Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือท่องเที่ยวชุมชนไทยพวน (สำหรับชุมชน)

คู่มือท่องเที่ยวชุมชนไทยพวน (สำหรับชุมชน)

Published by kanjana montregon, 2021-11-12 11:49:27

Description: คู่มือท่องเที่ยวชุมชนไทยพวน (สำหรับชุมชน)

Search

Read the Text Version

รถวิถีถิ่น ไทยพวนย้อนรอยความสุขที่ ปากพลี ท่องเที่ยว โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคม เส้นทางแห่งความสุขของ รายตำบลแบบบูรณาการ สุดยอดนักปั่น (มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากเเก้วให้ประเทศ)



คำนำ ชุมชนไทยพวน ตำบลเกาะหวาย อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก ก่อตั้ง เป็นชุมชนท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงวัฒนธรรม ซึ่งนำเอาความหลากหลายของ ทรัพยากรวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิต สร้างสรรค์กิจกรรมการท่องเที่ยว วิถีถิ่น เพื่ อเปิดโอกาสให้นักท่องเที่ยวได้ทำความรู้จักไทยพวน และมีส่วนร่วม กับคนในชุมชน เพื่ อสืบทอดวัฒนธรรมประเพณีไปสู่คนรุ่นใหม่ในปัจจุบัน ซึ่ง วัฒนธรรมของไทยพวนที่ทรงคุณค่าดังกล่าว เช่น ประเพณีฮีต 12 คอง 14 อาหารพื้ นถิ่นชุมชนไทยพวน และยังมีรายการท่องเที่ยวที่รอให้นักท่องเที่ยว มาสัมผัสความสุขจากการถ่ายทอดความรู้จากคนในชุมชนไทยพวน ย้อนรอยความสุขที่ไทยพวน ปากพลี เล่มนี้เป็นหนังสือที่รวบรวมประวัติ ประเพณีของชุมชนไทยพวน ซึ่งได้รวบรวมกิจกรรมการท่องเที่ยวของชุมชน รวมถึงสถานที่ท่องเที่ยวแนะนำจังหวัดนครนายก ซึ่งจะเป็นประโยชน์แก่การ เล่าเรื่ องราววัฒนธรรมประเพณีของชาวชุมชนไทยพวน รวมถึงสามารถบอก เล่าความหลากหลายของแหล่งท่องเที่ยวจังหวัดนครนายก สุดท้ายนี้ทางผู้จัด ทำหวังว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาการท่องเที่ยวแก่ชุมชน ไทยพวนต่อไป คณะผู้จัดทำ คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

พาแลง ซวนซิม สารบัญ เฮียนฮู้ หัตถกรรม จังหวัดนครนายก 1-2 สถานที่ท่องเที่ยวในชุมชนไทยพวน 21 วัดบ้านใหม่ คำขวัญประจำ 22 เกี่ยวกับชุมชนไทยพวนจังหวัดนครนายก ศาลปู่ตาบ้าน เฮียนฮู้ ลำตัดพวน 3 เหม่อ เฮียนฮู้ วิถีการยกยอ 23-26 อำเภอปากพลี 4 วัดฝั่ งคลอง การเดินทางมา 27 จังหวัดนครนายก เจดีย์อ่าวพระธาตุ 27-28 6-10 ยกยอ เรื่องเล่าของ 29 ชุมชนไทยพวน วัดเกาะหวาย 30 11-16 ความหมายของ บ้านครูหลอด ฮีต 12 คอง 14 31-32 17-18 บ้านป้าสุรีย์ ปฏิทินท่องเที่ยว 33 ชุมชนไทยพวน วัดท่าแดง

รายการนำเที่ยวชุมชนไทยพวน 36 สถานที่ท่องเที่ยวแนะนำชุมชนไทยพวน 43 48 ราวินโฮม อ่างเก็บน้ำ เที่ยวครึ่งวัน คาเฟ่ ทรายทอง “ปั่ นนำเฮา ชาว 44 49 ไทยพวน” เขื่อนขุนด่าน จุดชมเหยี่ยวหูดำ ปราการชล 37-38 45 49-50 เที่ยว 1 วัน อ่างเก็บน้ำ พุทธอุทยาน “ปั่ นไปไทยพวน วังบอน มาฆบูชาอนุสรณ์ กับเพื่อนวัยเก๋า” 46 51 39-40 เที่ยว 2 วัน 1 คืน อ่างเก็บน้ำ น้ำตกสาลิกา “วัยรุ่นสุดยอด ห้วยปรือ นักปั่ น” 52 47 อุทยานน้ำตก 53-54 วัดคีรีวัน วังตะไคร้ อาหารพื้นถิ่น รายละเอียดเพิ่มเติม ชุมชนไทยพวน 47 53 บ้านคลองคล้า ผลิตภัณฑ์ชุมชน ไทยพวน 54 ที่พักชุมชน ไทยพวน 54 ข้อมูลการติดต่อ 54 หมายเลขโทรศัพท์ ที่สำคัญ 55-56 เกร็ดความรู้ไกด์ ท้องถิ่น สถานที่ท่องเที่ยวแนะนำ จังหวัดนครนายก

สักครั้งหนึ่งที่นครนายก นครนายก เมืองในฝันที่ใกล้กรุง ภูเขางาม น้ำตกสวย รวยธรรมชาติ ปราศจากมลพิษ 1

จังหวัดนครนายก ตั้งอยู่ทางทิศะวันออกของประเทศไทย มีระยะทางจาก กรุงเทพมหานครตามถนนทางหลวงหมายเลข 305 เลียบ คลองรังสิตผ่านอำเภอ องครักษ์ โดยมีระยะทาง 105 กม. เนื้ อที่จังหวัดประมาณ 2,122 ตร.กม. ลักษณะภูมิประเทศ สภาพโดยทั่วไปมีที่ราบทางตอน เหนือและตะวันออกเป็นภูเขาสูงชันในอำเภอบ้านนาและ อำเภอเมือง อำเภอปากพลีส่วนหนึ่งเป็น อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่ ซึ่งเป็นเขตรอยต่อกับอีก 3 จังหวัด ได้แก่จังหวัด สระบุรี นครราชสีมา และจังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งมีเทือกเขา ติดต่อกับเทือกเขาดงพยาเย็น ยอดเขาสูงที่สุดของจังหวัด คือยอดเขาเขียว มีความสูงจากระดับน้ำทะเล 1,351 เมตร ส่วนทางตอนกลางและตอนใต้ เป็นที่ราบอันกว้างใหญ่เป็น ส่วนหนึ่งของที่ราบสามเหลี่ยมลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาที่ เรียก ว่า “ที่ราบกรุงเทพ” ลักษณะดินเป็นดินปนทราย และดิน เหนียวเหมาะแก่การทำนา ทำสวนผลไม้ และการอยู่อาศัย 2

อำเภอปากพลี เดิมอำเภอนี้ชื่ อว่า อำเภอบุ่งไร่ ตั้งขึ้นเมื่ อ พ.ศ.2436 ต่อมาในปี พ.ศ.2448 ได้เปลี่ยนชื่ อมาเป็น อำเภอหนองโพธิ์ โดยรวมบ้าน หนองโพธิ์และบ้านหนองน้ำใหญ่ มาตั้งเป็นชื่ อสถานที่ราชการ แต่ เอาเฉพาะคำว่า “หนองโพธิ์” และในปีเดียวกันได้ย้ายที่ว่าการ อำเภอไปตั้งที่บ้านท่าแดง ตำบล ปากพลี พร้อมเปลี่ยนชื่ อใหม่เป็น อำเภอเขาใหญ่ เพราะท้องที่ได้ ครอบคลุมถึงเขาใหญ่ ต่อมาในปี พ.ศ.2452 ได้เปลี่ยนชื่ อมาเป็น อำเภอปากพลี ตามชื่ อตำบลที่ตั้ง 3

การเดินทางมาจังหวัดนครนายก การเดินทางโดยรถยนต์ การเดินทางโดยรถตู้ประจำทาง เส้นทางที่1 ไปตามทางหลวง จุดบริการรถตู้มี 2 จุด คือ หมายเลข 305 ถนนเลียบคลอง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ และ รังสิต-นครนายกผ่านอำเภอธัญบุรี ฟิวเจอร์พาร์ครังสิต จังหวัดปทุมธานี อำเภอ องครักษ์ อำเภอบ้านนา อำเภอเมือง โดยมี การเดินทางโดยรถโดยสาร ระยะทางประมาณ 105 กิโลเมตร ประจำทาง รถประจำทางปรับอากาศของ เส้นทางที่2 ไปตามทางหลวง บริษัทขนส่ง จำกัดและเอกชน หมายเลข 1 เลี้ยวขวาแยกหินกอง สายกรุงเทพฯ-นครนายก โดย ไปตามถนน สุวรรณศร ทางหลวง ออกจากสถานีขนส่งหมอชิต 2 หมายเลข 33 จนมาถึงนครนายก ใช้เวลาเดินทางประมาณ 1 ระยะทางประมาณ 137 กิโลเมตร ชั่วโมง 30 นาที 4

ประวัติของ ชุมชนไทยพวน ต้อยินนฮดัีบ 5

เรื่องเล่าความเป็นมา ของชุมชน เป็นกลุ่มไทยน้อยกลุ่มหนึ่งในลุ่มแม่น้ำโขง คำว่า ไทยพวน และไทพวน จึงปรากฏในหนังสือ ประวัติศาสตร์ในพงศาวดารลาว ในปี พ.ศ.2322 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชโปรดฯ ให้สมเด็จ พระมหากษัตริย์ศึกไปปราบกบฏ ที่ เวียงจันทร์ มีชัยชนะจึงได้กวาดต้อนผู้คนจำนวนมาก รวมถึง ชาวลาว และชาวลาวพวนจากเมืองซำเหนือที่อยู่ ในจังหวัด นครนายก มีไทยพวนพวกหนึ่งซึ่งมีถิ่น เดิมอยู่ที่บ้านโค้ง บ้านเมี่ยง บ้านหนองวัว บ้านนา คา เห็นว่าบริณลุ่มน้ำของคลองท่าแดงในปัจจุบัน เหมาะแก่การตั้งหลักแหล่งทำมาหากิน จึงรวมตัว กันแล้ว ตั้งชื่ อบ้านว่า \"บ้านท่าแดง\" ในคราวที่ได้ อพยพมาครั้งนั้น มีพระภิกษุรูปหนึ่งชื่ อ หลวงพ่อ ภาระ ซึ่งเป็นที่นับถือของชาวไทยพวน เป็นผู้นำ ขบวน อพยพและได้อัญเชิญพระศรีอาริย์ซึ่งหล่อ ด้วยทองสัมฤทธิ์มาด้วย ชาวไทยพวนจึงช่วยกัน สร้างวัดและตั้งชื่ อตามหมู่บ้าน “บ้านท่าแดง” คำขวัญของชุมชน “เชิดชูวัฒนธรรม นำชี้วิถีถิ่น สืบสานงานศิลป์ แดนดินถิ่นไทย-พวน” 6

ความเข้มแข็งของบวร \"บวร\" มาจาก ผู้นำพลังบวรที่มีความเข้มแข็ง ครบ ๓ องค์ ประกอบ บ้าน/ชุมชน วัด/ศาสนสถาน โรงเรียน/ราชการ ดังนี้ “บ” นายองอาจ เกินอาษา บ้าน/ชุมชน นายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลเกาะหวาย นางมะลิวรรณ์ ยงกระสัน นายกองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะหวาย “ว” วัด / พระครูวิริยานุโยค เจ้าอาวาสวัดฝั่ งคลอง ศาสนสถานของชุมชน เจ้าคณะอำเภอปากพลี “ร” โรงเรียน / ส่วนราชการที่ตั้งอยู่ในชุมชน นายนิรุตติ์ หนักเพชร์ ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลอำเภอปากพลี 7 นางนรีรัตน์ ย่างเล้ง ผู้อำนวยการโรงเรียนปากพลีวิทยาคาร

“บ” นายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลเกาะหวาย กำหนดนโยบายการบริหารงานต่อ สภาเทศบาลตำบลเกาะหวาย โดยยึดมั่นต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัติย์ทรงเป็นประมุข เพื่อให้เกิดความร่วมมือกับทุกภาคส่วนและ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมุ่งให้เกิดการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วม เพื่อช่วย กันขับเคลื่อนให้เทศบาลตำบล เกาะหวาย มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยกำหนด นโยบาย ด้านวัฒนธรรมประเพณี การส่งเสริมอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีและ พิพิธภัณฑ์ไทย-พวน เพื่อให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น “ว” ชุมชนคุณธรรมฯ ณ วัดฝั่ งคลอง มีท่านพระครูวิริยานุโยค เจ้าอาวาส วัดฝั่ งคลอง เจ้าคณะอำเภอปากพลี “บวร” ของชุมชน คืออะไร ? เป็นผู้นำชุมชน ซึ่งท่านเป็นพระนัก มีความสำคัญอะไรกับชุมชน พัฒนา โดยริเริ่มพัฒนาสิ่งต่าง ๆ ใน 8 ชุมชน เพื่อให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง จึงก่อให้เกิดรวมกลุ่มกันของคนใน ชุมชน ทั้ง 4 ชุมชน “ร” สำนักงานเทศบาลตำบลเกาะหวาย สถานีตำรวจภูธรปากพลี องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะหวาย โรงเรียนอนุบาลอำเภอปากพลี โรงเรียนปากพลีวิทยาคาร สำนักงาน กศน. อำเภอปากพลี

ความเชื่อและศาสนา ชาวไทยพวนนับถือศาสนาพุทธ สังเกตได้จากพิธีการ งานบุญต่างๆ ของ ชาวไทยพวน จะมีความเกี่ยวข้องและ สัมพันธ์กับพระ วัด และ พุทธศาสนาเสมอ โดยมีพระครู วิริยานุโยค เป็นพระรูปหนึ่ง ที่ชาวบ้านในชุมชนให้ความ เคารพนับถือเป็นอย่างมาก ในฐานะพระนักพัฒนาที่มัก สร้างสรรค์สิ่งใหม่อยู่เสมอ นอกจากนี้ชาวไทยพวนยังมีความเชื่อใน เรื่อง “ผี” โดย “ผี” โดยผีที่ชาวบ้านไทยพวนให้ความเคารพนับถือนี้ ได้แก่ ผีปู่ตา ที่ทุกหมู่บ้านจะต้องมี “ศาลปู่ตา” หรือ “ศาลปู่” ซึ่งเชื่อกันว่า คือ ผู้รักษาหมู่บ้าน โดยชาวบ้าน จะสร้างศาลปู่ตา หรือปู่ตาไว้ ทางทิศตะวันออก หรือทิศเหนือของหมู่บ้านและมีพิธีเลี้ยงปู่ตา 9

ภาษาไทยพวน เป็นภาษาไทยพวน: เป็นการใช้ภาษาและอักษรในรูปแบบคล้าย และเหมือนกับชาวไทยใหญ่ในส่วนเหนือและตะวันออก ต่อเนื่องไปถึง สายเวียงจันทร์ เชียงขวาง สมัยโยนก ลานนาไทย ซึ่งมีรูปแบเป็นของ ตนเอง เนื่องจากการทำสงครามเป็นสาเหตุที่ทำให้ จังหวัดนครนายก ประกอบด้วยชนกลุ่มน้อยหลายเผ่าพันธุ์ แต่ละกลุ่มมีเอกลักษณ์เฉพาะ กลุ่มแตกต่างกันไป ภาษาพูดของไทยพวนเป็นภาษา ที่ไพเราะต่างจาก ภาษาพูดของลาวเวียง ที่สั้น ๆ ห้วน เช่น “พีเลอ” (ภาษาไทยพวน หมายถึงอะไร) “เอ็ดพีเลอ” (หมายถึงทำอะไร) ภาษาพูดของชาวไทยพวนทั้ง 4 ชุมชน ได้แก่ ชุมชนท่าแดง ชุมชนบ้านฝั่ งคลอง ชุมชนบ้านเกาะหวาย และ ชุมชนบ้านใหม่ ส่วนน้อยยังคงใช้ภาษาพวนพูดสื่อสารกันอยู่ สำหรับภาษาเขียน ปัจจุบันยกเลิก และใช้ภาษาไทยอย่างเดียว จึงทำให้คนในชุมชน ไม่สามารถเขียนได้ แต่ยังคงมี 1 คน ของคนในชุมชนที่ยังเขียนได้ คือ พันเอกโสภณ เครือเพ็ชร 10

11

ความหมายของ ฮีต 12 คอง 14 วัฒนธรรม และประเพณี ๑๒ เดือน (ฮีต ๑๒ คอง ๑๔) การสืบสานวัฒนธรรม ประเพณีที่เป็นวิถีการดำเนินชีวิตของชาว ไทยพวน ปากพลี ที่ได้รับการสืบทอดเป็น แนวปฏิบัติในจารีตของชาติพันธุ์พวนจาก ดินแดนเชียงขวางประเทศลาว ได้เข้ามา สู่พื้ นแผ่นดิน ก็ยังคงสืบสาน และอนุรักษ์ วัฒนธรรมประเพณีของชาติพันธุ์ไว้จนถึง ปัจจุบัน ประเพณีฮีต12 คำว่า “ฮีต” มาจากคำว่า จารีตประเพณีหรือสิ่งยึดถือปฏิบัติสืบต่อกัน มาเป็นระยะเวลายาวนาน คำว่า “สิบสอง” นั่นหมายถึงเดือนทั้ง 12 เดือนในรอบหนึ่งปี ความหมายโดยรวม ของฮีต 12 จึงหมายถึง งานบุญประเพณีในแต่ละเดือนของชาวไทย พ ว น ซึ่ ง ยึ ด ถื อ ป ฏิ บั ติ สื บ ท อ ด กั น ม า ตั้ ง แ ต่ ค รั้ ง โบราณในหนึ่งรอบปี คอง 14 ของชาวไทยพวน หมายถึง แนวทาง วิถีทาง ทำนองคลองธรรม ที่ชาวไทยพวนถือประพฤติปฏิบัติในการ ปกครองบ้านเมืองสืบต่อ ๆ กันมา ตั้งแต่ครั้งบรรพบุรุษ 12

ฮ1ี2ต เดือนอ้าย (เดือน 1) เดือนมกราคมประเพณี ลงแขกเกี่ยวข้าว นวด ข้าว เฮานา ทำบุญทาน ข้าวเม่าจะเริ่มตั้งแต่ เดือน 12 ถึงเดือนอ้าย เดือนยี่ เดือนห้า (เดือน 2 ) (เดือนพฤษภาคม) เดือนกุมภาพันธ์ ประเพณีกำกุด ทำบุญทานข้าวหลาม สงกรานต์ อาบน้ำก่อน เอาฟืน ไพหญ้าไพแวง กา มาก่อนไก่ สูตรเสื้อ สูตรผ้าขนทรายเข้าวัด เดือนสี่ กอพระทรายและรดน้ำ พระสงฆ์ ผู้สูงอายุ (เดือนคู่) เดือนสาม เดือนเมษายน นิยม ทำงานมงคล เช่น กินดอง ขึ้นเฮือนเหม่อ เอาะเฮือน เดือนหก เดือนมีนาคม ปลูกเฮือน เหม่อส่าย ย่างาม ทำบุญทานข้าวจี่ (เดือนมิถุนายน) พิธีกำฟ้า ขึ้นสามค่ำ ประเพณีเลี้ยงปู่ตา มีพิธีเฮี้ยะขวัญข้าว บุญเปตะพี ส่ง สู่ขวัญข้าวเชิญขวัญ กะทง เลี้ยงพ่อเฒ่า แม่โพสพเข้าอยู่ในยุ้งฉาง แม่เฒ่า 13

เดือนเจ็ด เดือนแปด (เดือนกรกฎาคม) (เดือนสิงหาคม) เดือนเก้า ประเพณีบายศรี ประเพณีเข้าพรรษา พระพุทธ บายศรีเจ้า ถวายเทียน ผ้าอาบน้ำฝน (เดือนกันยายน) หัว บายศรีพระสงฆ์ ประเพณีสารทพวน หรือบุญห่อข้าวประดับ ดิน มีทั้งการละเล่นพื้น บ้านถือแรงกวนกระยา สารท ไล่ผีย่า ผีเจียง เดือนสิบ เดือนสิบสอง (เดือนตุลาคม) (เดือนธันวาคม) บุญทานข้าวสะ บุญผะเวต เทศมหาชาติ ลอยกระทง เกี่ยวข้าวอ่อน เดือนสิบเอ็ด มาทำข้าวเม่า ทำบุญทาน ข้าวเม่า เลี้ยงข้าวเม่าปู่ตา (เดือนพฤศจิกายน) สมาพระแม่คงคา บุญออกพรรษา ตักบาตรเทโวโรหณะ 14

1ค4อง คองที่ 2 คองที่ 1 อย่าโลภตาย่อย ตาชิง อย่าจ่ายเงิน เมื่อผลไม้ในสวน แดง อย่าแบ่งเงิน และข้าวในนาเป็น คว้าง อย่ากล่าว ผลเป็นรวงแล้ว ไม่ คำกล้า อย่าว่าคำ ควรกินก่อน เอาให้ แข็งต่อกัน อย่า ผู้มีศีลกินก่อนแล้ว โกงตาชั่ง ตนจึงกินตามภาย หลัง คองที่ 8 คองที่ 9 คองที่ 10 คองที่ 7 เมื่อถึงวันเต็ม เมื่อใส่บาตรพระ เมื่อเห็นพระสงฆ์ ไม่ให้ใส่รองเท้า ผ่านมาให้ยกมือ ถืออาวุธและผ้า ไหว้เสียก่อน แล้ว คลุมหัว จึงค่อยพูดจา เมื่อถึงวันศีล เดือนให้นิมนต์ พระสงฆ์มาสวด วันพระ ให้เอา มนต์ที่บ้าน เพื่อให้ ดอกไม้ขอขมา ทานรักษาศีลและ ผัว เอาดอกไม้ไป ฟังธรรมเทศนา ประเคนพระสงฆ์ 15

คองที่ 4 คองที่ 5 คองที่ 6 คองที่ 3 ขึ้นบ้านให้ล้าง ก่อนจะเข้านอน เท้า เมื่อถึงยามวันพระ ให้ล้างเท้าเสียก่อน มีวัดให้กำแพง 7 ค่ำ 8 ค่ำ 14 ค่ำ ล้อม มีบ้านให้มี 15 ค่ำ ให้ขอสมา รั้วและปลูกหอ ก้อนเส้าแม่คิงไฟ ไหว้ทั้งสี่ทิศ และ แม่บันไดและแม่ มีที่ล้างเท้า ประตู คองที่ 14 คองที่ 13 อย่าเสพกามคุณ ในวันศีล วันเข้า คองที่ 12 อย่าเอาอาหาร พรรษา วันออก เหลือกินไปทาน พรรษา วันมหา คองที่ 11 อย่าเยียบเงาภิกษุ ให้พระภิกษุสงฆ์ สงกรานต์และ สามาณร และ วันเกิดของตน ผู้มีศีลบริสุทธิ์ อย่าเอาให้ผัวกิน เมื่อพระภิกษุเข้า ปริวาสกรรม การ ชำระเบื้องต้นนั้น ให้มีขัน ดอกไม้ ธูปเทียน และ เครื่องอัฏฐะบริขาร ไปถวายท่าน 16

ปฏิทินท่องเที่ย วัฒนธรรม และประเพณี 17

ยวชุมชนไทยพวน 12 เดือน (ฮีต 12 คอง 14) 18

วัดปทุมวงษาวาส (วัดบ้านใหม่) จุดเด่นของวัดแห่งนี้อยู่ที่ สถูปกุสาวดี องค์ใหญ่สีขาว ศาลปู่ตาท้าวโจรผ้าย เป็นศักดิ์สิทธิ์ของชาวไทยพวน ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านไทยพวน แหล่งเรียนรู้และแหล่งท่องเที่ยว ทางวัฒนธรรมไทยพวน ชมวิถีการยกยอ เป็นการจับปลาของ คนสมัยก่อน พร้อมสัมผัสวิถีชีวิตความเป็น อยู่ของคนในชุมชน 19

วัดท่าเเดง เป็นวัดเก่าเเก่ชาวไทยพวน รวบรวมประวัติความเป็นมาจากรุ่นสู่รุ่น สักการะพระศรีอาริย์ (องค์จำลอง) สักการะสถูปหลวงพ่อภาระ ชมการเเสดงลำตัดพวน ที่ลานวัฒนธรรมวัดฝั่ งคลอง ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมไทยพวน บ้านป้าสุรีย์ อาหารพื้นบ้านของชาวไทยพวน ต้องเเวะมาเรือนครูหลอด กับเมนูปลาดู สมุนไพรทอด 20

วัดปทุมวงษาวาส เป็นวัดเก่าแก่คู่ชุมชนไทยพวนนานนับ 200 ปี (วัดบ้านใหม่) ซึ่งจุดเด่นของวัดแห่งนี้อยู่ที่ สถูปกุสาวดีองค์ใหญ่ สีขาว จำลองแบบมาจากประเทศอินเดีย ภายใน ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุพระพุทธเจ้า ซึ่งพระครูปทุมกิจโสภณ เจ้าอาวาส ได้ก่อสร้าง พระธาตุกุสาวดีให้ประชาชนได้กราบไหว้สักการะ ชุมชนได้เลือกสถานที่เเห่งนี้เพื่อรองรับนักท่องเที่ยว ที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวชุมชนไทยพวน เนื่องด้วย พื้นที่มีความเหมาะสม เเละสะดวกในการเดินทาง อีกทั้งยังรองรับนักท่องเที่ยวได้จำนวนมาก ศูนย์ภูมิปัญญามนุษย์ตั้งอยู่ที่วัดปทุมวงษาวาส เป็นเเหล่งเรียนรู้ ผ้าทอลายไทยพวนเเละเป็นฐานกิจกรรม เฮียนฮู้ หัตกรรม เอ็ดมือ ด้วยกี่กระตุก ประกอบด้วยกิจกรรม 5 ฐาน ได้แก่ ฐานมัดย้อม ฐานการทอผ้า ฐานกรอด้าย ฐานย้อม ฐานทอด้าย ใช้เวลาทำกิจกรรม ประมาณ 60 นาที ช่วงเวลาจัดโปรเเกรม: 08:00-18:00 น. ยานพาหนะที่ใช้ : รถจักรยาน รถวิถีชุมชน พิกัด (GPS) ละติจูด 14.166212 21 ลองจิจูด 101.259793

ศาลปู่ตา เปรียบเสมือนศาลหลักบ้าน ศาลปู่ตาท้าวโจรผ้าย ที่เเต่ละชุมชนจะต้องมีศาลปู่ตา เป็น (บ้านเหม่อ) สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ เป็นที่สถิตของดวง วิญญาณบรรพบุรุษ ผู้กล้าหาญที่คอย ปกป้องคุ้มครองชาวบ้าน มีความเชื่อ กันว่าหากได้บนบานศาลปู่ตาเเล้ว มัก ประสบความสำเร็จสมความปราถนา ใช้เวลาในจุดนี้ประมาณ 10 นาที ศักยภาพของสถานที่ศาลปู่ตา เพื่อให้นักท่องเที่ยว ได้เเวะสักการะ ไม่สามารถจัดกิจกรรมอื่น นอกจาก เรียนรู้ประวัติความเป็นมาของศาลปู่ตา กิจกรรมการเล่าเรื่อง เล่าถึงประวัติ ความเป็นมา หรือเป็นจุดเเวะพัก รับประทานอาหารว่างนักท่องเที่ยว เเละไม่มีห้องน้ำสาธารณะเนื่องด้วย ข้อจำกัดของพื้นที่ ช่วงเวลาจัดโปรเเกรม: 08:00-18:00 น. ยานพาหนะที่ใช้ : รถจักรยาน รถวิถีชุมชน พิกัด (GPS)ละติจูด 14.163836 22 ลองจิจูด 101.263353

ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราช วัดฝั่ งคลอง เป็นชุมชนที่มีการจัดตั้งศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชวัดฝั่ งคลอง ต้นแบบ พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านไทยพวน แหล่งเรียนรู้ และแหล่ง ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมไทยพวน โดยท่านพระครูวิริยานุโยค เจ้าอาวาสวัดฝั่ งคลอง เจ้าคณะอำเภอปากพลี เป็นผู้นำชุมชน ซึ่งภายในวัดฝั่ งคลอง ประกอบด้วย มิวเซียมปะพวน ที่ปากพลี บ้านเรือนไทยพวนจำลอง และลานวัฒนธรรม เมื่อนักท่องเที่ยว เดินทางมายังวัดฝั่ งคลอง ก็จะได้ร่วมทำกิจกรรมที่หลากหลาย ได้แก่ เข้าชมพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านไทยพวน เพื่อเรียนรู้การปะพวน เครื่องแต่งกายของชาวพวน และฟังเรื่องเล่าเจ้าจอมนางกลอย ฐานเรียนรู้การทำลูกปะคบสมุนไพรพร้อมการทำสปาเท้าด้วยน้ำ สมุนไพร ฐานยาดมสมุนไพรไทยพวน ฐานถุงหอมด้วยสมุนไพร ดับกลิ่น และฐานทำไข่เค็มใบเตยสูตรไทยพวน ซึ่งนักท่องเที่ยว สามารถรับประทานอาหารพาสาย (รับประทานอาหารกลางวัน) เป็นอาหารพื้นถิ่นของชุมชนไทยพวนพร้อมชมการแสดงพื้นบ้าน อาทิการแสดง “ลำตัดพวน” สำหรับกิจกรรมต้อนรับจะใช้เวลา ต้อนฮับมายามชุมชน ประมาณ 30 นาที เเละจะให้นักท่อง เที่ยวได้ทำกิจกรรมต่อไป เนื่องด้วย ชุมชนกล่าวต้อนรับรำกลองยาว พื้นที่จำกัด อาจเกิดความกระจุกตัว ต้อนรับ โห่ ๓ ลา ขับขาน ศักยภาพของสถานที่ไม่สามารถเป็น ผูกผ้าขาวม้า คล้องสไบ จุดนัดพบนักท่องเที่ยวได้ในจำนวนที่ กลองยาวนำสู่เฮือนชาน ไทยพวน มากเกินไป 23

คลองสั้น ตำนานยาว ชมการแสดงเพลงเรือ เรื่องเล่าคลองสั้นตำนานยาว เป็นการเรียนรู้วิถีชีวิตของชาวไทยพวน ที่อาศัยอยู่บริเวณริมคลองในสมัยก่อน ระหว่างทำกิจกรรมชุมชนนำเสนอเมนูอาหาร ว่างเป็นไข่เค็มใบเตยสูตรดั้งเดิมต้องคู่กับ กล้วยหอม พร้อมเสิร์ฟด้วยกาเเฟร้อน ๆ ระหว่างชมการเเสดงจากทางชุมชน กิจกรรมเรื่องเล่าคลองสั้นตำนานยาว ในช่วงฤดูฝนอาจไม่เหมาะสมในการทำ กิจกรรม หรือรับประทานอาหารวาง อีกทั้ง การจำกัดนักท่องเที่ยวต้องมีความเหมาะ สมกับสถานที่เนื่องด้วยกิจกรรมจะดำเนิน อยู่บนเเพกลางน้ำตลอดการทำกิจกรรม 24

เข้าสู่ พิธีบายศรี พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านวัดฝั่ งคลอง สู่ขวัญ เป็นสถานที่เผยเเพร่ ภูมิปัญญาและประเพณี ชาวไทยพวน ของชาวไทยพวน ใช้เวลาประมาณ เฮียนฮู้ การปะพวน เรียนรู้ภูมิปัญญา 10 นาที ด้านการเขียนอักษรไทยน้อยเเละ ให้นักท่องเที่ยวฝึกพูดภาษาพวน เฮียนฮู้ เครื่องแต่งกาย เสื้อหมาก กะแหล่งที่มีอายุนับ 200 ปี เฮียนฮู้ความเป็นอยู่สมัยโบราณ และ ชมภาพตำนานรักเจ้าจอมกับนางกลอย พิธีบายศรีสู่ขวัญสามารถรองรับ นักท่องเที่ยวได้ 200-300 คน ในช่วงโควิด-19 จำกัดอยู่ที่ 50 คน 25

รับประทานพาสายไทยพวน พร้อมชมการแสดงพื้นบ้าน สูตรอัตลักษณ์วัดฝั่งคลอง “ลำตัดพวน” กิจกรรมพื้นบ้าน (ให้นักท่องเที่ยวเลือก สแกน QR code เพื่อเรียนรู้ ทำกิจกรรมตามความสนใจ) ใช้เวลาทำ การเเสดงพื้นบ้านชุมชนไทยพวน กิจกรรมประมาณ 60 นาที เฮียนฮู้การทำลูกประคบสมุนไพร พร้อมทำสปาเท้าด้วยน้ำสมุนไพร ฮอดบ่อน เฮียนฮู้ ไข่เค็มใบเตย กลิ่นหอมด้วยสมุนไพรดับกลิ่น ยาดมสมุนไพรไทยพวน กิจกรรมพื้นบ้าน ทั้ง 4 กิจกรรมจะจัดขึ้น ช่วงเวลาจัดโปรเเกรม: 08:00-17:00 น. ที่ลานวัฒนธรรมภายในวัดฝั่ งคลอง จัดทำ กิจกรรมภายหลังจากรับประทานอาหาร ยานพาหนะที่ใช้: รถจักรยาน รถวิถีชุมชน กลางวัน เนื่องด้วยสถานที่มีบริเวณกว้าง พิกัด (GPS) : ละติจูด 14.16394 สามารถรองรับนักท่องเที่ยวได้จำนวนมาก เเละสามารถจัดกิจกรรมพร้อมกันได้ เพื่อ ลองจิจูด 101.263354 ให้นักท่องเที่ยวได้เลือกทำกิจกรรมตาม ความสนใจ 26

เจดีย์อ่าวพระธาตุ ชมวิถีการยกยอ สถานที่ท่องเที่ยวแห่งนี้เป็น เป็นการจับปลาของคนสมัยก่อนที่ใช้จับ ทางลุ่มน้ำ ในช่วงฤดูฝนน้ำ ปลามี 2 เเบบ ได้เเก่ ยอเล็กทำมาจากก้านยอ หลาก จะมีเรือสัญจรไป-มา ที่เริ่มใช้กันมาตั้งเเต่เเรกเริ่ม จนพัฒนามาเป็น จำนวนมาก และมักจะล่ม ยอใหญ่ ที่ใช้ลอกในการยกขึ้นมา เพื่อความ ที่บริเวณต้นน้ำ แห่งนี้ ต่อมา รวดเร็ว อีกทั้งพื้นที่เเห่งนี้สมบูรณ์อย่างยิ่งใน จึงมีการก่อสร้างเจดีย์แห่งนี้ไว้ การมาท่องเที่ยว พร้อมสัมผัสบรรยากาศ วิถี เพื่อเป็นจุดสังเกตุและเพื่อให้ ชีวิตความเป็นอยู่ของคนในชุมชน ระมัดระวังเมื่อต้องเดินทาง ผ่านเส้นน้ำแห่งนี้ ศักยภาพสถานที่เเห่งนี้ มีความร่มรื่นของ ต้นไม้ใหญ่ บรรยากาศเย็นสบายผ่านลุ่มน้ำ อีกทั้งเส้นทางยังสามารถเชื่อมโยงกับจุดชม นกเหยี่ยวหูดำ เพียง 13 กิโลเมตร จากจุด เจดีย์อ่าวพระธาตุ 27

สถานที่ท่องเที่ยวเจดีย์อ่าวพระธาตุ ชมสาธิตการทำ นักท่องเที่ยวใช้เวลาประมาณ 10 ขนมข้าวกระยาคู นาที พร้อมพัก กินหวาน ตื่มแฮง ชมวิถีการยกยอ ใช้ เวลาในการชมการ ยกยอประมาณ 20 นาที หลังจากนั้นปั่ น ข้าวยาคูเป็นขนมไทยโบราณที่ จักรยาน / รถวิถีถิ่น เพื่อไปทำกิจกรรม ปัจจุบันเป็นของที่หารับประทานได้ กินหวาน ตื่มเเฮง ยากยิ่ง เนื่องจากเป็นขนมที่จะทำได้ เฉพาะช่วงก่อนฤดูการเก็บเกี่ยวข้าว ช่วงเวลาจัดโปรเเกรม : วันอังคาร-วันอาทิตย์ นาปี มีความเกี่ยวพันกับความเชื่อ เวลา 08:00-17:00 น. ตามวิถีชีวิตดั้งเดิมของคนไทย ใน เรื่องการนับถือ “แม่โพสพ” ทำให้ ยานพาหนะที่ใช้ : รถจักรยาน รถวิถีชุมชน ขนมชนิดนี้มีความพิเศษ และไม่เป็น ที่รู้จักมากนัก พิกัด (GPS) : ละติจูด 14.138263 ลองจิจูด 101.259853 กลุ่มอนุรักษ์ขนมไทยโบราณ ได้มี โอกาสถวายการสาธิต ขั้นตอนการทำ ขนมข้าวกระยาคูต่อหน้าพระพักตร์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ในงานมรดกโลก ที่จังหวัดนครนายก 28

ฮอยพระพุทธบาทจำลอง วัดเกาะหวาย เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ศักยภาพสถานที่ การทำกิจกรรมวัด ของการตั้งชุมชนไทยพวน สะท้อนเรื่อง เกาะหวายมีพื้นที่จำกัด เเละการเข้า ความศรัทธาในพระพุทธศาสนา ตั้งแต่ ถึงของยานพาหนะเหมาะสมเฉพาะ เริ่มก่อตั้งหมู่บ้าน ชาวเกาะหวายได้อัน รถจักยานยนต์เเละรถจักรยานมาก เชิญ รอยพระพุทธบาทจำลอง มาจาก กว่ารถยนต์ วัดพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี ปัจจุบัน คนในชุมชนได้มีการจัดงานสมโภชรอย พระพุทธบาทจำลอง ในช่วงกลางเดือนสี่ ของทุกปี วัดเกาะหวาย นักท่องเทียวเข้ามาสักการะรอยพระพุทธบาทจำลอง ซึ่งมีเรื่องเล่าสืบต่อกันมาว่าชาวบ้านเกาะหวายช่วยกันแห่มาจากวัด พระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี โดยนำใส่เกวียนแล้วให้คนลากมาจนถึงเกาะ หวาย เมื่อประมาณ 200 กว่าปีมาแล้ว ซึ่งทุกปีจะมีการจัดงานสมโภชในช่วง กลางเดือนสี่ และสักการะสถูปหลวงพ่อภาระซึ่งเป็นผู้นำชาวไทยพวนมา จากเมืองเชียงขวางกราบพระศรีอริยเมตไตรและพระประธานในโบสถ์ ช่วงเวลาจัดโปรเเกรม : วันอังคาร-วันอาทิตย์ เวลา 08:00-17:00 น. ยานพาหนะที่ใช้ : รถจักรยาน รถวิถีชุมชน 29 พิกัด (GPS) : ละติจูด 14.138263 ลองจิจูด 101.259853

แหล่งเรียนรู้กลุ่มอาชีพการถนอมอาหารปลาดูสมุนไพร (ปลาดูครู หลอด) เป็นอาหารพื้นบ้านของชาวไทยพวน อำเภอปากพลี ทำจาก ปลาดุกนำไปหมักด้วยเกลือ ข้าวคั่ว กระเทียม พริกไทย จนมีรสเปรี้ยว และเค็ม กลมกล่อม นิยมนำไป ทอด หรือ ย่าง นักท่องเที่ยวสามารถมี ส่วนร่วมในกิจกรรมบ้านครูหลอด โดยใช้เวลา 60 นาที นักท่องเที่ยว จะได้ลงมือทำ คือ การทำปลาดูสมุนไพรทอด ข้าวผัดปลาดูห่อใบบัว แดง และยังสามารถเลือกซื้อผลิตภัณฑ์กลับไปเป็นของฝาก สำหรับกิจกรรมการทำปลาดูสมุนไพร ที่บ้าน ครูหลอดมีการจำกัดพื้นที่ที่ใช้ในการสาธิต เเละ ให้นักท่องเที่ยวได้ทำกิจกรรมบริเวณลานใต้ ถุนบ้าน ช่วงเวลาจัดโปรเเกรม : เปิดทุกวันเวลา 08:00-18:30 น. ยานพาหนะที่ใช้ : รถจักรยาน รถวิถีชุมชน พิกัด (GPS) : ละติจูด 14.171065 30 ลองจิจูด 101.257221

บ้านคุณป้าสุรีย์ (ศูนย์การเฮียนฮู้วัฒนธรรมไท-พวน) ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมไทยพวนรวบรวบฐาน อีกทั้งสถานที่นี้ยังเป็น โฮมสเตย์ กิจกรรมการเรียนรู้ไว้ด้วยกัน 4 ฐาน ได้แก่ ที่พร้อมให้บริการกับนักท่องเที่ยว ฐานเรียนรู้การแต่งกาย ฐานเรียนรู้ภาษา ได้สัมผัสวิถีชีวิตของคนในชุมชน พวน ฐานเรียนรู้เครื่องมือทำมาหากินของ อย่างใกล้ชิดและยังได้ทำกิจกรรม ชาวไทยพวนสมัยก่อน ซึ่งนักท่องเที่ยวจะ พาแลงชวนชิม เป็นอาหารพื้นถิ่น ได้ทำขนมดาดกระทะเป็นการโม่แป้งรับ ชาวไทยพวนให้กับนักท่องเที่ยว ประทานคู่กับน้ำตาลโรยด้วยงา ถือเป็นอีก ได้ลิ้มรส และเพลิดเพลินกับการ หนึ่งผลิตภัณฑ์ที่มาชุมชนไทยพวนแล้วต้อง แสดงพื้นบ้าน อาทิ ลำตัดพวน ลอง และฐานสุดท้ายคือ ฐานวัฒนธรรม ลำพวน ในช่วงยามเย็นระหว่าง เป็นฐานเรียนรู้วิถีพวนประเพณีวัฒนธรรม พักค้างคืนที่เรือนของคุณป้าสุีรีย์ ที่สืบทอดกันมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นต้น ได้แก่ ฮีต 12 คอง 14 เป็นจารีตประเพณีที่ ชาวไทยพวนปฏิบัติกันมา 31

เครื่องเเต่งกายของชาวไทยพวน สมัยก่อน เรียกว่า \"ชุดหมากกะเเหล่ง\" นักท่องเที่ยวสามารถสวมใส่ชุดเพื่อ ถ่ายภาพเป็นที่ระลึกได้ เกาะหวายโฮมสเตย์ สามารถรองรับ นักท่องเที่ยว ได้ประมาณ 10 คน ศักยภาพของสถานที่บ้านป้าสุรีย์ 32 เป็นศูนย์การเรียนรู้ที่รวบรวม 4 ฐาน หลักที่เกี่ยวข้องกับความเป็นมาของ ชาวไทยพวน อีกทั้งมีบริการที่พักให้ กับนักท่องเที่ยว ทำให้สะดวกในการ เดินทางเข้ามาพักที่ชุมชนเเละยังได้ สัมผัสวิถีชีวิตของชุมชนกันใกล้ชิด ช่วงเวลาจัดโปรเเกรม : เปิดทุกวันเวลา 08:00-18:30 น. ยานพาหนะที่ใช้ : รถจักรยาน รถวิถีชุมชน พิกัด (GPS) : ละติจูด 14.171065 ลองจิจูด 101.257221

วัดท่าแดง เป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่งของชุมชนไทยพวน สร้างขึ้นในสมัยกรุงธนบุรี ซึ่งนักท่อง เที่ยวสามารถเข้ามาสักการะองค์จำลองพระศรีอริยเมตไตร สถูปหลวงพ่อภาระ และยังได้เรียนรู้ประวัติความเป็นมาของชาวไทยพวนที่อพยพมาตั้งถิ่นฐานใกล้ กับลุ่มน้ำคลองท่าแดง หลังจากนั้นเกิดการรวมตัวกันและเรียกชื่อที่อยู่นี้ว่า “ชุมชนบ้านท่าแดง” ศักยภาพของสถานที่วัดท่าเเดง สามารถเป็นจุดรับ-ส่งนักท่องเที่ยว ได้เป็นอย่างดี เนื่องจากมีพื้นที่กว้าง ที่จอดรถเพียงพอ ระหว่างทางของ วัดท่าเเดงมีสิ่งอำนวยความสะดวก มากมาย อาทิ ร้านสะดวกซื้อ หรือ ร้านซ่อมจักรยาน เป็นต้น ช่วงเวลาจัดโปรเเกรม: เปิดทุกวัน เวลา 06:00-18:00 น. ยานพาหนะที่ใช้ : รถจักรยาน รถวิถีชุมชน พิกัด (GPS) : ละติจูด 14.167500 ลองจิจูด 101.270964 33

34

รายการนำเที่ยวชุมชนไทยพวน โปรแกรมเที่ยวครึ่งวัน“ปั่ นนำเฮา ชาวไทยพวน” ระยะทาง 2 กิโลเมตร โปรแกรมเที่ยว 1 วัน“ปั่ นไปไทยพวนกับเพื่อนวัยเก๋า ระยะทาง 3 กิโลเมตร โปรแกรมเที่ยว 2 วัน 1 คืน “วัยรุ่นสุดยอดนักปั่ น” ระยะทาง 6 กิโลเมตร 35

โปรแกรมเที่ยวครึ่งวัน “ปั่นนำเฮา ชาวไทยพวน” พร้อมกันที่ชุมชนบ้านใหม่ ชุมชนกล่าวต้อนรับพร้อมแนะนำถึงชุมชนไทยพวน 08:30 น. นำคณะฯ เข้าสักการะพระธาตุกุสาวดี ณ วัดปทุมวงษาวาส (วัดบ้านใหม่) เฮียนฮู้ หัตถกรรม เอ็ดมือ ด้วยกี่กระตุก (ผ้าทอลายไทยพวน) 09:00 น. ประกอบด้วย 5 ฐาน (ทอ มัดหมี่ ย้อม กรอด้าย ทอด้าย) 10:00 น. ปั่ นจักรยาน ไปนำกัน สู่ชุมชนบ้านฝั่ งคลอง ณ วัดฝั่ งคลอง 10:10 น. คณะฯ ฮอดชุมชนบ้านฝั่ งคลอง ต้อนฮับมายามชุมชน ผูกผ้าขาวม้า รำกลองยาว 10:40 น.ชมการแสดงเพลงเรือ เรื่องเล่าคลองสั้นตำนานยาว 11:10 น. เข้าสู่พิธีบายศรีสู่ขวัญ 11:20 น. เบิ่ง พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านไทยพวน - เฮียนฮู้ การปะพวน - เรื่องเล่าเจ้าจอม นางกลอย - เครื่องแต่งกายเสื้อหมากกะแหล่ง - ชีวิตความเป็นอยู่สมัยโบราณ 12:00 น. รับประทานอาหารพาสาย (ชุมชนฝั่ งคลองจัดเตรียมไว้ให้) พร้อมชมการแสดงพื้นบ้าน “ลำตัดพวน” 13:00 น. เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ 36

โปรแกรม 1 วัน “ปั่นไปไทยพวนกับเพื่อนวัยเก๋า” พร้อมกันที่บริเวณ วัดปทุมวงษาวาส (วัดบ้านใหม่) 08:30 น. ต.เกาะหวาย อ.ปากพลี จ.นครนายก 08.40 น. ชุมชนต้อนรับและแนะนำชุมชนไทยพวน พร้อมเข้าสักการะ พระธาตุกุสาวดี ณ วัดปทุมวงษาวาส (วัดบ้านใหม่) 09:00 น. เฮียนฮู้ หัตถกรรม เอ็ดมือ ด้วยกี่กระตุก (ผ้าทอลายไทยพวน) ประกอบด้วย 5 ฐาน (ทอ มัดหมี่ ย้อม กรอด้าย ทอด้าย) 10:00 น. ปั่ นจักรยานไปนำกัน สู่ชุมชนบ้านฝั่ งคลอง ณ วัดฝั่ งคลอง แวะไว๊ ศาลปู่ตา บ้านเหม่อ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ของชาวไทยพวน 10:10 น. ตั้งแต่อตีดถึงปัจจุบัน 10:20 น. ฮอดชุมชนบ้านฝั่ งคลอง ต้อนฮับมายามชุมชน ผูกผ้าขาวม้า รำกลองยาว 10:50 น. เข้าสู่พิธีบายศรีสู่ขวัญ เบิ่ง พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านวัดฝั่ งคลอง ฮ่วมเฮียนฮู้ การปะพวน 11:00 น. เครื่องแต่งกาย เสื้อหมากกะแหล่ง ชีวิตความเป็นอยู่สมัยโบราณ และเรื่องเล่าเจ้าจอมนางกอย 12:00 น. รับประทานอาหารพาสาย พร้อมชมการแสดงพื้นบ้าน “ลำตัดพวน” 37

13:00 น. ฮ่วมทำกิจกรรมพื้นบ้าน (เลือกตามความสนใจ) -เฮียนฮู้การทำลูกประคบสมุนไพร พร้อมทำสปาเท้าด้วยน้ำสมุนไพร -ฮอดบ่อน เฮียนฮู้ ไข่เค็มใบเตย -กลิ่นหอมด้วยสมุนไพรดับกลิ่น -ยมดมสมุนไพรไทยพวน 13:30 น. ปั่ นจักรยาน/นั่งรถวิถีถิ่นชุมชน ลัดเลาะเที่ยวชมวิถีไทยพวน 13:50 น. แวะชมวิถีการยกยอของชาวไทยพวน พร้อมสักการะเจดีย์อ่าวพระธาตุ 14:20 น. แวะชมสาธิตการทำขนมข้าวกระยาคู พร้อมพัก กินหวาน ตื่มแฮง 14:50 น. ปั่ นจักรยาน/นั่งรถวิถีถิ่นชุมชน กลับมายัง วัดปทุมวงษาวาส (วัดบ้านใหม่) 15:10 น. ชม/ชิม/ช๊อป สินค้าพื้นบ้าน ชุมชนไทยพวน 38

โปรแกรมเที่ยว 2 วัน 1 คืน “วัยรุ่นสุดยอดนักปั่น” วันที่ 1 08:30 น. พร้อมกันที่บริเวณ วัดปทุมวงษาวาส (วัดบ้านใหม่) ต.เกาะหวาย อ.ปากพลี จ.นครนายก ชุมชนต้อนรับและแนะนำชุมชนไทยพวน พร้อมเข้าสักการะ 08.40 น. พระธาตุกุสาวดี ณ วัดปทุมวงษาวาส (วัดบ้านใหม่) เฮียนฮู้ หัตถกรรม เอ็ดมือ ด้วยกี่กระตุก (ผ้าทอลายไทยพวน) 09:00 น. ประกอบด้วย 5 ฐาน (ทอ มัดหมี่ ย้อม กรอด้าย ทอด้าย) 10:00 น. ปั่ นจักรยานไปนำกัน สู่ชุมชนบ้านฝั่ งคลอง ณ วัดฝั่ งคลอง 10:10 น. แวะไว๊ ศาลปู่ตา บ้านเหม่อ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ของชาวไทยพวน ตั้งแต่อตีดถึงปัจจุบัน 10:20 น. ฮอดชุมชนบ้านฝั่ งคลอง ต้อนฮับมายามชุมชน ผูกผ้าขาวม้า รำกลองยาว 10:50 น. เข้าสู่พิธีบายศรีสู่ขวัญ 11:00 น. เบิ่ง พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านวัดฝั่ งคลอง ฮ่วมเฮียนฮู้ การปะพวน เครื่องแต่งกาย เสื้อหมากกะแหล่ง ชีวิตความเป็นอยู่สมัยโบราณ และเรื่องเล่าเจ้าจอมนางกอย 12:00 น. รับประทานอาหารพาสาย พร้อมชมการแสดงพื้นบ้าน “ลำตัดพวน” 13:00 น. ฮ่วมทำกิจกรรมพื้นบ้าน (เลือกตามความสนใจ) -เฮียนฮู้การทำลูกประคบสมุนไพร พร้อมทำสปาเท้าด้วยน้ำสมุนไพร -ฮอดบ่อน เฮียนฮู้ ไข่เค็มใบเตย -กลิ่นหอมด้วยสมุนไพรดับกลิ่น -ยมดมสมุนไพรไทยพวน 39

13:30 น. ปั่ นจักรยาน/นั่งรถวิถีถิ่นชุมชน ลัดเลาะเที่ยวชมวิถีไทยพวน 13:50 น. แวะชมวิถีการยกยอของชาวไทยพวน พร้อมสักการะเจดีย์อ่าวพระธาตุ 14:20 น. แวะชมสาธิตการทำขนมข้าวกระยาคู พร้อมพัก กินหวาน ตื่มแฮง 14:50 น. ปั่ นจักรยาน/นั่งรถวิถีถิ่นชุมชน ไปยัง เฮือนป้าสุรีย์ 15:10 น. บ่อนมาตุ้มมาโฮม เฮือนป้าสุรีย์ กับ 4 ฐานการเรียนรู้ ได้แก่ -เฮียนฮู้ บ่อนเอ๊ตโต (ฐานเครื่องแต่งกายโบราณ “หมากกะแหล่ง”) -เฮียนฮู้ บ่อนปะพวนมั่งเจอ (ฐานเรียนรู้การพูดภาษาพวน) -เฮียนฮู้ บ่อนเฮ็ดกิน (ฐานเรียนรู้วิถีข้าวและทำขนมดาดกระทะ) -เฮียนฮู้ วิถีพวน (ฐานวิถีพวนประเพณีวัฒนธรรม) 16:40 น. พาแลง ซวนซิม สไตล์ชาวพวน กับเมนู “อาหารถิ่น วิถีพวน ชวนชม วัฒนธรรม” ณ เฮือนคุณป้าสุรีย์ 18:40 น. เข้าพักที่ เฮือนป้าสุรีย์ วันที่ 2 08:30 น. เข้าสักการะรอยพระพุทธบาทจำลองด้วยดอกกุหลาบใบเตย ที่วัดเกาะหวาย 09:00 น. เฮียนฮู้ ฮู้จัก ปลาดูสมุนไพร เฮือนครูหลอด 10:00 น. แวะย้อน หม่อง ไทยพวน ปากพลี วัดท่าแดง สักการะองค์จำลอง พระศรีอริยเมตไตร สถูปหลวงพ่อภาระ และไหว๊ศาลปู่ตา 11:00 น. ชม/ชิม/ช๊อป สินค้าพื้นบ้าน 12:00 น. เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ 40

แผนที่ท่องเที่ยวชุ 41

ชุมชนไทยพวน 42

ส ถ า น ที่ ท่ อ ง เ ที่ ย ว แ น ะ นำ ชุ ม ช น ไ ท ย พ ว น Ravin Home Cafe เป็นอีกจุดต้องแวะเข้ามาจิบกาแฟ ชิมขนม เดินชมวิวท่ามกลางธรรมชาติ สีเขียว ณ ร้านราวินโฮม คาเฟ่ ที่ใส่ใจ ทุกรายละเอียดของสินค้าและบริการ ตั้งตระหง่านรอคอยการมาเยือนของ นักดื่มกาแฟที่ต้องการจะหลีกหนีจาก ความวุ่นวาย และอยากผ่อนคลายกับ บรรยากาศสบายๆ ใกล้ชิดธรรมชาติ ที่ตั้ง: หมู่ที่6 ต.นาหินลาด อ.ปากพลี จ.นครนายก เปิดทำการ: จันทร์-ศุกร์ เวลา 08:00 น. – 18:30 น. เสาร์-อาทิตย์ เวลา 06:30 น.-18:30 น. การเดินทางโดย: รถยนต์ส่วนตัว รถจักรยานยนต์ รถจักรยาน พิกัด (GPS) LA: 14.2195 LO: 101.3471 ศักยภาพของสถานที่ มีบริการที่พัก ของทาง Ravin Home Café ที่เชื่อม ต่อกันสามารถเป็นจุดแวะพักให้กับ นักท่องเที่ยวที่สนใจค้างคืนได้ และมี ที่จอดรถรองรับได้ 20-30 คัน 43

เขื่อนขุนด่านปราการชล เขื่อน และสามารถชมทิวทัศน์ของเมือง มีชื่อเดิมเรียกว่า เขื่อนคลองท่าด่าน เป็น นครนายกได้ด้านหลังเขื่อน เขื่อนคอนกรีตยาวที่สุดในประเทศไทย และในโลก มีความยาว 2,658 เมตร และ ศักยภาพ: สามารถช่วยบรรเทาปัญหา สูง 92 เมตร ระดับสันเขื่อนที่ +112 เมตร อุทกภัย เป็นการส่งน้ำเพื่อทำการเกษตร จากระดับทะเลปานกลาง โดยจะคอยรับน้ำ และยังช่วยบรรเทาปัญหาดินเปรี้ยวให้ แก่พื้นที่ในเขตจังหวัดนครนายก ที่ไหลมาจากอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ลงสู่ ข้อจำกัด: ติดตามสถานการณ์น้ำ อ่างเก็บน้ำความจุ 224 ล้านลูกบาศก์เมตร จากกรมชลประทานทางนครนายก ทั้งนี้ เขื่อนได้สร้างขึ้นตามแนวพระราชดำริ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล- อดุลยเดช ใน เพื่อเก็บกักน้ำในช่วงหน้าฝน ที่ตั้ง: ม.2 บ้านท่าด่าน ต.หินตั้ง อ.เมือง ไว้ในหน้าแล้ง และควบคุมไม่ให้เกิดน้ำท่วม จ.นครนายก บ้านเรือนราษฎร ไร่นาและพื้นที่การเกษตร เปิดทำการทุกวันเวลา: 06:00 น. – 18:00 น. เขื่อนขุนด่านปราการชล ยังถือเป็นแหล่ง การเดินทางโดย: รถยนต์ส่วนตัว รถจักรยาน ท่องเที่ยวของจังหวัดนครนายก ที่สามารถ รถจักรยานยนต์ ชมอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ได้จากบริเวณ พิกัด (GPS) LA: 14.31331069320091 LO: 101.31620731346129 สันเขื่อน โดยจะได้เห็นวิวทิวทัศน์ด้านหน้า 44

อ่างเก็บน้ำวังบอน ศักยภาพ: เหมาะสมกับการจัดกิจกรรม การท่องเที่ยวเชิงผจญภัย เช่น กิจกรรม เป็นอ่างเก็บน้ำขนาดเล็กที่ดูแลโดย ล่องแก่ง แคมป์ปิ้ ง พายเรือคายัค และชม กรมชลประทาน สันเขื่อนอ่างเก็บน้ำ ความงามของน้ำตกวังบอนแบบใกล้ชิด สามารถมองเห็นทิวทัศน์ และผืนป่า กิจกรรมล่องแก่ง เป็นแหล่งท่องเที่ยว ได้อย่างชัดเจนและสวยงาม ซึ่งเป็น ใกล้เขื่อนขุนด่านปราการชล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ข้อจำกัด: ติดตามสถานการณ์น้ำที่ไหล เป็นอ่างเก็บน้ำที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว จากเขื่อนขุนด่านปราการชล เพื่อจะเฝ้า เชิงอนุรักษ์ ภายในอ่างเก็บน้ำ จะมี ระวังความปลอดภัยแก่นักท่องเที่ยว ช่วง กิจกรรมโรยตัวจากหน้าผาและพาย ฤดูฝน เรือคายัคในอ่างเก็บน้ำ ที่ตั้ง: ตำบลนาหินลาด อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก เปิดทำการทุกวันเวลา: 06.00 - 18.00 น. (ไม่เสียค่าเข้า) การเดินทางโดย: รถยนต์ส่วนตัว รถจักรยานยนต์ พิกัด (GPS) LA: 14.23061LO: 101.381174 45


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook