมินสมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น ๕.๘ ผลการประเมนิ การอ่านคดิ วิเคราะหแ์ ละเขยี นของผ้เู รยี น ๕.๙ ผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๖. กิจกรรม/ผลงาน/ชน้ิ งานเด่นทีม่ ีความภาคภูมิใจและประทบั ใจ 16 ๗. ความรูส้ กึ หรอื คุณค่าที่ไดร้ ับจากการปฏิบัตหิ น้าท่ีเปน็ ครตู อ่ นกั เรียน 17 ๘. สิ่งทค่ี น้ พบจากการปฏิบตั กิ ารสอน 17 ๙. ปัญหาและอปุ สรรค และข้อเสนอแนะ 17 ภาคผนวก 18-31 - เกยี รติบัตร - คำสั่ง - ภาพประกอบ
รายงานการปฏบิ ตั ิงานและผลการประเมินตนเอง/ผลการปฏิบัตหิ น้าท่ี 1 ประกอบการประเมนิ ประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลการปฏิบตั ิงาน ของข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 22 อำเภอปาย จงั หวัดแมฮ่ ่องสอน (ตำแหน่งครผู สู้ อน) ๑. ขอ้ มลู ทั่วไป ชื่อ นางสาวสดุ าภรณ์ นามสกุล สืบบญุ เปีย่ ม ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย วทิ ยฐานะ - เงินเดือน ๑5,๘0๐ บาท เลขท่ตี ำแหน่ง 208(พ) อายุ ๓1 ปี ปฏบิ ตั ริ าชการเป็นเวลา - ปี 2 เดอื น วัน / เดือน / ปี เกิด วันท่ี 31 เดอื น สิงหาคม พ.ศ. 2533 วัน / เดือน / ปี บรรจุเขา้ รบั ราชการ วนั ท่ี 5 เดือน มกราคม พ.ศ. 2565 สังกัดฝ่ายบริหารงานบุคล โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 22 ปฏิบัติงานหลกั ครูผสู้ อนสอน กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี งานพิเศษ 1.) ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2.) รับผดิ ชอบเวรพัฒนาวนั เสาร์ 3.) รบั ผิดชอบครูเวรประจำวนั นกั เรียนไป-กลบั 4.) ครูเรอื นนอนหญงิ 6 5.) รับผดิ ชอบโครงการสง่ เสริมการใช้หอ้ งสมดุ เพื่อสรา้ งนิสัยรกั การอา่ น 6.) ปฏบิ ตั หิ นา้ ทฝ่ี า่ ยขายงานสหกรณ์ร้านค้าโรงเรียน 7.) ปฏบิ ตั หิ น้าทีใ่ นกลุ่มงานวชิ าการ และงานอื่นๆ ตามทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย 8.) งานอื่นๆท่ไี ด้รับมอบหมาย วฒุ กิ ารศึกษา เทยี บเทา่ /อนปุ ริญญาตรี ................................. วชิ าเอก ................................... ปริญญาตรี สาขาวชิ าชวี วิทยา วิชาโท - ปรญิ ญาโท สาขา.......................................................................................... ปริญญาเอก สาขา..........................................................................................
แสดงจำนวนวันลา ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4 (๑ตุลาคม๒๕๖4 – ๓๑ มีนาคม ๒๕๖5) 2 วนั เดอื น ปี ลาป่วย ลากจิ ลาอปุ สมบท ลาคลอด มาสาย ที่ลา คร้งั วัน ครง้ั วัน คร้งั วัน ครงั้ วนั ครั้ง วนั -- ------ -- รวม -- ------ -- รวมทั้งส้นิ จำนวน........-........ครั้ง จำนวน........-.......วนั ๒. ข้อมูลการปฏิบัติหนา้ ที่ ๒.๑ ดา้ นการสอนในปีการศึกษา ๒๕๖4 ๑) ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4 ปฏิบัติการสอน จำนวน 5 รายวิชา จำนวน 4 ห้องเรยี น จำนวนคาบ 11 คาบ/สปั ดาห์ดังนี้ ตาราง ๑ แสดงจำนวนรายวชิ า ห้องเรยี น นกั เรยี น คาบเรยี น ที่ปฏิบัตกิ ารสอนปกี ารศกึ ษา 2/๒๕๖4 ท่ี ปี รหัสวิชา ชอื่ วิชา ระดับ จำนวน จำนวน จำนวน การศกึ ษา ชัน้ หอ้ ง นกั เรียน คาบ/สป. ๑ ๒๕๖4 ว31242 ชีววทิ ยา2 ม. 4/1 1 22 3 ๒ ๒๕๖4 ว32244 ชีววิทยา4 ม. 5/1 1 14 3 ๓ ๒๕๖4 ว33246 ชีววิทยา6 ม. 6/1 1 25 3 4 ๒๕๖4 กิจกรรมงานสวนพฤกษศาสตร์ ม. 3/2 1 29 1 โรงเรยี น 5 ๒๕๖4 กจิ กรรมลกู เสือ-เนตรนารี ม. 3/2 1 29 1 รวม 5 11 ๒.๒ หนา้ ท่ีพเิ ศษอ่นื ไดแ้ ก่ 1. ครูเรอื นนอนหญงิ 6 2. ครทู ป่ี รกึ ษาชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3/2 ๒.๓ การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน ๒.๓.๑ จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ ดงั น้ี ท่ี รหสั วิชา สาระการเรยี นรู้/รายวิชา ระดบั ชน้ั จำนวน/แผน ม. 4/1 24 ๑ ว31242 ชีววิทยา2 ม. 5/1 23 ม. 6/1 20 ๒ ว32244 ชีววทิ ยา4 ๓ ว33246 ชีววทิ ยา6
๒.๓.๒ ผลติ สือ่ / นวตั กรรม 5 ชิน้ ได้แก่ 3 ท่ี ชือ่ ส่ือ/นวตั กรรม ๑ PowerPoint พันธศุ าสตรแ์ ละเทคโนโลยีทาง DNA จำนวน (ชิน้ ) ๒ PowerPoint ววิ ัฒนาการ 1 ๓ PowerPoint ระบบหายใจ 1 4 PowerPoint ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบนำ้ เหลืองและระบบภูมคิ มุ้ กนั 1 5 PowerPoint ระบบขบั ถ่าย 1 1 ๓. การพฒั นาดว้ ยตนเอง ขา้ พเจ้าไดป้ ฏิบัตกิ จิ กรรมการพัฒนาตนเอง ดังนี้ ๓.๑ กิจกรรมการพัฒนาดว้ ยตนเอง ในดา้ น การศกึ ษาตอ่ การจัดทำหลักสูตรสถานศกึ ษา ร่วมจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การผลติ สื่อ ใบความรู้ , สือ่ ที่นักเรียนประดษิ ฐ์ไดแ้ ก่ - สอ่ื การเรียนการสอน รายวชิ าตา่ งๆดังนี้ ๑. ชีววทิ ยา2 รหสั ว31242 ๒. ชีววทิ ยา4 รหัส ว32244 ๓. ชวี วทิ ยา6 รหัส ว33246 จัดทำโครงงาน / กิจกรรม การทำแฟ้มสะสมงาน ของ ครู นกั เรียน วิจัยในชน้ั เรยี น การเปน็ วทิ ยากร - ๓.๒ การเข้าร่วมกิจกรรมทางวชิ าการเพ่ือพัฒนาตนเอง มดี ังน้ี ร่วม/จัดอบรม กจิ กรรม สมั มนา ประชมุ ปฏิบัตกิ าร ดงั นี้ ตาราง ๓ แสดงการรว่ ม/จัดอบรม กจิ กรรม สมั มนา ประชมุ ปฏิบตั ิการ วนั เดอื น ปี เร่อื งท่อี บรม/ประชมุ /สัมมนา/กจิ กรรม สถานที่ จำนวน หลักฐาน ช่วั โมง/ เลม่ รายงาน ๑๙ มกราคม การอบรมหลักสูตรการจัดการเรียนรู้ทกั ษะ ศนู ยป์ ระสานงานครูและ เล่มรายงาน ๒๕๖๕ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรโ์ ดยใช้ของเล่น บคุ ลากรทางการศึกษา วัน พืน้ บา้ น อำเภอปาย 1 วนั 2 กุมภาพนั ธ์ โรงเรียน 2565 อบรมการพมิ พ์ใบไมบ้ นผ้า ECOPRINT 1 วัน ราชประชานเุ คราะห์ 22
ร่วม/จัดให้มกี ารแลกเปลีย่ นเรียนรูร้ ะหวา่ งครแู กนนำกบั ครเู ครือขา่ ยในเรือ่ ง ดงั นี้ 4 ตาราง ๔แสดงการรว่ ม/จัดใหม้ ีการแลกเปล่ียนเรยี นรูร้ ะหวา่ งครแู กนนำกบั ครูเครอื ข่าย ท่ี วนั เดอื น ปี รายการ สถานที่ หมายเหตุ - -- -- ร่วม/จดั เวที เสวนาทางวชิ าการในเรื่อง ดังน้ี ตาราง ๕ แสดงการรว่ ม/จดั เวที เสวนาทางวิชาการ ท่ี วนั เดอื น ปี รายการ สถานที่ หมายเหตุ - - -- - ร่วมจัดสมั มนากล่มุ ย่อย เพ่ือปรบั ปรุงพัฒนางานในเร่อื ง ดังนี้ ตาราง ๖แสดงการร่วมจัดสัมมนากลุ่มยอ่ ย เพื่อปรบั ปรงุ พัฒนางาน ที่ วนั เดอื น ปี รายการ สถานที่ หมายเหตุ รว่ ม/จัดสาธิตการจัดกิจกรรมการเรียนร้ใู นเรือ่ ง ดงั นี้ ตาราง ๗แสดงการรว่ ม/จัดสาธิตการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่ วนั เดือน ปี รายการ สถานท่ี หมายเหตุ จัดการเรียนรนู้ อกหลักสูตรที่กระทรวงกำหนด ตาราง ๘แสดงการจัดการเรยี นรู้นอกหลักสูตรทีก่ ระทรวงกำหนด ที่ วัน เดอื น ปี รายการ สถานที่ หมายเหตุ - -- - - หลักฐาน นเิ ทศ เย่ยี มเยียน พบปะแลกเปลยี่ นความคิดเห็นในเร่ือง ดังน้ี ตาราง ๙แสดงการนิเทศ เยี่ยมเยียน พบปะแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ ท่ี วนั เดอื น ปี รายการ สถานที่ ทัศนศึกษา ดงู านในเรอ่ื ง ดังน้ี ตาราง ๑๐แสดงการทศั นศึกษา ดูงาน ที่ วนั เดอื น ปี รายการ สถานท่ี หมายเหตุ เผยแพร่ผลงานในเร่อื ง ดงั น้ี ตาราง ๑๐แสดงการเผยแพรผ่ ลงาน ท่ี วนั เดือน ปี รายการ สถานท่ี หมายเหตุ
5 อ่นื ๆ ไดแ้ ก่ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ๔. ความตอ้ งการ สภาพปญั หา เปา้ หมายในการพฒั นาผู้เรยี น ๔.๑ ความตอ้ งการหรอื จุดม่งุ หมายของหลกั สูตร/พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ ๑) เปน็ หลกั สูตรการศึกษาเพอ่ื ความเปน็ เอกภาพของชาติ มีจดุ หมายและมาตรฐานการ เรยี นรู้เปน็ เป้าหมายสำหรบั พัฒนาเดก็ และเยาวชนใหม้ คี วามรู้ ทกั ษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐาน ของความเป็นไทยควบคกู่ บั ความเป็นสากล ๒) เป็นหลกั สูตรการศึกษาเพ่อื ปวงชน ที่ประชาชนทกุ คนมีโอกาสไดร้ ับการศึกษาอย่าง เสมอภาคและมีคุณภาพ ๓)เป็นหลกั สตู รการศกึ ษาท่ีสนองการกระจายอำนาจ ให้สงั คมมีสว่ นรว่ มในการจัด การศกึ ษาให้สอดคล้องกับสภาพและความตอ้ งการของทอ้ งถน่ิ ๔) เปน็ หลักสูตรการศึกษาที่มโี ครงสร้างยืดหยุ่น ท้ังด้านสาระการเรยี นรู้ เวลาและการ จัดการเรียนรู้ ๕) เปน็ หลักสูตรการศึกษาท่ีเนน้ ผู้เรียนเป็นสำคญั ๖) เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์ ๔.๒ สภาพทัว่ ไป/สภาพปญั หาของผเู้ รียน ๑) ความสามารถในอ่าน/เขียน เน่อื งจากนกั เรยี นบางคนอ่านหนงั สอื ไม่คลอ่ ง และเขียน สะกดคำไมค่ ่อยถกู อันจะส่งผลเสียตอ่ การศึกษาในสระดับทส่ี งู ขน้ึ ไป ๒) ผู้เรียนมีกิจกรรมมากเกินไป เนื่องด้วยทางโรงเรียนมีกิจกรรมต่างๆมากเกินไป ตลอดจนองค์กรภายนอกนำนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม ทำให้การเรียนรู้ของนักเรียนล่าช้า หรือเรียนไม่ พร้อมกันทกุ หอ้ ง ๓) นักเรียนมีทักษะทางการพูดที่ไม่ค่อยมีประสิทธิภาพ ทำให้การนำเสนองาน และ ภาพพจน์ของนกั เรียนเสียหาย จนสง่ ผลใหน้ ักเรยี นไม่มคี วามกล้าแสดงออก ๔.๓ เปา้ หมายของการพฒั นานกั เรียน (ระบุจุดประสงคข์ องหลกั สตู รและรายวชิ า) ๑) มคี ุณธรรม จริยธรรม และค่านยิ มท่พี งึ ประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มวี ินยั และ ปฏิบตั ิตนตามหลกั ธรรมของศาสนา ๒) มคี วามรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมที กั ษะชวี ติ ๓) มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดี มีสขุ นสิ ัยและรักการออกกำลังกาย ๔) มีความรกั ชาติ มจี ติ สำนึกในความเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ยดึ มน่ั ในวิถีชีวิตและ การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข ๕) มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา สิ่งแวดลอ้ ม มีจติ สาธารณะทม่ี ุง่ ทำผลประโยชน์และสร้างส่ิงท่ีดีงามในสงั คม และอยู่รว่ มกันในสงั คมอย่างมี ความสขุ
๕. ผลการปฏิบตั งิ าน 6 5.1ผลการจดั การเรียนรู้ การจัดการเรียนการเรียนรตู้ ามพระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ หมวด ๔ ตาราง ๑๑ แสดงผลการประเมินระดับการปฏิบัตจิ ัดการเรียนร้ตู ามพระราชบัญญตั ิการศกึ ษา แหง่ ชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ (ครูประเมินตนเอง) ระดบั การปฏิบตั ิ รายการปฏบิ ตั ิ มาก มาก ปาน น้อย น้อย ที่สุด ๔ กลาง ๒ ที่สดุ ๕๓ ๑ ๑. วเิ คราะหห์ ลกั สูตรและการเตรียมการจัดการเรยี นรู้ ๒. ศกึ ษาเป้าหมายของหลกั สตู รและการจัดการศึกษา ๓. วเิ คราะหผ์ ูเ้ รียนและความแตกตา่ งกันของผู้เรียน ๔. จัดทำแผนการเรยี นร้ทู ่เี นน้ ผู้เรียนเป็นสำคญั และจดั การเรยี นรู้ตามแผน ๕. จัดหา/ทำ/พัฒนา สอ่ื ประกอบการเรียนรู้ ทสี่ อดคล้องกบั กจิ กรรมเรียนรู้ ๖. จดั สาระ/กจิ กรรมการเรยี นรู้ตามความสนใจ ความถนัด และความแตกตา่ ง ของผู้เรยี นใหเ้ ต็มตามศักยภาพ ๗. ฝกึ ทกั ษะกระบวนการคดิ การจัดการ การเผชิญและแก้ปญั หา ๘. ให้ผู้เรียนฝกึ ปฏิบตั ิจรงิ คิดวเิ คราะห์ คิดสรา้ งสรรค์ มีเหตุผล ๙. สง่ เสริมกจิ กรรมการทำงานกลุม่ สอดแทรกคุณธรรม และจติ สาธารณะ ๑๐. กระตุ้นให้ผ้เู รียนร้จู ักศึกษาหาความรู้ แสวงหาคำตอบ สร้างองคค์ วามรู้ ด้วยตนเองและสรปุ ประเด็นจากการเรียนร้ไู ด้อย่างถกู ตอ้ ง ๑๑. จดั กิจกรรมการเรยี นรู้หลากหลายเหมาะสมกับธรรมชาติ ความต้องการ ของผู้เรยี นและเปิดโอกาสใหซ้ ักถาม วิพากษว์ ิจารณ์ เสนอแนะ ๑๒. ส่งเสริมการเรียนรู้ดว้ ยวธิ ีการทหี่ ลากหลายและจากแหล่งเรยี นรตู้ ่าง ๆ ๑๓. ใช้ส่อื การเรยี นรูท้ หี่ ลากหลายสอดคล้องและเหมาะสมกับการเรียนรู้ ๑๔. ประเมนิ พัฒนาผู้เรียนตามสภาพจริงดว้ ยวิธกี ารท่หี ลากหลายและ ตอ่ เนอ่ื งสม่ำเสมอสอดคลอ้ งกบั ระเบยี บการวัดและประเมินผล ๑๕. จดั ทำและนำผลการวจิ ัยไปแก้ปัญหาการเรยี นรูข้ องผู้เรยี น เฉลีย่ ๔.46 สรุป จากการประเมิน พบว่า ระดับการปฏิบัติจัดการเรียนรู้ฯมีค่าเฉลี่ยท่ี ๔.46 ถือว่าเป็นการ ปฏิบัติในระดบั ดีมากรายการปฏิบัตทิ ่ี ๑,๒,๕,๖,๗,๘,๙,๑๐,๑๒,๑๓ เป็นการปฏิบัตทิ ่ีมรี ะดบั การปฏบิ ัติมาก ที่สุด และรองลงมาเป็นลำดับ ส่วนรายการปฏิบัติที่มีระดับการปฏิบัติมาก ได้แก่รายการปฏิบัติท่ี11-1๔ และ ๑5
ตารางที่ ๑๒ แสดงผลการประเมนิ การสอนของครู (นกั เรียนเปน็ ผ้ปู ระเมิน) 7 ระดบั การปฏบิ ตั ิ/รอ้ ยละ กจิ กรรม มาก มาก ปาน น้อย น้อย ที่สดุ ๔ กลาง ๒ ที่สุด ๑ ๕ ๓ 1. มีการจัดสภาพห้องเรียนสอดคลอ้ งและเหมาะสมกับการจดั การ เรยี นรู้ 2. มคี วามพร้อมในการจัดสื่อ/เทคโนโลย/ี นวัตกรรม ในการจดั การ เรยี นรู้ 3. เนือ้ หาทีจ่ ัดการเรยี นรสู้ อดคลอ้ งกับมาตรฐาน สาระ ตวั บง่ ช้ี จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ และเหมาะสม ถกู ต้อง ทันสมัยเปน็ ปจั จบุ นั 4. นักเรยี นทราบจดุ ประสงคก์ ารเรียนร้ชู ดั เจน 5. กจิ กรรมการเรยี นร้สู อดคล้องกบั จุดประสงค์การเรียนรู้ 6. ครูจดั กจิ กรรมการเรียนรูห้ ลากหลาย ( เช่นการทำงานกลุ่ม, โครงงาน,จับคู่ฯลฯ) เหมาะสมกับธรรมชาติ ความต้องการของ ผู้เรียน 7. ครูให้โอกาสนักเรยี นซักถามปญั หา และยอมรับฟงั ความคิดของ นักเรยี น 8. ครูสง่ เสริมให้นกั เรยี นทำงานร่วมกันเป็นกลมุ่ /ทีม สอดแทรก คณุ ธรรม และจิตสาธารณะ 9. ครฝู กึ ทกั ษะกระบวนการคดิ การจดั การ การเผชิญและแกป้ ัญหา 10.ครใู ห้ผู้เรยี นฝึกปฏิบัติจรงิ คิดวเิ คราะห์ คิดสร้างสรรค์ มเี หตผุ ล 11.ครูใหค้ วามสนใจแก่นกั เรยี นอยา่ งท่วั ถงึ ขณะทจี่ ดั การเรียนรู้และ ควบคุมห้องเรยี นได้ 12.ครูใชส้ ือ่ นวตั กรรมและเทคโนโลยีประกอบการจัดการเรียนรู้ได้ อย่างเหมาะสมสอดคลอ้ งกับสาระและจุดประสงค์การเรยี นรู้ 13.ส่งเสริมให้นักเรยี นคน้ คว้าหาความรู้จากห้องสมดุ หรือแหลง่ เรียนรู้ อ่นื ๆ 14.ครูสามารถประยุกตส์ งิ่ ท่ีสอนเข้ากบั สภาพสงั คมและส่งิ แวดล้อม 15.นกั เรยี นทราบเกณฑ์การประเมนิ ผลลว่ งหนา้ 16.ประเมินพัฒนาผเู้ รยี นตามสภาพจรงิ ดว้ ยวธิ ีการทีห่ ลากหลายและ ตอ่ เนอ่ื งสมำ่ เสมอและนกั เรียนมีสว่ นรว่ มในการประเมินผลการ เรียน 17.ครเู ข้า/ออกสอนตรงเวลา มีความตงั้ ใจจดั การเรียนรู้ 18.นกั เรยี นชอบครูและชอบเรียนวชิ าน้ี
8 19.นักเรยี นสามารถนำความรจู้ ากวชิ าน้ีไปใช้ในชวี ิตประจำวัน/ศึกษา ตอ่ ได้ 20.นกั เรียนเรยี นอยา่ งมีความสขุ 3.95 เฉล่ีย สรุป จากการประเมนิ พบว่า ระดับผลการประเมนิ การสอนของครูมีค่าเฉล่ยี ท่ี 3.95 ถอื ว่าเป็น การปฏิบตั ิในระดับมาก รายการปฏบิ ัติท่ี ๒-๒๐เป็นการปฏบิ ัติที่มีระดับการปฏิบัตมิ ากที่สดุ และรองลงมา เป็นลำดับ ส่วนรายการปฏิบัติที่มีระดับการปฏิบัติน้อยควรที่จะปรับปรุงหรือพัฒนาต่อไป ได้แก่รายการ ปฏิบัติท่ี ๑ ๕.๒ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนักเรยี นปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ตาราง ๑๓ แสดงผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียน ปกี ารศึกษา ๒๕๖4 ภาคเรยี นที่ 2 ผลการเรียน (คน) ที่ รายวิชา หอ้ ง จำนวน ร มส. 0 1 1 ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ๔ รวม ผูเ้ รียน . ๕ 1 ชีววิทยา2 ม.4/1 21 - - - - - 1 - 4 6 10 21 2 ชีววิทยา4 ม.5/1 14 - - - - - - - 2 6 6 14 3 ชีววทิ ยา6 ม.6/1 25 - - - - - - - 7 6 12 25 รวม 60 - - - - - 1 13 18 28 60 รอ้ ยละ 100.00 - - - - - 1.67 - 21.67 30.00 46.67 100.00 รอ้ ยละของนักเรยี นทีไ่ ดร้ ับผลการเรยี น 3 ข้ึนไป 21.67 30.00 46.67 98.33 รอ้ ยละของนักเรียนที่ได้รบั ผลการเรยี น 2 ขึ้นไป 100.00 ๕.๓ ผลการปฏิบตั งิ านหน้าท่พี เิ ศษปรากฏผลดังน้ี ๑) กิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ น ๑.๑) ปฏบิ ัตหิ น้าท่ีจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านให้แกน่ กั เรียน ๑.๒) อื่น ๆ....................-............................................................................................... สรุปไดว้ ่า ระดับคุณภาพการปฏิบัติงาน ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ ๒) ฝา่ ยกิจการนักเรียน ๒.๑) ปฏิบัติหน้าที่ครูประจำเรือนนอนหญิง 6 ๒.๒) ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ครูเวรห้องธรุ การวนั เสาร์ ๒.3) อื่น ๆ ................-......................................................................... สรปุ ได้ว่า ระดับคุณภาพการปฏิบตั งิ าน ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง ๓) กจิ กรรมวนั สำคญั ๓.๑) ปฏบิ ตั ิงานจดั กจิ กรรมวนั สำคัญจำนวน 2 กิจกรรม ไดแ้ ก่ ๓.๑.๑) กิจกรรมวนั ครู ประจำปี ๒๕๖4 ๓.๑.๒) กจิ กรรมวนั เดก็ แห่งชาติ ปีการศกึ ษา ๒๕๖4 สรปุ ได้วา่ ระดับคุณภาพการปฏิบัตงิ าน ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง
9 ๔) งานสง่ เสริมคุณธรรมนกั เรียน ๔.๑) ปฏิบัตงิ านส่งเสรมิ คุณธรรมนกั เรียนตามกรอบภาระงานคุณธรรม และตามท่ี ผู้บังคับบญั ชามอบหมาย โดยกิจกรรมท่ีจดั ทำได้แก่ ๔.๑.๑) กจิ กรรมสวดมนตว์ ันศกุ ร์ ๔.๑.2)อนื่ ๆ…………………………………………………………………………… สรุปไดว้ ่า ระดบั คุณภาพการปฏิบัตงิ าน ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ ๖) งานประกันคุณภาพการศึกษา ๖.๑) ไดด้ ำเนินการจดั ทำงานประกันคุณภาพในสถานศึกษาบรรลุผลเป็นทเี่ รียบรอ้ ย ตามภาระงาน และตามคำสัง่ ผบู้ งั คับบัญชา ๖.๒) อน่ื ๆ…………………………………………………………………………… สรปุ ได้ว่า ระดบั คุณภาพการปฏบิ ัติงาน ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง 10) งานอนื่ ๆตามทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย ๑๐.๑) ไดด้ ำเนินการปฏบิ ัตงิ านอ่ืนๆทผ่ี บู้ ังคับบัญชามอบหมายตามหน้าท่ี โดยได้ ดำเนินการเรยี บรอ้ ยทุกภาระงาน ๑๐.๒) อน่ื ๆ…………………-………………………………………………………… สรุปไดว้ า่ ระดบั คุณภาพการปฏิบัติงาน ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
๕.๔ ผลการประเมินการสอนของครโู ดยนกั เรียน 10 ตาราง แสดงรอ้ ยละของระดับการประเมินการสอนของครโู ดยนักเรยี น ระดับการประเมนิ กจิ กรรม มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย ทส่ี ดุ (๔) กลาง (๒) ทส่ี ดุ ๑. ครูแจง้ ผลการเรียนรใู้ หน้ กั เรยี นทราบอยา่ งชัดเจน (๕) (๓) (๑) ๒. ครูจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้สนุกและนา่ สนใจ ๓. เนอื้ หาท่ีสอนทนั สมยั เสมอ ๔. ครูใช้ส่ือประกอบการเรียนการสอนทเี่ หมาะสมและหลากหลาย ๕. ครูใชค้ ำถามซกั ถามนกั เรียนบ่อย ๆ ๖. ครูประยุกต์สาระท่สี อนเข้ากับเหตกุ ารณป์ ัจจบุ ัน/สภาพแวดลอ้ ม ๗. ครสู ง่ เสรมิ นกั เรียนได้ฝึกปฏบิ ตั จิ รงิ มกี ารจัดการและการแก้ปญั หา ๘. ครใู ห้นกั เรยี นฝึกกระบวนการคดิ คดิ วิเคราะห์ คดิ สร้างสรรค์ ๙. ครูสง่ เสริมให้นักเรยี นทำงานร่วมกนั ทงั้ เป็นกลมุ่ และรายบคุ คล ๑๐. ครใู ห้นักเรียนแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนร้ตู า่ ง ๆ ๑๑. ครมู ีการเสรมิ แรงใหน้ กั เรียนที่รว่ มกิจกรรมการเรยี นการสอน ๑๒. ครูเปิดโอกาสให้นกั เรยี นซักถามปัญหา ๑๓. ครคู อยกระตุ้นใหน้ ักเรียนตน่ื ตวั ในการเรียนเสมอ ๑๔. ครสู อดแทรกคุณธรรมและคา่ นิยม ๑๒ ประการในวชิ าที่สอน ๑๕. ครยู อมรบั ความคดิ เห็นของนกั เรียนท่ตี ่างไปจากครู ๑๖. นักเรียนมสี ่วนรว่ มในการวัดและประเมินผลการเรียน ๑๗. ครมู ีการประเมนิ ผลการเรียนดว้ ยวธิ ีการท่หี ลากหมายและ ยตุ ิธรรม ๑๘. ครูมคี วามต้งั ใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ๑๙. บคุ ลกิ ภาพ การแต่งกายและการพูดจาของครูเหมาะสม ๒๐. ครเู ขา้ สอนและออกชนั้ เรียนตรงตามเวลา คะแนนเฉลี่ย ๔.05 จากผลการประเมินการสอนของครโู ดยนักเรียน พบวา่ อยู่ในระดับ มากทส่ี ุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สดุ
๕.๕ การประเมินตนเองเกย่ี วกับการจัดทำแผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ีเนน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคัญ 11 (เขียนเครื่องหมาย / ลงในชอ่ งระดับคุณภาพ โดยพจิ ารณาจากเกณฑ์การประเมนิ ด้านขวามอื ) ดชั นชี ี้วดั ระดับคณุ ภาพ เกณฑ์การประเมิน ๔๓๒๑ ๑. การวเิ คราะห์ มาตรฐานฯ ๑. มกี ารระบุตัวชวี้ ัด/ผลการเรยี นรู้ และ ตัวชีว้ ัด/ผลการเรียนรู้ ๒. มกี ารวิเคราะหต์ ัวชีว้ ัด/ผลการเรยี นรู้ (ระดบั ๔ มี ๕ ข้อ แยกออกเปน็ ๓ ดา้ นคือ ความรู้ เจตคติ ทกั ษะ (KPA) ระดบั ๓ มี ๔ ข้อ ๓. มคี วามเหมาะสมสอดคลอ้ งกบั กจิ กรรมการเรียนรู้ ระดับ ๒ มี ๓ ข้อ ๔. สอดคลอ้ งกับผลการเรยี นรู้ที่คาดหวัง ระดับ ๑ มี ๑-๒ ขอ้ ) ๕. ครอบคลมุ มาตรฐานการศกึ ษา ๒. การออกแบบกจิ กรรม ๑. การออกแบบกจิ กรรมการเรียนรเู้ ปน็ ขน้ั ตอน การเรยี นรู้ ๒. แผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้มี (ระดบั ๔ มี ๕ ขอ้ องค์ประกอบครบ ๔ ด้าน (แลกเปลีย่ น ระดับ ๓ มี ๔ ข้อ ประสบการณ์ การสรา้ งองคค์ วามรู้ ระดบั ๒ มี ๓ ข้อ นำเสนอความรู้ ปฏิบตั ิ / ประยกุ ตใ์ ช้) ระดับ ๑ มี ๑-๒ ข้อ) ๓. มคี วามเหมาะสมกับจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๔. มีความสอดคล้องกับจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ท้งั ๓ ด้าน (ความรู้ เจตคติ ทกั ษะ) ๕. สามารถปฏบิ ตั ิได้จริง ๓. การออกแบบปฏิสมั พนั ธ์ ๑. มกี ารจดั กจิ กรรมการเรียนรโู้ ดยใช้กระบวนการกลมุ่ (ระดบั ๔ มี ๕ ข้อ ๒. มีความหลากหลายในการมสี ว่ นรว่ มของผเู้ รยี น ระดบั ๓ มี ๔ ข้อ ๓. มีการกำหนดบทบาทและกจิ กรรมอยา่ งชดั เจน ระดับ ๒ มี ๓ ข้อ ๔. ปฏิบัติจริง ระดับ ๑ มี ๑-๒ ขอ้ ) ๕. ผู้เรียนสนกุ สนาน เกิดการเรียนรู้ ๔. การออกแบบประเมินผล ๑. มีการประเมินผลการเรียนในแต่ละแผน (ระดับ ๔ มี ๕ ข้อ ๒. มกี ารกำหนดวธิ กี ารประเมนิ ผลหลากหลาย ระดบั ๓ มี ๔ ข้อ ๓. วธิ กี ารประเมินผลสอดคล้องกับจดุ ประสงค์ ระดบั ๒ มี ๓ ข้อ การเรยี นรู้ ระดับ ๑ มี ๑-๒ ขอ้ ) ๔. ปฏบิ ตั ิจริง ๕. นำผลการประเมนิ มาพัฒนาการเรียนรู้ ๕. การใช้สื่ออุปกรณ์ ๑. มกี ารใช้สอ่ื อปุ กรณ์หรอื แหลง่ เรียนรู้ การเรยี นรู้ ๒. มกี ารกำหนดขั้นตอนหรือวิธีการใช้สือ่ (ระดบั ๔ มี ๕ ขอ้ หรอื แหล่งเรียนรู้ ระดบั ๓ มี ๔ ข้อ ๓. มกี ารใช้สอ่ื อปุ กรณห์ รอื แหลง่ การเรียนรู้ ระดับ ๒ มี ๓ ขอ้ เหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนรู้ ระดบั ๑ มี ๑-๒ ข้อ) ๔. มสี ือ่ อปุ กรณ์ แหล่งเรยี นรู้ ๕. มกี ารพัฒนาสอื่ อปุ กรณ์ แหลง่ เรยี นรู้ สรุป : การจดั ทำแผนการจัดการเรยี นรู้น้ี อยู่ในระดับคุณภาพดี
12 เกณฑก์ ารตดั สนิ ๔ หมายถึง มีการปฏิบัตอิ ยู่ในระดบั ดีมาก หรอื พอใจมากทสี่ ุด ๓ หมายถึง มกี ารปฏบิ ัตอิ ยู่ในระดับดี หรอื พอใจมาก ๒ หมายถึง มกี ารปฏบิ ตั ิอยู่ในระดบั ปานกลาง หรือพอใจพอใช้ ๑ หมายถึง มกี ารปฏิบตั อิ ยู่ในระดับปรับปรงุ หรือไม่พอใจ ๕.๖ ผลการดำเนนิ งานตามมาตรฐานการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน เพือ่ การประกันคุณภาพภายในของ สถานศึกษา คำชีแ้ จง 1. ศึกษาเกณฑม์ าตรฐานคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนบา้ นหนองหลัก มาตรฐานที่ ๑ และ ๓ 2. มาตรฐานที่ ๑ และ ๓ ประเมนิ ผลแล้วจะไดผ้ ลระดบั คุณภาพตัวบ่งช้ี/มาตรฐาน แล้วทำเครอื่ งหมาย ลงในชอ่ งระดบั คุณภาพ ๓.เกณฑ์การตดั สิน ๕หมายถึง มีผลการปฏิบัติอยใู่ นระดบั ยอดเยย่ี ม ๔หมายถงึ มีผลการปฏิบัติอยูใ่ นระดับดีเลศิ ๓หมายถงึ มีผลการปฏิบตั ิอยูใ่ นระดับดี ๒หมายถงึ มีผลการปฏิบตั อิ ยใู่ นระดับปานกลาง ๑หมายถึง มีผลการปฏิบัติอยใู่ นระดบั กำลงั พัฒนา มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผูเ้ รียน ๑.๑ผลสัมฤทธทิ์ างวิชาการของผเู้ รยี น ตวั บง่ ช้ี ระดบั คณุ ภาพตัวบ่งช้/ี ๑) มีความสามารถในการอา่ นการเขียนการสอ่ื สารและการคิดคำนวณ มาตรฐาน ๕๔๓๒๑ ๒) มีความสามารถในการคดิ วเิ คราะหค์ ิดอย่างมีวจิ ารณญาณอภปิ รายแลกเปลี่ยน ความคดิ เหน็ และแกป้ ัญหา ๓) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ๔) มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร ๕) ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา ๖) มคี วามรู้ทกั ษะพืน้ ฐานและเจตคติทด่ี ตี ่องานอาชีพ 12 9 สรปุ ผลการประเมินมาตรฐานท่ี ๑.๑ 3.50 คะแนนเฉลยี่
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผเู้ รียน 13 ๑.๒คณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ของผ้เู รยี น ระดบั คณุ ภาพตัวบง่ ช/้ี ตัวบง่ ชี้ มาตรฐาน ๑) การมคี ณุ ลักษณะและค่านิยมท่ดี ีตามท่ีสถานศึกษากำหนด ๕๔๓๒๑ ๒) ความภูมิใจในท้องถ่ินและความเปน็ ไทย ๓) การยอมรับที่จะอยู่รว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย ๔) สุขภาวะทางรา่ งกายและจิตสงั คม สรปุ ผลการประเมนิ มาตรฐานที่ ๑.๒ คะแนนเฉลีย่ 10 8 ๕.๐ มาตรฐานที่ ๓กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั ระดับคณุ ภาพตวั บง่ ชี้/ มาตรฐาน ตวั บ่งชี้ ๕๔๓๒๑ ๑) จดั การเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ัติจริงและสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ ในชีวติ ได้ ๒) ใช้สอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ท่ีเอ้อื ต่อการเรยี นรู้ ๓) มกี ารบรหิ ารจัดการช้นั เรยี นเชิงบวก ๔) ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอยา่ งเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผเู้ รียน ๕) มกี ารแลกเปล่ียนเรียนรู้และใหข้ ้อมูลสะทอ้ นกลับเพื่อพฒั นาและปรบั ปรงุ การ จัดการเรยี นรู้ สรุปผลการประเมนิ มาตรฐานที่ ๓ 20 คะแนนเฉลย่ี 4.00
กิจกรรม/โครงการ/หลักฐานรอ่ งรอยที่ดำเนินการ 14 แผนการจัดการเรยี นรขู้ องครูประจำชัน้ ปีการศึกษา ๒๕๖4 บนั ทกึ การตรวจงานครผู สู้ อน ผลการดำเนนิ งาน แบบสรปุ ผลการประเมินคุณภาพผเู้ รยี น ปีการศึกษา ๒๕๖4 จดุ เดน่ แผนการจัดการเรยี นรูข้ องครปู ระจำชน้ั ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4 - ครดู ำเนินการจดั การเรียนรโู้ ดยเน้นผู้เรยี น เป็นสำคญั อยา่ งต่อเนอื่ งตามศกั ยภาพของผูเ้ รียน แต่ละบุคคล เสนอแนะผูเ้ รยี นผ่านการตรวจงาน เพ่ือใหผ้ ูเ้ รยี นไดน้ ำข้อเสนอแนะไปปรบั ปรุง พฒั นาตนเองใหด้ ีข้ึนเป็นประจำ จดุ ควรพฒั นา - ครูจดั การเรียนการสอนทเี่ นน้ ความแตกต่าง ระหวา่ งบคุ คลทม่ี ปี ระสิทธิภาพมากกว่าเดิม โดย ศกึ ษาหาวธิ ีการ ทฤษฎี หลกั การจดั การเรียนรู้ ท่ีสอดคล้องกบั การแก้ปญั หา เพือ่ นำมาจัดทำ แผนการจดั การเรยี นรู้ ตลอดจนนำมาพัฒนา ผู้เรยี นใหเ้ กิดประสิทธิภาพ ๕.๗ ผลการประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน คำช้ีแจง 1. ศึกษาเกณฑ์การประเมนิ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนจากหลักสตู รสถานศกึ ษา ๒. ทำเคร่อื งหมาย ลงในช่องระดบั คณุ ภาพ ๓. ระดับคุณภาพ 4 หมายถงึ มผี ลการประเมินยใู่ นระดบั ดเี ยีย่ ม 3 หมายถงึ มผี ลการประเมินยใู่ นระดบั ดี 2 หมายถึง มผี ลการประเมินยูใ่ นระดับผา่ นเกณฑ์ 1 หมายถงึ มผี ลการประเมินอยูใ่ นไม่ระดับผา่ นเกณฑ์ ๔. กำหนดเกณฑใ์ นการแปลค่าของคะแนนดังน้ี ๓.๕๐ - ๔.๐๐ หมายถึง ได้รบั การประเมินในระดบั ดเี ยี่ยม ๒.๕๐ – ๓.๔๙ หมายถึง ได้รบั การประเมินในระดบั ดี ๑.๕๐ – ๒.๔๙ หมายถึง ได้รบั การประเมนิ ในระดับผ่านเกณฑ์ ตำ่ กวา่ ๑.๔๙ หมายถงึ ได้รับการประเมนิ ในระดบั ไม่ผา่ นเกณฑ์
15 สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น ชั้น ดเี ยี่ยม ดี ผา่ น 1 32 ๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี สรปุ ผลการประเมิน 15 คะแนนเฉลย่ี 3.00 ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน พบวา่ นักเรียนอยู่ในระดบั ดเี ย่ียม ๕.๘ผลการประเมินการอา่ นคิด วเิ คราะห์และเขยี นของผู้เรียน คำช้ีแจง 1. ศึกษาเกณฑ์การประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะหแ์ ละเขยี นของผู้เรียนจากหลกั สตู รสถานศกึ ษา ๒. ทำเคร่ืองหมาย ลงในช่องระดบั คณุ ภาพ ๓. ระดบั คุณภาพ 3 หมายถงึ มผี ลการประเมนิ ยใู่ นระดบั ดีเยีย่ ม 2 หมายถงึ มผี ลการประเมนิ ยู่ในระดับดี 1 หมายถงึ มผี ลการประเมินยูใ่ นระดบั ผ่านเกณฑ์ ๔. กำหนดเกณฑใ์ นการแปลค่าของคะแนนดังน้ี ๓.๕๐ - ๔.๐๐ หมายถึง ไดร้ ับการประเมินในระดบั ดีเย่ียม ๒.๕๐ – ๓.๔๙ หมายถงึ ได้รับการประเมนิ ในระดับดี ๑.๕๐ – ๒.๔๙ หมายถงึ ไดร้ บั การประเมินในระดับผา่ นเกณฑ์ ต่ำกวา่ ๑.๔๙ หมายถึง ไดร้ ับการประเมนิ ในระดบั ไมผ่ ่านเกณฑ์ ท่ี ชือ่ วิชาท่ีสอน การอ่าน คิดวิเคราะห์ เขียนของผเู้ รยี น ดีเยย่ี ม ดี ผ่าน ภาคเรียนท่ี 2 ๑ ชีววิทยา2 3 21 ๒ ชวี วิทยา4 ๓ ชวี วิทยา6 20 1 14 สรุปผลการประเมิน 25 60 ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน - ภาคเรยี นท่ี 2 พบวา่ นกั เรียนอยู่ในระดบั ระดับดี จำนวน 60 คน
16 ๕.๙ ผลการประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คำช้ีแจง 1. ศกึ ษาเกณฑ์การประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงคข์ องผเู้ รียนจากหลกั สตู รสถานศึกษา ๒. ทำเคร่ืองหมาย ลงในชอ่ งระดบั คณุ ภาพ ๓. ระดบั คุณภาพ 3หมายถงึ มีผลการประเมินยใู่ นระดับดเี ย่ียม 2หมายถงึ มีผลการประเมินยูใ่ นระดบั ดี 1หมายถึง มีผลการประเมินยู่ในระดับผ่านเกณฑ์ ๔. กำหนดเกณฑ์ในการแปลค่าของคะแนนดังน้ี ๓.๕๐ - ๔.๐๐ หมายถึง ได้รับการประเมินในระดบั ดเี ยี่ยม ๒.๕๐ – ๓.๔๙ หมายถงึ ไดร้ ับการประเมินในระดับดี ๑.๕๐ – ๒.๔๙ หมายถงึ ได้รบั การประเมินในระดบั ผา่ นเกณฑ์ ตำ่ กว่า ๑.๔๙ หมายถงึ ไดร้ บั การประเมนิ ในระดบั ไมผ่ า่ นเกณฑ์ การประเมนิ ท่ี ชอ่ื วชิ าทสี่ อน คุณลักษณะอันพึงประสงคข์ องผู้เรียน ดีเย่ียม ดี ผ่าน 32 1 ภาคเรยี นที่ 2 21 ๑ ชีววทิ ยา2 14 ๒ ชีววิทยา4 25 ๓ ชวี วิทยา6 60 สรุปผลการประเมนิ ผลการประเมนิ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน - ภาคเรียนท่ี 2 พบวา่ นกั เรียนอยใู่ นระดบั ระดับดี จำนวน 60 คน ๖. กิจกรรม/ผลงาน/ช้ินงานเดน่ ทีม่ คี วามภาคภูมใิ จและประทับใจใน ปกี ารศึกษา ๒๕๖4 ข้าพเจ้ามี ความภาคภูมิใจในผลงาน ดงั นี้ ชอื่ รางวัล/ผลงานท่ีได้รับ - หน่วยงานทจี่ ดั - วันท่ีจัดงาน - รางวัลทไี่ ด้รับ - ๗. ความรสู้ ึก หรอื คณุ ค่าทไี่ ดร้ บั จากการปฏบิ ตั ิหนา้ ท่เี ปน็ ครตู ่อนักเรียน มดี งั น้ี - มีความรูส้ ึกว่าประทบั ใจในตัวของนกั เรยี นท่พี ฒั นาตนเองอย่างต่อเนือ่ ง และมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตลอดจนคุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ รูส้ ึกวา่ พรอ้ มท่ีจะให้ความร้ขู องนักเรยี นตลอดเวลา โดยเฉพาะทักษะการดำรงชวี ติ ท่ีนกั เรียนจะสามารถนำไปปฏบิ ตั จิ นกลายเปน็ นสิ ัยที่ดีติดตัวไป
17 ๘. ความรใู้ หมท่ ี่คน้ พบจากการปฏิบัติการสอน ๘.๑ วธิ กี ารสอนสำหรับนักเรยี นชนเผ่า คือ การสอนนกั เรียนชนเผ่าไม่สามารถนำเอาวิธีการสอน ในรูปแบบใหมม่ าไดท้ ั้งหมด เนื่องจากนักเรียนไม่พร้อมที่จะเรียนรู้ด้วยตนเอง บางคนขาดทักษะการอ่าน และการเขียน จึงทำให้การสอนรูปแบบใหม่ที่เนน้ ให้ผู้เรียนเรียนเองไม่ประสบผลสำเร็จ จึงต้องใช้วิธีสอน รูปแบบเกา่ มาใช้ เชน่ การสอนแบบปฏบิ ตั ิเปน็ ตน้ อีกท้ังการจัดการเรียนการสอนครูควรใช้ส่อื วดี ีโอประกอบ เพื่อใหเ้ กิดความเขา้ ใจง่ายและดึงดูดความสนใจของผเู้ รียน ๘.๒ การสอนทักษะการดำเนนิ ชวี ิต พบวา่ นักเรยี นสว่ นมากมักจะสะท้อนตัวเองจากการปฏิบัติตัว ของครดู ้านทกั ษะการดำรงชีวิต เชน่ ความตรงตอ่ เวลา มีระเบยี บวินยั การปฏิบตั ติ นต่าง ดังนั้นครูต้อง ปฏบิ ตั ติ นให้ดเี สมอ เพราะจะเป็นแบบอย่างท่ดี แี กน่ กั เรยี น ๘.๓ ปจั จยั ท่ีทำให้ประสบผลสำเรจ็ ในการปฏบิ ัตหิ น้าทีค่ ือ - การมีแบบอย่างทีด่ ใี นการทำงาน และเป็นผู้ให้คำแนะนำที่ดี - การมตี ัวอย่างจากงานเกา่ เพอ่ื ใชใ้ นการศึกษา - การฝกึ อบรมเร่อื งทตี่ ้องการศึกษาอยา่ งต่อเนอ่ื ง - การประชุมวางแผนการทำงานทุกครง้ั และสรุปงานร่วมกนั ๙. ปัญหาและอปุ สรรค และขอ้ เสนอแนะ สง่ิ ทตี่ ้องแก้ไข(ปัญหา) คอื - พัฒนาการอ่าน การเขียนของนักเรียนใหม้ ีประสทิ ธภิ าพมากยิง่ ข้ึน สง่ิ ที่ต้องการพัฒนาต่อไป คือ - พฒั นาแผนการจัดการเรียนรู้ให้ใชไ้ ดจ้ ริง และเหมาะสมกบั นักเรียน - พฒั นาสื่อการสอนใหท้ นั สมยั และตรงตามความต้องการของนกั เรียน - ฝกึ ฝนทกั ษะการปฏบิ ตั ใิ หน้ ักเรยี นสามารถพัฒนาฝมี อื ใหด้ ียง่ิ ขน้ึ - บรู ณาการการเรียนการสอนใหส้ อดคลอ้ งตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ลงชื่อ ....................................................... ผู้รายงาน (นางสาวสดุ าภรณ์ สืบบญุ เป่ยี ม) ตำแหน่งครูผู้ชว่ ย วันที่...............เดือน....................พ.ศ......................... ความเหน็ ผบู้ งั คับบัญชา .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ............................................................. (นายชยุต ข่าขนั มะลี) ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 22 วนั ที่ .....................เดอื น....................พ.ศ.........................
ภาคผนวก - เอกสารประกอบรายงานการอบรมฯ/เกยี รตบิ ตั ร - คำสั่ง/หนงั สือสงั่ การ - ภาพจดั กจิ กรรมการเรยี น
เอกสารประกอบรายงานการอบรมฯ /เกียรติบตั ร
คำสั่ง/หนังสอื สั่งการ
ภาพจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนรายวิชาชวี วิทยา5
ภาพจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนรายวิชาชวี วิทยา6
ภาพจัดกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น ลกู เสือ-เนตรนารี
พธิ มี อบเกยี รตบิ ัตรและวุฒิบัตรผสู้ ำเร็จการศึกษาช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ และมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔
กจิ กรรมอบรมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม หน้าเสาธง รว่ มกิจกรรมกับชมุ ชน
อบรมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม นกั เรยี นหอนอนหญงิ 6
Search
Read the Text Version
- 1 - 35
Pages: