Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการเรียน หน่วย 1 เศรษฐศาสตร์ ม.5(กู้คืนอัตโนมัติ)

เอกสารประกอบการเรียน หน่วย 1 เศรษฐศาสตร์ ม.5(กู้คืนอัตโนมัติ)

Published by อัจฉรา ไสยะหุต, 2021-11-15 06:46:29

Description: เอกสารประกอบการเรียน หน่วย 1 เศรษฐศาสตร์ ม.5(กู้คืนอัตโนมัติ)

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการเรียน วชิ า สังคมศกึ ษา 2 (เศรษฐศาสตร)์ ส 32102 ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษา ปีท่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลาเรียน 1 ชว่ั โมง จำนวนหนว่ ยกิต 0.5 หนว่ ยกิต นางอัจฉรา ไสยะหุต นางเพชรัตน์ ไล้รกั ษา ครูผสู้ อน กลมุ่ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนา และ วฒั นธรรม โรงเรียนบอ่ พลอยรชั ดาภิเษก จงั หวัดกาญจนบรุ ี สงั กัดสำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาจงั หวัดกาญจนบรุ ี

คำนำ วิชาเศรษฐศาสตร์ (Economics) คือ วชิ าท่วี า่ ด้วยการจดั สรรทรพั ยากรท่มี อี ยู่ อยา่ งจำกัดเพ่อื ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ที่มีไม่จำกดั โดยมุง่ หมายให้เกดิ ประโยชนแ์ ละ ประสิทธภิ าพสงู สุด เพอ่ื ให้ผูเ้ รียนเขา้ ใจและสามารถบรหิ ารจดั การทรพั ยากรในการผลติ และการ บริโภค การใช้ ทรพั ยากรท่ีมีอยอู่ ย่างจำกดั ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและคุม้ คา่ รวมทัง้ เขา้ ใจ หลักการของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพ่ือการดำรงชวี ิตอย่างมดี ลุ ยภาพ และ เพื่อใหเ้ กิด ความรู้ ความเขา้ ใจทักษะการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรและใชอ้ ย่างคมุ้ ค่า มีประสิทธิภาพ อยา่ งมดี ุลยภาพ ตระหนกั และเกดิ ความสามารถในการคิดความสามารถในการสอื่ สาร ความสามารถในการแกป้ ญั หา ความสามารถในการใชท้ กั ษะอย่างยัง่ ยืน ความสามารถในการ ใช้เทคโนโลยอี ยา่ งมีประสิทธภิ าพ ครผู สู้ อนจึงดำเนินการจัดทำเอกสารประกอบการเรยี นเพอ่ื ให้ผ้เู รยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจและสามารถนำความรู้ทไ่ี ด้รบั ไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจำวนั ของตนเอง ครอบครวั ชมุ ชม สังคมที่ดำรงอยู่ นางอจั ฉรา ไสยะหตุ นางเพชรัตน์ ไลร้ กั ษา

สารบญั หนา้ คำอธบิ ายรายวชิ า ก โครงสรา้ งรายวชิ า ข ขอบขา่ ยการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบอื้ งต้น ค ความรูเ้ บ้อื งต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ 1-7 ใบงาน พรอ้ มแบบทดสอบหลังเรยี น 1-5 ขอ้ มลู สารสนเทศ

ก คำอธิบายรายวชิ า รหัสวิชา ส 32102 สังคมศึกษา 4 (เศรษฐศาสตร์) สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 20 ชั่วโมง 0.5 หนว่ ยกิต ............................................................................................................................. ........................................ ศึกษาและบริหารจดั การทรัพยากรระบบและสถาบนั ทางเศรษฐกจิ เก่ียวกบั การกำหนดราคาและคา่ จ้าง ในระบบเศรษฐกิจความสำคัญของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงท่มี ต่ี ่อเศรษฐกิจสังคมาของประเทศ ความสำคญั ของระบบสหกรณ์การพฒั นาเศรษฐกิจในระดบั ชมุ ชนและประเทศปัญหาทางเศรษฐกิจชมุ ชนระบบและสถาบนั ทาง เศรษฐกจิ ต่างๆ ความสัมพนั ธท์ างเศรษฐกิจการรว่ มมือกนั ทางเศรษฐกิจในสงั คมโลก บทบาท หน้าท่ขี อง รฐั บาลเกี่ยวกบั นโยบาย การเงนิ การคลงั การพัฒนาเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศในรปู แบบต่างๆ โดยทกั ษะกระบวนการทางสงั คมศาสตรเ์ พื่ออภปิ ราย วิเคราะห์ ผลกระทบ สรปุ อธิบาย ความสมั พนั ธ์ รว่ มมอื เสนอแนวทางแกไ้ ข สามารถใช้ทรัพยากรอย่างถกู ต้อง เพอื่ ให้เกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจทักษะการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรและใช้อย่างคุ้มค่า มีประสทิ ธิภาพอยา่ งมี ดลุ ยภาพ ตระหนกั และเกิดความสามารถในการคิดความสามารถในการสือ่ สาร ความสามารถในการแกป้ ัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะอยา่ งยัง่ ยนื ความสามารถในการใช้เทคโนโลยอี ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส 3.1 เขา้ ใจและสามารถบรหิ ารจัดการทรพั ยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ ทรพั ยากรท่ีมีอยู่ อยา่ งจ ากดั ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพและคุม้ ค่า รวมท้ังเข้าใจหลักการของเศรษฐกจิ พอเพียง เพ่ือการด ารงชวี ติ อยา่ ง มดี ุลยภาพ ตัวชวี้ ัด ส 3.1 ม.4-6/1 อภปิ รายการกำหนดราคาและค่าจา้ งในระบบเศรษฐกจิ ส 3.1 ม.4-6/2 ตระหนกั ถงึ ความสำคัญของปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงท่ีมตี ่อเศรษฐกิจ สงั คม ของประเทศ ส 3.1 ม.4-6/3 ตระหนกั ถึงความสำคัญของระบบสหกรณ์ในการพฒั นาเศรษฐกจิ ในระดบั ชุมชน และประเทศ ส 3.1 ม.4-6/4 วเิ คราะหป์ ญั หาทางเศรษฐกจิ ในชุมชนและแนวทางแก้ไข รวมมาตรฐาน 1 มาตรฐาน และตวั ชว้ี ัด ทง้ั หมด 4 ตวั ชี้วัด

ข โครงสรา้ งรายวิชา ส 32102 สงั คมศึกษา 2 (เศรษฐศาสตร์) กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สงั คมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 2 จำนวน 1 ช่ัวโมง 0.5 หนว่ ยกิต หน่วย ช่อื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรู้ เวลา น้ำหนัก 1 เศรษฐศาสตรเ์ บื้องตน้ ส 3.1 ม.4-6/1 - เศรษฐศาสตรเ์ บ้ืองต้น 3 10 ความหมาย ความสำคัญ เปา้ หมายของเศรษฐศาสตร์ - ปญั หาพ้นื ฐานทาง เศรษฐศาสตร์ – กจิ กรรม ทางเศรษฐศาสตรใ์ นชีวติ *ใบงานท่ี 1 เรื่อง เศรษฐศาสตร์ เบื้องตน้ 2 ระบบเศรษฐกจิ ในโลก ส 3.1 ม.4-6/1 - หนว่ ยเศรษฐกจิ ระบบ 5 10 ปจั จุบัน เศรษฐกจิ ตลาด การกำหนดราคา – กฎหมายค่าจา้ งแรงงานใน สงั คมไทย *ใบงานที่ 2 เร่อื ง ระบบ เศรษฐกิจ สอบกลางภาค 1 20 3 เศรษฐกจิ พอเพียงกับ ส 3.1 ม.4-6/1 - โครงสรา้ งเศรษฐกิจไทย 5 10 การพฒั นาเศรษฐกจิ - แผนพัฒนาเศรษฐกจิ ไทย และเครื่องมือชีว้ ดั การ เจริญเตบิ โตทางเศรษฐกิจ - การนำหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง มาใช้ใน การวางแผนพฒั นา เศรษฐกจิ - การนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มาใชใ้ น ชวี ิตประจำวัน *ใบงานท่ี 3 เรือ่ ง เศรษฐกจิ พอเพียง

-- หน่วย ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรู้ เวลา นำ้ หนัก 5 20 4 สหกรณ์และการ ส 3.1 ม.4-6/1 - หลกั สหกรณ์ - เศรษฐกจิ วิสาหกิจชุมชน 1 20 รวมกลุ่มเพ่ือ การพฒั นา - วิเคราะหป์ ัญหาเศรษฐกจิ 1 30 ชุมชน - แนวทางการ 18 50 ชมุ ชนของไทย พัฒนาชมุ ชน 20 100 นำเสนออาชีพท่ีนกั เรยี น สนใจ และใชแ้ นวคดิ ทฤษฎี ทางเศรษฐศาสตร์ อธิบาย ความสำคญั ในดา้ นรายได้ การผลติ สนิ ค้าและบริการ และการสรา้ งประโยชน์แก่ สังคมสว่ นรวม *นำเสนอแนวคิด การ แกป้ ัญหา เศรษฐกิจไทย สอบระหว่างภาค สอบปลายภาค คะแนนระหวา่ งภาค รวม

ค ขอบข่ายการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น เศรษฐศาสตร์เปน็ วิชาท่ีศึกษาถงึ การนำทรัพยากรที่มีอยู่อยา่ งจำกัดมาผลิตสนิ ค้าและบรกิ ารเพื่อตอบสนอง ความตอ้ งการของมนุษย์ และจำหนา่ ยจ่ายแจกไปยงั บคุ คลท่ีตอ้ งการ เศรษฐศาสตรจ์ งึ มีความสำคญั ต่อบุคคลและ ประเทศชาติในหลายด้าน โดยเฉพาะการบริหารการจดั การด้านการเงิน การลงทนุ และการดำเนนิ นโยบายทาง เศรษฐกิจของรัฐบาล เศรษฐศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ ความหมายความสำคญั ของวิชาเศรษฐศาสตร์ • ความหมายของเศรษฐศาสตร์ • ความสำคญั ของวิชาประวัตศิ าสตร์ ขอบขา่ ย เปา้ หมาย ชองการศกึ ษาวชิ าเศรษฐศาสตร์ • ขอบขา่ ยการศกึ ษาวิชาเศรษฐศาสตร์ • เปา้ หมายของการศกึ ษาวิชาเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์กบั การดำเนนิ ชวี ิต • การนำวชิ าเศรษฐศาสตรม์ าใช้ชวี ติ ประจำวัน ปญั หาพืน้ ฐานทางเศรษฐศาสตร์ • What ผลติ อะไร • How ผลติ อย่างไร • For whon ผลติ เพื่อใคร กจิ กรรมทางด้านเศรษฐศาสตร์ • การผลิต * การบริโภค • การกระจายรายได้ * การแลกเปลยี่ น

1 ความรเู้ บอ้ื งต้นเกย่ี วกับเศรษฐศาสตร์ วิชาเศรษฐศาสตร์ (Economics) คือ วชิ าที่ว่าด้วยการจัดสรรทรัพยากรที่มอี ยู่ อยา่ งจำกัดเพื่อตอบสนองความตอ้ งการของมนุษยท์ ่มี ีไมจ่ ำกัด โดยมุ่งหมายใหเ้ กดิ ประโยชน์และ ประสิทธิภาพสูงสุด คำวา่ “เศรษฐศาสตร์” (Economics) เป็นคำท่ีมรี ากศพั ทม์ าจากภาษากรกี วา่ ว่า “Oikonomikos” ซึ่งแปลวา่ การบรหิ ารจัดการของครวั เรือน อย่างไรกต็ ามคำว่า ว่า “เศรษฐศาสตร”์ นนั้ มีความหมายทล่ี กึ ซงึ้ และมขี อบเขตกว้างกวา่ รากศัพทเ์ ดมิ มาก ถา้ พิจารณา คำวา่ เศรษฐศาสตร์จากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ.2525 หมายถึง วชิ าว่าดว้ ยการ ผลิต จำหนา่ ยจ่ายแจกและการบรโิ ภคใช้สอยสง่ิ ตา่ งๆของชมุ ชน ความเป็นมาของวชิ าเศรษฐศาสตร์ แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์มมี าตั้งแต่สมัยโบราณแลว้ นักปราชญ์สมยั โบราณพยายาม สอดแทรกแนวความคดิ และกฎเกณฑท์ างเศรษฐศาสตรป์ ะปนอยู่ในหลกั ปรัชญา ศาสนา ศีลธรรมและ หลักปกครอง แต่ความคิดเหล่าน้ยี งั ไม่ถือเปน็ ทฤษฎที างเศรษฐศาสตร์ เชน่ แนวคิดเรือ่ งการแบง่ งาน กันทำของเพลโต (Plato) แนวคิดเร่ืองความมั่งคั่ง ของอรสิ โตเติล (Aristotle) เปน็ ต้น ในครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 18 ไดม้ ีนกั เศรษฐศาสตร์ชาวอังกฤษบคุ คลแรกทวี่ างรากฐานวิชาเศรษฐศาสตร์ คอื อาดมั สมธิ (Adam Smith) ไดเ้ ขียนตำราทางเศรษฐศาสตร์เลม่ แรกของโลก ซงึ่ มีชื่อค่อนข้างยาว วา่ “An Inquiry into the Nature and Causes of the Wealth of Nations” หรือเรียก สน้ั ๆว่า “The Wealth Nations” (ความมั่งคัง่ แห่งชาต)ิ ตีพมิ พ์ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ.1776 โดยเสนอ ความคิดวา่ รฐั บาลที่เข้ามาบริหารประเทศควรเขา้ แทรกแซงการผลิตและการค้าให้นอ้ ยทส่ี ดุ โดย ยินยอมใหเ้ ป็นภาระหน้าที่ของเอกชน ทงั้ นีเ้ ป็นการสะท้อนถึงแนวความคิดแบบเสรนี ิยมหรือส่งเสรมิ ระบบเศรษฐกิจแบบเสรี แขนงของวิชาเศรษฐศาสตร์ การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ จำแนกตามเนื้อหาได้ 2 สาขา คือ เศรษฐศาสตร์ จุลภาค (Microeconomics) และเศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics) *จำงา่ ยๆ จุลเล็ก มห ใหญ*่ 1) เศรษฐศาสตร์จลุ ภาค (Microeconomics) เปน็ แขนงของวิชาเศรษฐศาสตร์ท่ศี ึกษาถึง ปัญหาและพฤตกิ รรมทางเศรษฐกิจของสงั คมในระดับหนว่ ยย่อยเปน็ สำคญั มุ่งเนน้ ศึกษาเก่ียวกับ พฤตกิ รรมของผดู้ ำเนนิ กจิ กรรมต่างๆในระบบเศรษฐกจิ ด้านพฤตกิ รรมของตลาดและกลไก ราคา บางครัง้ เรียกทฤษฎีเศรษฐศาสตร์จุลภาควา่ ทฤษฎีราคา (Price Theory)

2 2) เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics) เนน้ ศกึ ษาเรือ่ งราวหรือ กจิ กรรมทาง เศรษฐกจิ โดยรวมหรือระดับประเทศ เช่น การบริหารงบประมาณแผน่ ดนิ ประจำปี ปญั หาเงิน เฟอ้ และรายได้ประชาชาติ เปน็ ตน้ บางคร้ังเรียกทฤษฎเี ศรษฐศาสตรม์ หภาควา่ ทฤษฎีรายได้ ประชาชาติ ในปจั จุบนั นี้ นักวิชาการนิยมศึกษาเศรษฐศาสตรจ์ ุลภาคและมหภาคควบคกู่ นั ไป จะเหน็ ไดว้ ่ามกี ารนำผลวิเคราะหท์ างดา้ นเศรษฐศาสตร์จุลภาคมาประยกุ ต์ใช้กบั ทฤษฎีเศรษฐศาสตรม์ หภาค มากขึน้ ก็เพราะเศรษฐกิจส่วนรวม ย่อมมอี งค์ประกอบท่ีเป็นเศรษฐกจิ หน่วยย่อยๆรวมกัน และ พฤติกรรมของแตล่ ะบุคคลหรือแต่ละหน่วยผลิตซึ่งเป็นเศรษฐกิจหน่วยย่อยๆ เพราะเศรษฐกจิ หนว่ ย ย่อยนี้กม็ ีอทิ ธิพลอย่างย่งิ ต่อพฤตกิ รรมและความเปน็ ไปของเศรษฐกจิ ในระดับประเทศหรอื ระดับ ส่วนรวมของสงั คม หน่วยเศรษฐกิจและปญั หาพน้ื ฐานทางเศรษฐกจิ หน่วยเศรษฐกจิ ผู้มีบทบาทในด้านเศรษฐกจิ คอื ผดู้ ำเนนิ กิจกรรมทางเศรษฐกจิ หรือเรียกอกี อยา่ ง หนึง่ ว่าหนว่ ยเศรษฐกจิ ไดแ้ ก่ 1. หน่วยครวั เรอื น (Household) มีบทบาทในการดำเนินกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ เบื้องต้น เปน็ ท้งั ผผู้ ลติ และผู้บรโิ ภค ครัวเรือนเป็นผูร้ ิเร่มิ กจิ กรรมการผลิตและการบรโิ ภค โดยผลติ ส่งิ ทสี่ มาชกิ ของ ครอบครวั มคี วามจำเปน็ และมคี วามตอ้ งการทจี่ ะบรโิ ภค 2. หน่วยธุรกจิ (Firm) คือ บคุ คลหรือองคก์ ารทมี่ ีบทบาทในการผลิตและบรกิ ารสินคา้ เพ่ือ แสวงหาผลกำไรและสนองความตอ้ งการและความพึงพอใจของผู้คนในสังคม เชน่ บรษิ ัทหา้ งรา้ นตา่ งๆ 3. รัฐบาล (Government Agency) มีบทบาทสำคัญในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของ แตล่ ะประเทศ โดยมุง่ ประโยชนแ์ กป่ ระชาชนเปน็ เป้าหมายหลกั ปัญหาพืน้ ฐานทางเศรษฐกจิ ปญั หาการจดั สรรทรัพยากรหรือปัญหาพ้ืนฐานทางเศรษฐกจิ คอื จะผลิตอะไร ผลติ อยา่ งไร และผลติ เพือ่ ใคร (WHAT, HOW, FOR WHOM) จะผลติ อะไร : ควรผลติ สนิ คา้ -บรกิ ารอะไร ใน ปริมาณเทา่ ใด (what to produce) เนือ่ งจากทรัพยากรทางเศรษฐกิจของโลกมีจำกัดและไม่สามารถตอบสนองความต้องการ ทัง้ หมดของมนษุ ยไ์ ด้ จึงจำเปน็ ตอ้ งมีการเลือกว่าจะผลติ สินค้าและบริการอะไรบา้ ง ผลิตในจำนวน เทา่ ใด ลำดบั ของการผลติ ควรเปน็ อย่างไร อะไรควรผลิตก่อน อะไรควรผลิตหลงั เน่ืองจากทรัพยากรมี จำกดั ไมพ่ อเพยี งกบั ความต้องการ เราจึงควรเลือกผลติ สินคา้ และบริการซึง่ เป็นทีต่ ้องการและมี ความจำเป็นมากที่สุดก่อนเป็นลำดับแรก และผลติ ตามความตอ้ งการ ลดหลัน่ ลงมาเรอื่ ยๆ ทัง้ น้ี เพอ่ื ให้ สินคา้ และบรกิ ารที่ผลิตข้นึ มาได้นน้ั สามารถนำไปใช้ตอบสนองความ ต้องการของมนุษยใ์ ห้ได้มากทสี่ ดุ เพราะถา้ ไม่ผลิตตามความต้องการแลว้ สินค้าและบริการท่ผี ลติ ขึ้นมา ได้กจ็ ะเกิดการสูญเปลา่ เนอื่ งจาก ไมไ่ ด้ถกู นำไปใช้ ถอื เปน็ การสูญเสยี ทรพั ยากรไปโดยเปลา่ ประโยชนจ์ ะผลติ อยา่ งไร : โดยใช้ทรัพยากร ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพมากทส่ี ดุ (how to produce)

3 เม่อื ทราบแล้วว่าจะผลิตอะไร จำนวนเทา่ ใด ปญั หาตอ่ มาก็คอื จะเลือกใชเ้ ทคนคิ การผลิต อยา่ งไรจึงจะทำ ให้การผลิตสนิ คา้ และบริการนน้ั เป็นไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพ กลา่ วคือ มีตน้ ทุนการผลิต ต่อหน่วยตำ่ ที่สดุ โดยใหไ้ ดผ้ ลผลิตตามทต่ี อ้ งการคำว่า ประสิทธิภาพ (ตน้ ทุนการผลติ ต่อหนว่ ยต่ำทีส่ ดุ ) หมายถึง ผลิตสนิ ค้าและบริการให้ไดจ้ ำนวนหน่วยของผลผลิตตามที่ตอ้ งการ โดยใชท้ รพั ยากร หรอื ปจั จัยการผลิตให้น้อยท่สี ดุ ผลิตสนิ ค้าและบรกิ ารใหไ้ ด้จำนวนหน่วยของผลผลติ มากทีส่ ดุ ภายใต้ต้นทุน การผลิต จำนวนหนงึ่ ซึง่ ถ้าเป็นไปในลกั ษณะใดลักษณะหนึ่งดงั กลา่ วจะถอื ว่าเป็นการผลิตท่มี ี ประสิทธภิ าพสงู สดุ จะผลิตเพือ่ ใคร : จะกระจายสินคา้ บรกิ ารไปให้ใคร (for whom to produce) ปญั หาสุดท้ายคือ สนิ ค้าและบริการที่ผลติ ขนึ้ มาได้แลว้ นั้นจะจำหนา่ ยจา่ ยแจกหรอื กระจายไปยัง บคุ คลตา่ งๆในสงั คมอย่างไร (ให้แกใ่ คร จำนวนเทา่ ใด) จึงจะเหมาะสมและเกิดความยตุ ิธรรม เพ่ือแตล่ ะ บคุ คลจะไดป้ ระโยชน์สูงสดุ จากสนิ คา้ และบริการนน้ั ระบบเศรษฐกจิ ของโลกในปจั จบุ นั คำวา่ เศรษฐกจิ (economy) เป็นเรือ่ งของความพยายามในการดำเนนิ กจิ กรรมทาง เศรษฐกิจ (economic activities) ให้เกิดประสทิ ธภิ าพสงู สุด ไม่ว่าจะเป็นกจิ กรรมที่เกยี่ วกับการผลิต (production) การบรโิ ภค (consumption) หรอื การจำหน่ายจา่ ยแจกสินคา้ และบริการ (distribution) ทั้งนีเ้ พราะทกุ สังคมในโลกต่างประสบกับปญั หาพืน้ ฐานทางเศรษฐกจิ รว่ มกนั นัน่ คอื ความไม่สมดลุ ระหว่างทรัพยากรท่ีจะใชใ้ นการผลติ สินคา้ และบรกิ ารซึง่ มอี ยู่จำกดั กับความตอ้ งการของ มนษุ ย์ซึง่ มีอยูไ่ มจ่ ำกดั สังคมจงึ ต้องหาวิธีการทจ่ี ะนำทรพั ยากรท่มี อี ยู่มาใช้ในทางท่ีประหยดั ทส่ี ดุ และสามารถ ตอบสนองความต้องการของกลุ่มบุคคลตา่ งๆ ให้เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ สังคมหน่ึงๆย่อมประกอบดว้ ย หนว่ ยเศรษฐกิจต่างๆมากมายรวมตัวกันขึ้นเปน็ สถาบนั ทางเศรษฐกิจ (economic institution) และ เนือ่ งจากแต่ละสังคมมีการปกครอง จารีตประเพณี และวฒั นธรรมทแ่ี ตกตา่ งกัน จึงจำเปน็ ตอ้ งมี กฎเกณฑ์และนโยบายท่ีเป็นแบบแผนให้สถาบันทางเศรษฐกจิ ถือเปน็ แนวปฏบิ ัติในการดำเนินกจิ กรรม เพ่อื แกป้ ัญหาทางเศรษฐกิจใหบ้ รรลุเปา้ หมายสูงสุดในการพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศ ระบบเศรษฐกิจ (economic system) หมายถงึ กล่มุ บุคคลของสังคมทีร่ วมตัวกันเป็นกลุม่ ของ สถาบนั ทางเศรษฐกจิ ตา่ งๆ เช่น สถาบันการผลิต สถาบนั การเงนิ การธนาคาร สถาบันการค้า สถาบนั การขนส่ง สถาบนั การประกนั ภัย ฯลฯ ซึ่งยดึ ถอื แนวปฏบิ ัติแนวทางเดยี วกันในการประกอบ กิจกรรมทางเศรษฐกจิ โดยมีวัตถปุ ระสงคร์ ่วมกนั คืออำนวยความสะดวกในการท่จี ะแกไ้ ขปญั หาพ้นื ฐาน ทางเศรษฐกิจ เพื่อให้สามารถบำบดั ความต้องการให้แก่บคุ คลต่างๆทอ่ี ยู่รว่ มกันในสงั คมนน้ั ให้ได้รบั ประโยชนม์ ากทสี่ ุด เกิดประสทิ ธภิ าพสูงสุด ระบบเศรษฐกิจทำหนา้ ทีแ่ กไ้ ขปัญหาพืน้ ฐานทางเศรษฐกจิ 3 ประการ คือ ตดั สินใจว่า จะ ผลิตสนิ คา้ หรือบรกิ ารอะไรบ้าง และควรผลติ ในจำนวนเทา่ ใด ตดั สนิ ใจวา่ ในการผลิตสนิ ค้าหรอื บรกิ าร เหลา่ นัน้ ควรจะใชว้ ิธกี ารผลิตอย่างไรจึงจะมีประสทิ ธภิ าพสูงสดุ และมตี น้ ทุนต่อหน่วยตำ่ สดุ ตดั สินใจวา่

4 จะจำหนา่ ยจา่ ยแจกสินค้าหรอื บรกิ ารทผี่ ลติ ขึน้ มานน้ั ไปยังบคุ คลกลมุ่ ต่างๆ ในสังคมอย่างไร จงึ จะไดร้ บั ประโยชนอ์ ย่างคุ้มค่าและเปน็ ธรรมมากที่สดุ ระบบเศรษฐกจิ ใดที่สามารถแกไ้ ขปญั หาดังกล่าวไดอ้ ยา่ ง ครบถว้ นยอ่ มเทา่ กับว่าประเทศหรอื สงั คมน้ันจัดสรรทรัพยากรทีม่ ีอยอู่ ยา่ งจำกัดเพอ่ื ตอบสนองความ ตอ้ งการของประชาชนของประเทศทม่ี ีอยไู่ ม่จำกัดไดอ้ ยา่ งทวั่ ถึงช่วยใหป้ ระชาชนมีความอยูด่ กี ิน ดี ประเทศชาติย่อมพัฒนาไปส่เู ปา้ หมายที่วางไว้ ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศตา่ งๆในโลกจะมคี วามแตกต่างกัน ทง้ั น้ี ขนึ้ อยกู่ ับรูปแบบ การปกครอง ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ตลอดจนแนวคิดในการบริหารเศรษฐกจิ ของ ผูบ้ รหิ ารในแตล่ ะประเทศ ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศต่างๆทว่ั โลกสามารถแบ่งออกเป็น 4 ระบบ ใหญๆ่ ดังน้ี 1) ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนยิ มหรือทุนนยิ ม (Laissez-Faire or Capitalism) ระบบเศรษฐกจิ แบบเสรนี ิยมหรือทนุ นิยมเป็นระบบเศรษฐกิจที่ให้เสรีภาพแก่ภาคเอกชนในการเลอื ก ดำเนนิ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ เอกชนมกี รรมสทิ ธ์ิในทรพั ยส์ ิน สามารถเป็นเจ้าของปัจจยั การผลิต เศรษฐทรพั ย์ตา่ งๆที่ตนหามาได้ มีเสรภี าพในการประกอบธรุ กิจ รวมท้งั การเลือกอุปโภคบริโภคสินค้า และบรกิ ารต่างๆ แตท่ ว่าเสรีภาพดงั กล่าวจะต้องอยู่ภายใตข้ อบเขตของกฎหมาย กล่าวคอื การ ดำเนนิ การใดๆจะต้องไม่ละเมิดสทิ ธเิ สรีภาพพ้นื ฐานของบคุ คลอน่ื ใชร้ ะบบของการแข่งขันโดยมีราคา และระบบตลาดเป็นกลไกสำคัญในการจดั สรรทรัพยากร โดยรัฐบาลจะไมเ่ ข้าไปเก่ียวขอ้ งในกิจกรรม ทางเศรษฐกจิ จะมหี น้าทีเ่ พยี งการรกั ษาความสงบเรียบรอ้ ยของบ้านเมืองและการปอ้ งกนั ประเทศ ขอ้ ดีของระบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นิยม เอกชนมีเสรภี าพในการเลอื กตดั สินใจดำเนนิ กิจกรรมทาง เศรษฐกิจตามทีต่ นถนดั กำไรและการมรี ะบบกรรมสิทธใิ์ นทรพั ยส์ นิ เปน็ แรงจูงใจทำใหก้ ารทำงาน เปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ กล่าวคอื เอกชนจะทำงานอย่างเต็มท่ี เนื่องจากผลติ ไดม้ ากนอ้ ยเทา่ ไรกจ็ ะ ไดร้ ับผล ตอบแทนหรอื รายได้ไปเทา่ น้นั ภายใต้ระบบเศรษฐกิจระบบนีจ้ ะมกี ารคดิ ค้นสง่ิ ประดษิ ฐห์ รือ เทคนิคใหมๆ่ อยเู่ สมอทำให้เกดิ การพัฒนาอยตู่ ลอดเวลา ข้อเสยี ของระบบเศรษฐกิจแบบทนุ นยิ ม กอ่ ใหเ้ กิดปัญหาความเหล่ือมลำ้ อันเน่อื งจากความสามารถ ที่แตกต่างกนั ในแต่ละบุคคลโดยพื้นฐาน ทำใหค้ วามสามารถในการหารายไดไ้ มเ่ ท่ากนั ผู้ท่ีมี ความสามารถสูงกวา่ จะเป็นผูไ้ ดเ้ ปรียบผูท้ ่อี อ่ นแอกวา่ ในทางเศรษฐกิจในหลายๆกรณี ราคาหรือกลไก ตลาดยังไมใ่ ช่เครื่องมือทม่ี ีประสทิ ธภิ าพเพยี งพอสำหรบั การจัดสรรทรัพยากรของระบบเศรษฐกจิ ตัวอย่างเช่น สินคา้ และบริการท่มี ลี กั ษณะของการผกู ขาดโดยธรรมชาติหรอื สินค้าและบริการสาธารณะ ซึ่งได้แก่ บริการดา้ นสาธารณูปโภค (น้ำประปา ไฟฟา้ โทรศัพท์ ฯลฯ) โครงสรา้ งพน้ื ฐาน (ถนน เขอื่ น สะพาน ฯลฯ) จะเห็นได้วา่ สนิ ค้าและบริการดงั กลา่ วสว่ นใหญจ่ ะต้องใชเ้ งินลงทุนมาก เทคโนโลยีท่ี ทนั สมัย เสย่ี งกับการขาดทนุ เนื่องจากมรี ะยะการคืนทนุ นาน ไม่คุ้มค่าในเชงิ เศรษฐกจิ ทำใหเ้ อกชนไม่ ค่อยกล้าลงทนุ ที่จะผลิต สง่ ผลใหร้ ัฐบาลต้องเขา้ มาดำเนนิ การแทน อนั เนื่องจากสนิ คา้ และบริการ

5 เหลา่ น้ีเป็นสงิ่ จำเปน็ ขน้ั พ้ืนฐานทีป่ ระชาชนตอ้ งการ จะเห็นได้ว่ากรณดี ังกล่าวราคาไม่สามารถเขา้ มาทำ หนา้ ทีใ่ นการจดั สรรทรพั ยากรได้การใชร้ ะบบการแข่งขนั หรือกลไกราคาอาจทำใหเ้ กิดการใชท้ รพั ยากร ทางเศรษฐกิจอย่าง สิ้นเปลอื ง เชน่ ในบางช่วงท่มี กี ารแขง่ ขันกนั สรา้ งศนู ย์การค้าเพราะคดิ วา่ เป็น กจิ การท่ีใหผ้ ลตอบแทนหรือกำไรดี ศูนย์การค้าเหล่านเ้ี มื่อสรา้ งขึน้ มามากเกินไปกอ็ าจไม่มผี ู้ซือ้ มากพอ ทำให้ประสบกบั การขาดทนุ กจิ การตอ้ งล้มเลกิ เสียทนุ ท่ใี ชไ้ ปในกจิ การน้ัน เป็นการสูญเสียทรพั ยากร ทางเศรษฐกิจไปอยา่ งเปล่าประโยชน์และไม่คุ้มคา่ เป็นตน้ 2) ระบบเศรษฐกจิ แบบคอมมวิ นสิ ต์ (Communism) ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสตเ์ ปน็ ระบบเศรษฐกจิ ท่มี ีลกั ษณะตรงกนั ข้ามกับระบบเศรษฐกจิ แบบเสรี นิยมหรือทุนนยิ ม ภายใต้ระบบเศรษฐกจิ แบบคอมมวิ นิสตร์ ัฐบาลเปน็ เจ้าของทรัพยากรต่างๆ รวมทัง้ ปัจจัยการผลิตทกุ ชนิด เอกชนไม่มีกรรมสิทธิ์ ตลอดจนเสรภี าพทีจ่ ะเลือกใช้ ปัจจัยการผลติ ได้ รัฐบาล เป็นผ้ปู ระกอบการและทำหน้าทจ่ี ัดสรรทรัพยากรตา่ งๆ หนว่ ยธุรกจิ และครัวเรือน จะผลิตและบริโภค ตามคำสัง่ ของรฐั กลไกราคาไมม่ ีบทบาทในการแกไ้ ขปญั หาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ การแก้ไขปญั หา พืน้ ฐานทางเศรษฐกจิ กระทำโดยรฐั บาล กล่าวคอื รัฐบาลจะเป็นผทู้ ำหน้าทตี่ ดั สินใจว่าทรัพยากรตา่ งๆที่ มอี ยคู่ วรจะนำมาผลิตสินค้าและบรกิ ารอะไร ผลติ อย่างไร และผลิตเพื่อใคร การตัดสินใจ มกั จะทำอยู่ ในรปู ของการวางแผนแบบบังคบั จากสว่ นกลาง (central planning) โดยคำนึงถึงสวัสดิการ ของสังคม สว่ นรวมเป็นสำคัญโดยสรุประบบเศรษฐกิจแบบนจ้ี ะมลี ักษณะเด่นอยทู่ ก่ี ารรวมอำนาจทกุ อย่างไวท้ ่ี ส่วนกลางรัฐบาลจะเปน็ ผ้วู างแผนแต่เพยี งผู้เดยี วเอกชนมหี นา้ ท่ีเพยี งแตท่ ำตามคำส่ังของทางการ เทา่ นัน้ ข้อดขี องระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนสิ ต์ จดุ เด่นของระบบเศรษฐกจิ แบบคอมมวิ นสิ ต์กค็ ือ เปน็ ระบบเศรษฐกิจท่ชี ว่ ยลดปัญหาความเหลอ่ื มลำ้ ทางฐานะและรายไดข้ องบคุ คลในสังคม ภายใต้ระบบ เศรษฐกจิ นเี้ อกชนจะทำการผลิตและ บริโภคตามคำส่งั ของรัฐ ผลผลติ ท่ีผลติ ขน้ึ มาจะถูกนำส่งเข้า ส่วนกลาง และรัฐจะเปน็ ผู้จัดสรรหรอื แบง่ ปัน สินคา้ และบริการดังกล่าวให้ประชาชนแต่ละคนอย่างเท่า เทียมกันโดยไมม่ ีการไดเ้ ปรียบเสียเปรยี บ ข้อเสียของระบบเศรษฐกิจแบบคอมมวิ นิสต์ ประชาชนไม่มเี สรภี าพทจ่ี ะผลิตหรือบรโิ ภคอะไรได้ ตามใจ ถูกบงั คับหรอื ส่ังการจากรฐั สินคา้ มคี ุณภาพไม่ดีเทา่ ท่คี วร เน่อื งจากผู้ผลิตขาดแรงจูงใจ เพราะ ไมว่ ่าจะผลิตสินคา้ ได้ มากน้อยเพียงใด คุณภาพเป็นอย่างไร ผูบ้ รโิ ภคกไ็ ม่มที างเลอื กจะต้องบริโภคตาม การปนั สว่ นท่ีรัฐจดั ให้ การใช้ทรัพยากรทางเศรษฐกจิ อาจเป็นไปอย่างไม่มปี ระสิทธภิ าพ เน่ืองจาก รัฐบาลไมส่ ามารถทจี่ ะมขี า่ วสารสมบูรณ์ในทกุ ๆเรอ่ื ง เชน่ รัฐไมร่ ู้ความต้องการทีแ่ ทจ้ ริงของประชาชน ทำใหผ้ ลิต สินคา้ ที่ไม่ตรงกับความตอ้ งการ ส่งผลให้มีสินคา้ เหลือ (ไมเ่ ปน็ ทตี่ ้องการ) จะเห็นไดว้ ่า ลักษณะดังกล่าว ก่อให้เกิดการสูญเสยี ทรัพยากรของประเทศไปโดยเปลา่ ประโยชน์ เปน็ ต้น

6 3) ระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนิยม (Socialism) ระบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนยิ มเปน็ ระบบเศรษฐกจิ ท่ีมีลกั ษณะใกลเ้ คียงกบั ระบบเศรษฐกจิ แบบ คอมมิวนสิ ต์ ภายใต้ระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนิยมรัฐจะเปน็ ผูค้ รอบครองทรพั ยากรการผลติ พนื้ ฐาน ไว้ เกือบท้ังหมด และเปน็ ผวู้ างแผนเศรษฐกิจ กำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาพื้นฐาน กจิ การหลักท่ีมี ความสำคัญต่อเศรษฐกิจส่วนรวมของประเทศ เชน่ ธุรกิจธนาคาร อุตสาหกรรมเหมอื งแร่ ป่าไม้ น้ำมัน กิจการสาธารณูปโภค และสาธารณปู การตา่ งๆ ฯลฯ รฐั จะเปน็ ผู้เขา้ มาดำเนนิ การเอง อย่างไรก็ตาม รัฐ ยงั ให้เสรีภาพแกป่ ระชาชนบา้ งพอสมควร เอกชนมีเสรภี าพและกรรมสิทธ์ิในการถือครองทรัพย์สนิ เช่น สามารถทำธุรกิจค้าขายขนาดย่อมระหว่างท้องถนิ่ ใกลเ้ คียง สามารถถือครองกรรมสทิ ธท์ิ ด่ี นิ ทำกนิ เพ่ือ การยังชพี โดยสรุป ระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนยิ มเปน็ ระบบเศรษฐกจิ ทีอ่ าศยั กลไกรัฐเป็นกลไกสำคัญ ในการจดั สรรทรัพยากรของระบบเศรษฐกิจ แต่ทวา่ กลไกราคาพอจะมบี ทบาทอยูบ่ า้ งในระบบ เศรษฐกจิ นี้ ข้อดีของระบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนยิ ม ระบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนยิ มเปน็ ระบบเศรษฐกิจท่ีมสี ่วน ชว่ ยลดปญั หาความเหลอ่ื มลำ้ ทาง ฐานะและรายไดข้ องบุคคลเช่นเดยี วกับระบบเศรษฐกจิ แบบ คอมมิวนิสต์ นอกจากนนั้ ภายใต้ระบบเศรษฐกจิ น้ีเอกชนมเี สรีภาพและมกี รรมสิทธ์ิในการถือครอง ทรพั ยส์ ินบ้างพอสมควร ขอ้ เสียของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม ภายใตร้ ะบบเศรษฐกิจแบบสังคมนยิ ม เนื่องจากปัจจยั การผลิตพื้นฐานอย่ใู นการควบคุมของ รฐั บาลทำให้ขาดความคลอ่ งตัว การผลติ ถกู จำกดั เพราะต้องผลติ ตามท่รี ัฐกำหนด โอกาสทจ่ี ะขยายการผลติ หรอื พฒั นาคณุ ภาพการผลิตเป็นไปค่อนข้างลำบาก ทำให้ การใช้ทรพั ยากรทางเศรษฐกิจอาจเป็นไปอยา่ งไม่มปี ระสทิ ธภิ าพ ในลักษณะเดียวกบั ระบบเศรษฐกิจ แบบคอมมวิ นสิ ต์ 4) ระบบเศรษฐกจิ แบบผสม (Mixed Economy) ระบบเศรษฐกจิ แบบผสมเป็นระบบเศรษฐกิจที่มลี ักษณะผสมผสานระหว่างระบบเศรษฐกิจแบบทุน นิยม กับระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนิยม กล่าวคอื ภายใตร้ ะบบเศรษฐกิจแบบผสมท้ังรฐั บาลและเอกชน ต่างมีส่วนรว่ มในการแก้ไขปญั หาพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจ ปจั จยั การผลิตมีท้ังสว่ นทเี่ ป็นของรัฐบาลและ เอกชน ในส่วนท่ีเปน็ แบบทนุ นยิ ม คอื เอกชนมีกรรมสิทธใ์ิ นทรัพย์สินบางอยา่ ง มเี สรีภาพในการเลอื ก ผลิตหรือบรโิ ภค ใชร้ ะบบของการแข่งขัน กลไกราคาเขา้ มาทำหน้าทจ่ี ดั สรรทรัพยากร ส่วนที่เป็นแบบ สงั คมนยิ ม คือ รฐั บาลเข้ามาควบคมุ หรือเข้ามาดำเนินกจิ การทีม่ คี วามสำคญั ต่อความเป็นอยู่ของ ประชาชนสว่ นใหญข่ องประเทศ เช่น กิจการสาธารณูปโภค อตุ สาหกรรมหลกั และอตุ สาหกรรมขนาด ใหญ่ที่ต้องมกี ารลงทนุ มากเพราะหาเอกชนลงทุนได้ยาก เน่ืองจากเปน็ กิจการท่ีต้อง เส่ยี งกับการขาดทุน หรอื ไมค่ มุ้ กับการลงทุน แตก่ จิ การเหล่านี้จำเปน็ ต้องมีเพราะเป็นปจั จัยพื้นฐานตอ่ การดำรงชพี เช่น ไฟฟ้า นำ้ ประปา การขนส่ง และคมนาคม เหตุที่รัฐบาลเข้ามาดำเนินการในกิจการดงั กลา่ วก็เพ่ือขจัด ปญั หาในเร่อื งการผูกขาดหรือเอารดั เอาเปรียบ ซ่งึ มักจะเกดิ ข้ึนถ้าปล่อยใหเ้ อกชนทำการแขง่ ขนั โดย

7 สรุปแลว้ ระบบเศรษฐกิจแบบผสมจงึ เป็นระบบเศรษฐกจิ ที่มกี ารใชท้ ้ังระบบกลไกราคา หรอื ระบบตลาด ควบคไู่ ปกบั ระบบกลไกรัฐในการจัดสรรทรัพยากร ขอ้ ดขี องระบบเศรษฐกจิ แบบผสม เป็นระบบเศรษฐกิจทีค่ อ่ นขา้ งมีความคล่องตวั กล่าวคอื มกี ารใช้ กลไกรฐั ร่วมกับกลไกราคาในการจดั สรรทรัพยากรของระบบ กิจการใดทก่ี ลไกราคาสามารถทำหนา้ ท่ีได้ อย่างมีประสิทธิภาพ รฐั ก็จะปล่อยใหเ้ อกชนเป็นผูด้ ำเนินการ (ใช้ระบบของการแข่งขัน) แตถ่ ้ากิจการใด ทีก่ ลไกราคาไมส่ ามารถทำหนา้ ที่ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพรัฐก็จะเข้ามาดำเนนิ การแทนจะเห็นได้วา่ ระบบ เศรษฐกจิ แบบผสมเป็นระบบเศรษฐกิจท่ผี สมผสาน กล่าวคอื รวมขอ้ ดีของท้ังระบบเศรษฐกจิ แบบทุน นิยมและสังคมนยิ มเข้าไวด้ ว้ ยกัน อย่างไรกต็ าม ระบบเศรษฐกิจดงั กล่าวก็มีข้อเสียด้วยเช่นกัน ข้อเสยี ของระบบเศรษฐกิจแบบผสม การมกี ำไรและระบบกรรมสิทธ์ใิ นทรัพย์สินอาจก่อใหเ้ กดิ ปญั หา ความเหลื่อมล้ำทางฐานะ และรายไดเ้ ช่นเดียวกับระบบเศรษฐกิจแบบทนุ นิยม การที่รัฐสามารถเขา้ มา แทรกแซงตลาดโดยใชก้ ลไกรฐั อาจก่อให้เกดิ ปญั หาการฉอ้ ราษฎร์บังหลวง ทำใหเ้ กดิ การบดิ เบือนการใช้ ทรพั ยากรของระบบเศรษฐกิจเปน็ ไปอย่างไมม่ ปี ระสิทธิภาพเทา่ ท่ีควร ปญั หาเอกชนไมก่ ล้าลงทนุ อยา่ ง เตม็ ทเี่ นือ่ งจากไมแ่ น่ใจในสถานการณ์ทางการเมือง และนโยบายของรฐั บาลซึง่ มีความผนั ผวนและ แปรเปลี่ยนไดง้ า่ ย อาจทำให้เศรษฐกจิ เกดิ การหยุดชะงกั การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นไปอย่างไม่ ตอ่ เนื่อง

-1- ใบงาน 1.1 เรื่อง ความสำคญั และเปา้ หมายของเศรษฐศาสตร์ คำช้แี จง ใหน้ กั เรียนตอบคำถามตอ่ ไปนี้ 1. วชิ าเศรษฐศาสตร์ มีความสำคญั อยา่ งไร 2. การศกึ ษา เศรษฐศาสตร์ จลุ ภาคจะทำใหร้ ู้ เรอ่ื งราวเก่ียวกับ อะไร

-2- 3. การศึกษา เศรษฐศาสตร์ มหภาคจะทำใหร้ ู้ เรอื่ งราวเกี่ยวกบั อะไร 4. การศกึ ษา เศรษฐศาสตร์ จุลภาคกบั เศรษฐศาสตร์มหภาค ทำให้ได้รับความรู้ แตกต่างกนั อย่างไร

-3- 5. เศรษฐศาสตรต์ าม ความ เปน็ จรงิ หรือ เศรษฐศาสตร์พรรณนา นั้นเป็นการม่งุ อธิบาย ในเร่ืองใด 6. เศรษฐศาสตรท์ ค่ี วรจะ เป็นหรอื เศรษฐศาสตร์ นโยบายเป็นการมงุ่ กล่าวในเร่ืองใด 7. เป้าหมายสำคญั ของ -4- วิชาเศรษฐศาสตร์ มงุ่ เน้น ให้ความรู้แก่ ผู้บริโภคเพือ่ ให้เกิด ผลอย่างไร

-4- 8. เป้าหมายสำคญั ของ วิชาเศรษฐศาสตร์ มงุ่ เน้น ใหค้ วามรูแ้ ก่ ผ้ปู ระกอบการผลิต เพ่อื ใหเ้ กิดผลอย่างไร 9. เปา้ หมายสำคัญของ วชิ า เศรษฐศาสตร์ มุ่งเน้น ใหค้ วามรูแ้ ก่ผูบ้ ริหาร ในองค์กรของรัฐเพ่ือผล สาคญั ในเร่ืองใด -5-

-5- แบบทดสอบหลังเรยี น คำชแ้ี จง ใหก้ า  ทับตวั อักษรหน้าข้อความที่เป็นคำตอบท่ถี กู ท่สี ดุ เพียงข้อเดยี ว 1. ข้อใดเปน็ ปจั จยั สำคัญท่ีทำให้ประชาชนให้ความร่วมมือตอ่ นโยบายเศรษฐกจิ ของรฐั บาล ก. รฐั บาลมกี ารประชาสมั พันธด์ ี ข. ประชาชนมีฐานะทางเศรษฐกิจดี ค. ประชาชนมีความรู้ทางเศรษฐศาสตร์ ง. ผู้นำรฐั บาลมคี วามรูท้ างดา้ นเศรษฐกิจเปน็ อย่างดี 2. เศรษฐศาสตร์จุลภาคเปน็ การศกึ ษาเก่ยี วกับเรอื่ งใด ก. รายไดแ้ ละรายจา่ ยประชาชาติ ข. การจา้ งงาน การออม การลงทนุ การเงิน การค้า ค. การศกึ ษาปัญหาตา่ งๆ ท่ีกระทบต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ ง. การผลิตสินค้าและบรกิ าร การกำหนดราคาสินคา้ การกระจายสินคา้ จากผผู้ ลิตไปยัง ผูบ้ รโิ ภค 3. เศรษฐศาสตร์มหภาค เป็นการศกึ ษาเกีย่ วกับเรอ่ื งใด ก. อทิ ธิพลของปจั จัยที่มีผลต่อรายได้ประชาชน ข. การกระจายสินค้าไปยังผูบ้ รโิ ภคในแตล่ ะพื้นที่ ค. การจดั สรรทรัพยากรในการผลิตสินคา้ และบรกิ าร ง. การศกึ ษาในเรือ่ งราคาสินคา้ การบรโิ ภคสินคา้ ความสมั พันธ์ระหวา่ งองคก์ รผ้ผู ลิต 4. วชิ าเศรษฐศาสตรม์ เี ป้าหมายสำคัญในการให้ความรตู้ ่อประชาชนในขอ้ ใด ก. เพอ่ื ให้รูจ้ กั เลอื กใชส้ ินค้าราคาถกู ทสี่ ดุ เพอ่ื เป็นการลดภาระคา่ ใชจ้ ่าย ข. เพอ่ื ใหร้ จู้ ักเลอื กใชส้ นิ ค้าใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อตนเองและครอบครวั มากที่สดุ ค. เพือ่ ให้รู้จักการวางแผนการใชจ้ ่ายเงนิ และการเลือกใชส้ นิ ค้าทมี่ อี ยู่อยา่ งพอเพียง ง. เพอ่ื ให้รู้จกั การตัดสนิ ใจเลือกใชท้ รพั ยากรทม่ี ีอยูอ่ ย่างจำกดั ในการบรโิ ภคและใชใ้ นทาง ทด่ี ที สี่ ดุ 5. ประเทศตา่ งๆ ประสบปญั หาพน้ื ฐานทางเศรษฐกิจคลา้ ยคลงึ กันอยา่ งไร ก. แรงงาน และต้นทนุ การผลิตคอ่ นขา้ งสูง ทำให้มีกำไรต่ำมาก ข. ทรพั ยากรของประเทศแต่ละประเทศลดนอ้ ยลงไปจากเดมิ มาก ค. ความไมพ่ อดีกันระหวา่ งความต้องการของมนุษย์ และส่ิงทจี่ ะมาตอบสนองความต้องการ ง. การหาตลาดสง่ ออกสินค้าท่ผี ลิตไดน้ ้อยเนอ่ื งจากมคี ่แู ข่งในการผลิตสนิ คา้ จำนวนมากข้นึ กว่าเดมิ

-6- 6. ขอ้ ใดจดั เป็นปัจจยั ในการผลติ ก. ผู้ประกอบการ ทด่ี ิน แรงงาน การบรกิ าร ข. แรงงาน ทรพั ยากรธรรมชาติ ค่าเชา่ ค. ท่ีดนิ แรงงาน ทนุ ผ้ปู ระกอบการ ง. ทนุ เครือ่ งจักร ทรพั ยากร ท่ีดิน 7. การใช้ประโยชนจ์ ากส่งิ ของและบรกิ าร เพือ่ สนองความต้องการของมนษุ ยส์ อดคลอ้ งกบั ขอ้ ใด ก. ผู้ผลิต ข. ผ้บู ริโภค ค. ปัจจยั พน้ื ฐาน ง. ผ้ปู ระกอบการ 8. ผบู้ ริโภคจะเลอื กซื้อสินคา้ โดยคำนึงเรื่องใดมากที่สุด ก. สินคา้ ราคาถูกแต่มคี ณุ ภาพดี ข. คุณภาพของสินคา้ ทไี่ ดม้ าตรฐานและราคาต่ำ ค. รายได้ทีม่ ีอยูอ่ ย่างจำกดั และความเหมาะสมของราคาสนิ คา้ ง. ความพอใจสงู สดุ ภายใตร้ ายไดแ้ ละทรพั ยากรทมี่ อี ยอู่ ย่างจำกดั 9. ขอ้ ใดจัดเปน็ การกระจายรายได้ตามหน้าทใ่ี นการผลิต ก. ท่ีดนิ แรงงาน กำไร ค่าจ้าง ข. ค่าเชา่ ค่าจ้าง ดอกเบีย้ กำไร ค. ทนุ ค่าเช่า ดอกเบย้ี แรงงาน ง. ตน้ ทุน กำไร ดอกเบี้ย แรงงาน 10. ผผู้ ลิตสินค้าจะมีกำไรสูงขึ้นด้วยวธิ กี ารหลายอย่าง ยกเว้นข้อใด ก. มีการประชาสัมพนั ธ์สินค้าและบริการไดม้ ากกว่าผ้ผู ลิตรายอื่น ข. ผลติ สินค้าตรงตามความต้องการและรสนยิ มของผบู้ รโิ ภค ค. มกี ารกระจายสนิ ค้าส่ผู ู้บรโิ ภคไดม้ ากทส่ี ุด ง. องค์กรของรัฐสนับสนุนสินคา้ และบริการ

แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ http://www.mof.go.th http://www.idis.ru.ac.th http://www.mfa.go.th/business/1092.php http://www.itd.or.th/th/comment/reply/354