Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จารุวรรณ เพชรสะอาด

จารุวรรณ เพชรสะอาด

Published by vivoy5509042560, 2020-07-29 20:33:53

Description: สังคมเดือน (4)

Search

Read the Text Version

เรอื่ ง - ลกั ษณะประชาธปิ ไตยในพระพทุ ธ ศาสนา - การคดิ ตามนัยแหง่ พระพทุ ธศาสนาและ การคดิ แบบวทิ ยาศาสตร์ - หลกั การของพระพทุ ธศาสนากบั หลกั วทิ ยาศาสตร์ - พระพทุ ธศาสนาเป็ นศาสตรแ์ หง่ การ ศกึ ษา - พระพทุ ธศาสนาเนน้ ความสมั พันธข์ อง เหตปุ ัจจัยและวธิ กี ารแกป้ ัญหา

ลกั ษณะประชาธปิ ไตยในพระพทุ ธ ศาสนา 1. พระพทุ ธศาสนามพี ระธรรมวนิ ยั เป็ น ธรรมนญู หรอื กฎหมายสงู สดุ พระธรรม คอื คำสอนทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ทรงแสดง พระวนิ ัย คอื คำสง่ั อนั เป็ นขอ้ ปฏบิ ตั ทิ พ่ี ระพทุ ธเจา้ ทรง บญั ญตั ขิ น้ึ เมอ่ื รวมกนั พระธรรมวนิ ัย 2. มกี ารกำหนดลกั ษณะของศาสนาไว้ เรยี บรอ้ ย ไมป่ ลอ่ ยใหเ้ ป็ นไปตามยถากรรม ลกั ษณะของพระพทุ ธศาสนาคอื สายกลาง ทาง สายกลางนเี้ ป็ นครรลอง ใชส้ ทิ ธใิ นการแสวงหา อดเิ รกลาภตามทที่ รงอนุญาตไว ้ ในสมยั ตอ่ มา เรยี กแนวกลางๆ ของพระพทุ ธศาสนาวา่ วภิ ชั ชวาที คอื ศาสนาทก่ี ลา่ วจำแนกแจกแจง ตาม ความเป็ นจรงิ บางอยา่ งกลา่ วยนื ยันโดยสว่ น เดยี วได ้ บางอยา่ งกลา่ วจำแนกแจกแจงเป็ น กรณี ๆ ไป 3. พระพทุ ธศาสนา มคี วามเสมอภาค ภายใตพ้ ระธรรมวนิ ยั บคุ คลทเ่ี ป็ นวรรณะ

กษัตรยิ ์ พราหมณ์ แพศย์ ศทู รมาแตเ่ ดมิ รวม ทงั้ คนวรรณะต่ำกวา่ นัน้ เมอ่ื เขา้ มาอปุ สมบทใน พระพทุ ธศาสนาอยา่ งถกู ตอ้ งแลว้ มคี วามเทา่ เทยี มกนั คอื ปฏบิ ตั ติ ามสกิ ขาบทเทา่ กนั และ เคารพกนั ตามลำดบั อาวโุ ส คอื ผอู ้ ปุ สมบทภาย หลงั เคารพผอู ้ ปุ สมบทกอ่ น 4. พระภกิ ษุในพระพทุ ธศาสนา มี สทิ ธิ เสรภี าพภายใตพ้ ระธรรมวนิ ยั เชน่ ในฐานะภกิ ษุเจา้ ถน่ิ จะมสี ทิ ธไิ ดร้ ับของแจก กอ่ นภกิ ษุอาคนั ตกุ ะ ภกิ ษุทจี่ ำพรรษาอยดู่ ว้ ยกนั มสี ทิ ธไิ ดร้ ับของแจกตามลำดบั พรรษา มสี ทิ ธริ ับ กฐนิ และไดร้ ับอานสิ งสก์ ฐนิ ในการแสวงหาจวี ร ตลอด 4 เดอื นฤดหู นาวเทา่ เทยี มกนั นอกจาก นัน้ ยังมเี สรภี าพทจ่ี ะเดนิ ทางไปไหนมาไหนได ้ จะอยจู่ ำพรรษาวดั ใดกไ็ ดเ้ ลอื กปฏบิ ตั กิ รรมฐาน ขอ้ ใด ถอื ธดุ งควตั รขอ้ ใดกไ็ ดท้ งั้ สนิ้ 5. มกี ารแบง่ อำนาจ พระเถระผใู้ หญ่ ทำหนา้ ทบี่ รหิ ารปกครอง หมคู่ ณะ การ บญั ญตั พิ ระวนิ ัย พระพทุ ธเจา้ ทรงบญั ญตั เิ อง

เชน่ มภี กิ ษุผทู ้ ำผดิ มาสอบสวนแลว้ จงึ ทรง บญั ญตั พิ ระวนิ ัย สว่ นการตดั สนิ คดตี ามพระวนิ ัย ทรงบญั ญตั แิ ลว้ เป็ นหนา้ ทขี่ องพระวนิ ัยธรรมซง่ึ เทา่ กบั 6. พระพทุ ธศาสนามหี ลกั เสยี งขา้ ง มาก คอื ใชเ้ สยี งขา้ งมาก เป็ นเกณฑต์ ดั สนิ เรยี กวา่ วธิ เี ยภยุ ยสกิ า การตดั สนิ โดยใชเ้ สยี ง ขา้ งมาก ฝ่ ายใดไดร้ ับเสยี งขา้ งมากสนับสนุน ฝ่ ายนัน้ เป็ นฝ่ ายชนะคดี การคดิ ตามนยั แหง่ พระพทุ ธ ศาสนา และการคดิ แบบวทิ ยาศาสตร์

1. ขน้ั กำหนดรทู้ กุ ข์ การกำหนดรทู ้ กุ ขห์ รอื การกำหนดปัญหาวา่ คอื อะไร มขี อบเขตของ ปัญหาแคไ่ หน หนา้ ทท่ี ค่ี วรทำในขนั้ แรกคอื ให ้ เผชญิ หนา้ กบั ปัญหา แลว้ กำหนดรสู ้ ภาพและ ขอบเขตของปัญหานัน้ ใหไ้ ด ้ ขอ้ สำคญั คอื อยา่ หลบปัญหาหรอื คดิ วา่ ปัญหาจะหมดไปเอง โดยทเ่ี ราไมต่ อ้ งทำอะไร 2. ขน้ั สบื สาวสมทุ ยั ไดแ้ กเ่ หตขุ องทกุ ข์ หรอื สาเหตขุ องปัญหา แลว้ กำจัดใหห้ มดไป ตวั อยา่ งสาเหตขุ องปัญหาทพ่ี ระพทุ ธเจา้ แสดง ไวค้ อื ตณั หา ไดแ้ ก่ กามตณั หา ภวตณั หา และ วภิ วตณั หา 3. ขน้ั นโิ รธ ไดแ้ กค่ วามดบั ทกุ ข์ หรอื สภาพ ทไ่ี รป้ ัญหา ซง่ึ ทำใหส้ ำเร็จเป็ นจรงิ ขน้ึ มา ในขนั้ นต้ี อ้ งตงั้ สมมตฐิ านวา่ สภาพไรป้ ัญหานัน้ คอื อะไร เขา้ ถงึ ไดห้ รอื ไม่ โดยวธิ ใี ด ตวั อยา่ งเชน่ นพิ พาน คอื การดบั ทกุ ขท์ งั้ ปวงเป็ นสงิ่ ทเี่ รา สามารถบรรลถุ งึ ไดใ้ นชาตนิ ดี้ ว้ ยการเจรญิ

สตพิ ัฒนาปัญญาเพอ่ื ตดั อวชิ ชา และดบั ตณั หา 4. ขนั้ เจรญิ มรรค ไดแ้ ก่ ทางดบั ทกุ ข์ หรอื วธิ แี กป้ ัญหา ซงึ่ เรามหี นา้ ทลี่ งมอื ทำ ขนั้ นอี้ าจ แบง่ ออกเป็ น 3 ขนั้ ยอ่ ยคอื 4.1 มรรคขน้ั ที่ 1 เป็ นการแสวงหาและทดลอง ใชว้ ธิ กี ารตา่ ง ๆ เพอ่ื คน้ หาวธิ กี ารทเ่ี หมาะสม ทส่ี ดุ เชน่ พระพทุ ธเจา้ ในชว่ งทเี่ ป็ นคฤหสั ถเ์ คย ใชช้ วี ติ แบบบำรงุ บำเรอตน หมกหมนุ่ ในโลกยี ์ สขุ แตก่ ็ทรงรสู ้ กึ เบอ่ื หน่าย จงึ ออกผนวช แลว้ ไปบำเพ็ญโยคะบรรลสุ มาธขิ นั้ สงู สดุ จาก สำนักของอาฬารดาบสและอทุ กดาบส แมใ้ นขนั้ นพ้ี ระองคย์ งั รสู ้ กึ วา่ ไมบ่ รรลคุ วามพน้ ทกุ ขจ์ งึ ทดลองฝึกการทรมานตนดว้ ยวธิ กี ารตา่ ง ๆ 4.2 มรรคขน้ั ท่ี 2 เป็ นการวเิ คราะหผ์ ลการ สงั เกตและทดลองทไ่ี ดป้ ฏบิ ตั มิ าแลว้ เลอื ก เฉพาะวธิ กี ารทเี่ หมาะสมทสี่ ดุ ดงั กรณีที่ พระพทุ ธเจา้ ทรงพจิ ารณาเห็นวา่ กามสขุ ลั ลกิ านุ โยค (การบำเรอตนดว้ ยกาม) และอตั ตกลิ มถานุ

โยค (การทรมานตนเอง) ทไี่ ดท้ ดลองมาแลว้ ไมใ่ ชว่ ธิ กี ารทถ่ี กู ตอ้ งเพราะ เป็ นเรอื่ งสดุ โตง่ เกนิ ไป ทงั้ การบำเพ็ญโยคะกท็ ำใหไ้ ดเ้ พยี ง สมาธิ ยงั ไมไ่ ดป้ ัญญาเครอื่ งดบั ทกุ ข์ ดงั นัน้ วธิ ี การแหง่ ปัญญาจะสามารถชว่ ยใหพ้ น้ ทกุ ข์ 4.3 มรรคขน้ั ท่ี 3 เป็ นการสรปุ ผลของการ สงั เกตและทดลอง เพอื่ ใหไ้ ดค้ วามจรงิ เกย่ี วกบั เรอื่ งนัน้ ดงั กรณีทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ไดข้ อ้ สรปุ วา่ ทางสายกลางทไ่ี มต่ งึ เกนิ ไปหรอื ไมห่ ยอ่ นเกนิ เป็ นทางดบั ทกุ ข์ ทางนเ้ี ป็ นวถิ แี หง่ ปัญญาทเ่ี รม่ิ ตน้ ดว้ ยสมั มาทฏิ ฐิ

แนวคดิ แบบวทิ ยาศาสตร์ เรยี กอกี อยา่ งหนงึ่ วา่ วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ มขี นั้ ตอนดงั นี้ 1.การกำหนดปญั หาใหถ้ กู ตอ้ ง ในขนั้ นน้ี ัก วทิ ยาศาสตรก์ ำหนดขอบเขตของปัญหาให ้ ชดั เจนวา่ ปัญหาอยตู่ รงไหน ปัญหานัน้ น่าจะมี สาเหตมุ าจากอะไร 2. การตงั้ สมมตฐิ าน นักวทิ ยาศาสตรใ์ ช ้ ขอ้ มลู เทา่ ทม่ี อี ยใู่ นขณะนัน้ เป็ นฐานในการตงั้ สมมตฐิ านเพอื่ ใชอ้ ธบิ ายถงึ สาเหตขุ องปัญหา และเสนอคำตอบหรอื ทางออกสำหรับปัญหา 3. การสงั เกตและการทดลอง เป็ นขนั้ ตอน สำคญั ทส่ี ดุ ของการศกึ ษาหา ความจรงิ ทาง วทิ ยาศาสตรก์ ารสงั เกตเป็ นการรวบรวมขอ้ มลู มาเป็ นเครอื่ งมอื สนับสนุนทฤษฎที อี่ ธบิ าย ปรากฏการณ์ การทดลองหลายตอ่ หลายครัง้ ชว่ ยใหค้ น้ พบหลกั การทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละ สรา้ งความน่าเชอ่ื ถอื ใหก้ บั การ คน้ พบนัน้

4. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากการ สงั เกตและทดลองมี จำนวน มากนัก วทิ ยาศาสตรต์ อ้ งพจิ ารณาแยกแยะขอ้ มลู เหลา่ นัน้ พรอ้ มจัดระเบยี บ ขอ้ มลู เขา้ เป็ นหมวดหมู่ และหาความสมั พันธร์ ะหวา่ งขอ้ มลู ตา่ ง ๆ 5.การสรปุ ผล ในการสรปุ ผลของการศกึ ษา คน้ ควา้ นักวทิ ยาศาสตรอ์ าจใช ้ ภาษาธรรมดา เขยี นกฎหรอื หลกั การทางวทิ ยาศาสตรอ์ อกมา บางครัง้ นักวทิ ยาศาสตรจ์ ำเป็ นตอ้ งสรปุ ผล ดว้ ยคณติ ศาสตร์ ตวั อยา่ งเชน่ อลั เบริ ต์ ไอส ไตน์ พบความสมั พันธ์ ระหวา่ งพลงั งานและ มวลสารจงึ เขยี นสรปุ ผลการคน้ พบทฤษฎี สมั พันธเ์ ป็ นสมการวา่ E=MC2 หมายความวา่ พลงั งาน (E = Energy) เทา่ กบั มวลสาร (M=Mass) คณู ดว้ ยความเร็ว ของแสงยก กำลงั สอง

หลกั การของพระพทุ ธ ศาสนากบั หลกั วทิ ยาศาสตร์ 1. ในดา้ นความเชอ่ื (Confidence) หลกั การ วทิ ยาศาสตร์ ถอื หลกั วา่ จะเชอื่ อะไรนัน้ จะตอ้ งมี การพสิ จู นใ์ หเ้ ห็นจรงิ ไดเ้ สยี กอ่ น เชอื่ ในเหตผุ ล ไมเ่ ชอื่ อะไรลอย ๆ และตอ้ งมหี ลกั ฐานมา ยนื ยนั เชอ่ื การทดลองวา่ ใหค้ วามจรงิ แกเ่ ราได ้ อาศยั ปัญญาและเหตผุ ลเป็ นตวั ตดั สนิ ความจรงิ สอนใหม้ นุษยน์ ำเอาหลกั ศรัทธาโยงไปหาการ พสิ จู นด์ ว้ ยประสบการณ์ ดว้ ยปัญญาและดว้ ย การปฏบิ ตั ิ ดงั หลกั ของความเชอื่ ใน “กาลาม สตู ร” คอื อยา่ เชอ่ื เพยี งเพราะใหฟ้ ังตามกนั มา อยา่ เชอื่ เพยี งเพราะไดเ้ รยี นตามกนั มา อยา่ เชอื่

เพยี งเพราะไดถ้ อื ปฏบิ ตั สิ บื ตอ่ กนั มาอยา่ เชอ่ื เพยี งเพราะเสยี งเลา่ ลอื อยา่ เชอ่ื เพยี งเพราะ อา้ งตำรา อยา่ เชอื่ เพยี งเพราะตรรกะหรอื นกึ คดิ เอาเอง อยา่ เชอ่ื เพยี งเพราะอนุมานหรอื คาด คะเนเอา อยา่ เชอื่ เพยี งเพราะคดิ ตรองตามแนว เหตผุ ล อยา่ เชอ่ื เพยี งเพราะตรงกบั ทฤษฎขี อง ตนหรอื ความเห็นของตน อยา่ เชอื่ เพยี งเพราะ รปู ลกั ษณะน่าเชอ่ื อยา่ เชอื่ เพยี งเพราะทา่ นเป็ น สมณะหรอื เป็ นครอู าจารยข์ องเรา 2. ในดา้ นความรู้ (Wisdom) ทงั้ หลกั การทาง วทิ ยาศาสตรแ์ ละหลกั การของพระพทุ ธศาสนา ยอมรับความรทู ้ ไ่ี ดจ้ ากประสบการณ์ หมายถงึ การทต่ี า หู จมกู ลน้ิ กาย ไดป้ ระสบกบั ความ รสู ้ กึ นกึ คดิ เชน่ รสู ้ กึ ดใี จ เป็ นตน้ วทิ ยาศาสตร์ เรมิ่ ตน้ จากประสบการณ์คอื จากการทไี่ ดพ้ บเห็น สง่ิ ตา่ ง ๆ แลว้ เกดิ ความอยากรอู ้ ยากเห็นก็ แสวงหาคำอธบิ าย วทิ ยาศาสตรไ์ มเ่ ชอ่ื หรอื ยดึ ถอื อะไรลว่ งหนา้ อยา่ งตายตวั แตจ่ ะอาศยั การทดสอบดว้ ยประสบการณส์ บื สาวไปเรอ่ื ย ๆ พระพทุ ธเจา้ ก็ทรงเรมิ่ คดิ จากประสบการณค์ อื

ประสบการณท์ ไ่ี ดเ้ หน็ ความเจ็บ ความแก่ ความ ตาย และทสี่ ำคญั ทส่ี ดุ คอื ความทกุ ข์ พระองคม์ ี พระประสงคท์ จี่ ะคน้ หาสาเหตขุ องทกุ ขใ์ นการ คน้ หาน้ี พระองคม์ ไิ ดเ้ ชอ่ื อะไรลว่ งหนา้ อยา่ ง ตายตวั ไมท่ รงเชอื่ วา่ มพี ระผเู ้ ป็ นเจา้ หรอื สง่ิ ศกั ดส์ิ ทิ ธใิ์ ด ๆ ทจ่ี ะใหค้ ำตอบไดแ้ ตไ่ ดท้ รง ทดลองโดยอาศยั ประสบการณ์ของพระองคเ์ อง ดงั เป็ นทที่ ราบกนั ดอี ยแู่ ลว้ หลกั การพระพทุ ธศาสนาและหลกั การทาง วทิ ยาศาสตรม์ สี ว่ นทตี่ า่ งกนั ในเรอ่ื งนคี้ อื วทิ ยาศาสตรเ์ นน้ ความสนใจกบั ปัญหาทเ่ี กดิ ขน้ึ จากประสบการณ์ดา้ นประสาทสมั ผัส (ตา หู จมกู ลนิ้ กาย) สว่ นพระพทุ ธศาสนาเนน้ ความ สนใจกบั ปัญหาทเี่ กดิ ทางจติ ใจ พระพทุ ธเจา้ ตรัสรพู ้ ระสทั ธรรมเพอ่ื สอนใหม้ นุษยเ์ กดิ ปัญญา 2 ทางคอื ทางแรก สอนใหเ้ กดิ ความรคู ้ วาม เขา้ ใจทถี่ กู ตอ้ งในธรรมชาตแิ ละในกฎธรรมชาติ เชน่ สอนใหร้ หู ้ ลกั อทิ ัปปัจจยตา หลกั ไตรลกั ษณ์ หลกั อรยิ สจั หลกั เบญจขนั ธ์

ทางทสี่ อง สอนใหเ้ กดิ ความรคู ้ วามเขา้ ใจใน คณุ คา่ ทางจรยิ ธรรม เพอื่ นำไปใชไ้ ปปฏบิ ตั ใิ ห ้ เกดิ ผลดตี อ่ ตนเอง ตอ่ สงั คม และตอ่ ธรรมชาตทิ ี่ เรยี กวา่ ไตรสกิ ขา สอนใหล้ ะเวน้ ความชวั่ สอน ใหก้ ระทำความดี และสอนใหท้ ำจติ ใจใหส้ งบ บรสิ ทุ ธิ์ อยา่ งไรกต็ ามหลกั การพระพทุ ธศาสนา จะมฐี านะคลา้ ยกบั วทิ ยาศาสตรบ์ รสิ ทุ ธ์ิ ความแตกตา่ งของหลกั การ พระพทุ ธศาสนากบั หลกั การ ทางวทิ ยาศาสตร์ 1. มงุ่ เขา้ ใจปรากฎการณท์ างธรรมชาติ หลกั การทางวทิ ยาศาสตรม์ งุ่ เขา้ ใจปรากฏการณต์ า่ ง ๆ ทเี่ กดิ ขน้ึ ตอ้ งการรวู ้ า่ อะไรเป็ นสาเหตุ อะไร เป็ นผลทตี่ ามมา หลกั การพระพทุ ธศาสนากม็ งุ่ เขา้ ใจปรากฏการณต์ า่ ง ๆ เชน่ เดยี วกนั แตต่ า่ ง ตรงท่ี พระพทุ ธศาสนาเนน้ เป็ นพเิ ศษเกย่ี วกบั วถิ ี ชวี ติ ของมนุษยม์ ากกวา่ กฎเกย่ี วกบั สง่ิ ทไี่ รช้ วี ติ

จดุ หมายปลายทางของพระพทุ ธศาสนาคอื สอนใหค้ นเป็ นคนดขี นึ้ พัฒนาขนึ้ สมบรู ณ์ขน้ึ 2. ตอ้ งการเรยี นรกู ้ ฎธรรมชาติ หลกั การทาง วทิ ยาศาสตรต์ อ้ งการเรยี นรกู ้ ฎธรรมชาตแิ ละหา ทางควบคมุ ธรรมชาติ พดู อกี อยา่ งหนง่ึ ก็คอื วทิ ยาศาสตรเ์ นน้ การควบคมุ ธรรมชาตภิ ายนอก มงุ่ แกป้ ัญหาภายนอกวทิ ยาศาสตรถ์ อื วา่ การ พสิ จู นท์ ดลองทางวทิ ยาศาสตรเ์ ป็ นสง่ิ ทนี่ ำมา แสดงใหส้ าธารณชนประจักษ์ชดั เป็ นหลกั ฐาน ยนื ยันในสง่ิ ทค่ี น้ พบนัน้ ได ้ จงึ จะเป็ นการยอมรับ ในวงการวทิ ยาศาสตร์ หลกั การพระพทุ ธศาสนา เป็ นการทดสอบความรสู ้ กึ ทกุ ข์ หรอื ไมเ่ ป็ นทกุ ข์ ซง่ึ เป็ นสงิ่ ทปี่ ระจักษ์ชดั ในจติ ใจเฉพาะตน ไม่ สามารถตแี ผใ่ หส้ าธารณชนประจักษ์ดว้ ยสายตา แตพ่ สิ จู นท์ ดลองไดด้ ว้ ยความรสู ้ กึ ในจติ ใจ และ หลกั การพระพทุ ธศาสนาไมไ่ ดเ้ นน้ ในเรอ่ื งให ้ สาธารณชนยอมรับหรอื ไมย่ อมรับ มงุ่ ใหศ้ กึ ษา เขา้ ไปในจติ ใจตนเอง แตม่ งุ่ แสวงหาความจรงิ จากทงั้ ภายนอกและภายในตวั มนุษยอ์ นั เป็ นเหตุ

ทท่ี ำใหเ้ กดิ ปัญหา ทางดา้ นจติ วญิ ญาณอนั เป็ น ผลกระทบตอ่ การดำรงชวี ติ และตอ่ คณุ ภาพชวี ติ 3. ยอมรับโลกแหง่ สสาร (Matter) สสาร หมาย ถงึ ธรรมชาตแิ ละสรรพสงิ่ ทงั้ หลายทมี่ อี ยจู่ รงิ รวมทงั้ ปรากฏการณแ์ ละความเป็ นจรงิ ตามภาวะ วสิ ยั (ObjectiveReality) ดว้ ย ซงึ่ สรรพสง่ิ เหลา่ น้ี มอี ยตู่ า่ งหากจากตวั เรา เป็ นอสิ ระจากตวั เรา และเป็ นสง่ิ ทสี่ ะทอ้ นขนึ้ ในจติ สำนกึ ของคนเรา เมอ่ื ไดส้ มั ผัสมนั อนั ทำใหไ้ ดร้ ับรถู ้ งึ ความมอี ยู่ ของสงิ่ นัน้ ๆ กลา่ วโดยทว่ั ไปแลว้ สสารมี คณุ ลกั ษณะ 3 ประการคอื 1) เคลอื่ นไหว (Moving) อยเู่ สมอ 2) เปลย่ี นแปลง (Changing) อยเู่ สมอ 3) การเคลอื่ นไหวและการเปลยี่ นแปลง ดงั กลา่ วนัน้ มใิ ชเ่ ป็ นการเคลอื่ นไหวเปลยี่ น แปลง อยา่ งสง่ เดช แตห่ ากเป็ นการเคลอ่ื นไหว เปลย่ี นแปลงอยา่ งมกี ฎเกณฑท์ เ่ี รยี กกนั วา่ กฎ แหง่ ธรรมชาติ (Laws of Natires)วทิ ยาศาสตร์ ยอมรับโลกแหง่ สสารซง่ึ เทยี บไดก้ บั “รปู ธรรม”

ในความหมายของพระพทุ ธศาสนา อนั หมายถงึ สง่ิ ทม่ี อี ยจู่ รงิ ทางภาววสิ ยั ทอี่ วยั วะสมั ผัสของ มนุษยส์ มั ผสั ได ้ วทิ ยาศาสตรม์ งุ่ ศกึ ษาดา้ น สสารและพลงั งาน ยอมรับโลกแหง่ สสาร ทร่ี ับรู ้ ดว้ ยประสาทสมั ผัสทงั้ 5 วา่ มจี รงิ โลกทอี่ ยพู่ น้ จากนัน้ วทิ ยาศาสตรไ์ มย่ อมรับ สว่ นแนวคดิ ทาง พระพทุ ธศาสนานี้ ชว้ี า่ สจั ธรรมสงู สดุ (นพิ พาน) ซง่ึ เป็ นสภาวะทปี่ ระสาทสมั ผัสของมนุษยป์ ถุ ชุ น ทเี่ ต็มไปดว้ ยกเิ ลส ตณั หา ไมส่ ามารถรับรไู ้ ด ้ พระพทุ ธศาสนาแบง่ สงิ่ ทม่ี อี ยจู่ รงิ ของสองพวก ใหญ่ ๆ คอื “สงั ขตธรรม” (สงิ่ ทป่ี ัจจัยปรงุ แตง่ ) ไดแ้ ก่ สสารและ “อสงั ขตธรรม” คอื นพิ พาน วทิ ยาศาสตรย์ อมรับวา่ สงั ขตธรรมมจี รงิ แตอ่ สงั ขตธรรมอยเู่ หนอื การรับรขู ้ องวทิ ยาศาสตร์ สจั ธรรมในพระพทุ ธศาสนานัน้ มที งั้ ทส่ี ามารถ แสดงใหเ้ ห็นประจักษ์เป็ นสาธารณะไดแ้ ละไม่ สามารถแสดงใหป้ ระจักษ์เป็ นสาธารณะได ้ แต่ แสดงโดยการประจักษ์ในตนเองได ้ (หมายถงึ มี ทงั้ ทสี่ ามารถรับรดู ้ ว้ ยประสาทสมั ผสั และรับรู ้ ดว้ ยใจ) ความจรงิ ระดบั ตน้ ๆ และระดบั กลาง ๆ

ใคร ๆ กอ็ าจเขา้ ใจและเห็นจรงิ ได ้ เชน่ คนโลภ มาก ๆ อจิ ฉามาก ๆ ไมม่ คี วามสงบสขุ แหง่ จติ ใจ อยา่ งไรบา้ ง คนทมี่ เี มตตา ไมป่ รารถนารา้ ยตอ่ ใคร ๆ มคี วามสขุ ไมม่ เี วร ไมม่ ภี ยั อยา่ งไรบา้ ง ความจรงิ เหลา่ นี้ ลว้ นสามารถแสดงใหป้ ระจักษ์ ได ้ ชใ้ี หด้ ตู วั อยา่ งได ้ แตป่ รมตั ถธรรม อนั สงู สดุ นัน้ ผทู ้ ไ่ี ดพ้ บแลว้ ยากจะอธบิ ายใหค้ นอนื่ เขา้ ใจ ได ้ เป็ นสภาวะทผ่ี รู ้ เู ้ อง เห็นเอง จะพงึ ประจักษ์ เฉพาะตวั 4. มงุ่ ความจรงิ มาตแี ผ่ วทิ ยาศาสตรน์ ัน้ แสวงหา ความรจู ้ ากธรรมชาตแิ ละจากกฎธรรมชาตทิ ม่ี อี ยู่ ภายนอกตวั มนุษย์ ไมไ่ ดส้ นใจเรอื่ งศลี ธรรม ความดคี วามชวั่ สนใจเพยี งคน้ ควา้ เอาความจรงิ มาตแี ผใ่ หป้ ระจักษ์เพยี งดา้ นเดยี ว กระบวนการ ผลติ ทางวทิ ยาศาสตรก์ อ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม คำสอนทางพระพทุ ธศาสนานัน้ เนน้ เรอื่ งศลี ธรรม ความดคี วามชวั่ มงุ่ ใหม้ นุษยม์ ี ความสขุ เป็ นลำดบั ขนึ้ ไปเรอ่ื ย ๆ จนถงึ ความ สงบสขุ อนั สงู สดุ คอื นพิ พาน ฉะนัน้ กระบวนการ

ปฏบิ ตั ธิ รรมในพทุ ธศาสนาจงึ สง่ เสรมิ ใหม้ นุษย์ อนุรักษ์ธรรมชาติ อนุรักษ์สงิ่ แวดลอ้ ม พระพทุ ธศาสนาเป็ นศาสตร์ แหง่ การศกึ ษา ในการศกึ ษาหรอื การพัฒนาตามหลกั พระพทุ ธ ศาสนานัน้ พระพทุ ธเจา้ สอนใหค้ นไดพ้ ัฒนาอยู่ 4 ดา้ น คอื ดา้ นรา่ งกาย ดา้ นศลี ดา้ นจติ ใจ และ ดา้ นสตปิ ัญญา โดยมจี ดุ มงุ่ หมายใหม้ นุษยเ์ ป็ น ทงั้ คนดแี ละคนเกง่ มใิ ชเ่ ป็ นคนดแี ตโ่ ง่ หรอื เป็ น คนเกง่ แตโ่ กง การจะสอนใหม้ นุษยเ์ ป็ นคนดแี ละ คนเกง่ นัน้ จะตอ้ งมหี ลกั ในการศกึ ษาทถ่ี กู ตอ้ ง เหมาะสม ซงึ่ ในการพัฒนามนุษยน์ ัน้ พระพทุ ธ ศาสนามงุ่ สรา้ งมนุษยใ์ หเ้ ป็ นคนดกี อ่ น แลว้ จงึ คอ่ ยสรา้ งความเกง่ ทหี ลงั ลำดบั ขนั้ ตอนการ ศกึ ษาเรมิ่ จาก สลี สกิ ขา ตอ่ ดว้ ยจติ ตสกิ ขาและ ขนั้ ตอนสดุ ทา้ ยคอื ปัญญาสกิ ขา ซง่ึ ขนั้ ตอนการ ศกึ ษาทงั้ 3 น้ี รวมเรยี กวา่ \"ไตรสกิ ขา\" ซง่ึ มี ความหมายดงั น้ี

1. สลี สกิ ขา การฝึกศกึ ษาในดา้ นความประพฤติ ทางกาย วาจา และอาชพี ใหม้ ชี วี ติ สจุ รติ และ เกอ้ื กลู (Training in Higher Morality) 2. จติ ตสกิ ขา การฝึกศกึ ษาดา้ นสมาธิ หรอื พัฒนาจติ ใจใหเ้ จรญิ ไดท้ ี่ (Training in Higher Mentality หรอื Concentration) 3. ปัญญาสกิ ขา การฝึกศกึ ษาในปัญญาสงู ขน้ึ ไป ใหร้ คู ้ ดิ เขา้ ใจมองเห็นตามเป็ นจรงิ (Training in Higher Wisdom) นอกจากนย้ี งั มวี ธิ กี ารเรยี นรตู ้ ามหลกั โดยท่วั ไป ซง่ึ พระพทุ ธเจา้ พระพทุ ธเจา้ ตรัสไว ้ 5 ประการ คอื 1. การฟัง หมายถงึ การตงั้ ใจศกึ ษาเลา่ เรยี นใน หอ้ งเรยี น 2. การจำได ้ หมายถงึ การใชว้ ธิ กี ารตา่ ง ๆ เพอื่ ใหจ้ ำได ้ 3. การสาธยาย หมายถงึ การทอ่ ง การทบทวน ความจำบอ่ ยๆ

4. การเพง่ พนิ จิ ดว้ ยใจ หมายถงึ การตงั้ ใจ จนิ ตนาการถงึ ความรนู ้ ัน้ ไวเ้ สมอ 5. การแทงทะลดุ ว้ ยความเห็น หมายถงึ การเขา้ ถงึ ความรอู ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง เป็ น ความรอู ้ ยา่ งแทจ้ รงิ ไมใ่ ชต่ ดิ อยแู่ ตเ่ พยี งความจำเทา่ นัน้ แตเ่ ป็ น ความรคู ้ วามจำทสี่ ามารถนำมาประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ ได ้ พระพทุ ธศาสนาเนน้ ความสมั พันธข์ องเหตปุ ัจจัย และวธิ กี ารแกป้ ัญหา หลกั ของเหตปุ ัจจัย หรอื หลกั ความเป็ นเหตเุ ป็ น ผล ซงึ่ เป็ นหลกั ของเหตปุ ัจจัยทอี่ งิ อาศยั ซงึ่ กนั และกนั ทเ่ี รยี กวา่ \"กฎปฏจิ จสมปุ บาท\" คำวา่ \"เหตปุ ัจจัย\" พทุ ธศาสนาถอื วา่ สงิ่ ทท่ี ำใหผ้ ล เกดิ ขน้ึ ไมใ่ ชเ่ หตอุ ยา่ งเดยี ว ตอ้ งมปี ัจจัยตา่ ง ๆ ดว้ ยเมอื่ มปี ัจจัยหลายปัจจัยผลกเ็ กดิ ขน้ึ ความสมั พันธข์ องเหตปุ ัจจัย หรอื หลกั ปฏจิ จสมุ ปบาท แสดงใหเ้ ห็นอาการของสงิ่ ทงั้ หลาย สมั พันธเ์ นอื่ งอาศยั เป็ นเหตปุ ัจจัยตอ่ กนั อยา่ ง

เป็ นกระแส ในภาวะทเ่ี ป็ นกระแสน้ี ขยายความ หมายออกไปใหเ้ ห็นแงต่ า่ ง ๆ ไดค้ อื - สง่ิ ทงั้ หลายมคี วามสมั พันธต์ อ่ เนอ่ื งอาศยั เป็ น ปัจจัยแกก่ นั - สง่ิ ทงั้ หลายมอี ยโู่ ดยความสมั พันธก์ นั - สงิ่ ทงั้ หลายมอี ยดู่ ว้ ยอาศยั ปัจจัย - สง่ิ ทงั้ หลายไมม่ คี วามคงทอี่ ยอู่ ยา่ งเดมิ แมแ้ ต่ ขณะเดยี ว (มกี ารเปลยี่ นแปลงอยตู่ ลอดเวลา ไม่ อยนู่ งิ่ ) - สงิ่ ทงั้ หลายไมม่ อี ยโู่ ดยตวั ของมันเอง คอื ไมม่ ี ตวั ตนทแี่ ทจ้ รงิ ของมนั - สงิ่ ทงั้ หลายไมม่ มี ลู การณ์ หรอื ตน้ กำเนดิ เดมิ สดุ แตม่ คี วามสมั พันธแ์ บบวฏั จักร หมนุ วนจนไม่ ทราบวา่ อะไรเป็ นตน้ กำเนดิ ทแ่ี ทจ้ รงิ หลกั คำสอนของพระพทุ ธศาสนาของพระพทุ ธ ศาสนาทเ่ี นน้ ความสมั พันธข์ องเหตปุ ัจจัยมี มากมาย ในทนี่ จ้ี ะกลา่ วถงึ หลกั คำสอน 2 เรอื่ ง คอื ปฏจิ จสมปุ บาท และอรยิ สจั 4

ปฏจิ จสมปุ บาท คอื การทสี่ งิ่ ทงั้ หลายอาศยั ซงึ่ กนั และกนั เกดิ ขน้ึ เป็ นกฎธรรมชาตทิ ่ี พระพทุ ธเจา้ ทรงคน้ พบ การทพี่ ระพทุ ธเจา้ ทรง คน้ พบกฎนน้ี เ่ี อง พระองคจ์ งึ ไดช้ อ่ื วา่ พระสมั มา สมั พทุ ธเจา้ กฏปฏจิ จสมปุ บาท เรยี กอกี อยา่ ง หนงึ่ วา่ กฏอทิ ปั ปัจจยตา ซง่ึ กค็ อื กฏแหง่ ความ เป็ นเหตเุ ป็ นผลของกนั และกนั น่ันเอง กฏปฏจิ จสมปุ บาท คอื กฏแหง่ เหตผุ ลทวี่ า่ ถา้ สง่ิ นม้ี ี สงิ่ นัน้ กม็ ี ถา้ สง่ิ นดี้ บั สงิ่ นัน้ กด็ บั ปฏจิ จ สมปุ บาทมอี งคป์ ระกอบ 12 ประการ คอื 1) อวชิ ชา คอื ความไมร่ จู ้ รงิ ของชวี ติ ไมร่ แู ้ จง้ ใน อรยิ สจั 4 ไมร่ เู ้ ทา่ ทนั ตามสภาพทเ่ี ป็ นจรงิ 2) สงั ขาร คอื ความคดิ ปรงุ แตง่ หรอื เจตนาทงั้ ทเ่ี ป็ น กศุ ลและอกศุ ล 3) วญิ ญาณ คอื ความรับรตู ้ อ่ อารมณต์ า่ งๆ เชน่ เห็น ไดย้ นิ ไดก้ ลน่ิ รรู ้ ส รสู ้ มั ผสั 4) นามรปู คอื ความมอี ยใู่ นรปู ธรรมและนามธรรม ไดแ้ ก่ กายกบั จติ 5) สฬายตนะ คอื ตา หู จมกู ลน้ิ กาย และใจ

6) ผัสสะ คอื การถกู ตอ้ งสมั ผัส หรอื การกระทบ 7) เวทนา คอื ความรสู ้ กึ วา่ เป็ นสขุ ทกุ ข์ หรอื อเุ บกขา 8) ตณั หา คอื ความทะเยอทะยานอยากหรอื ความ ตอ้ งการในสงิ่ ทอี่ ำนวยความสขุ เวทนา และความ ดน้ิ รนหลกี หนใี นสงิ่ ทกี่ อ่ ทกุ ขเวทนา 9) อปุ าทาน คอื ความยดึ มัน่ ถอื มั่นในตวั ตน 10) ภพ คอื พฤตกิ รรมทแี่ สดงออกเพอ่ื สนองอปุ า ทานนัน้ ๆ เพอื่ ใหไ้ ดม้ าและใหเ้ ป้นไปตามความยดึ มั่นถอื มน่ั 11)ชาติ คอื ความเกดิ ความตระหนักในตวั ตน ตระหนักในพฤตกิ รรมของตน 12) ชรา มรณะ โสกะ ปรเิ ทวะ ทกุ ขะ โทมนัส อปุ า ยาสะ คอื ความแก่ ความตาย ความโศกเศรา้ ความ คร่ำครวญ ความไมส่ บายกาย ความไมส่ บายใจ และ ความคบั แคน้ ใจหรอื ความกลดั กลมุ ้ ใจ อรยิ สจั หมายถงึ หลกั ความจรงิ อนั ประเสรฐิ หรอื หลกั ความจรงิ ทที่ ำใหผ้ เู ้ ขา้ ถงึ เป็ นผู ้ ประเสรฐิ มี 4 ประการ คอื

1) ทกุ ข์ หมายถงึ ความไมส่ บายกาย ไม่ สบายใจ หรอื สภาพทบี่ บี คนั้ จติ ใจใหท้ นไดย้ าก ทกุ ขเ์ ป็ นสภาวะทจี่ ะตอ้ งกำหนดรู ้ 2) สมทุ ยั (ทกุ ขสมทุ ัย) หมายถงึ ตน้ เหตทุ ี่ ทำใหเ้ กดิ ทกุ ข์ ไดแ้ ก่ ตณั หา 3 ประการ คอื กามตณั หา ภวตณั หา และวภิ วตณั หา สมทุ ัย เป็ นสภาวะทจี่ ะตอ้ งละหรอื ทำใหห้ มดไป 3) นโิ รธ (ทกุ นโิ รธ)หมายถงึ ความดบั ทกุ ข์ หรอื สภาวะทป่ี ราศจากทกุ ข์ เป็ นสภาวะทต่ี อ้ ง ทำความเขา้ ใจใหแ้ จม่ แจง้ 4) มรรค (ทกุ ขนโิ รธคามนิ ปี ฎปิ ทา) หมายถงึ ทางดบั ทกุ ข์ หรอื ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ ความดบั ทกุ ข์ ไดแ้ ก่ มัชฌมิ าปฏปิ ทา หรอื อรยิ มรรคมอี งค์ 8 ซงึ่ สรปุ ลงในไตรสกิ ขา คอื ศลี สมาธิ ปัญญา มรรค เป็ นสภาวะทตี่ อ้ งลงมอื ปฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเอง จงึ จะไปสคู่ วามดบั ทกุ ขไ์ ด ้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook