Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1_2_58_ot_เครื่องมือการจัดการสารสนเทศ_OK

1_2_58_ot_เครื่องมือการจัดการสารสนเทศ_OK

Published by orasat, 2016-01-24 14:04:45

Description: 1_2_58_ot_เครื่องมือการจัดการสารสนเทศ_OK

Search

Read the Text Version

เคร่ืองมือการจดั การสารสนเทศ 1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อรสา เตตวิ ฒั น์ ภาควชิ าวิทยาการคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร OT

Outlines • เคร่ืองมือการจัดการสารสนเทศ• ความหมายการจัดการสารสนเทศ • โปรแกรม/ระบบฝากไฟล์• ความสาคัญของการจดั การสารสนเทศ • โปรแกรมทา E-book• ววิ ัฒนาการของการจัดการสารสนเทศ • โปรแกรมทา website • โปรแกรมเขียน Application สาหรับ Smart • การจัดการสารสนเทศด้วยระบบมือ devices • การจดั การสารสนเทศโดยใช้คอมพวิ เตอร์ • โปรแกรมจัดการเอกสารอ้างองิ และ• ปัจจัยสาคัญของการจัดการสารสนเทศ บรรณานุกรม• ลักษณะของสารสนเทศท่ดี ี • โปรแกรมดาวน์โหลดวีดโี อจาก YouTube OT 2

ความหมายของการจดั การสารสนเทศ - การทากจิ กรรมหลัก ต่างๆ ตงั้ แต่การจัดหา ผลิต จดั เก็บ ประมวลผล ค้นหา เผยแพร่และการใช้สารสนเทศท่เี ก่ียวข้องกบั การดาเนินงานขององค์กรทกุ ประเภท อย่างมีประสทิ ธิผล - รวมทงั้ กระจายสารสนเทศทุกประเภทท่มี ีคุณค่าไม่ว่าจะมีแหล่งกาเนิดจากภายใน หรือภายนอกองค์กร - โดยมีการนาเทคโนโลยตี ่างๆ โดยเฉพาะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสารมา ใช้ในการจดั การ - รวมทงั้ มีนโยบาย หรือ กลยุทธ์ระดับองค์กรในการจดั การสารสนเทศ (WILSON 2003 อ้างใน KIRK, 2005, P.21) OT 3

ความสาคญั ของการจัดการสารสนเทศ  ความสาคัญต่อบุคคล - การจดั การสารสนเทศมคี วามสาคญั ต่อบุคคลในด้านการดารงชีวิตประจาวัน การศกึ ษา และการทางานประกอบอาชีพ ต่างๆ - การจัดการสารสนเทศอย่างเป็ นระบบ โดยการจดั ทาฐานข้อมูลส่วนบุคคล รวบรวม ทงั้ ข้อมูลการดารงชีวิต การศกึ ษา และการทางานประกอบอาชีพต่างๆ - ในการดารงชวี ติ ประจาวัน บุคคลย่อมต้องการสารสนเทศหลายด้านเพ่ือใช้ชีวิตได้ อย่างราบร่ืน มีความก้าวหน้า และมีความสุข OT 4

ความสาคญั ของการจดั การสารสนเทศ ความสาคัญต่อองค์กร 1) ความสาคัญด้านการบริหารจดั การ - การบริหารจดั การในยุคโลกาภวิ ัฒน์เป็ นการบริหารภายใต้สภาวะท่มี ีการเปล่ียน แปลงอย่างรวดเร็ว และมีการแข่งขันกันทางด้านธุรกจิ สูง - ดงั นัน้ ผู้บริหารต้องอาศัยสารสนเทศท่เี ก่ยี วข้องกับสภาพแวดล้อมภายใน และ ภายนอกองค์กร เพ่อื วเิ คราะห์ปัญหา ทางเลือกในการแก้ไขปัญหา การตดั สินใจ การ กาหนดทศิ ทางขององค์การ ให้สามารถแข่งขันกับองค์การคู่แข่งต่างๆ OT 5

ความสาคัญของการจัดการสารสนเทศ ความสาคัญต่อองค์กร 2) ความสาคัญด้านการดาเนินการ - สารสนเทศนับมีความสาคญั ต่อการดาเนินงานในหลายลักษณะ เป็ นทงั้ การเพ่มิ ประสิทธิภาพและความคล่องตวั ในการดาเนินงาน และหลักฐานท่บี ันทกึ การดาเนินงาน ในด้านต่างๆ ตามท่หี น่วยงานดาเนินการ - การจดั การสารสนเทศช่วยให้การใช้สารสนเทศเพ่อื รองรับการปฏบิ ตั งิ านตาม กระแสงานหรือขัน้ ตอน จงึ สามารถเพ่มิ ประสทิ ธิภาพและความคล่องตวั ในการดาเนินงาน OT 6

ความสาคญั ของการจัดการสารสนเทศ ความสาคัญต่อองค์กร 3) ความสาคัญด้านกฏหมาย - การจดั การสารสนเทศเพ่อื การดาเนินงาน จาเป็ นต้องสอดคล้องกบั กฏหมาย กฎ ระเบียบและข้อบงั คบั ทงั้ ในระดบั ภายในและภายนอกองค์กร โดยเฉพาะสารสนเทศท่ี เก่ียวข้องกับการเงนิ และบัญชที ่ตี ้องรวบรวมจดั เกบ็ อย่างต่อเน่ืองเป็ นระบบ - รวมทงั้ มีการตรวจสอบความถูกต้องทงั้ จากหน่วยงานภายในองค์กร หรือจาก หน่วยงานภายนอกตามกฏหมาย OT 7

ววิ ฒั นาการของการจดั การสารสนเทศ การจัดการสารสนเทศกเ็ ป็ นส่ิงท่มี นุษย์ได้กระทามาเป็ นระยะเวลายาวนานนับแต่รู้จัก คดิ ค้นการขีดเขียน บนั ทกึ ข้อมูล การจดั การสารสนเทศโดยท่วั ไป แบ่งอย่างกว้างๆได้เป็ น 2 ยุค 1) การจัดการสารสนเทศด้วยระบบมือ 2) การจัดการสารสนเทศโดยใช้คอมพวิ เตอร์ OT 8

1) การจดั การสารสนเทศด้วยระบบมือ• เร่ิมต้นเม่ือมีการสร้างอารยธรรมในด้านการบนั ทกึ ความรู้ ราว 2,000-8,000 ปี ก่อนคริสตศักราช• อียปิ ต์โบราณใช้กระดาษปาปิ รัสเขียนบนั ทกึ ข้อมูล• หอสมุดอเลก็ ซานเดรีย สร้างโดยพระเจ้าปโทเลมที ่ี 1 ในช่วง 285 ปี ก่อนคริสตศักราช เป็ นคลงั ความรู้ท่ยี ่งิ ใหญท่สี ุดในโลกยุคโบราณ จัดเกบ็ กระดาษปาริรัสท่เี ขียนบนั ทกึ วชิ าการแขนงต่างๆ ถงึ 7 แสนกว่าม้วนไว้ในกระบอกทรงกลม• ต่อมาในได้มีการใช้หนังสัตว์เยบ็ เป็ นรูปเล่มหนังสือ เรียกว่าโคเดก็ ซ์ (codex) ในสมัยของเปอร์ กามัม (Pergamum) แห่งกรีก ในช่วง 197-159 ปี ก่อนคริสตศักราช OT 9

1) การจัดการสารสนเทศด้วยระบบมือ (ต่อ) ช่วงศตวรรษ ท่ี 12 เกิดสถาบันการศึกษาท่เี ป็ นทางการ ห้องสมุดของสถาบันการศกึ ษา เช่นมหาวทิ ยาลัยออกซ์ฟอร์ด และมหาวทิ ยาลัยเคมบริดจ์ ยงั คงจัดระบบหนังสือใน ลักษณะเดยี วกับห้องสมุดวัด นอกจากจัดหนังสือตามสาขาวชิ าแล้ว ยงั จัดตามขนาด และเลขทะเบียนหนังสือ หนังสือท่สี าคัญมากยงั คงถกู ล่ามโซ่อยู่กับโต๊ะ OT 10

1) การจดั การสารสนเทศด้วยระบบมอื (ต่อ) ในคริสต์ศตวรรษท่ี 15 โยฮานน์ กูเตน็ เบริ ์ก (Johannes Gutenberg) ชาวเยอรมันคิดเคร่ืองพมิ พ์ ขนึ้ พมิ พ์หนังสือเล่มแรกของยุโรปคือ ไบเบลิ ในภาษาละตนิ เม่ือมเี คร่ืองพมิ พ์จงึ มีการพมิ พ์ หนังสือ ทงั้ ตารา สารคดีบันเทงิ คดี พัฒนาเป็ นวารสาร หนังสือพมิ พ์ จุลสาร กลางศตวรรษท่ี 15 กจิ การพมิ พ์หนังสือมีอย่ใู นเมืองใหญ่ๆ ท่วั ยุโรปhttp://kerokob.blogspot.com/2013/07/johannes-gutenberg-1450-friele.html 11Johannes Gutenberg ผปู้ ระดิษฐแ์ ท่นพิมพ์ 9 nov 10 https://www.youtube.com/watcOh?Tv=YSmBWpCMmKw#t=37

1) การจัดการสารสนเทศด้วยระบบมือ (ต่อ) ศตวรรษท่ี 16 กิจการการค้าหนังสือแพร่หลายจากทวีปยุโรปสู่ทวปี อ่ืนทางเส้นทางการค้าและ พฒั นาเป็ นธุรกจิ ขนาดใหญ่ ส่งผลให้หนังสือจัดเป็ นส่วนหน่ึงของชนทุกชัน้ ลักษณะของ หนังสือเปล่ียนไป ขนาดเล็กลงใช้สะดวกขนึ้ ไม่มีส่ือประเภทใดท่เี ป็ นเคร่ืองมือค้นส่ือท่จี ดั เกบ็ และเผยแพร่ได้อย่างมีประสิทธิภาพเทยี บเท่าหนังสือเป็ นระยะเวลายาวนาน (Feather 2002 : 24) OT 12

1) การจัดการสารสนเทศด้วยระบบมือ (ต่อ) การจดั การสารสนเทศในระยะแรก ส่ืออย่ใู นรูปของส่ือส่งิ พมิ พ์ การจัดการสารสนเทศเน้น ระบบมอื โดยรวบรวมรายช่ือหนังสือท่มี ีการผลติ และเผยแพร่ และเทคนิคในการจัดเกบ็ เอกสารระยะแรกเป็ นการจดั เรียงตามขนาดของรูปเล่มหนังสือ ตามสีของปก ตามลาดบั อักษรช่ือผู้แต่ง ช่ือเร่ืองหนังสือ เลขทะเบยี น ตามลาดบั ก่อนหลังของหนังสือท่หี ้องสมุด หน่วยงานได้รับ และรวมทงั้ การกาหนดสัญลักษณ์ขนึ้ เป็ นตัวเลขและ/หรือตวั อกั ษรเพ่ือแทน เนือ้ หาสาระของส่ิงพมิ พ์ แสดงให้ทราบว่าจะค้นส่ือท่ตี ้องการจากท่ใี ด ฉบบั ใด หรือจากหน้า ใดในการค้น มีการจดั ทาบญั ชีรายการหนังสือ เอกสาร เป็ นเล่มเพ่อื ใช้ค้นและเป็ นบัญชีคุม หนังสือและเอกสารด้วย OT 13

1) การจดั การสารสนเทศด้วยระบบมอื (ต่อ) ต่อมายงั มีการจัดทาเป็ นแคตาล็อก (catalog) หรือบตั รรายการหนังสือ ในระยะแรกเป็ นเพียง บญั ชีรายช่ืออย่างหยาบๆ ต่อมามีรายละเอียดของหนังสือมากขนึ้ และบอกเนือ้ หาไว้ในบัญชี รายช่ือด้วย โดยมีการควบคุมบรรณานุกรม (bibliographic control)เป็ นการรวบรวมจัดทา บรรณานุกรมหรือรายการทรัพยากรสารสนเทศ เพ่ือใช้เป็ นเคร่ืองมือค้นหา ค้นคืนส่ือรูปแบบ ต่างๆ ทงั้ หนังสือ ส่ือบันทกึ เสยี ง ภาพ และอ่ืนๆ ท่ปี ระดษิ ฐ์ขนึ้ ในช่วงศตวรรษท่ี 19 OT 14

1) การจดั การสารสนเทศด้วยระบบมอื (ต่อ) การจดั เกบ็ สารสนเทศ ยังมีพัฒนาการระบบการจดั หมวดหมู่ (classification scheme)ใน ค.ศ. 1876 มีการคิดระบบการจดั หมวดหมู่หนังสือระบบทศนิยมดวิ อี้ (Dewey Decimal Classification – DDC) เป็ นการวเิ คราะห์เนือ้ หาสารสนเทศเพ่ือกาหนดเป็ นหมวดหมู่ใหญ่ ย่อย ลดหล่ันจากเนือ้ หา กว้างๆ จนถงึ เนือ้ หาเฉพาะเพ่อื ให้สัญลักษณ์แทนเนือ้ หาสารสนเทศเป็ นตวั เลข และต่อมามกี าร พัฒนาการจัดหมวดหมู่โดยการใช้ตัวอักษรผสมตวั เลข หรือเคร่ืองหมายอ่ืนๆ แทนเนือ้ หาของ สารสนเทศ เป็ นการจัดเกบ็ ส่ิงพมิ พ์อย่างเป็ นระบบ และใช้เคร่ืองมือค้นจากแคตาลอ็ ก OT 15

1) การจัดการสารสนเทศด้วยระบบมือ (ต่อ) สาหรับการจดั การสารสนเทศในสานักงาน ระบบดงั้ เดมิ ใช้ระบบมือ หรือกาลังคนเป็ น หลักการจัดการเอกสารซ่งึ ใช้กระดาษระยะแรกจดั เกบ็ ตามการรับเข้า และส่งออกตามลาดับ เวลา มีการจดั ทาทะเบยี นเอกสารรับเข้า-ส่งออกในสมุดรับ-ส่งและจดั ทาบัญชีรายการเอกสาร ด้วยลายมือเป็ นรูปเล่ม OT 16

1) การจัดการสารสนเทศด้วยระบบมอื (ต่อ) ต่อมาพฒั นาเป็ นจดั เกบ็ เอกสารโต้ตอบเฉพาะเร่ืองไว้ในแฟ้ มเร่ืองเดียวกันในต้เู กบ็ เอกสาร โดยพฒั นาเป็ นหมวดหมู่ของระบบงานสารบรรณเอกสาร การจัดเกบ็ อาจจดั เรียงตามลาดับ อักษรช่ือหน่วยงาน ช่ือบุคคล ตามเนือ้ หา ตัวเลข ตวั อักษรผสมตวั เลข ลาดบั เวลา และตาม รหสั และมีการทาดรรชนี กาหนดรหสั สี มีการทาบัตรโยงในตู้เกบ็ เอกสาร เป็ นต้น เพ่ือความ สะดวกในการค้นหา มีการทาบัญชีรายการสาหรับค้นเอกสารสารบรรณ ท่ตี ่อมาใช้เคร่ือง พมิ พ์ดดี แทนการเขียน OT 17

2) การจัดการสารสนเทศโดยใช้คอมพวิ เตอร์- การจัดการสารสนเทศเกดิ ขึน้ โดยใช้คอมพวิ เตอร์ เม่ือสารสนเทศมีปริมาณมากมายรูปลักษณ์ หลากหลาย คอมพวิ เตอร์มีพัฒนาการของจากอดีตถงึ ปัจจบุ ัน ปรับเปล่ียนอย่างรวดเร็ว- ในระยะแรก ตัง้ แต่ ค.ศ. 1946 มีการประดษิ ฐ์คอมพวิ เตอร์ขนาดใหญ่ท่ใี ช้เทคโนโลยีหลอด สูญญากาศ ใช้ในงานค้นคว้าทางวทิ ยาศาสตร์ การสารวจสามะโนประชากร- ต่อมาเคร่ืองคอมพวิ เตอร์พัฒนามาใช้เทคโนโลยที รานซิสเตอร์ มีขนาดเล็กลง และนามาใช้ใน งานทางด้านคณิตศาสตร์และวศิ วกรรมมาร์ค วนั (MARK I) อีนิแอค (ENIAC) ยูนิแวค (UNIVAC) 18 OT

2) การจัดการสารสนเทศโดยใช้คอมพวิ เตอร์ (ต่อ)- ช่วงทศวรรษท่ี 1960 คอมพวิ เตอร์เร่ิมใช้แผงวงจรรวมหรือไอซี และแผงวงจรรวมขนาดใหญ่ และนามาใช้งานการส่ือสารข้อมูล และงานฐานข้อมูล เพ่อื ลดภาระงานประจาโดยทรัพยากร อยู่ในรูปของกระดาษ เหน็ ได้ว่าคอมพวิ เตอร์ถกู พฒั นานามาใช้งานตามสถานะท่เี พ่มิ ขนึ้ OT 19

2) การจัดการสารสนเทศโดยใช้คอมพวิ เตอร์ (ต่อ)เทคโนโลยี Hardware & Software ใหม่• CPU - Gen 4th Gen 5th Core M Socket 1150 2011MainBoard OT 20

2) การจดั การสารสนเทศโดยใช้คอมพวิ เตอร์ (ต่อ)- เทคโนโลยปี ัจจุบนั • HDD --SSD (Solid State Drive) • Monitor -- 4K Ultra-high-definition OT 21

2) การจดั การสารสนเทศโดยใช้คอมพวิ เตอร์ (ต่อ)การจดั การสารสนเทศ เพ่อื ให้ได้สารสนเทศท่ถี ูกต้องน่าเช่ือถือ สามารถนาไปใช้งานได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพนัน้ จะต้องมีขัน้ ตอนการจดั การท่ดี ีและเป็ นระบบ ดงั นี้ 1) การรวบรวมข้อมูล 2) การตรวจสอบข้อมูล 3) การประมวลผลข้อมูล 4) การดแู ลรักษาสารสนเทศ OT 22

2) การจัดการสารสนเทศโดยใช้คอมพวิ เตอร์ (ต่อ)1) การรวบรวมข้อมูล เป็ นการจัดการกับข้อมูลจานวนมาก จงึ ควรกาหนดว่าจะต้อง ใช้ข้อมูลอะไรบ้าง ข้อมูลได้มาจากไหน และจดั เก็บข้อมูลนัน้ มาได้อย่างไร การ รวบรวมข้อมูลจะต้องมีการดาเนินการท่รี อบคอบและเป็ นระบบ เน่ืองจากข้อมูล บางอย่างต้องเก็บให้ทนั เวลา2) การตรวจสอบข้อมูล เป็ นการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลท่เี กบ็ รวบรวมมา เพ่อื ได้สารสนเทศท่คี ุณภาพ ข้อมูลท่เี กบ็ เข้าในระบบจะต้องมีความเช่ือถอื ได้ หากพบท่ผี ิดพลาดต้องแก้ไข ทงั้ นีข้ ้อมูลท่ถี ูกต้องจะส่งผลทาให้สารสนเทศท่ี ได้มีความถูกต้องน่าเช่ือถอื นาไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ OT 23

2) การจัดการสารสนเทศโดยใช้คอมพวิ เตอร์ (ต่อ)3) การประมวลผลข้อมูล คือ การนาข้อมูลท่มี ีอย่แู ล้วหรือข้อมูลท่ไี ด้จากการเกบ็ รวบรวมและตรวจสอบมากระทาเพ่อื ให้ข้อมูลเปล่ียนแปลงไปจนเกดิ ผลลัพธ์ตามท่ตี ้องการ ดังนี้ 1. การรวบรวมเป็ นแฟ้ มข้อมูล เป็ นการแยกประเภทของข้อมูลท่เี กบ็ รวบรวมมาอย่างเป็ นระบบตามกลุ่มและประเภทของข้อมูลนัน้ เพ่อื ให้สามารถดาเนินการในขนั้ ตอนต่อไปได้อย่างสะดวกและรวดเร็วย่งิ ขนึ้ ทงั้ นีอ้ าจเกบ็ ไว้ในรูปของแฟ้ มเอกสารหรือแฟ้ มข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ในคอมพิวเตอร์กไ็ ด้ 2. การจัดเรียงข้อมูล เป็ นขัน้ ตอนการประมวลผลข้อมูล เพ่อื ให้ง่ายต่อการค้นหาหรืออ้างองิ ข้อมูลในอนาคต OT 24

2) การจัดการสารสนเทศโดยใช้คอมพวิ เตอร์ (ต่อ) 3. การคานวณ เป็ นการประมวลผลท่ตี ้องการผลลัพธ์หรือสารสนเทศท่มี ีความละเอยี ดถูกต้อง แม่นยาเน่ืองจากท่รี วบรวมและจดั เก็บมานัน้ อาจมีทงั้ รูปแบบของข้อความและตวั เลข ซ่งึ ต้องมีการคานวณหาค่าเฉล่ียหรือ ผลรวมของข้อมูลนัน้ ๆ 4. การทารายงาน เป็ นการประมวลผลท่มี ีความสลับซบั ซ้อนมากท่สี ุด โดยมีจุดประสงค์หลักเพ่อื เผยแพร่ ข้อมูลในอนาคต ผู้ดาเนินการจะต้องสรุปข้อมูลเพ่อื ทารายงานให้ตรงกับความต้องการในการใช้สารสนเทศ นัน้ ๆ โดยจะต้องนาเสนอรายงานในรูปแบบท่สี อดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการจดั การสารสนเทศ OT 25

2) การจดั การสารสนเทศโดยใช้คอมพวิ เตอร์ (ต่อ)4) การดแู ลรักษาสารสนเทศ เป็ นขัน้ ตอนการจดั การสารสนเทศมีจดุ ประสงค์หลักเพ่อืป้ องกันและเก็บรักษาข้อมูล ไม่ให้สูญหาย ช่วยอานวยความสะดวกในการค้นหาข้อมูลสาหรับนากลับมาใช้ใหม่ในอนาคต ประกอบด้วย 1. การจดั เกบ็ คือการนาข้อมูลท่ผี ่านการตรวจสอบและประมวลผลแล้วมาบนั ทกึ เข้าสู่ระบบข้อมูลอย่างมีระเบยี บและเป็ นหมวดหมู่ เพ่อื ความสะดวกในการเรียกใช้งาน ทงั้ นีอ้ าจจัดเกบ็ ไว้ในรูปแบบของแฟ้ มเอกสาร ส่งิ พมิ พ์หรือเอกสารอิเลก็ ทรอนิกส์ในคอมพวิ เตอร์ก็ได้ 2. การทาสาเนา คือ การเพ่มิ จานวนข้อมูลด้านปริมาณ โดยเนือ้ หาของข้อมูลจะไม่เปล่ียนแปลงไป จากต้นฉบบั หรือข้อมูลท่ผี ่านการประมวลผลแล้ว สามารถกระทาได้โดยการคัดลอกทงั้ จากมนุษย์หรือ เคร่ืองจักร ซ่งึ เป็ นเคร่ืองถ่ายเอกสารหรือเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ก็ได้ 3. การแจกจ่ายและการส่ือสารข้อมูล คือ การนาสาเนาท่ที าเพ่มิ ไว้แจกจ่ายให้แก่ผู้ใช้และผู้เก่ียวข้อง 4. การปรับปรุงข้อมูล คือ การแก้ไขปรับปรุงรายการข้อมูลให้เป็ นปัจจุบัน อาจกระทาโดยการแก้ไขข้อมูลบางส่วนหรือบันทกึ ข้อมูลเพ่มิ เตมิ ลงในระบบข้อมูล OT 26

ปัจจยั สาคญั ของการจดั การสารสนเทศ 1) เทคโนโลยสี ารสนเทศ เป็ นปัจจัยสาคญั ในการจัดการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ คอมพวิ เตอร์เพ่อื การประยุกต์ในงานต่างๆ 2) คน ในฐานะองค์ประกอบของทกุ หน่วยงาน เป็ นปัจจัยสาคัญในการจัดการสารสนเทศ ครอบคลุมทงั้ ผู้บริหารและผู้ปฏิบตั งิ านท่เี ก่ียวข้องกบั การใช้สารสนเทศ การจดั การ สารสนเทศ จงึ ควรสร้างวัฒนธรรมหรือ ค่านิยมของคนในการใช้สารสนเทศเพ่อื ประโยชน์ ของส่วนรวม หน่วยงาน และระบบงานเป็ นสาคญั โดยการยดึ หลัก 3) กระบวนการ เป็ นปัจจยั สาคญั ท่เี ก่ียวข้องกับมาตรฐาน แนวปฏบิ ตั ิ วธิ ีการท่ใี ช้ในการ จดั การสารสนเทศ 4) การบริหารจดั การ เป็ นปัจจยั สาคัญของการจดั การสารสนเทศท่ดี แี ละมีประสทิ ธิภาพ โดยเฉพาะการจัดการในระดบั กลยุทธ์ OT (สมพร พทุ ธาพิทกั ษ์ผล 225746: 12-16)

ปัจจยั สาคญั ของการจดั การสารสนเทศ OT 28

ปัจจัยสาคัญของการจัดการสารสนเทศ - การจดั การสารสนเทศนัน้ ไม่ได้เน้นแค่เพียงเร่ืองของเทคโนโลยี ท่สี าคญั ไม่แพ้กันคอื กระบวนการทางธุรกิจ และการปฏิบตั ทิ ่จี ะวางรากฐานการสร้างและการใช้งานสารสนเทศ - รวมทงั้ ยังเก่ียวพนั ถงึ ตัวสารสนเทศเองด้วย ไม่ว่าจะเป็ น โครงสร้างของสารสนเทศ คาอธิบายข้อมูล คุณภาพของเนือ้ หา ฯลฯ - ดังนัน้ การจดั การสารสนเทศ จงึ ประกอบด้วย คน กระบวนการ เทคโนโลยี และเนือ้ หา ซ่งึ แต่ละหวั ข้อต้องถกู ระบุรายละเอียดให้ชัดเจน การจัดการสารสนเทศจงึ จะประสบ ความสาเร็จ OT 29

ลกั ษณะของสารสนเทศที่ดีคณุ คา่ ของสารสนเทศของแตล่ ะคนไมจ่ าเป็นต้องเหมอื นกนั ในหวั ข้อนีจ้ ะกาหนดลกั ษณะของสารสนเทศที่ดีไว้ 3+1 มิติ คือ • มิตดิ ้านเวลา (Time) • มติ ดิ ้านเนือ้ หา (Content) • มติ ดิ ้านรูปแบบ (Format) และ • มิตดิ ้านกระบวนการ (Process) OT 30

ลกั ษณะของสารสนเทศท่ีดีมติ ดิ ้านเวลา• การทนั เวลา (Timeliness) »สามารถหาได้รวดเร็วทนั เวลาท่ตี ้องการ• ความเป็ นปัจจบุ ัน (Up-to-date)» มีการปรับปรุงข้อมูลให้เป็ นปัจจุบนั อย่เู สมอ• ช่วงระยะเวลา (Time Period) » มีข้อมูลทงั้ ในอดตี ปัจจุบนั และอนาคต ซ่งึ จะเป็ น ประโยชน์ต่อการวางแผนและการตดั สนิ ใจ OT 31

ลกั ษณะของสารสนเทศท่ีดีมติ ดิ ้านเนือ้ หา• ความถกู ต้องเท่ยี งตรง » สารสนเทศซ่งึ ไม่มขี ้อผดิ พลาด• ความสัมพนั ธ์กับเร่ือง » สอดคล้องกับเร่ืองท่ตี ้องการ• ความสมบรู ณ์ » คลอบคลุมรายละเอียดท่สี าคัญทุกเร่ืองท่ตี ้องการทราบ• ความน่าเช่ือถือได้ » ขนึ้ อยู่กบั การเกบ็ รวบรวมข้อมูล และแหล่งท่มี าของ ข้อมูล• ตรวจสอบได้ » ตรวจสอบความถกู ต้องและแหล่งท่มี า OT 32

ลกั ษณะของสารสนเทศที่ดี มติ ดิ ้านกระบวนการ • ความสามารถในการเข้าถงึมติ ดิ ้านรูปแบบ • การมีส่วนร่วม• ความชดั เจน • การเช่ือมโยง• ระดบั ของการนาเสนอรายละเอียด• รูปแบบการนาเสนอ 33• ส่ือในการนาเสนอ• ความยดื หยุ่น• ความประหยดั OT

เคร่ืองมือ/โปรแกรมการจดั การสารสนเทศ 34• โปรแกรม/ระบบฝากไฟล์• โปรแกรมทา E-book• โปรแกรมทา Website• โปรแกรมเขียน Application สาหรับ Smart Devices• โปรแกรมจัดการเอกสารอ้างองิ และบรรณานุกรม• โปรแกรมดาวน์โหลดวีดโี อจาก YouTube• โปรแกรมจดั การสารสนเทศอ่นื ๆ OT

โปรแกรม/ระบบฝากไฟล์ 35 Google Drive Dropbox OneDrive / SkyDrive OT

โปรแกรม/ระบบฝากไฟล์• คือ ท่ใี ห้บริการฝากไฟล์ประเภทต่างๆทงั้ รูปภาพ วีดโี อ เพลง เอกสารต่างๆ• ส่วนมากไฟล์ท่เี รามีในคอมพวิ เตอร์อาจมีขนาดใหญ่เกินท่จี ะส่งต่อทางอเี มลหรือโพสไว้ ในบลอกของตวั เอง ดังนัน้ จงึ ต้องพ่งึ บริการโปรแกรม/ระบบฝากไฟล์ในการอพั โหลดไฟล์ ขนาดใหญ่ของเรา• ซ่งึ พออพั โหลดเสร็จ เราก็จะได้ลงิ ค์ URL ท่เี ราสามารถจะ copy แล้วก็เอาไปใส่ในบลอก เวปไซด์ หรือส่งต่อให้เพ่อื นทางเมลได้คะ• วธิ ีนีจ้ งึ ง่ายและสะดวกในการส่งข้อมูลขนาดใหญ่หากัน และเราสามารถท่จี ะเลือกให้ไฟล์ ของเราเป็ นแบบ public หรือ ส่วนตวั แล้วแต่ความต้องการ• ช่วงนีก้ ระแสของ Cloud Computing ในรูปแบบของการฝากไฟล์มาแรงเหลือเกิน จงึ ทาให้ คนท่วั ๆไปท่ตี ้องการจะฝากไฟล์หนั มามองเหล่า Web-Based Cloud Service ช่ือดังเช่น OneDrive/SkyDrive จาก Microsoft, iCloud จาก Apple , Drive จาก Google และ Dropbox OT 36

http://software.thaiware.com/download/โปรแกรมเก็บไฟล์ออนไลน์ 37

โปรแกรม/ระบบฝากไฟล์ OT 38

โปรแกรม/ระบบฝากไฟล์ OT 39

โปรแกรม/ระบบฝากไฟล์ OT 40

โปรแกรม/ระบบฝากไฟล์บริการฝากไฟล์ฟรี ฝากรูปฟรี ให้พืน้ ท่ีมากที่สดุ ในประเทศไทยให้พืน้ ที่ ฝากไฟล์ถึง 2GB โดยไมต่ ้องแบง่ ไฟล์ให้เสยี เวลาฝากไฟล์โหลดแรงที่สดุ ให้พืน้ ท่ีมากสดุ ต้องท่ีเรา บริการฝากไฟล์ดที ี่สดุ แหง่ แรกในไทย http://www.upload-thai.com/ 41 OT

โปรแกรม/ระบบฝากไฟล์ OT 42

ระบบฝากไฟล์ Google Drive ระบบฝากไฟล์ Google Driveระบบฝากไฟล์ Google Drive 43 OT

Google Drive• Google drive เป็ นบริการจาก Google ท่ที าให้เราสามารถนาไฟล์ต่าง ๆ ไปฝากไว้ กับ Google ซ่งึ ทาให้เราสามารถใช้ไฟล์เหล่านัน้ ท่ไี หนกไ็ ด้ท่มี ีอินเตอร์เน็ต ไม่เพยี ง แค่ฝากไฟล์ได้เท่านัน้ คุณยังสามารถ สามารถแบ่งปันไฟล์กับคนท่ตี ้องการ และ สามารถแก้ไขร่วมกนั ได้จากอุปกรณ์ทกุ ประเภท• Google ให้พืน้ ท่เี ราเกบ็ ข้อมูลออนไลน์บนอนิ เตอร์เนต แบบฟรีๆ โดยทางกูเกลิ้ ให้ นิสติ มน 25 GB / unlimited• การใช้งาน Google Drive นัน้ เร่ิมต้นง่าย ๆ เพยี งแค่สมคั ร Gmail หากคุณยงั ไม่เคย สมัคร แนะนาให้สมคั ร เน่ืองจากสมัคร Gmail เพียง Account เดียว ทาให้สามารถใช้ บริการต่าง ๆ ของGoogle ได้อย่างมากมายรวมถงึ Google Drive ด้วย OT 44

Google Drive 45เข้าระบบทะเบยี นออนไลน์www.reg.nu.ac.thไปท่ี ตรวจสอบ NU e-mail OT

Google Drive 46ระบบจะแสดง Account มาให้คลิกท่ี Email OT

Google Driveให้ใส่ Username ของนิสติ ท่รี ะบบให้มา 47ส่วน Password จะเป็ นรหสั เดยี วกันกบั ท่ใี ช้เข้า ระบบทะเบียนออนไลน์ (www.reg.nu.ac.th) OT

Google Drive 1 2 1. ให้คลกิ ท่รี ูปส่ีเหล่ียม 2. ให้คลิกท่ี ไดรฟ์ 48 OT

Google Drive หน้าตาของ Google Drive เวอร์ช่ัน NU 49 OT

Google Drive CREATE จะมีแบบฟอร์มให้ใช้ คือ 1. Folder คือการสร้างแฟ้ มข้อมูลขนึ้ มา 2. Document คือการสร้างไฟล์เอกสาร คล้ายๆ Microsoft Word 3. Presentation คือการสร้างไฟล์ไว้นาเสนอ คล้ายๆ Microsoft Power Point 4. Spreadsheet คอื การสร้างไฟล์ ตารางข้อมูลต่าง คล้ายๆ Microsoft Excel 5. Form คือการสร้างแบบฟอร์มต่างๆ เช่น แบบสอบถาม 6. Drawing คือการสร้างหรือตกแต่ง พวกรูป โปสเตอร์ ต่างๆ OT 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook