Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SINGAPORE

SINGAPORE

Published by sarawalee7113, 2021-09-10 15:36:59

Description: SINGAPORE

Search

Read the Text Version

LOST IN SINGAPORE HIGHWAY TO SINGAPORE JOURNAL TOURISM

คำนำ วารสารวัฒนธรรมอาเซียน ประเทศสิงคโปร์ ฉบับนี้ นับเป็นฉบับ ที่ 1 ของการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานบทความทาง วิชาการ หรือ บทความจากผลการศึกษารวบรวมข้อมูล สู่สาธารณชนในรูปแบบ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic) ของนักเรียน คุณครู ตลอดจนนัก วิจัยทั่วไป ในการเผยแพร่ความรู้ ความคิด และการพัฒนาต่าง ๆ ที่ ได้จากการศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ ตลอดจนแง่มุมต่าง ๆ ของ วิท ย า ก า ร อั น ห ล า ก ห ล า ย ซึ่ ง จ ะ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ก า ร ศึ ก ษ า ท า ง ก ลุ่ ม ข อ ง ดิ ฉั น เ ล็ ง เ ห็ น ค ว า ม สำ คั ญ ข อ ง ก า ร ส่ ง เ ส ริม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น ใ ห้ เ กิ ด ก า ร เ ผ ย แ พ ร่ เ รื่ อ ง นี้ จึ ง ไ ด้ จั ด ทำ ว า ร ส า ร วั ฒ น ธ ร ร ม อาเซียน ประเทศสิงคโปร์ขึ้นมา เพื่อเป็นความรู้ให้กับผู้คนที่ ต้องการศึกษา จึงขอเชิญชวน นักเรียน คุณครู และ บุคคลอื่นๆที่ ต้องการศึกษา ร่วมกันเสนอแนะและอภิปรายบทความนี้ตามจุด ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง ท่ า น สำหรับวารสารวัฒนธรรมอาเซียน ประเทศสิงคโปร์ ได้รวบรวม เนื้อหาไว้ถึง10หัวข้อ ประกอบไปด้วย ความเป็นมาของประเทศ ลักษณะทางภูมิศาสตร์ การเข้ามารวมกลุ่มอาเซียน การเมืองการ ปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม โบราณสถานและแหล่งท่อง เที่ยวภายในประเทศ ซึ่งได้ผ่านการระดมความคิดจากสมาชิก ภายในกลุ่มอย่างเรียบร้อย หวังเป็นอย่างยิ่งว่าทุกบทความจะเป็น ประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจและพัฒนา วารสารเล่มนี้ให้ก้าวหน้าต่อไป คณะผู้จัดทำ

สารบัญ หน้า เรื่อง ก ข คำนำ 1 สารบัญ 2 ความเป็นมาของประเทศสิงคโปร์ 3 ลักษณะทางภูมิศาสตร์ การเข้ามารวมกลุ่มอาเซียน 4 5 การเมืองการปกครองของประเทศสิงคโปร์ เศรษฐกิจ 6 7 สภาพสังคมในประเทศสิงคโปร์ 8 การแต่งกายประจำชาติประเทศสิงคโปร์ 9 ดอกไม้ประจำชาติเเละสกุลเงินของประเทศสิงคโปร์ 10 อาหารของประเทศสิงคโปร์ โบราณสถานของประเทศสิงคโปร์ 11 เเหล่งท่องเที่ยวในประเทศสิงคโปร์ 12 ภาคผนวก 13 คณะผู้จัดทำ 14 บรรณานุกรม

ความเป็นมาของประเทศสิงคโปร์ สิงคโปร์เป็นที่รู้จักกันครั้งแรกในสมัยศตวรรษที่ ๓ ของชาวจีน พวกเขาเรียก สิงคโปร์ว่า \"พู เลา ชุง\" (เกาะปลายคาบสมุทร\") ณ เวลานั้นไม่ค่อยมีใครทราบประวัติ ของเกาะแห่งนี้มากนัก แต่ว่าชื่อเรียกนี้ไม่สื่อให้เราเห็นอดีตอันมีสีสันของสิงคโปร์เลย ในศตวรรษที่ ๑๔ สิงคโปร์ถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรศรีวิชัย (Sri Vijayan Empire) และรู้จักกันในชื่อของเทมาเซ็ค (เมืองแห่งทะเล) สิงคโปร์ตั้งอยู่ ตรงปลายแหลมมลายู ซึ่งเป็นจุดนัดพบทางธรรมชาติของเส้นทางเดินเรือ เกาะแห่งนี้ จึงกลายเป็นจุดแวะพักของเรือเดินสมุทรหลายประเภท ตั้งแต่เรือสำเภาจีน เรือ อินเดีย เรือใบอาหรับ และเรือรบของโปรตุเกส ไปจนถึงเรือใบบูจินีส ในศตวรรษที่ ๑๔ เกาะที่มีขนาดเล็กแต่มีทำเลที่เยี่ยมแห่ง นี้ก็ได้ชื่อใหม่ นั่นก็คือ \"สิงหปุระ\" (\"เมืองสิงโต\") ตามตำนาน เล่าว่า เจ้าชายแห่งศรีวิชัยมองเห็นสัตว์ตัวหนึ่งแต่เข้าใจผิด ว่าเป็นสิงโต ชื่ออันปัจจุบันของสิงคโปร์ก็ถือกำเนิดขึ้น ชาวอังกฤษคือผู้สร้างประวัติศาสตร์ตอนต่อมาของ สิงคโปร์ ระหว่างศตวรรษที่ ๑๘ นั้น อังกฤษเล็งเห็นถึงความ สำคัญของ \"จุดแวะพัก\" ทางยุทธศาสตร์ สำหรับซ่อม เติม เสบียง และคุ้มกันกองทัพเรือของอาณาจักรที่เติบใหญ่ของ SINGAPORE ตน รวมถึงเพื่อขัดขวางการรุกคืบของชาวฮอลแลนด์ใน ภูมิภาคนี้ สิงคโปร์เคยเป็นที่ทำสงครามในศตวรรษที่ ๑๔ เมื่อเข้าเกี่ยว พันกับการแย่งชิงแหลมมลายูระหว่างประเทศสยาม (ไทย) กับ จักรวรรดิมัชปาหิตบนเกาะชวาอีกห้าศตวรรษถัดมา ที่นี่ก็เกิด สงครามครั้งสำคัญขึ้นอีกครั้งในระหว่างช่วงสงครามโลกครั้ง ที่สอง เคยถือกันว่าสิงคโปร์เป็นป้อมปราการที่ไม่มีวันแตก แต่ แล้วกองทัพญี่ปุ่นก็สามารถยึดครองเกาะแห่งนี้ได้ในปี ๑๙๔๒ หลังสงคราม สิงคโปร์ก็กลายเป็นอาณานิคมของอังกฤษ การ เติบโตของลัทธิชาตินิยมทำให้สิงคโปร์มีรัฐบาลปกครอง ตนเองในปี ๑๙๕๙ แล้ววันที่ ๙ สิงหาคม ๑๙๖๕ สิงคโปร์ก็ กลายเป็นสาธารณรัฐอิสระ

ลักษณะทางภูมิศาสตร์ ส ภ า พ ท า ง ภู มิ ศ า ส ต ร์ มีพื้นที่ประมาณ 697 ตารางกิโลเมตร (มีขนาดประมาณเท่ากับเกาะภูเก็ตของไทย) ตั้ง อยู่ทางตอนใต้ของคาบสมุทรมลายู ซึ่งเป็นตำแหน่งยุทธศาสตร์ โดยเป็นศูนย์กลางการ คมนาคมทางเรือของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สิงคโปร์ ประกอบด้วย เกาะใหญ่ 1 เกาะ (เกาะสิงคโปร์) และเกาะขนาดเล็กอีกกว่า 60 เกาะ ทิศเหนือ ติดกับประเทศมเลเซีย - Jahor Baru ทิศใต้ ติดกับช่องแคบมะละกา ทิศตะวันออก ติดกับทะเลจีนใต้ ทิศตะวันตก ติดกับมาเลเซีย ลั ก ษ ณ ะ ภู มิ ป ร ะ เ ท ศ ภาคกลางและ ภาคตะวันตกเป็นเนินเขา ซึ่งเนินเขาทางภาคกลาง เป็นเนินเขาที่สูงที่สุด ของประเทศ (165 เมตร) เป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำสายสำคัญของสิงคโปร์ พื้นที่ทาง ภาคตะวันออกเป็นทีราบต่ำ มีพื้นที่บริเวณชายฝั่ งเว้าแหว่งเหมาะที่จะเป็น ท่าเรือ ส ภ า พ ภู มิ อ า ก า ศ สภาพภูมิอากาศ สิงคโปร์อยู่ในเขตมรสุมทำให้มีอากาศอบอุ่นเกือบตลอดปี มีอุณหภูมิ เฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 25 – 32 องศา เซลเซียส แบ่งเป็น 4 ฤดู คือ 1. ฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (North-East Monsoon Season) ระหว่างเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์ เป็นช่วงอากาศหนาว อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 23 - 26 องศา เซลเซี ยส โดยอากาศจะเย็นที่สุดในเดือน ธันวาคม มีอุณหภูมิต่ำสุดประมาณ 20 องศา เซลเซียส ช่วงเดือนมกราคมถึงกุมภาพันธ์ จะมีฝนหนักและลม แรงจากอิทธิพลของมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ 2. ฤดูก่อนมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (Pre South-West Monsoon) ระหว่าง เดือนมีนาคม-พฤษภาคม เป็น ช่วงอากาศร้อน อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 31 - 34 องศา เซลเซียส อากาศจะร้อนที่สุดในเดือนพฤษภาคม มี อุณหภูมิสูงสุดราว 36 องศา เซลเซียส 3. ฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (South-West Monsoon Season) ระหว่างเดือนมิถุนายน-กันยายน มีฝน ตกหนักและลมแรงจากอิทธิพลของมรสุม ตะวันตกเฉียงใต้ 4. ฤดูก่อนมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (Pre North-East Monsoon) ระหว่างเดือนตุลาคม-ธันวาคม เป็น ช่วงที่มีอากาศอบอุ่น และไม่มีฝนมากนัก

การเข้ามารวมกลุ่มอาเซียน ประเทศสิงคโปร์ (Singapore) นโยบายต่างประเทศของสิงคโปร์จึงถูก ประเทศสิงคโปร์ สิงคโปร์เป็น 1 ใน 5 กำหนดโดยความจำเป็นของการพึ่งพาซึ่ง ประเทศผู้ร่วมก่อตั้งใน ค.ศ. 1967 โดย กันและกันทางเศรษฐกิจในระบบเสรีนิยม การร่วมลงนามในปฏิญญากรุงเทพฯ ของ โลก ซึ่งหมายถึงว่าสิงคโปร์ยอมรับและ นายเอส ราชารัตนัม รัฐมนตรีว่าการ ดำเนินการอยู่ในกระแสโลกาภิวัตน์มา กระทรวงการต่างประเทศ แต่เมื่อมีการก่อ ตั้งแต่คำนี้ยังไม่เป็นที่แพร่หลาย ที่สำคัญ ตั้งอาเซียนนั้น สิงคโปร์เพิ่งเป็นประเทศ และเกี่ยวข้องโดยตรงกันอาเซียนก็คือ เอกราชได้เพียง 2 ปี หลังจากแยกตัวออก สิงคโปร์ถือว่าอาเซียนมีส่วนอย่างมากใน มาจากมาเลเซียใน ค.ศ. 1965 จริงๆ แล้ว การส่งเสริมผลประโยชน์ด้านการต่าง ผู้นำสิงคโปร์ในขณะนั้น คือ นายลีกวนยู ประเทศและความมั่นคงของตน ซึ่งรวมไป (Lee Kuan Yew) มิได้ต้องการที่จะแยก ถึงการธำรงรักษาเอกราชและบูรณภาพ ตัวออกมาจากมาเลเซีย เพราะเห็นว่าดิน ทางดินแดน สิงคโปร์จึงให้ความสำคัญ แดน 2 ส่วนนี้มีความผูกพันใกล้ชิดทั้งใน อย่างมากเช่นกันต่อการพัฒนาระเบียบ ทางประวัติศาสตร์และในด้านเศรษฐกิจจน ทางสถาบันของความร่วมมือในเอเชีย ไม่สมควรที่จะดำรงอยู่อย่างแยกจากกัน ตะวันออกเฉียงใต้ และมีส่วนอยู่ไม่น้อยใน ในการให้สัมภาษณ์ที่มีการถ่ายทอดสดทาง การพัฒนาองค์กรและกลไกทางสถาบัน โทรทัศน์ เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 1965 ซึ่ง ของอาเซียน หากมองย้อนกลับไปช่วง เป็นวันประกาศแยกตัวจากมาเลเซีย เขา ก่อนและหลังการก่อตั้งอาเซียนไม่นาน ก็ ต้องหลั่งน้ำตาเพราะไม่อาจกลั้นอารมณ์ไว้ จะเห็นปัญหาความยากลำบากใน ได้ สิงคโปร์ไม่มีทรัพยากรธรรมชาติ ไม่มี สถานการณ์ที่สิงคโปร์เผชิญอยู่ หากไม่มี น้ำประปาใช้เอง และในขณะนั้นมีความ การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองใน สามารถในการป้องกันประเทศอยู่ระดับ อินโดนีเซีย (ซูการ์โนที่ดำเนินนโยบาย จำกัด การแยกตัวออกจากมาเลเซียจึง เผชิญหน้ากับมาเลเซียหมดอำนาจไป) เป็นการท้าทายอย่างยิ่งต่อลีกวนยูและ อาเซียนก็คงยากจะเกิดขึ้น และหากไม่มี รัฐบาลของเขา อาเซียนสิงคโปร์ก็จะเผชิญกับการถอนตัว ออกไปของอังกฤษ ลี กวนยู เป็นนักการเมืองชาวสิงคโปร์อีกทั้งยังเป็นนายกรัฐมนตรี สิงคโปร์คนแรกซึ่งปกครองประเทศเป็นเวลาสามทศวรรษ

การเมืองการปกครอง ของประเทศสิงคโปร์ สิงคโปร์ปกครองโดยระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมาย สูงสุด (The Constitution) แบ่งอำนาจการปกครองออกเป็น 3 ส่วน คือ 1) สภาบริหาร (The Executive) ประกอบด้วยประธานาธิบดี และคณะรัฐมนตรี ซึ่งมีหน้าที่บริหารประเทศผ่านกระทรวง ทบวง กรม และหน่วยงานในสังกัดราชกรอื่นๆ ประธานาธิบดีสิงคโปร์มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน มีวาระดำรงตำแหน่ง 6 ปี โดยประธานาธิบดีคนปัจจุบันคือ ฮาลีมะฮ์ ยากบ คณะรัฐมนตรีสิงคโปร์มาจากการ เลือกตั้งทั่วไปทุก 5 ปี พรรคการเมืองสำคัญ 4 พรรค ได้แก่ - People’s Action Party (PAP) - Worker’s Party (WP) - Singapore Democratic Party (SDP) - Singapore Democratic Alliance (SDA) 2) รัฐสภา (Parliament) มาจากการเลือกตั้งทั่วไป ครั้งล่าสุดวันที่ 6 พฤษภาคม 2549 ได้สมาชิกสภาผู้แทน รวม 84 คน แบ่งเป็นฝ่ายรัฐบาล รวม 82 คน มาจาก พรรค People’s Action Party และฝ่ายค้านมี 2 คน ประธานาธฮิบาดลีีมสิงะฮค์ โยปารก์คบนปัจจุบัน มาจากพรรค Worker’s Party และพรรค Singapore Democratic Alliance 3) สภาตุลาการ (The Judiciary) แบ่งเป็น 2 ระดับ ได้แก่ - ศาลชั้นต้น (Subordinate Courts) - ศาลฎีกา (Supreme Court)

เศรษฐกิจ เป็นนครรัฐสมัยใหม่ และเกาะที่เล็กที่สุด ใ น ต ะ วั น อ อ ก เ ฉี ย ง ใ ต้ มีรายได้มวลรวมประชาชาติ 526.3 พัน ล้ า น ค ว า ม เ ท่ า เ ที ย ม กั น ข อ ง อำ น า จ ซื้ อ เ ป็ น ดอลลาร์ (พ.ศ. 2562) ธนาคารโลก สิงคโปร์เป็นมิตรกับภาคธุรกิจ และเป็ ยศูนยืกลางทางการเงินที่ดีที่สุด ทั้งยังมี ก า ร ส นั บ ส นุ น ดี เ ยี่ ย ม จ า ก ก า ร นำ เ ข้ า แ ล ะ ส่ ง ออกสินค้าต่างๆ ได้รับเกียรติว่าอยู่ในกลุ่ม \" สี่ เ สื อ แ ห่ ง เ อ เ ชี ย \" ซึ่ ง เ ป็ น ผู้ นำ ด้ า น ก า ร ต ล า ด ใ น เ อ เ ชี ย ส่ ว น ท า ง ด้ า น อุ ต ส า ห ก ร ร ม ยั ง ค ร อ บ ค ลุ ม ไปถึง เครื่องใช้ไฟฟ้า วิศวกรรมเคมี วิท ย า ศ า ส ต ร์ ต่ า ง ๆ ยังมีการสร้างไมโครชิพถึง 10% ของโลก สิงคโปร์ยังเป็นที่ 1ในท่าเรือที่คึกคัก ที่สุดในโลก ศูนย์กลางทางการแลกเปลี่ยนสินค้าต่าง ชาติใหญ่อันดับที่ 4 ของโลก เป็นประเทศผู้จ้างงานของโลก สินค้านำเข้าที่สำคัญ : เครื่องจั กรกล ชิ้นส่วนอุปกรณ์ ไฟฟ้า น้ำมันดิบ เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ อาหาร สินค้าส่งออกที่สำคัญ : ครื่องจักรกล เครื่องใช้ไฟฟ้า เคมีภัณฑ์ เสื้อผ้า ตลาดนำเข้าที่สำคัญ : มาเลเซีย สหรัฐอเมริกา ฮ่องกง จีน ญี่ปุ่น ไต้หวันไทย ตลาดส่งออกที่สำคัญ : มาเลเซีย สหรัฐอเมริกา ฮ่องกง จีน อินโดนีเซีย สกุลเงิน : ดอลลาร์สิงคโปร์ ตัวย่อ SGD (Singapore Dollar) อัตราแลกเปลี่ยน : 1 ดอลลาร์สิงคโปร์ = 22.86 บาท : 1 ดอลลาร์สิงคโปร์ = 0.73 ดอลลาร์สหรัฐ

สภาพสังคมในประเทศสิงคโปร์ เชื้อชาติที่ผสมผสานอย่างลงตัวและคุณภาพชีวิตที่ดีสิงคโปร์ได้ชื่อว่าเป็นประเทศที่มี คนจากหลากหลายเชื้อชาติ เช่น จีน มาเลย์ อินเดีย และลูกครึ่งระหว่างชาวเอเชียและชาว ยุโรปมาอยู่ร่วมกันอย่างสงบและไม่มีปัญหาขัดแย้งเรื่องชนชาติระหว่างกัน โดยที่ทุกเชื้อชาติ ยังดำรงไว้ซึ่งวิถีการดำเนินชีวิต ประเพณีและวัฒนธรรมของตนไว้อย่างเคร่งครัด นอกจากนี้ ในสิงคโปร์ยังมีผู้เชี่ยวชาญจากต่างชาติมากถึง 90,000 คน ที่เข้ามาอยู่อาศัยและทำงาน ซึ่ง คนเหล่านี้ได้เข้ามาเผยแพร่ขนบธรรมเนียมและแลกเปลี่ยนแนวความคิดกับคนในประเทศ นับเป็นการเพิ่มสีสันให้กับชาวสิงคโปร์ นักเรียนที่เข้ามาศึกษาในสิงคโปร์สามารถมั่นใจในมาตรฐานการดำรงชีวิตของสิงคโปร์ ได้ ดูได้จากผลการสำรวจของหนังสือ The Economist ฉบับเดือนมีนาคม ค.ศ. 2002 กล่าว ว่าคุณภาพชีวิตของชาวสิงคโปร์เทียบเท่ากับชาวเมืองลอนดอนและชาวเมืองนิวยอร์ค โดยได้ นำ 39 ปัจจัย เช่น ความมั่นคงทางการเมือง เสรีภาพของประชาชน มลภาวะทางอากาศ คุณภาพชีวิต โรงเรียน ร้านอาหารและโรงภาพยนตร์มาเป็นดัชนีวัดในการสำรวจครั้งนี้

การแต่งกายประจำชาติประเทศสิงคโปร์ สิงค์โปรไม่มีชุดประจำชาติเป็นของตนเอง เนื่องจากประเทศสิงคโปร์ แบ่งออกเป็น 4 เชื้อชาติหลัก ได้แก่ จีน มาเลย์ อินเดีย และชาวยุโรป ซึ่งแต่ละเชื้อชาติก็มีชุดประจำชาติ เป็นของตนเอง เช่น ผู้หญิงมลายูในสิงคโปร์ จะใส่ชุดเกบาย่า ตัวเสื้อจะมีสีสันสดใส ปักฉลุ เป็นลายลูกไม้ หากเป็นชาวจีน ก็จะสวมเสื้อแขนขาว คอจีน เสื้อผ้าซ่อนกระดุมสวมกางเกงขา ยาว โดยเสื้อจะใช้ผ้าสีเรียบหรือผ้าแพรจีนก็ได้

ดอกไม้ประจำชาติ Vกaล้nวdยaไม้Mในisกsลุ่Jมoaแqวuนiดm้า สกุลเงินของประเทศสิงค์โปร์ ดอลลาร์สิงคโปร์

อาหารสิงคโปร์ เป็นตัวบ่งชี้ความ CHILLI CRAB หลากหลายทางชาติพันธุ์ในสิงคโปร์ อาหารส่วนใหญ่ที่เข้ามายังสิงคโปร์มา จากผู้อพยพจากจีนตอนใต้รุ่นแรกๆ WBOITILHESDOCYHSICAKUECNE LAKSA BAK KUT TEH CSHIINCGKAENPORRICEE CRSISINPYGACPHOICRKEEN FRIED CARROT CAKE KAYA TOAST

โบราณสถาน วัดพระเขี้ยวแก้ว (Tooth Relic Buddha Temple) วัดจีนศิลปกรรมสมัยราชวงศ์ถังผสมศิลปะมันดาลา (Mandala) หลังใหญ่โตอลังการ ตั้งตระหง่านอยู่ในไชน่า ทาวน์ (China Town) ซึ่งอาคารชั้นบนสุดของวัดได้บรรจุ พระสารีริกธาตุพระทนต์ของพระพุทธเจ้าไว้ในสถูปทองคำ หนักกว่า 320 กิโลกรัม ที่ได้มาจากการบริจาคของผู้มีจิตศรัทธา นอกจากนี้ภายใน วัดก็ยังมีพิพิธภัณฑสถานทางพุทธศาสนาขนาดย่อม ให้ผู้ มาสักการะได้ศึกษา และเยี่ยมชมอีกด้วย วัดเจ้าแม่กวนอิม (Kwan Im Thong Hood Cho Temple) วัดเจ้าแม่กวนอิม ที่มีความเชื่อกันว่าหากไปขอพรแล้วจะ สมหวัง จึงไม่น่าแปลกใจหากคุณจะเห็นฝูงชนมากมายต่อคิว เข้าไปสักการะขอพรในวัด และหากคุณเชื่อในเรื่องโชคลาง เซียมซีที่วัดแห่งนี้ขึ้นชื่อว่ามีความแม่นยำยิ่งนัก เนื่องด้วย จำนวนผู้คนที่มาสักการะเป็นจำนวนมาก จึงมีการห้ามถ่ายรูป ภายในตัววัด และหากพนักงานของวัดมาเก็บธูปของคุณออก จากกระถางหลังจากคุณปักลงไป เพื่อให้ผู้มาสักการะคนถัด มามีที่ปักธูปได้ ก็อย่าไปโกรธเขาเลย วัดเซียนฮกเก๋ง (Thian Hock Keng Temple) วัดเซียนฮกเก๋ง หรือวัดแห่งความสุขบนสรวงสวรรค์ สร้างขึ้นเพื่อถวายเทพธิดาแห่งท้องทะเล ที่เชื่อกันว่า ช่วยคุ้มครองให้ผู้อพยพเดินทางมาถึงฝั่ งเกาะสิงคโปร์ได้ โดยปลอดภัย เป็นวัดที่มีความวิจิตรงดงามมาก และขึ้น ชื่อได้ว่าเป็นวัดที่สวยที่สุดในสิงคโปร์ ความอัศจรรย์ใจ อีกอย่างของวัดนี้ก็คือ โครงสร้างทั้งหมดของวัดถูกสร้าง ขึ้นมาโดยไม่ใช้ตะปูแม้แต่ตัวเดียว นอกจากนี้ยามคุณจะ เดินเข้าภายในตัววัด จะต้องยกเท้าก้าวข้ามธรณีประตู ซึ่งมีความสูงเป็นพิเศษ

TOURIST ATTRACTION UNIVERSAL STUDIO เป็นสวนสนุกหรือ Theme Park ขนาดใหญ่ที่ มี Concept และ Theme ของสวนสนุกมา จากหนังและการ์ตูนดัง MERLION เมอร์ไลออน ถูกออกแบบขึ้นเพื่อเป็นสัญลักษณ์ของคณะกรรมการ การท่องเที่ยวของสิงคโปร์ ในปี 1964 – รูปปั้ นนี้มีหัวเป็นสิงโต ร่างเป็นปลา ยืนอยู่บนยอดคลื่น ต่อมาไม่นานทั่วโลกก็ถือกันว่า สิงโตทะเลตัวนี้คือเครื่องหมายประจำชาติสิงคโปร์ SUPER TREE GROVE เป็นกลุ่มต้นไม้ยักษ์ ที่มีโครงสร้างเป็นคอนกรีตและเหล็ก ตกแต่งเป็นสวนแนวตั้ง มีทั้งหมด 18 ต้น แต่ละต้นมีความ สูงถึง 25-50 เมตร หรือประมาณตึก 16 ชั้น

ภาคผนวก

คณะผู้จัดทำ 1.นายณัชพล มณีพรหม ม.4/12 เลขที่ 11 2.นางสาวชัชฎาภรณ์ เหมรัตน์ ม.4/12 เลขที่16 3.นางสาวปัณชญา จินดาประเสริฐ ม.4/12 เลขที่17 4.นางสาววรฤทัย ขุนเพ็ชร ม.4/12 เลขที่18 5.นางสาวสราวลี สังข์ศิริ ม.4/12 เลขที่28 6.นางสาวนงนภัส แก้ววิจิตร ม.4/12 เลขที่32 7.นางสาวนัดดามาศ อภินารถนรารักษ์ ม.4/12 เลขที่33 8.นางสาวจิรวรรณ คงช่วย ม.4/12 เลขที่39 9.นางสาวธนัตตภร วรรณโวหาร ม.4/12 เลขที่40 10.นางสาวรักตกันท์ แก้วแสงทอง ม.4/12 เลขที่41

บรรณานุกรม https://sites.google.com/site/khwamrukeiywkabmeuxnghlwngaec/prawati-khwam- pen-ma-khxng-krungsingkhpor-prathes-singkhpor https://www.asean-info.com/asean_members/singapore_economics.html https://sites.google.com/site/prathessingkhporaec/sersthkic https://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/504470 https://project528.wordpress.com/singapore/แหล่งโบราณสถาน/ https://www.asean-info.com/singapore_location_climate https://www.posttoday.com/life/travel/649768 https://www.asean-info.com/asean_members/singapore_politics.html https://singapore.mol.go.th/info/population https://www.panmai.com/ดอกไม้ประจำชาติสิงคโปร/ https://sites.google.com/site/narongrit5705202014/

LOST IN THANK YOU HIGHWAY TO SINGAPORE JOURNAL TOURISM


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook