Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ดนุพลและคณะ

ดนุพลและคณะ

Published by อัจฉรา ไสยะหุต, 2021-08-30 05:24:22

Description: ดนุพลและคณะ

Search

Read the Text Version

ภูมปิ ระวตั ศิ าสตร์สากล อารยธรรม ยุคอยี ปิ ต์ โดย นาย ดนุพล คุ้มทองคา เเละคณะ ครูผู้สอนประจาวชิ า นาง อจั ฉรา ไสยะหุต นางสาว อารีย์ เทย่ี งอ่อน โรงเรียนบ่อพลอยรัชดาภิเษก สานักงานเขตพนื้ ทมี่ ธั ยมศึกษากาญจนบุรี

ภูมปิ ระวตั ศิ าสตร์สากล บูรณาการรายวิชาประวตั ิศาสตร์ยุคโบราณ วชิ าภูมศิ าสตร์ วชิ าพระพุทธศาสนา วชิ าหน้าทพี่ ลเมืองและวชิ าภูมิปัญญาไทยวฒั นธรรมไทย โดย นาย ดนุพล คุ้มทองคา เเละคณะ ครูผู้สอนปะจาวชิ า นาง อจั ฉรา ไสยะหุต นางสาว อารีย์ เทยี่ งอ่อน โรงเรียนบ่อพลอยรัชดาภเิ ษก สานักงานเขตพนื้ ทม่ี ัธยมศึกษากาญจนบุรี

วตั ถุประสงค์ของการจดั ทาองค์ความรู้ ภูมปิ ระวตั ิศาสตร์สากล 1. บูรณาการวชิ าในกล่มุ สาระสังคมศึกษาปี ท5่ี ภาคเรียนท1่ี ปี การศึกษาที่ 2564 2. ภายใต้สถานการณ์เเพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (covid19) นาตวั ชี้วดั เเละสาระการเรียนรู้เเกนกลางต้องรู้เเละควรรู้ตามหลกั สูตร แกนกลางการศึกษา ข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช2551สาหรับการจดั การเรียนรู้ภายใต้สถานการณ์การเเพร่ระบาด ของโรคเชื้อไวรัสโคโรนา2019 บูรณาการรายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ยุคโบราณ วชิ าภูมิศาสตร์ วชิ าพระพุทธศาสนา วชิ าหน้าทพี่ ลเมืองเเละวชิ าภูมิปัญญา ไทยวฒั ธรรมไทย

อารยธรรม อียปิ ต์

แผนท่ี อยี ปิ ต์ โบราณ

อาณาจกั รโบราณ: อาณาจกั รอยี ปิ ต์ กาเนิดเเห่งอาณาจกั รอยี ปิ ต์โบราณ อาณาจักรอยี ปิ ต์ได้ถอื กาเนิดขนึ้ ในราว 3200 ปี ก่อนคริสตกาล โดยราชาแมงป่ อง (Scorpion king) ผู้ครองนครธีส (This) ซึ่งต้งั อย่บู ริเวณตอนกลางแห่งลุ่มนา้ ไนล์ พระองค์ได้กรีฑาทพั เข้ายดึ ครองนครรัฐต่างๆ ในอยี ปิ ต์บนและต้งั ตนเป็ นฟาโรห์แห่งอาณาจักรอยี ปิ ต์ทางตอนบน ราชาแมง ป่ องปรารถนาจะรวมอยี ปิ ต์เข้าด้วยกนั แต่พระองค์สิ้นพระชนม์เสียก่อน ต่อมาโอรสของพระองค์ นามว่า นาเมอร์ (Namer) ได้สานต่อนโยบายและกรีฑาทพั เข้าโจมตอี ยี ปิ ต์ตอนล่าง ในทสี่ ุดเมอื่ ถึง สมยั ของฟาโรห์เมเนส

ปัจจยั ทางภูมศิ าสตร์ ทต่ี ้ัง สภาพภูมศิ าสตร์ของอยี ปิ ต์โดยทว่ั ไปมี ลกั ษณะร้อนและแห้งแล้งพนื้ ทส่ี ่วนใหญ่เป็ นเขต ทะเลทรายซึ่งไม่เออื้ ต่อการเพาะปลกู ยกเว้นบริเวณ 2 ฝ่ัง แม่นา้ ไนล์ทมี่ กั มีนา้ ท่วมขงั เป็ นประจาในช่วงฤดูฝน นา้ ฝนและหิมะทลี่ ะลายจากยอดเขาจะไหลจากต้นแม่นา้ ไนล์และท่วมล้นสองฝั่งแม่นา้ ต้ังแต่เดอื นกนั ยายนของ ทุกปี ตะกอนและโคลนทนี่ า้ พดั พามาได้กลายเป็ นป๋ ุยทด่ี ี สาหรับการเพาะปลูกบริเวณทล่ี ุ่มริมฝั่งแม่นา้ อย่างไรก็ ตามลกั ษณะธรรมชาตดิ ังกล่าวนีช้ ่วยให้ชาวอยี ปิ ต์ เพาะปลกู ได้เพยี งปี ละคร้ัง

ระบอบการปกครอง จักรวรรดิ อยี ปิ ต์มรี ะบอบการปกครองทมี่ ั่นคง ชาวอยี ปิ ต์ยอมรับอานาจและเคารพ นับถอื ฟาโรห์หรือกษัตริย์ของตนประดุจเทพเจ้าองค์หน่ึง ดงั น้ันฟาโรห์จงึ มอี านาจเดจ็ ขาด ในการปกครองและบริหารประเทศท้งั ด้านการเมอื งและศาสนา

ทรัพยากรธรรมชาติ แม้ว่าพนื้ ท่สี ่วนใหญ่ของอยี ปิ ต์จะเป็ นทะเลทรายทแ่ี ห้งแล้งแต่บริเวณสองฝ่ังแม่นา้ ไนล์ก็ ประกอบด้วยหินแกรนิตและหินทรายซึ่งเป็ นวสั ดุสาคญั ทชี่ าวอยี ปิ ต์ใช้ในการก่อสร้างและพฒั นา ความเจริญ รุ่งเรืองทางด้านสถาปัตยกรรม วสั ดุเหล่านีม้ ีความคงทนแข็งแรงและช่วยรักษามรดก ทางด้านอารยธรรมของอยี ปิ ต์ ให้ปรากฏแก่ชาวโลกมาจนกระทง่ั ทุกวนั นี้ นอกจากนี้ ต้นอ้อโดยเฉพาะ ปาปิ รุส ซ่ึงขึน้ ชุกชุมบริเวณสองฝ่ังแม่นา้ ไนล์กเ็ ป็ นวสั ดุธรรมชาตสิ าคญั ทช่ี าวอยี ปิ ต์ใช้ทากระดาษทา ให้เกคิ วามก้าวหน้าในการบนั ทึกและสร้างผลงานด้านวรรณกรรม

ความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจกั รอยี ปิ ต์ อาณาจักรอยี ปิ ต์ก่อตัวขนึ้ เม่ือประมาณ 3100 ปี ก่อนคริสต์ศักราชและมคี วามเจริญรุ่งเรือง ต่อเน่ืองมาเกอื บ3000ปี มีราชวงศ์ปกครองประมาณ30ราชวงศ์อาณาจักรอยี ปิ ต์แบ่งช่วงการ ปกครองเป็ น 4 สมยั คือสมัยราชอาณาจกั รเก่าสมยั ราชอาณาจกั รกลาง สมยั ราชอาณาจักรใหม่ และสมยั เส่ือมอานาจอย่างไรกต็ ามไม่มหี ลกั ฐานประเภทลายลกั ษณ์ระบุช่วงเวลาของแต่ละสมยั ไว้

การทามมั มี่ เริ่มจากนาศพมาทาความสะอาด ล้วงเอาอวยั วะภายในออกโดยการใช้ตะขอทที่ าด้วย สาริดเกยี่ วเอาสมองออกทางโพรง จมูก ใช้มดี กรีดข้างลาตวั เพอ่ื ล้วงเอาอวยั วะออกจากศพ เหลอื เพยี งหัวใจไว้ จากน้ันนาขเี้ ลอื ย เศษผ้าลนิ ิน โคลน และเครื่องหอมใส่เข้าไปแทนท่ี อวยั วะภายใน ซ่ึงจะถูกนาไปล้างด้วยไวน์ปาล์ม แล้วบรรจุลงในภาชนะสี่เหลยี่ มมฝี าปิ ด ส่วนร่างจะนาไปดอง เกลอื 7-10 วนั แล้ว นามาเคลอื บนา้ มนั สน ตกแต่งพนั ศพด้วยผ้าลนิ ินสีขาวชุบเรซิน บรรจุลง หีบศพพร้อมกบั เครื่องรางของขลงั ต่างๆ รวมถึงหน้ากากจาลองใบหน้าของผู้ตายใส่ในหีบศพอกี

ชาวอยี ปิ ต์ สร้างความเจริญให้แก่ชาวโลกเป็ นจานวนมากอารยธรรมส่วนใหญ่เกดิ จากการสร้างสรรค์ โดยภูมปิ ัญญาของชาวอยี ปิ ต์ ซึ่งได้ประดษิ ฐ์และคดิ ค้น ความเจริญด้านต่างๆ เพอื่ ตอบสนอง ความจาเป็ นในการดาเนินชีวติ และความเช่ือทางศาสนา ศาสนา ศาสนามอี ทิ ธิพลสาคญั ต่อการดาเนินชีวิตและการสร้างสรรค์อารยธรรมอยี ปิ ต์ความเชื่อ ทางศาสนาของชาวอยี ปิ ต์ผกู พนั กบั ธรรมชาตแิ ละสภาพภูมศิ าสตร์จะเห็นได้ว่าชาวอยี ปิ ต์นับถือ เทพเจ้าหลายองค์ท้งั ทเี่ ป็ นสรรพส่ิงตามธรรมชาตแิ ละวญิ ญาณของอดีตฟาโรห์โดยบูชาสัตว์ ต่างๆ เช่น แมว สุนัข หมาใน วัว เหยย่ี ว แกะ ฯลฯ เพราะเชื่อว่าสัตว์เหล่าน้ันเป็ นทส่ี ิงสถิตของ เทพซ่ึงพทิ กั ษ์มนุษย์

ความเชื่อ เดมิ ทีก่อนการรวมแผ่นดนิ หัวเมอื งต่างๆ ท้งั ในอยี ปิ ต์บนและล่าง ต่างนับถือเทพต่างๆ กนั ต่อมาเมอื่ รวมแผ่นดนิ แล้วกย็ งั คงมีความเช่ือแบบพหุเทวนิยมอย่โู ดยมี เทพเจ้ารา เป็ นเทพ สูงสุดชาวอยี ปิ ต์เชื่อว่าพระองค์เป็ นผ้สู ร้างโลกและสวรรค์รวมท้งั ส่ิงมชี ีวิตท้งั ปวง นอกจากเทพ เจ้าราแล้ว เทพทชี่ าวอยี ปิ ต์นับถือกนั มากได้แก่ เทพเจ้าโอซิริส เทพแห่งยมโลกผู้มหี น้าทตี่ ดั สิน ดวงวญิ ญาณนอกจากนีย้ งั มเี ทพอน่ื ๆ ทถ่ี ือเป็ นเทพเจ้าประจาแต่ละเมือง ท้งั ยงั มีความเชื่อเรื่อง การฟื้ นคนื ชีพหลงั ความตาย

วถิ ชี ีวติ ของชาวอยี ปิ ต์โบราณ ชาวอยี ปิ ต์โบราณดารงชีวติ ด้วยการกสิกรรม โดยเฉพาะในเขตทรี่ าบนา้ ท่วมถึงหรือที่ เรียกว่าเขตดนิ สีดาทชี่ ่ือว่า เคเมต เป็ นดนิ แดนทอี่ ุดมสมบูรณ์ การเพาะปลูกได้ผลดี พชื ผลทไ่ี ด้จะ ถอื เป็ นสมบัตขิ องฟาโรห์และจะมกี ารแจกจ่ายแก่ประชาชนอย่างเหมาะสม พชื ทน่ี ิยมปลูกกนั คือ ข้าวสาลแี ละข้าวบาร์เลย์ โดยพวกเขาจะใช้ข้าวสาลที าขนมปัง และทาเบียร์จากข้าวบาเลย์ ซึ่งท้ัง สองอย่างนีเ้ ป็ นอาหารหลกั ของชาวอยี ปิ ต์โบราณ พชื ผลเหล่านีย้ งั ใช้เป็ นสินค้าส่งออกไปยงั ดนิ แดน อน่ื ๆอกี ด้วย

ลาดับราชวงศ์ •ปลายยุคก่อนราชวงศ์แห่งอยี ปิ ต์โบราณ •ยุคราชวงศ์ •ราชวงศ์ต้นๆ (ราชวงศ์ทหี่ นึ่ง และ ราชวงศ์ทส่ี อง) •ราชอาณาจักรเก่า (ราชวงศ์ทสี่ าม ถึง ราชวงศ์ทห่ี ก) •ช่วงต่อระยะทหี่ น่ึง (ราชวงศ์ทเี่ จ็ด ถึง ราชวงศ์ทส่ี ิบเอด็ ) •ราชอาณาจกั รกลาง (ราชวงศ์ทสี่ ิบเอด็ ถึง ราชวงศ์ทสี่ ิบส่ี) •ช่วงต่อระยะทส่ี อง (ราชวงศ์ทส่ี ิบห้า ถงึ ราชวงศ์ทสี่ ิบเจด็ ) •ราชอาณาจกั รใหม่ (ราชวงศ์ทส่ี ิบแปด ถึง ราชวงศ์ทยี่ ส่ี ิบ) •ช่วงต่อระยะท่สี าม (ราชวงศ์ทย่ี ส่ี ิบเอด็ ถึง ราชวงศ์ทีย่ สี่ ิบห้า) •ยุคปลาย (ราชวงศ์ทย่ี สี่ ิบหก ถึง ราชวงศ์ทส่ี ามสิบเอด็ )

สมัยราชอาณาจกั รเก่า มคี วามเจริญรุ่งเรืองในช่วงประมาณปี 2700-2200 ก่อนคริสต์ศักราช เป็ นสมัยทอี่ ยี ปิ ต์มี ความเจริญ ก้าวหน้าในด้านวทิ ยาศาสตร์และศิลปกรรม มีการก่อสร้างพรี ะมดิ ซ่ึงถือว่าเป็ นเอกลกั ษณ์ โดดเด่นของอารยธรรมอยี ปิ ต์ สมัยราชอาณาจกั รกลาง ฟาโรห์มอี านาจปกครองอยู่ในช่วงราวปี 2015-1652ก่อนคริสต์ศักราช ในสมยั ราชอาณาจักร กลางนีอ้ ยี ปิ ต์มคี วามเจริญก้าวหน้าทางวทิ ยาการและภูมปิ ัญญามากโดยเฉพาะด้านการชลประทาน ดงั น้ันจึงได้รับการยกย่องว่าเป็ นยุคทองของอยี ปิ ต์ อย่างไรกต็ าม ในช่วงปลายสมยั นีเ้ กดิ ความวุ่นวาย ในประเทศ จนต่างชาตเิ ข้ามารุกรานและปกครองอยี ปิ ต์

สมัยราชอาณาจักรใหม่ ชาวอยี ปิ ต์สามารถกลบั มาปกครองดนิ แดนของตนอกี คร้ังหนึ่ง ในช่วงประมาณปี 1567-1085 ก่อนคริสต์ศักราช จงึ เรียกว่าสมยั ราชอาณาจักรใหม่ สมยั นีฟ้ าโรห์มอี านาจเดด็ ขาดใน การปกครองและขยายอาณาเขตเหนือดนิ แดนใกล้เคยี งจนเป็ นจกั รวรรดอิ ยี ปิ ต์ สมยั เส่ือมอานาจ จกั รวรรดอิ ยี ปิ ต์เสื่อมอานาจต้งั แต่ประมาณปี 1100 ก่อนคริสต์ศักราชในสมยั นีช้ าวต่างชาติ เช่น พวกเปอร์เซีย จากเอเชีย ได้เข้ารุกรานอยี ปิ ต์และปกครองบางส่วนของอยี ปิ ต์แต่ฟาโรห์ของอยี ปิ ต์ กย็ งั คงปกครองดนิ แดนของตนต่อมาจนถึงประมาณปี 300 ก่อนคริสต์ศักราช ซ่ึงเป็ นช่วงเวลาท่ี อาณาจักรอยี ปิ ต์เสื่อมสลายและถูกชาวต่างชาติยดึ ครอง

รูปภาพทเี่ กยี่ วข้องกบั อารยธรรม อยี ปิ ต์ พรี ะมดิ แห่งเมมฟิ สและสุสาน เปิเดปฝิ ดาฝทาเี่ทกี่เบ็กพบ็ รพะรศะพศพฟฟาโารโหร์ตหุต์ นัุตนั โบราณ คคามามุนุนในในปีป2ี 0200707

รูปภาพทเ่ี กยี่ วข้องกบั อารยธรรม อยี ปิ ต์ โถในวฒั นธรรมก่อน ยุคราชวงศ์ นาร์มอร์พาเลต็ กล่าวถงึ การรวมสอง ดินแดนเป็ นหนึ่ง

รูปภาพทเ่ี กยี่ วข้องกบั อารยธรรม อยี ปิ ต์ คคัมมั ภภรีรเ์แเสสดดงใงหไ้เหห็นเ้ ห็น พรี ะพมรี ดิ ะคมิดาคเฟาเฟรร แแหห่งร่งารชวางชศว์ทง่ี 4ศ์ อกี ษอกั รษภราไฮพโรไกฮลโฟิ รกลฟิ สทงู ่ี ก4ซี แแาลละสะฟสิ งฟซ์ิบงซนท์ บรี่ านบทสูงรี่ กาซี บา

คณะครูทป่ี รึกษากจิ กรรม อาจารย์ อจั ฉรา ไสยะหุต อาจารย์ อารีย์ เทยี่ งอ่อน คณะทางานกจิ กรรม นาย ดนุพล คุม้ ทองคา เลขท่ี 3 นางสาว กลั ธิยา ยมิ้ ละไม เลขที่ 8 นางสาว ณฐั ชนน แยม้ ชื่น เลขท่ี 10 นางสาว ณฐั รตา ละวา้ เลขท่ี 11 นางสาว อุรัสยา ยาใจ เลขที่ 12 นางสาว กมยั ธร พลโคตร เลขท่ี19 นางสาว ดวงหทยั เท่ียงธรรม เลขท่ี 21 นางสาว พชั ราพา นาจนั ทร์ เลขที่ 23 นางสาว อารีวรรณ แยม้ นอ้ ย เลขที่ 25 ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 5 ห้อง 1


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook