Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบหล่อลื่นเครื่องยนต์

ระบบหล่อลื่นเครื่องยนต์

Published by บัญชา สถาปิตานนท์, 2019-05-06 23:50:04

Description: ระบบหล่อลื่นเครื่องยนต์

Keywords: ระบบหล่อลื่นเครื่องยนต์

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ างานเคร่อื งยนตแ์ กส๊ โซลนี (2101-2001) เร่อื ง ความปลอดภยั ในการทางาน ผูเ้ รยี บเรยี ง นายอาหามะ ดือเระ๊ ครู วทิ ยฐานะครูชานาญการ วทิ ยาลยั สารพดั ช่างยะลา สงั กดั สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทวงศึกษาธกิ าร

ก คานา การปฏิบตั ิงานเก่ียวกบั เคร่ืองยนตก์ ลไก ผูป้ ฏิบตั ิงานจะตอ้ งมคี วามตงั้ ใจในการปฏิบตั ิ โดยเฉพาะ อย่างย่ิงงานอุตสาหกรรมท่ีใชพ้ ลงั งานไฟฟ้ าเป็นตน้ กาเนิด ของเคร่ืองจกั รกลในระบบการผลิตเพ่ือการ ขบั เคลอ่ื นอปุ กรณ์จกั รกลต่าง ๆ หากผูป้ ฏบิ ตั งิ านขาดความระมดั ระวงั อาจไดร้ บั บาดเจ็บหรืออนั ตรายถงึ ชีวติ ได้ เหตุเหล่าน้ีเกดิ ข้นึ ไดต้ ลอดเวลา ถา้ ไม่มมี าตรการการป้องกนั ท่ดี ี และขาดความตระหนกั ในเร่อื งของความ ปลอดภยั เอกสารประกอบการเรียน เร่ือง ความปลอดภยั ในการทางาน ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของรายวิชา งาน เคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน (2101-2001) และเป็นวิธีหน่ึงในการสอนโดยเอกสารเล่มน้ีผูเ้ รียนสามารถใช้ ประกอบการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง และผูเ้ รียนสามารถประเมนิ ผลการพฒั นาความกา้ วหนา้ ของตนเองได้ โดย เอกสารเลม่ น้ีประกอบดว้ ย จดุ ประสงค์ เน้ือหา ใบงาน และแบบทดสอบก่อนเรยี น-หลงั เรยี น พรอ้ มเฉลย เอกสารประกอบการเรียนเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อผูเ้ รียน ผูส้ อน ไดใ้ ชเ้ ป็นแนวทางในการจดั การ เรยี นการสอนตามหลกั ในการจดั การอาชวี ศึกษา หากมขี อ้ เสนอแนะประการใด ผูเ้รยี บเรยี งยนิ ดนี อ้ มรบั ไวด้ ว้ ย ความขอบคุณยง่ิ อาหามะ ดอื เระ๊ ผูเ้รยี บเรียง

ข หนา้ สารบญั ก ง เร่อื ง จ 1 คานา คาช้แี จง 4 จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 6 แบบทดสอบก่อนเรยี น 8 ความปลอดภยั ในการทางาน 9 10 - ความสาคญั ของความปลอดภยั 12 - ความปลอดภยั ในโรงงานช่างยนต์ 14 - นโยบายดา้ นความปลอดภยั 16 - กฎหมายเกย่ี วกบั ความปลอดภยั ในโรงงาน - หน่วยงานท่รี บั ผดิ ชอบเก่ยี วกบั ความปลอดภยั ใบงาน แบบทดสอบหลงั เรียน แหลง่ คน้ ควา้ ภาคผนวก - เฉลยแบบทดสอบก่อน - เฉลยใบงาน - เฉลยหลงั เรียน

ค หนา้ สารบญั ภาพ 4 6 ภาพท่ี 7 7 1 สญั ลกั ษณค์ วามปลอดภยั 8 2 ความปลอดภยั เกย่ี วกบั งานช่างยนต์ 8 3 ความปลอดภยั เกย่ี วกบั การใชไ้ ฟฟ้า 9 4 ความปลอดภยั เกย่ี วกบั นา้ มนั เช้อื เพลงิ 5 อปุ กรณเ์ ก่ยี วกบั การแต่งกายในการปฏบิ ตั งิ าน 6 อปุ กรณป์ ้องกนั อนั ตรายในการทางาน 7 ตวั อย่างป้ายเตอื นความปลอดภยั

ง คาช้ีแจงสาหรบั ผูเ้ รยี น ในการใชเ้ อกสารประกอบการเรยี น เอกสารประกอบการเรยี น เรอ่ื ง ความปลอดภยั ในการทางาน จดั ทาข้นึ เพ่อื ส่งเสรมิ การจดั การเรยี นรู้ ท่ีเนน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคัญ ซ่ึงผูเ้ รียนสามารถเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง และยงั สามารถประเมินผลการพฒั นา ความกา้ วหนา้ ของตนเองไดอ้ กี ดว้ ย เอกสารเลม่ น้ีผูเ้รยี บเรยี งไดจ้ ดั แบง่ เน้ือหาตามลาดบั ดงั น้ี 1. ความสาคญั ของความปลอดภยั 2. ความปลอดภยั ในโรงงานช่างยนต์ 3. นโยบายดา้ นความปลอดภยั 4. กฎหมายเก่ยี วกบั ความปลอดภยั ในโรงงาน 5. หน่วยงานทร่ี บั ผดิ ชอบเก่ยี วกบั ความปลอดภยั เพอ่ื ใหบ้ รรลจุ ดุ ประสงคใ์ นการจดั การเรยี นการสอน ผูเ้รยี นสามารถเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง โดยการ ปฏบิ ตั ิตามคาแนะนา ดงั น้ี 1. ผูเ้รยี นตอ้ งศึกษาเอกสารประกอบการเรยี นดว้ ยตนเอง ถา้ มปี ญั หาใหป้ รกึ ษาครูผูส้ อน 2. ผูเ้ รียนตอ้ งมีความซ่อื สตั ย์ ไม่ดูเฉลยก่อนตอบแบบทดสอบหรือก่อนตอบใบงาน โดยใหเ้ ขยี น คาตอบในกระดาษอ่นื ไมข่ ดี เขยี นขอ้ ความใด ๆ ลงในเอกสารประกอบการเรยี น 3. ผูเ้รยี นตอ้ งศึกษาจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรูใ้ หเ้ขา้ ใจก่อนเรยี นรูเ้น้ือหา 4. ผูเ้ รียนตอบแบบทดสอบก่อนการใชเ้ อกสารประกอบการเรียน และตรวจคาตอบ จากเฉลยใน ภาคผนวก พรอ้ มทงั้ บนั ทกึ คะแนน 5. ผูเ้ รียนศึกษาเน้ือหา เม่ือจบเน้ือหาแลว้ ใหฝ้ ึกทาใบงานทุกขอ้ และตรวจคาตอบจากเฉลยใน ภาคผนวก พรอ้ มทง้ั บนั ทกึ คะแนน 6. เมอ่ื ศึกษาเน้ือหาและทาใบงานครบแลว้ ใหต้ อบแบบทดสอบหลงั การใชเ้อกสารประกอบการเรยี น และตรวจคาตอบจากเฉลยในภาคผนวก พรอ้ มทง้ั บนั ทึกคะแนน นาผลคะแนนท่ีได้ ไปเปรียบเทียบกบั คะแนนแบบทดสอบก่อนการใชเ้อกสารประกอบการเรยี น เพอ่ื ประเมนิ ผล ดว้ ยตนเอง

จ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. บอกความหมายของความปลอดภยั ได้ 2. บอกประโยชนจ์ ากการทางานอย่างปลอดภยั ได้ 3. บอกสาเหตขุ องการเกดิ อบุ ตั เิ หตไุ ด้ 4. บอกความปลอดภยั เก่ยี วกบั งานช่างยนตไ์ ด้ 5. บอกความปลอดภยั เก่ยี วกบั การใชไ้ ฟฟ้าในโรงงานได้ 6. บอกความปลอดภยั เก่ยี วกบั การใชเ้ช้อื เพลงิ ได้ 7. บอกนโยบายดา้ นความปลอดภยั ได้ 8. บอกกฎหมายเก่ยี วกบั ความปลอดภยั ในโรงงานได้ 9. บอกหน่วยงานทร่ี บั ผดิ ชอบเกย่ี วกบั เรอ่ื งความปลอดภยั ได้

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น คาแนะนา 1) จงทาเคร่อื งหมายกากบาท (× ) ทบั หวั ขอ้ ท่ถี กู ทส่ี ุดเพยี งขอ้ เดยี ว ลงในกระดาษคาตอบทแ่ี จกให้ 2) ขอ้ สอบจานวน 10 ขอ้ ใชเ้วลาสอบ 10 นาที คะแนนเตม็ 10 คะแนน 1. ความปลอดภยั มีความสาคญั อยา่ งไร ก. ช่วยใหเ้กดิ ความสุข ข. ช่วยใหม้ ขี วญั กาลงั ใจ ค. ช่วยใหม้ คี วามเป็นอยู่ทด่ี ี ง. ทาใหม้ เี พอ่ื นร่วมงานเพม่ิ ข้นึ 2. ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ี ไม่เกย่ี วขอ้ ง กบั ประโยชน์ทไ่ี ดจ้ ากการทางานอย่างปลอดภยั ก. เพม่ิ กาไร ข. การลงทนุ ค. เพม่ิ ผลผลติ ง. เกดิ แรงจูงใจ 3. ประโยชน์ทม่ี ีคา่ สูงสุด จากการทางานอย่างปลอดภยั คอื ก. เพม่ิ ผลผลติ ข. ลดค่าชดเชยใด ๆ ค. เกดิ กาไรเพม่ิ ข้นึ ง. ไมส่ ูญเสยี บคุ คลสาคญั 4. ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ี ไม่เป็นสาเหตุ การเกดิ อบุ ตั เิ หตใุ นการทางาน ก. ร่างกายไมพ่ รอ้ ม ข. เสยี งดงั มากเกนิ ไป ค. ทางานไมถ่ กู ขนั้ ตอน ง. ใชเ้ครอ่ื งมอื ไมเ่ หมาะสม 5. ผา้ เช็ดมอื ประจาตวั ในการเรยี นปฏบิ ตั ิ ช่วยเรอ่ื งความปลอดภยั ไดอ้ ย่างไร ก. ผูเ้รยี นไมถ่ กู ลงโทษ ข. ผา้ ป้องกนั คมของช้นิ งาน ค. เชด็ พ้นื ไดท้ นั ทที น่ี า้ มนั หก ง. มอื สะอาดจบั ช้นิ งานไดม้ นั่ คง

2 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (ต่อ) 6. ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ ดเป็นการช่วยเหลอื อคั คภี ยั จากเช้ือเพลงิ ได้ ก. สูบบหุ ร่ใี นท่ี ๆ กาหนด ข. เกบ็ เช้อื เพลงิ ห่างประกายไฟ ค. ใชท้ รายดบั ไฟทเ่ี กดิ จากนา้ มนั ง. เกบ็ สารไวไฟไวใ้ นทอ่ี ากาศถ่ายเทไดด้ ี 7. เม่อื เหน็ เพอ่ื นร่วมงานประสบอบุ ตั เิ หตุเก่ยี วกบั ไฟฟ้ า ควรทาอยา่ งไร ก. รบี ตดั สวติ ชไ์ ฟ ข. รบี กระทาใหล้ ม้ ค. รบี บอกครูผูส้ อน ง. แจง้ เตอื นคนอน่ื ช่วย 8. ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ี เป็นนโยบายความปลอดภยั ดา้ นวนิ ยั ท่ชี ่วยใหป้ ลอดภยั สูงสุด ก. หา้ มหยอกลอ้ เลน่ กนั ข. หา้ มสวมเส้อื แขนสน้ั ทางาน ค. หา้ มใชเ้ครอ่ื งจกั รก่อนไดร้ บั การอนุญาต ง. หา้ มถอดอปุ กรณ์ป้องกนั อนั ตรายของเครอ่ื งจกั ร 9. ปจั จุบนั ไดบ้ งั คบั ใชพ้ ระราชบญั ญตั โิ รงงานปี พ.ศ. ใด ก. พ.ศ. 2535 ข. พ.ศ. 2522 ค. พ.ศ. 2512 ง. พ.ศ. 2510 10. ถา้ เปิดศนู ยบ์ รกิ ารรถยนต์ จะตอ้ งใหห้ น่วยงานใดตรวจสอบเพอ่ื ออกใบอนุญาต ก. กรมอนามยั ข. สวสั ดกิ ารสงั คม ค. กรมทรพั ยากรธรณี ง. อตุ สาหกรรมจงั หวดั รายวชิ างานเคร่อื งยนตแ์ กส๊ โซลนี (2101-2001) เร่อื ง ความปลอดภยั ในการทางาน

ผงั มโนทศั น์ หน่วยท่ี 1 1. ความสาคญั ของความปลอดภยั 2. ความปลอดภยั ในโรงงานช่างยนต์ ความปลอดภยั ในการทางาน 5. หน่วยงานทร่ี บั ผิดชอบเกย่ี วกบั เรอ่ื งความปลอดภยั 3. นโยบายดา้ นความปลอดภยั 4. กฎหมายเกย่ี วกบั ความปลอดภยั ในโรงงาน

4 ความปลอดภยั ในการทางาน การปฏบิ ตั ิงานเก่ียวกบั เคร่ืองยนตก์ ลไก ผูป้ ฏิบตั ิงานจะตอ้ งมคี วามตงั้ ใจในการปฏบิ ตั ิ โดยเฉพาะ อย่างย่ิงงานอุตสาหกรรมท่ีใชพ้ ลงั งานไฟฟ้ าเป็นตน้ กาเนิด ของเคร่ืองจกั รกลในระบบการผลิตเพ่ือการ ขบั เคลอ่ื นอปุ กรณ์จกั รกลต่าง ๆ หากผูป้ ฏบิ ตั ิงานขาดความระมดั ระวงั อาจไดร้ บั บาดเจบ็ หรอื อนั ตรายถงึ ชวี ติ ได้ เหตุเหล่าน้ีเกดิ ข้นึ ไดต้ ลอดเวลา ถา้ ไมม่ มี าตรการการป้องกนั ท่ีดี และขาดความตระหนกั ในเร่อื งของความ ปลอดภยั 1. ความสาคญั ของความปลอดภยั 1.1 ความปลอดภยั หมายถึง การปฏิบตั ิงานหรือการกระทาใด ๆ ท่ีปราศจากการเกิดอุบตั ิเหตุ อนั ตราย ไมเ่ กดิ ความเสยี หายต่อองคป์ ระกอบของระบบการทางาน ตลอดระยะเวลาการปฏบิ ตั งิ าน ซ่งึ ช่วยให้ การดาเนินกิจการนนั้ ไปในทางบวก เพ่ิมการพฒั นาและเจริญกา้ วหนา้ ข้นึ ทาใหเ้ ศรษฐกิจขยายตวั ยกระดบั รายได้ ตลอดถงึ ความเป็นอยู่ของผูค้ นในถน่ิ นนั้ ดขี ้นึ ดงั ภาพท่ี 1 ภาพท่ี 1 สญั ลกั ษณค์ วามปลอดภยั ทม่ี า : http://www.focussafetyproduct.com/safety%20sign/safety%20sign.html 1.2 ประโยชนท์ ไ่ี ดจ้ ากการปฏบิ ตั งิ านอยา่ งปลอดภยั ของระบบการทางาน มดี งั น้ี 1.2.1 ผลผลติ เพม่ิ ข้นึ เมอ่ื ความปลอดภยั จากเครอ่ื งมอื เคร่อื งจกั รมเี พยี งพอ ทาใหค้ นงานมี ความมนั่ ใจมขี วญั และกาลงั ใจในการทางาน สามารถทางานไดอ้ ย่างเตม็ ท่ี ลดความหวาดกลวั หรอื วติ กกงั วล ลง ผลผลติ โดยรวมของกจิ การกเ็ พม่ิ ข้นึ 1.2.2 ตน้ ทุนการผลติ ตา่ เมอ่ื ทกุ อยา่ งเกดิ ความปลอดภยั ค่าใชจ้ ่ายในการชดเชยการเกิด อบุ ตั เิ หตุ ค่ารกั ษาพยาบาล เงนิ ค่ากองทนุ ทดแทน และค่าซอ่ มแซมเครอ่ื งมอื เครอ่ื งจกั รไม่ตอ้ งจ่าย เหลา่ น้ี เป็นตน้ ทนุ การผลติ ทงั้ หมด 1.2.3 เกดิ แรงจูงใจในการทางาน ความปลอดภยั ในชวี ติ เป็นความตอ้ งการพ้นื ฐานของมนุษย์ การจดั การโรงงานท่ปี ลอดภยั จงึ เป็นส่วนหน่ึงของการบริหารงานทม่ี คี ุณภาพ เป็นการจงู ใจใหค้ นงานอยาก ทางานมากข้นึ 1.2.4 ช่วยสงวนทรพั ยากรมนุษย์ เมอ่ื เกดิ อบุ ตั เิ หตุ มกั ก่อใหเ้กดิ การสูญเสยี ต่อชวี ติ และ ทรพั ยส์ นิ ถา้ การสูญเสยี เป็นบคุ คลทม่ี คี วามรูค้ วามชานาญในระบบการทางาน ถอื วา่ ทรพั ยากรทส่ี าคญั จงึ เป็น สง่ิ ทห่ี นา้ เสยี ดายอยา่ งยง่ิ รายวชิ างานเครอ่ื งยนตแ์ กส๊ โซลนี (2101-2001) เร่อื ง ความปลอดภยั ในการทางาน

5 1.2.5 ช่วยใหม้ กี าไรเพม่ิ ข้นึ การทางานท่ปี ลอดภยั ทาใหผ้ ลผลติ เพม่ิ ข้นึ ขณะท่ตี น้ ทนุ ลดลง 1.3 สาเหตุของการเกดิ อบุ ตั เิ หตุ อบุ ตั เิ หตุ (accident) หมายถงึ เหตุการณท์ ่เี กดิ ข้นึ โดยไมค่ าดการณไ์ ด้ และก่อใหเ้กดิ ความ เสยี หายต่อร่างกาย ชวี ติ และทรพั ยส์ นิ สาเหตขุ องการเกดิ อบุ ตั เิ หตมุ ี 3 ประการคือ 1.3.1 สาเหตเุ กดิ จากคน (Human) เน่ืองจากคนเป็นผูใ้ ชเ้คร่อื งมอื เคร่อื งจกั ร ในการปฏบิ ตั งิ าน มมี ากกวา่ 88 % เป็นเพราะสาเหตดุ งั น้ี 1) ประมาทขาดความระมดั ระวงั ในการทางาน 2) การทางานไมถ่ กู วธิ หี รอื ไมถ่ ูกขนั้ ตอน 3) ไมเ่ อาใจใสใ่ นการทางานเท่าท่คี วร 4) รูเ้ท่าไมถ่ งึ การณ์ ขาดความรอบคอบ 5) ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั งิ าน 6) ไมใ่ ชอ้ ปุ กรณป์ ้องกนั อนั ตรายทก่ี าหนดให้ 7) ถอดเคร่อื งป้องกนั อนั ตรายของเคร่อื งจกั รออกเน่ืองจากความราคาญทางานไมส่ ะดวก หรอื ซอ่ มแซมแลว้ ไม่ประกอบคืน 8) ใชเ้ครอ่ื งมอื เคร่อื งจกั รไม่เหมาะสมกบั งาน 9) ปฏบิ ตั งิ านขณะร่างกายไมพ่ รอ้ มหรอื ผดิ ปกติ 10) หยอกลอ้ กนั ในระหวา่ งการปฏบิ ตั งิ าน 1.3.2 สาเหตุเกิดจากเคร่ืองมือเคร่ืองจกั ร (Mechanical) รวมถึงการวางแผนโรงงานไม่เหมาะสม สภาพแวดลอ้ มไมป่ ลอดภยั พบประมาณ 10% เป็นเพราะ 1) การวางแผนโรงงานไมถ่ กู ตอ้ ง ใชเ้คร่อื งมอื เครอ่ื งจกั รไมถ่ กู หลกั เกณฑ์ 2) เครอ่ื งมอื เครอ่ื งจกั รไมม่ อี ปุ กรณป์ ้องกนั อนั ตราย 3) เคร่อื งมอื เครอ่ื งจกั รชารุดบกพร่อง ขาดการซอ่ มแซมหรอื ขาดการบารุงรกั ษา 4) ความไมเ่ ป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ยในการจดั เก็บวสั ดุสง่ิ ของ 5) ระบบไฟฟ้ าหรืออุปกรณ์ไฟฟ้ าชารุดบกพร่อง นอกจากน้ีสภาพแวดลอ้ มของการ ปฏบิ ตั งิ านไมถ่ กู ลกั ษณะ ซง่ึ ไมป่ ลอดภยั 6) แสงสว่างไมเ่ พยี งพอต่อการปฏบิ ตั งิ าน 7) เสยี งดงั เกนิ กว่า 85 เดซเิ บลข้นึ ไปจะทาใหป้ ระสาทหูเสยี ได้ 8) อณุ หภมู สิ ูงเกนิ ไป เป็นเหตใุ หส้ ภาพร่างกายทางานผดิ ปกติ 9) การระบายอากาศทด่ี ชี ่วยลดฝุ่นละอองท่เี กดิ ข้นึ ได้ 10) สจี ะมผี ลต่อสภาพจติ ใจทาใหอ้ ารมณเ์ บกิ บานหรอื ลดความเครยี ด 1.3.3 สาเหตุเกิดจากธรรมชาติ เป็นอุบตั ิเหตุท่ีเกิดข้ึนน้อยมาก เพียง 2% ของอุบตั ิเหตุ นอกเหนือทจ่ี ะควบคุมได้ เช่น นา้ ทว่ ม ลมพายุ ฟ้าผา่ แผน่ ดนิ ไหว เป็นตน้ รายวชิ างานเคร่อื งยนตแ์ กส๊ โซลนี (2101-2001) เร่อื ง ความปลอดภยั ในการทางาน

6 2. ความปลอดภยั ในโรงงานช่างยนต์ การปฏบิ ตั งิ านในโรงงานช่างยนตม์ ที งั้ การใชเ้คร่อื งมอื กล อปุ กรณไ์ ฟฟ้า วตั ถไุ วไฟ และพ้นื ท่ี ปฏบิ ตั งิ าน ทเ่ี ป้ือนสารหลอ่ ลน่ื ความปลอดภยั ข้นึ อยู่กบั 3 ดา้ นคอื 2.1 กฎระเบยี บเก่ยี วกบั การปฏบิ ตั งิ านช่างยนต์ มดี งั น้ี 2.1.1 แต่งกายถกู ตอ้ งตามระเบยี บของวทิ ยาลยั 2.1.2 ตอ้ งมผี า้ เชด็ มอื ประจาตวั 1 ผนื ทกุ ครง้ั ทเ่ี รียนภาคปฏบิ ตั ิ 2.1.3 หา้ มใชเ้คร่อื งมอื พเิ ศษโดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต หรอื ไมอ่ ยู่ในการดูแลของครูผูส้ อน 2.1.4 ในการใชเ้ครอ่ื งมอื กลทใ่ี ชพ้ ลงั งานไฟฟ้าจะตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามกฎความปลอดภยั ของการใช้ เครอ่ื งมอื กลนนั้ ๆ อยา่ งเคร่งครดั 2.1.5 ถา้ นา้ มนั หลอ่ ลน่ื จารบี นา้ หกลงบนพ้นื จะตอ้ งทาความสะอาดทนั ที 2.1.6 หา้ มวง่ิ เลน่ กนั ในบรเิ วณโรงงาน 2.1.7 ถอดขว้ั ดนิ แบตเตอร่ที ุกครงั้ ทม่ี กี ารบรกิ ารระบบไฟฟ้ารถยนต์ 2.1.8 ในการบริการใด ๆ ใตท้ อ้ งรถจะตอ้ งมขี าตงั้ รองรบั รถในตาแหน่งทแ่ี ขง็ แรง ภาพท่ี 2 ความปลอดภยั เกย่ี วกบั งานช่างยนต์ ทม่ี า : http://pantip.com/topic/32346163 http://pantip.com/topic/32346163) 2.1.9 ตอ้ งรูจ้ กั ตาแหน่งท่ีตดิ ตงั้ และวธิ ีการใชเ้ครอ่ื งดบั เพลงิ 2.1.10 หา้ มใชห้ วั เป่าลมเป่าเลน่ กนั 2.1.11 หา้ มตดิ เครอ่ื งยนตใ์ นบรเิ วณทอ่ี ากาศถา่ ยเทไมเ่ พยี งพอ 2.1.12 หลงั เลกิ เรยี นปฏบิ ตั ิ จะตอ้ งทาความสะอาดบรเิ วณปฏบิ ตั งิ านทุกครง้ั 2.2 กฎระเบยี บเก่ยี วกบั การใชอ้ ุปกรณไ์ ฟฟ้าในโรงงาน มตี ่อไปน้ี 2.2.1 ไมใ่ ชป้ ลกั๊ ไฟทช่ี ารุด 2.2.2 การเสยี บและดงึ ปลกั๊ ไฟใหจ้ บั ทต่ี วั ปลกั๊ เสยี บ 2.2.3 หา้ มวางหรอื เขน็ ของหนกั ทบั สายไฟฟ้า 2.2.4 ไมค่ วรพาดสายไฟผา่ นทเ่ี ปียกช้นื รายวชิ างานเคร่อื งยนตแ์ กส๊ โซลนี (2101-2001) เรอ่ื ง ความปลอดภยั ในการทางาน

7 2.2.5 ไม่ควรแตะตอ้ งอปุ กรณ์ไฟฟ้าทม่ี ปี ้ายเตอื นกาลงั ซอ่ ม 2.2.6 เมอ่ื เกดิ ไฟฟ้าลดั วงจร และเกดิ เพลงิ ไหมใ้ หป้ ิดสวติ ชไ์ ฟฟ้าก่อนทจ่ี ะใชน้ า้ ยาดบั เพลงิ 2.2.7 หา้ มใชอ้ ปุ กรณเ์ คร่อื งใชไ้ ฟฟ้าขณะมอื เปียกนา้ 2.2.8 เมอ่ื อปุ กรณเ์ ครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าเกดิ ความผดิ ปกตใิ หร้ บี ปิดสะพานไฟทนั ทแี ละแจง้ ผูร้ บั ผดิ ชอบ ทราบโดยด่วน 2.2.9 ตอ้ งรูจ้ กั ตาแหน่งท่ตี ดิ ตงั้ สะพานไฟ และวธิ ใี ช้ 2.2.10 เมอ่ื พบผูป้ ระสบอบุ ตั เิ หตเุ ก่ยี วกบั ไฟฟ้า หา้ มช่วยดว้ ยการถกู ตวั ภาพท่ี 3 ความปลอดภยั เก่ยี วกบั การใชไ้ ฟฟ้า ทม่ี า : http://news.mthai.com/flood/flood-tips/134272.html 2.3 กฎระเบยี บเก่ยี วกบั นา้ มนั เช้อื เพลงิ มตี ่อไปน้ี 2.3.1 เกบ็ เช้อื เพลงิ ไวใ้ นทป่ี ลอดภยั จากไฟ และไมท่ าใหเ้กดิ ประกายไฟบรเิ วณทเ่ี กบ็ นา้ มนั หรอื อ่างนา้ มนั ลา้ งช้นิ ส่วนเคร่อื งยนต์ 2.3.2 เกบ็ เช้อื เพลงิ ในทม่ี อี ากาศถา่ ยเทไดด้ ี 2.3.3 หา้ มใชป้ ากดูดนา้ มนั เช้ือเพลงิ 2.3.4 แอลกอฮอล์ และทนิ เนอรจ์ ดั เป็นเช้อื เพลงิ ชนิดหน่ึง 2.3.5 หลกี เลย่ี งการสูดดมไอระเหยของเช้อื เพลงิ ภาพท่ี 4 ความปลอดภยั เกย่ี วกบั นา้ มนั เช้อื เพลงิ ทม่ี า : http://www.pttplc.com/TH/Products-Services/Business/pages/industrial-fuel.aspx รายวชิ างานเคร่อื งยนตแ์ กส๊ โซลนี (2101-2001) เร่อื ง ความปลอดภยั ในการทางาน

8 3. นโยบายดา้ นความปลอดภยั นโยบายดา้ นความปลอดภยั (Safety Policy) เป็นขอ้ กาหนดท่ีฝ่ ายบริหารของสถานประกอบการ จะตอ้ งสรา้ งความรูค้ วามเขา้ ใจใหก้ บั ผูป้ ฏบิ ตั ิทกุ คนเกิดความตระหนกั ในเร่ืองของความปลอดภยั ตง้ั แต่การ ปลูกจิตสานึกจนถงึ ผลกระทบท่จี ะตามมาจากการเกิดอุบตั ิเหตตุ ่าง ๆ เช่นนโยบายดา้ นวนิ ยั และการติดป้าย เตอื นความปลอดภยั เป็นตน้ 3.1 ดา้ นวนิ ยั ผูป้ ฏบิ ตั จิ ะตอ้ งถอื ปฏบิ ตั ิ เพอ่ื ใหเ้กิดความเสย่ี งต่ออบุ ตั เิ หตนุ อ้ ยท่สี ุด 3.1.1 กฎระเบยี บเก่ยี วกบั การแต่งกายตอ้ งรดั กุมเหมาะสมกบั สภาพงาน ในสถานประกอบการ ภาพท่ี 5 อปุ กรณเ์ ก่ยี วกบั การแต่งกายในการปฏบิ ตั งิ าน ทม่ี า : http://muangluang.ngv.name/safety/http://muangluang.ngv.name/safety/ 3.1.2 ขอ้ บงั คบั เกย่ี วกบั การใชเ้ครอ่ื งมอื เพอ่ื ช่วยป้องกนั อนั ตรายทอ่ี าจเกดิ ข้นึ ตอ้ งมคี วามพรอ้ ม ใชง้ าน ภาพท่ี 6 อปุ กรณป์ ้องกนั อนั ตรายในการทางาน ท่มี า : http://jadedragonsupply.com/ http://jadedragonsupply.com/ รายวชิ างานเคร่อื งยนตแ์ กส๊ โซลนี (2101-2001) เร่อื ง ความปลอดภยั ในการทางาน

9 3.1.3 เก่ยี วการทางานตอ้ งฝึกการใชเ้ครอ่ื งมอื เพอ่ื ช่วยป้องกนั อนั ตรายใหเ้ป็นนิสยั และหลงั การใช้ เคร่อื งจกั รกล ตอ้ งตรวจสอบความเรยี บรอ้ ยทุกครงั้ 3.1.4 การปลูกจิตสานึก ใหม้ กี ารตดิ ป้ายเตอื นความปลอดภยั เป็นอปุ กรณช์ ่วยเตอื นสติ ผูป้ ฏบิ ตั งิ าน หรอื ผูเ้ก่ยี วขอ้ งรบั รู้ เพอ่ื ป้องกนั ความเสย่ี งต่ออุบตั ิเหตุ และระมดั ระวงั เป็นพเิ ศษ โปรดสวมแวน่ ตา โปรดแต่งกายรดั กมุ โปรดใส่รองเทา้ นิรภยั โปรดใส่ถงุ มอื โปรดสวมหมวกนิรภยั โปรดสวมท่คี รอบหู ภาพท่ี 7 ตวั อย่างป้ายเตอื นความปลอดภยั ทม่ี า : http://www.kgconsafe.com/Traffic_Equipment.php 4. กฎหมายเกย่ี วกบั ความปลอดภยั ในโรงงาน ประเทศไทยไดร้ ่วมเป็นสมาชกิ ก่อตง้ั องคก์ ารกรรมการระหวา่ งประเทศ (ILO = International La- bour Organization) ซง่ึ รฐั บาลไดด้ าเนินการเก่ยี วกบั การส่งเสรมิ ใหเ้กดิ ความปลอดภยั ในการทางาน และได้ จดั ตงั้ คณะกรรมการข้นึ พจิ ารณากฎหมายอตุ สาหกรรม เพอ่ื ควบคุมความปลอดภยั ของคนงาน หลงั จากปี พ.ศ. 2475 มกี ารต่นื ตวั เรอ่ื งแรงงาน และความปลอดภยั ในการทางานอตุ สาหกรรมอยา่ งมาก 4.1 การประกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2482 ซง่ึ กาหนดมาตรฐานของการทางานในโรงงาน อตุ สาหกรรมโดยเฉพาะอย่างยง่ิ เก่ยี วกบั ความปลอดภยั และสุขภาพอนามยั ของลูกจา้ ง พระราชบญั ญตั ฉิ บบั น้ี ไดก้ าหนดเงอ่ื นไขในการขอประกอบกิจการโรงงานการรกั ษา ความสะอาดความปลอดภยั ในสถานท่ที างาน ความปลอดภยั ในการติดตงั้ เคร่อื งจกั รอุปกรณ์ ตลอดจนระบบไฟฟ้า และยงั ใหเ้จา้ ของโรงงานตอ้ งทารายงาน การเกดิ อบุ ตั เิ หตขุ องโรงงานทกุ ครงั้ แจง้ ใหก้ ระทรวงอตุ สาหกรรมทราบดว้ ย 4.2 การประกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2512 โดยกระทรวงอุตสาหกรรม(กรมโรงงาน อุตสาหกรรม) เป็นผูบ้ งั คบั ใช้ ฉบบั แกไ้ ขเพ่มิ เตมิ ใน พ.ศ. 2518 (ฉบบั ท่ี 2) และฉบบั แกไ้ ขเพ่มิ เติมใน พ.ศ. 2522 (ฉบบั ท่ี 3) ไดบ้ ญั ญตั ิถงึ รายงานการเกิดอุบตั ิเหตุในโรงงานหนา้ ท่ขี องผูร้ บั ใบอนุญาตประกอบกิจการ รายวชิ างานเคร่อื งยนตแ์ กส๊ โซลนี (2101-2001) เร่อื ง ความปลอดภยั ในการทางาน

10 โรงงาน การป้ องกนั อุบตั ิเหตุอนั ตรายต่อคนงาน หลกั เกณฑแ์ ละมาตรฐานความปลอดภยั ในการทางาน เกย่ี วกบั เคร่อื งจกั รกลไฟฟ้า แสงสวา่ ง อาคาร สถานทท่ี างาน การระบายอากาศ การป้องกนั อคั คีภยั ตลอดจน การใหค้ นงานใชเ้ครอ่ื งป้องกนั อนั ตรายสว่ นบคุ คลชนิดต่าง ๆ 4.3 พระราชบญั ญตั ิท่ีใชบ้ งั คบั ในปจั จุบนั คือ พระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 ไดบ้ ญั ญตั ิเร่ือง การกากบั และดูแลโรงงาน 4.4 การประกาศใชก้ ฎหมายคุม้ ครองสุขภาพอนามยั ของลูกจา้ ง ความปลอดภยั ในการทางานของ ลูกจา้ ง ประกาศโดยกระทรวงมหาดไทย โดยอาศยั อานาจของประกาศคณะปฏิวตั ิ ฉบบั ท่ี 103 ลงวนั ท่ี 16 มนี าคม 2515 และประกาศกระทรวงมหาดไทย เร่ืองความปลอดภยั ในการทางานของลูกจา้ ง ซ่งึ กาหนดให้ สถานประกอบการบางประเภทตอ้ งมีเจา้ หนา้ ท่ีความปลอดภยั ในการทางาน และต่อมากรมแรงงาน กระทรวงมหาดไทย ระบวุ ่านายจา้ งทม่ี ลี ูกจา้ งมากกว่า 100 คน ข้นึ ไป จะตอ้ งมเี จา้ หนา้ ท่คี วามปลอดภยั โดย อาศยั อานาจของประกาศคณะปฏวิ ตั ิ ลงวนั ท่ี 6 พฤษภาคม 2528 5. หน่วยงานทร่ี บั ผดิ ชอบเกย่ี วกบั ความปลอดภยั หน่วยงานทท่ี าหนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบเกย่ี วกบั การป้องกนั อุบตั เิ หตอุ นั ตราย และความปลอดภยั ในการ ทางานต่าง ๆ มอี ยูห่ ลายหน่วยงาน ไดแ้ ก่ 5.1 กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม มหี นา้ ท่ใี นการตรวจโรงงานพจิ ารณาอนุญาต การจดั ตงั้ และประกอบกจิ การโรงงานการป้องกนั อุบตั ิเหตุ หรือเหตุเดอื ดรอ้ นราคาญอนั เน่ืองมาจากเคร่อื งมอื เคร่อื งจกั รกล การใชว้ ตั ถมุ พี ษิ วตั ถุเคมี วตั ถไุ วไฟ วตั ถุระเบดิ เพ่อื ใหเ้ กดิ ความปลอดภัยในการทางานและ ถกู สุขลกั ษณะอนามยั 5.2 กรมแรงงานและสวสั ดิการสงั คม กระทรวงมหาดไทย ดาเนินงานเพ่ือใหค้ นงานในโรงงานมี สุขภาพอนามยั ท่ีดีมคี วามปลอดภยั และมสี วสั ดิการในการทางานมคี วามสมั พนั ธ์ และมคี วามเป็นธรรมท่ีดี ระหว่างนายจา้ งและลูกจา้ ง นอกจากน้ีกรมแรงงานและสวสั ดิการสงั คม มีหนา้ ท่ีรบั ผิดชอบร่างกฎหมาย แรงงานเพอ่ื คุม้ ครองแรงงาน กฎหมายฉบบั สุดทา้ ยทป่ี ระกาศและมผี ลบงั คบั ใชใ้ นปจั จบุ นั คือ พระราชบญั ญตั ิ คุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 บงั คบั ใชต้ งั้ แต่วนั ท่ี 19 สงิ หาคม 2541 เป็นตน้ มา 5.3 กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข มีหนา้ ท่ีและรบั ผิดชอบเก่ียวกบั งานอาชีวอนามยั โดย ดาเนินงานและใหบ้ ริการดูแลสุขภาพอนามยั ของผูป้ ระกอบอาชีพทุกอาชพี ใหม้ สี ุขภาพอนามยั ท่ดี ีทง้ั ร่างกาย และจติ ใจ กรมอนามยั ถอื ใชแ้ ละปฏบิ ตั ใิ หเ้ป็นไปตาม พระราชบญั ญตั สิ าธารณสุข พ.ศ. 2484 5.4 กรมทรพั ยากรธรณี กระทรวงอุตสาหกรรม มีหนา้ ท่ีฝ่ ายสวสั ดิภาพสาหรบั ควบคุมดูแลเร่ือง สุขภาพอนามยั ของผูป้ ระกอบอาชีพเหมอื งแร่ เพ่อื ใหค้ วามคุม้ ครองแก่คนงาน โดยใหผ้ ูถ้ อื สมั ปทานบตั รผูร้ บั รายวชิ างานเครอ่ื งยนตแ์ กส๊ โซลนี (2101-2001) เรอ่ื ง ความปลอดภยั ในการทางาน

11 ใบอนุญาตทาเหมอื ง และจดั ใหค้ นงานในเขตเหมอื งแร่มคี วามปลอดภยั ในการทางาน บงั คบั ใชพ้ ระราชบญั ญตั ิ แร่ พ.ศ. 2510 5.5 กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มหี นา้ ท่ีเก่ียวกบั วชิ าการดา้ นเกษตรศาสตร์ ควบคุมการเก็บรกั ษาและการใชว้ ตั ถมุ พี ิษยาฆ่าแมลงในงานเกษตรกรรม โดยใชย้ าฆ่าแมลงหรอื สารพษิ อย่าง ถูกตอ้ ง เพ่อื ใหเ้กษตรกรหรือผูเ้ก่ียวขอ้ งไดม้ คี วามปลอดภยั และสุขภาพอนามยั ท่ดี ี บงั คบั ใชพ้ ระราชบญั ญตั ิ วตั ถมุ พี ษิ พ.ศ. 2510 รายวชิ างานเคร่อื งยนตแ์ กส๊ โซลนี (2101-2001) เร่อื ง ความปลอดภยั ในการทางาน

12 ใบงาน หน่วยท่ี 1 เรอ่ื ง ความปลอดภยั ในการทางาน คาช้ีแจง : ใหน้ กั เรยี นทาแบบฝึกหดั ต่อไปน้ีดว้ ยตนเอง ดว้ ยความซอ่ื สตั ย์ 1. ความปลอดภยั มีความสาคญั อย่างไร ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 2. ประโยชน์ทไ่ี ดจ้ ากการปฏบิ ตั งิ านอยา่ งปลอดภยั มอี ะไรบา้ ง 1) ................................................................................................................................................ 2) ................................................................................................................................................ 3) ................................................................................................................................................ 4) ................................................................................................................................................ 5) ................................................................................................................................................ 3. ความปลอดภยั ในโรงงานช่างยนต์ หมายถงึ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 4. ความปลอดภยั เกย่ี วกบั การใชอ้ ปุ กรณ์ไฟฟ้ า มกี ฎระเบยี บอะไรบา้ ง 1) ................................................................................................................................................ 2) ................................................................................................................................................ 3) ................................................................................................................................................ 4) ................................................................................................................................................ 5) ................................................................................................................................................ 5. ความปลอดภยั เกย่ี วกบั น้ามนั เช้ือเพลงิ มีกฎระเบยี บอะไรบา้ ง 1) ................................................................................................................................................ 2) ................................................................................................................................................ 3) ................................................................................................................................................ 4) ................................................................................................................................................ 5) ................................................................................................................................................ รายวชิ างานเครอ่ื งยนตแ์ กส๊ โซลนี (2101-2001) เรอ่ื ง ความปลอดภยั ในการทางาน

13 6. นโยบายดา้ นความปลอดภยั หมายถงึ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 7. กฎหมายเกย่ี วกบั ความปลอดภยั ในโรงงาน มี พ.ร.บ. ใดบา้ ง 1) ................................................................................................................................................ 2) ................................................................................................................................................ 3) ................................................................................................................................................ 8. หน่วยงานท่รี บั ผิดชอบเกย่ี วกบั ความปลอดภยั มหี น่วยงานใดบา้ ง และมหี นา้ ท่อี ะไร 1) ................................................................................................................................................ 2) ................................................................................................................................................ 3) ................................................................................................................................................ 4) ................................................................................................................................................ 5) ................................................................................................................................................ รายวชิ างานเครอ่ื งยนตแ์ กส๊ โซลนี (2101-2001) เรอ่ื ง ความปลอดภยั ในการทางาน

14 แบบทดสอบหลงั เรยี น คาแนะนา 1) จงทาเครอ่ื งหมายกากบาท (× ) ทบั หวั ขอ้ ท่ถี กู ท่สี ุดเพยี งขอ้ เดยี ว ลงในกระดาษคาตอบทแ่ี จกให้ 2) ขอ้ สอบจานวน 10 ขอ้ ใชเ้วลาสอบ 10 นาที คะแนนเตม็ 10 คะแนน 1. ความปลอดภยั มีความสาคญั อย่างไร ก. ช่วยใหเ้กดิ ความสุข ข. ช่วยใหม้ ขี วญั กาลงั ใจ ค. ช่วยใหม้ คี วามเป็นอยู่ทด่ี ี ง. ทาใหม้ เี พอ่ื นร่วมงานเพม่ิ ข้นึ 2. ประโยชน์ท่มี ีค่าสูงสดุ ทเ่ี กดิ จากการทางานอยา่ งปลอดภยั คอื ก. เพม่ิ ผลผลติ ข. ลดค่าชดเชยใด ๆ ค. เกดิ กาไรเพม่ิ ข้นึ ง. ไมส่ ูญเสยี บคุ คลสาคญั 3. ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ี ไม่เกย่ี วขอ้ ง กบั ประโยชน์ท่ไี ดจ้ ากการทางานอยา่ งปลอดภยั ก. เพม่ิ กาไร ข. การลงทนุ ค. เพม่ิ ผลผลติ ง. เกดิ แรงจงู ใจ 4. ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ี ไม่เป็นสาเหตุ การเกดิ อบุ ตั เิ หตใุ นการทางาน ก. ร่างกายไมพ่ รอ้ ม ข. เสยี งดงั มากเกินไป ค. ทางานไมถ่ กู ขน้ั ตอน ง. ใชเ้คร่อื งมอื ไมเ่ หมาะสม 5. ผา้ เช็ดมือประจาตวั ในการเรยี นปฏบิ ตั ิ ช่วยเร่อื งความปลอดภยั ไดอ้ ย่างไร ก. ผูเ้รยี นไมถ่ กู ลงโทษ ข. ผา้ ป้องกนั คมของช้นิ งาน ค. เชด็ พ้นื ไดท้ นั ทที น่ี า้ มนั หก ง. มอื สะอาดจบั ช้นิ งานไดม้ นั่ คง รายวชิ างานเคร่อื งยนตแ์ กส๊ โซลนี (2101-2001) เรอ่ื ง ความปลอดภยั ในการทางาน

15 แบบทดสอบหลงั เรยี น (ตอ่ ) 6. เม่ือเหน็ เพอ่ื นร่วมงานประสบอบุ ตั เิ หตเุ ก่ยี วกบั ไฟฟ้ า ควรทาอย่างไร ก. รบี ตดั สวติ ชไ์ ฟ ข. รบี กระทาใหล้ ม้ ค. รบี บอกครูผูส้ อน ง. แจง้ เตอื นคนอน่ื ช่วย 7. ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ ดเป็นการช่วยเหลอื อคั คภี ยั จากเช้ือเพลงิ ได้ ก. สูบบุหร่ใี นท่ี ๆ กาหนด ข. เกบ็ เช้อื เพลงิ ห่างประกายไฟ ค. ใชท้ รายดบั ไฟทเ่ี กดิ จากนา้ มนั ง. เกบ็ สารไวไฟไวใ้ นทอ่ี ากาศถ่ายเทไดด้ ี 8. ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ี เป็นนโยบายความปลอดภยั ดา้ นวนิ ยั ท่ชี ่วยใหป้ ลอดภยั สูงสดุ ก. หา้ มหยอกลอ้ เลน่ กนั ข. หา้ มสวมเส้อื แขนสนั้ ทางาน ค. หา้ มใชเ้คร่อื งจกั รก่อนไดร้ บั การอนุญาต ง. หา้ มถอดอปุ กรณป์ ้องกนั อนั ตรายของเคร่อื งจกั ร 9. ปจั จุบนั ไดบ้ งั คบั ใชพ้ ระราชบญั ญตั โิ รงงานปี พ.ศ. ใด ก. พ.ศ. 2535 ข. พ.ศ. 2522 ค. พ.ศ. 2512 ง. พ.ศ. 2510 10. ถา้ เปิดศูนยบ์ รกิ ารรถยนต์ จะตอ้ งใหห้ น่วยงานใดตรวจสอบเพอ่ื ออกใบอนุญาต ก. กรมอนามยั ข. สวสั ดกิ ารสงั คม ค. กรมทรพั ยากรธรณี ง. อตุ สาหกรรมจงั หวดั รายวชิ างานเคร่อื งยนตแ์ กส๊ โซลนี (2101-2001) เร่อื ง ความปลอดภยั ในการทางาน

16 ใบประเมนิ คุณธรรมจรยิ ธรรมคา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ หน่วยท่ี 1 เรอ่ื ง ความปลอดภยั ในการทางาน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 1 = ดี ช่ือรายวชิ า : งานเคร่อื งยนตแ์ กส๊ โซลนี เรยี น : 300 นาที เวลาเรม่ิ : น. เวลาเสรจ็ : น. วนั ท่ี : หวั ขอ้ ประเมิน ความพร ้อมในการเรียน ต้ังใจใ ่ฝเรียน เข ้าเรียนตรงเวลา แ ่ตงกายถูกต้องตามระเบียบ ร ับผิดชอบงานท่ีได ้ร ับมอบหมาย มีจิตอาสา พูดจา ุสภาพ มีความสามัค ีคในหมู่คณะ ยอมรับความคิดเห็นของ ูผ้อ่ืน เคารพนอบน้อม ่ตอค ูร ูผ้สอน รวมคะแนน รหสั ช่อื นามสกุล 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 ท่ี ประจาตวั 0 = ปรบั ปรุง ลงชอ่ื .......................................(ผูป้ ระเมนิ ) รายวชิ างานเคร่อื งยนตแ์ กส๊ โซลนี (2101-2001) เรอ่ื ง ความปลอดภยั ในการทางาน

17 แหลง่ คน้ ควา้ ศุภลกั ษณ์ แสนยาพนั ธุ.์ (2559). งานเคร่อื งยนตแ์ กส๊ โซลนี . กรุงเทพฯ : บรษิ ทั ศูนยห์ นงั สอื เมอื งไทย จากดั . รายวชิ างานเครอ่ื งยนตแ์ กส๊ โซลนี (2101-2001) เร่อื ง ความปลอดภยั ในการทางาน

ภาคผนวก

เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยท่ี 1 เร่อื งความปลอดภยั ในการทางาน ขอ้ ท่ี คาตอบ 1. ค 2. ข 3. ง 4. ข 5. ค 6. ค 7. ก 8. ง 9. ก 10. ง

เฉลยแบบฝึ กหดั หน่วยท่ี 1 เรอ่ื งความปลอดภยั ในการทางาน คาช้ีแจง จงตอบคาถามต่อไปน้ีใหถ้ กู ตอ้ ง และสมบรู ณ์ 1. ความปลอดภยั มีความสาคญั อย่างไร ตอบ ช่วยใหก้ ารดาเนินกจิ การ ไปในทางบวก มกี ารพฒั นาและเจรญิ กา้ วหนา้ เพม่ิ ข้นึ ทาใหเ้ศรษฐกจิ ขยายตวั ยกระดบั รายได้ ตลอดถงึ ความเป็นอยูข่ องคนในบา้ นเมอื งดขี ้นึ 2. ประโยชน์ท่ไี ดจ้ ากการปฏบิ ตั งิ านอย่างปลอดภยั มอี ะไรบา้ ง ตอบ 1. เพม่ิ ผลผลติ ข้นึ 2. ลดตน้ ทนุ การผลติ ลง 3. เกดิ แรงจงู ใจในการทางาน 4. ช่วยสงวนทรพั ยากรมนุษย์ 5. สถานประกอบการมกี าไรเพม่ิ ข้นึ 3. ความปลอดภยั ในโรงงานช่างยนต์ หมายถงึ ตอบ การปฏบิ ตั งิ านในโรงงานช่างยนต์ ทป่ี ราศจากการเกดิ อบุ ตั เิ หตอุ นั ตรายใด ๆ ทง้ั ทม่ี กี ารใช้ เครอ่ื งมอื กล อปุ กรณไ์ ฟฟ้า วตั ถไุ วไฟ และพ้นื ทป่ี ฏบิ ตั งิ านเป้ือนสารหลอ่ ลน่ื 4. ความปลอดภยั เกย่ี วกบั ไฟฟ้ าในโรงงาน มีกฎระเบยี บอะไรบา้ ง ตอบ 1. ไมใ่ ชป้ ลกั๊ ไฟท่ชี ารุด 2. การเสยี บและดงึ ปลกั๊ ไฟ ใหจ้ บั ทต่ี วั ปลกั๊ เสยี บ 3. หา้ มวางหรอื เขน็ ของหนกั ทบั สายไฟฟ้า 4. ไมค่ วรพาดใหส้ ายไฟผ่านทเ่ี ปียกช้นื 5. ความปลอดภยั เกย่ี วกบั เช้ือเพลงิ มกี ฎระเบยี บอะไรบา้ ง ตอบ 1. เกบ็ เช้อื เพลงิ ในท่ปี ลอดภยั จากไฟ 2. เกบ็ เช้อื เพลงิ ในทม่ี อี ากาศถ่ายเทไดด้ ี 3. หา้ มใชป้ ากดูดนา้ มนั เช้อื เพลงิ 4. แอลกอฮอล์ และทนิ เนอรจ์ ดั เป็นเช้อื เพลงิ ชนิดหน่ึง 5. หลกี เลย่ี งการสูดดมไอระเหยของเช้อื เพลงิ

6. นโยบายดา้ นความปลอดภยั หมายถงึ ตอบ ขอ้ กาหนดทฝ่ี ่ายบริหาร จะตอ้ งสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจใหก้ บั ผูป้ ฏบิ ตั ทิ กุ คนเกดิ ความตระหนกั ในเร่อื งของความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั งิ าน ตงั้ แต่การปลูกจติ สานึก จนถงึ ผลกระทบทจ่ี ะตามมาจากการเกดิ อบุ ตั เิ หตุ 7. กฎหมายเกย่ี วกบั ความปลอดภยั ในโรงงาน มี พ.ร.บ. ใดบา้ ง ตอบ 1. พระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2482 2. พระราชบญั ญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2512 3. พระราชบญั ญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 8. หน่วยงานท่รี บั ผิดชอบเกย่ี วกบั ความปลอดภยั มหี น่วยงานใดบา้ ง และมีหนา้ ท่อี ะไร ตอบ 1. กรมโรงงานอตุ สาหกรรม กระทรวงอตุ สาหกรรม มหี นา้ ทใ่ี นการตรวจโรงงานพจิ ารณา อนุญาตจดั ตงั้ และประกอบกจิ การโรงงาน 2. กรมแรงงานและสวสั ดกิ ารสงั คม กระทรวงมหาดไทย ดาเนินงานเพอ่ื ใหค้ นงานในโรงงาน มี สุขภาพอนามยั ทด่ี ี มคี วามปลอดภยั และมสี วสั ดกิ ารในการทางาน 3. กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข มหี นา้ ทแ่ี ละรบั ผดิ ชอบเก่ยี วกบั งานอาชวี อนามยั ของ คนงานทกุ อาชพี 4. กรมทรพั ยากรธรณี กระทรวงอตุ สาหกรรม มหี นา้ ทฝ่ี ่ายสวสั ดภิ าพ สาหรบั ควบคุมดูแลเรอ่ื ง สุขภาพอนามยั ของผูป้ ระกอบอาชพี เหมอื งแร่ 5. กรมวชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มหี นา้ ท่เี ก่ยี วกบั วชิ าการดา้ น เกษตรศาสตร์ ควบคุมการเกบ็ รกั ษาและการใชว้ ตั ถมุ พี ษิ

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยท่ี 1 เร่อื งความปลอดภยั ในการทางาน ขอ้ ท่ี คาตอบ 1. ค 2. ง 3. ข 4. ข 5. ค 6. ก 7. ค 8. ง 9. ก 10. ง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook