Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่2-9

หน่วยที่2-9

Published by patcharida mattamin, 2021-01-24 13:32:52

Description: หน่วยที่2-9

Keywords: รวม

Search

Read the Text Version

5 องค์ประกอบของสารสนเทศ องค์ประกอบของสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ เป็นระบบทีช่ ่วยเสรมิ ประสทิ ธภิ าพการทางานโดยใชเ่ ทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร ระบบสารสนเทศประกอบด้วย ➢ ฮาร์ดแวร์ : เคร่ืองมือหรืออุปกรณ์ต่างๆ ท่ีใช้งานในระบบสารสนเทศ เช่น อุปกรณ์สานักงาน และเครื่องมือ อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ โดยฮาร์ดแวร์ท่ีสาคัญที่สุดในระบบสารสนเทศ คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ของ เครื่องคอมพวิ เตอร์ ➢ ซอฟต์แวร์ : โปรแกรม คือชุดคาส่ังท่ีเรียงเป็นลาดับขั้นตอนเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานและประมวลผล ข้อมูลให้ได้สารสนเทศท่ีต้องการ ปัจจุบันซอฟต์แวร์ท่ีใช้ในการทางานระดับบุคคล ระดับกลุ่ม และระดับ องค์กร ➢ ข้อมูล : องค์ประกอบที่ชี้วัดความสาเร็จหรือความล้มเหลวของระบบสารสนเทศ ข้อมูลที่ดีซ่ึงเหมาะแก่การ นาไปใช้งานต้องเป็นข้อมูลท่ีถูกต้อง ทันสมัย และมีความน่าเชื่อถือ โดยผ่านกระบวนการกลั่นกรองและ ตรวจสอบแล้ว นอกจากน้รี ะบบตอ้ งมีการจัดเก็บขอ้ มลู ให้เป็นระเบียบเพื่อความสะดวกต่อการค้นหา ➢ บุคลากร : บุคคลที่ใช้งาน จัดการ และควบคุมระบบสารสนเทศ ซ่ึงหากบุคลากรมีความรู้ความสามารถใน การใชฮ้ าร์ดแวร์ ซอฟตแ์ วร์ และปฏิบัติงานตามข้ันตอนท่ีถูกต้อง ส่งผลให้ระบบสารสนเทศทางานได้อย่างมี ประสิทธภิ าพและไดผ้ ลงานที่มีคณุ ภาพ บุคคลท่เี กย่ี วขอ้ งในการจดั การระบบสารสนเทศ ➢ 5. กระบวนการวิเคราะห์ : ผู้ทาหน้าที่วิเคราะห์ระบบการทางานของเคร่ืองคอมพิวเตอร์หรือระบบ สารสนเทศที่ต้องการ โดยศึกษาปัญหาท่ีเคยเกิดขึ้นในระบบสารสนเทศ ตลอดจนหาแนวทางในการแก้ไข และปรับปรุงระบบสารสนเทศให้มปี ระสทิ ธิภาพมากขึน้ โดยนกั วเิ คราะห์ระบบ

6 ข้อมลู และรูปแบบของขอ้ มลู ขอ้ มูล (data) เป็นข้อมูลต่างๆ หรือข้อเท็จจริงท่ียังไม่ได้ผ่านการประมวลผล เช่น ระบบการตัดเกรดของนักศึกษา ข้อมูลจะเป็นคะแนนต่างๆ ของนักเรียนแต่ละคน จากนั้นระบบจะนาคะแนนไปหาคะแนนรวมและตัดเกรด ตามเงือ่ นไขทก่ี าหนด แลว้ ใหเ้ อาตพ์ ตุ ออกมาเปน็ ขอ้ มลู ท่ีประมวลผลแลว้ เรียกวา่ สารสนเทศ ❖ ข้อมลู ภายใน เป็นข้อเท็จจริงต่างๆ ที่เกิดข้ึนภายในองค์กรน้ัน ซ่ึงอาจเป็นส่ิงที่เกิดจากการปฏิบัติงานของ สมาชิกในองคก์ ร เชน่ ขอ้ มูลบุคลากร ข้อมลู กจิ กรรมต่างๆ ขอ้ มลู ธุรการ ข้อมลู การเงินต่างๆ ❖ ข้อมูลภายนอก เป็นข้อมูลหรือข้อเท็จจริงท่ีเกิดข้ึนจากหน่วยงานอื่นๆ นอกองค์กรท่ีเกี่ยวข้อง สาหรับ ข้อมูลท่ีเก็บรวบรวมได้ในคร้ังแรก ยังไม่ได้ตัดเลือกหรือกลั่นกรองข้อมูลจะเรียกว่า ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) ส่วนข้อมูลท่ีผ่านการคัดเลือกหรือกล่ันกรองมาแล้ว ซ่ึงไม่ใช่ข้อมูลท่ีได้มาคร้ังแรกจะ เรียกวา่ ขอ้ มูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ระดบั ของข้อมลู ฐานข้อมูลเป็นการนาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันมารวมกันไว้ในระบบเดียวกัน เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้ข้อมูลที่อยู่ ในฐานข้อมูลเดียวกัน ผู้ใช้แต่ละคนจะมองข้อมูลในแง่มุมหรือวิว(View) ท่ีต่างกัน ผู้ใช้บางคนอาจต้องการเรียกใช้ ข้อมูลทั้งแฟ้มข้อมูลบางคนอาจเรียกใช้ข้อมูลเพียงบางส่วนของแฟ้มข้อมูล โดยผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องสนใจว่าการ จัดการข้อมลู ที่แท้จริงจะเป็นอยา่ งไร ดังน้ัน การเลือกใช้วิธีจัดเก็บข้อมูลที่เหมาะสมจึงเป็นส่วนท่ีทาให้การเลือกใช้ ข้อมูลเกิดประสทิ ธภิ าพ เพือ่ ใหก้ ารใชข้ ้อมลู ของผู้ใช้เป็นไปอยา่ งเหมาะสม แบ่งเป็น 3 ระดับ ดังนี้ • ระดบั ภายนอกหรือววิ (External Level หรือ View) ระดับภายนอกหรือวิว เป็นระดับของข้อมูลที่อยู่สูงที่สุด ประกอบด้วย ภาพท่ีผู้ใช้แต่ละคนมองข้อมูล (View) เคา้ ร่างของขอ้ มลู ระดบั น้ีเกิดจากความต้องการขอ้ มูลของผู้ใช้ • ระดบั แนวคิด(Conceptual Level) ระดับแนวคิด เป็นระดับของข้อมูลที่อยู่ถัดลงมา อธิบายถึงฐานข้อมูลว่าประกอบด้วย เอนทิตีโครงสร้าง ของข้อมูล ความสัมพันธ์ของข้อมูล กฎเกณฑ์และข้อมูลต่างๆ อย่างไร ข้อมูลในระดับนี้เป็นข้อมูลท่ีผ่านการ วิเคราะห์และออกแบบโดยผู้บริหารฐานข้อมูล (DBA) หรือนักวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูลเป็นระดับของ ขอ้ มลู ท่ีถกู ออกแบบเพื่อให้ผ้ใู ช้ข้อมลู ในระดับภายนอกสามารถเรยี กใชข้ ้อมลู ได้ • ระดับภายใน (Internal Level หรอื Physical Level) ระดับภายใน เป็นระดับของข้อมูลที่อยู่ล่างสุด ซ่ึงข้อมูลจะถูกเก็บอยู่จริงในส่ือข้อมูล มีโครงสร้างการ จดั เก็บรูปแบบใด รวมถึงการเขา้ ถงึ ข้อมลู ต่างๆ ในฐานขอ้ มลู เพอื่ ดงึ ขอ้ มูลทตี่ อ้ งการ

7 องค์ประกอบของสารสนเทศ การจดั การแฟ้มขอ้ มูล กจิ กรรมที่เกีย่ วขอ้ งกบั การจดั การแฟม้ ข้อมลู (file manipulation) จะแตกตา่ งกันออกไปในแต่ ละระบบงาน แตจ่ ะมกี จิ กรรมหลักในการใช้ขอ้ มูล ไดแ้ ก่ 1. การสร้างแฟ้มข้อมูล (file creating) คือ การสร้างแฟ้มข้อมูลเพื่อนามาใช้ในการประมวลผล สว่ นใหญจ่ ะสร้างจากเอกสารเบื้องต้น (source document) การสร้างแฟ้มข้อมูลจะต้องเร่ิมจาก การพิจารณากาหนดส่ือข้อมูลการออกแบบฟอร์มของระเบียน การกาหนดโครงสร้างการจัดเก็บ แฟ้มขอ้ มูล (file organization) บนสือ่ อปุ กรณ์ 2. การปรับปรุงรักษาแฟ้มขอ้ มูล แบง่ ออกได้ 2 ประเภท คือ 1) การคน้ คืนระเบยี นในแฟม้ ข้อมูล (retrieving) คอื การค้นหาข้อมูลทีต่ อ้ งการหรือเลือก ขอ้ มลู บางระเบียนมาใชเ้ พอื่ งานใดงานหนงึ่ การค้นหาระเบียนจะทาได้ ด้วยการเลือกคีย์ ฟลิ ด์ เป็นตวั กาหนดเพอ่ื ที่จะนาไปคน้ หาระเบียนทีต่ อ้ งการในแฟ้มข้อมูล ซ่ึงอาจจะมีการ กาหนเงอ่ื นไขของการค้นหา เช่น ตอ้ งการหาว่า พนักงานท่ีช่อื สมชายมอี ย่กู ่ีคน 2) การปรับเปลี่ยนข้อมูล (updating) เม่ือมีแฟ้มข้อมูลที่จะนามาใช้ในการประมวลผลก็ จาเปน็ ท่จี ะตอ้ งทาหรือรกั ษาแฟ้มข้อมูลนั้นให้ทันสมัยอยู่เสมอ อาจจะต้องมีการเพิ่มบาง ระเบยี นเข้าไป (adding) แกไ้ ขเปล่ยี นแปลงคา่ ฟลิ ด์ใดฟิลด์หนึ่ง (changing) หรือลบบาง ระเบยี นออกไป (deleting) การประมวลผลข้อมลู การประมวลผล หมายถึง กระบวนการคิด หรือ การจัดระเบียบแบบแผนของข้อมูล เพ่ือให้ได้ผลลัพธ์ ตามที่ต้องการ ซึง่ ทาได้โดยการคานวณ เคลื่อนย้ายข้อมูล การเปรียบเทียบ และการวิเคราะห์ข้อมูล โดย อาจใช้สูตร ทางคณติ ศาสตร์ หรอื วิทยาศาสตร์ วธิ ีการต่าง ๆเหลา่ นี้ ทาไดโ้ ดย อาศัยคาส่ังหรือโปรแกรมที่ เขยี นขนึ้

8 องคป์ ระกอบของสารสนเทศ การนาขอ้ มูลทีเ่ กบ็ รวบรวมได้มาผ่านกระบวนการตา่ งๆ เพ่อื แปรสภาพข้อมูลใหอ้ ยใู่ น รปู แบบทีต่ อ้ งการ ทเ่ี รยี กว่า \"สารสนเทศ \"วธิ ีการประมวลผล จาแนกได้ 3 วิธี 1. การประมวลผลด้วยมือ (Manual Data Processing) เชน่ ใชล้ ูกคดิ , เครอ่ื งคิดเลข การประมวลผลแบบนเ้ี หมาะกบั ธุรกจิ ขนาดเลก็ ท่ีมปี รมิ าณ ขอ้ มลู ไมม่ ากนกั และการคานวณไม่ยงุ่ ยากซับซ้อน 2. การประมวลผลดว้ ยเครอื่ งจกั ร (Mechanical Data Processing) เช่น เคร่อื งทาบญั ชดี ้วยบัตรเจาะรู การประมวลผลแบบนี้เหมาะกบั ธุรกิจขนาดกลาง ที่มี ข้อมปู รมิ าณปานกลาง และต้องการความเรว็ ในการทางานปานกลาง 3. การประมวลผลข้อมูลดว้ ยเครอื่ งอเิ ล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing) ซึ่งหมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์นั่นเอง ลักษณะงานท่ีเหมาะสมต่อการประมวลผลด้วย เครื่องคอมพิวเตอร์ คือ งานท่ีมีปริมาณมากๆ ต้องการความถูกต้องรวดเร็ว มีขั้นตอนในการทางาน ซา้ ๆ กนั และมกี ารคานวณท่ยี ุ่งยากซบั ซ้อน ขน้ั ตอนการประมวลผลข้อมูล หรือขัน้ ตอนใหไ้ ดม้ าซึ่งสารสนเทศ แบง่ ออกเป็น 3 ข้นั ตอน ดงั น้ี 1. ข้ันเตรยี มข้อมลู (Input) : การลงรหสั , การตรวจสอบแกไ้ ขข้อมลู , การแยกประเภท ข้อมลู , การบนั ทกึ ขอ้ มูลลงสอ่ื 2. ขั้นการประมวลผล (Processing) : การคานวณ , การเรยี งลาดบั ข้อมลู , การดึงขอ้ มูล มาใช้ , การรวมข้อมูล 3. ขน้ั การแสดงผลลพั ธ์ (Output) : ผลสรุปรายงาน

8 องคป์ ระกอบของสารสนเทศ การนาขอ้ มูลทีเ่ กบ็ รวบรวมได้มาผ่านกระบวนการตา่ งๆ เพ่อื แปรสภาพข้อมูลใหอ้ ยใู่ น รปู แบบทีต่ อ้ งการ ทเ่ี รยี กว่า \"สารสนเทศ \"วธิ ีการประมวลผล จาแนกได้ 3 วิธี 1. การประมวลผลด้วยมือ (Manual Data Processing) เชน่ ใชล้ ูกคดิ , เครอ่ื งคิดเลข การประมวลผลแบบนเ้ี หมาะกบั ธุรกจิ ขนาดเลก็ ท่ีมปี รมิ าณ ขอ้ มลู ไมม่ ากนกั และการคานวณไม่ยงุ่ ยากซับซ้อน 2. การประมวลผลดว้ ยเครอื่ งจกั ร (Mechanical Data Processing) เช่น เคร่อื งทาบญั ชดี ้วยบัตรเจาะรู การประมวลผลแบบนี้เหมาะกบั ธุรกิจขนาดกลาง ที่มี ข้อมปู รมิ าณปานกลาง และต้องการความเรว็ ในการทางานปานกลาง 3. การประมวลผลข้อมูลดว้ ยเครอื่ งอเิ ล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing) ซึ่งหมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์นั่นเอง ลักษณะงานท่ีเหมาะสมต่อการประมวลผลด้วย เครื่องคอมพิวเตอร์ คือ งานท่ีมีปริมาณมากๆ ต้องการความถูกต้องรวดเร็ว มีขั้นตอนในการทางาน ซา้ ๆ กนั และมกี ารคานวณท่ยี ุ่งยากซบั ซ้อน ขน้ั ตอนการประมวลผลข้อมูล หรือขัน้ ตอนใหไ้ ดม้ าซึ่งสารสนเทศ แบง่ ออกเป็น 3 ข้นั ตอน ดงั น้ี 1. ข้ันเตรยี มข้อมลู (Input) : การลงรหสั , การตรวจสอบแกไ้ ขข้อมลู , การแยกประเภท ข้อมลู , การบนั ทกึ ขอ้ มูลลงสอ่ื 2. ขั้นการประมวลผล (Processing) : การคานวณ , การเรยี งลาดบั ข้อมลู , การดึงขอ้ มูล มาใช้ , การรวมข้อมูล 3. ขน้ั การแสดงผลลพั ธ์ (Output) : ผลสรุปรายงาน

แบบฝึกหัดทา้ ยหนว่ ยท่ี 2 องค์ประกอบของสารสนเทศ 1. สารสนเทศคืออะไร 2. ข้อมลู (Data) เปน็ ข้อมลู จรงิ ผ่านการประมวลผลแลว้ ใช่ หรอื ไม่ 3. ระดับของข้อมลู แบ่งเปน็ กี่ระดบั อะไรบ้าง 4. การปรับปรงุ รกั ษาแฟม้ ข้อมลู แบ่งเปน็ กี่ประเภท อะไรบา้ ง 5. การประมวลผล หมายถึง

เฉลยแบบฝึกหดั ทา้ ยหน่วยที่ 2 องค์ประกอบของสารสนเทศ 1. ตอบ ระบบท่ชี ่วยเสรมิ ประสทิ ธิภาพการทางานโดยใช่เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสือ่ สาร 2. ตอบ ไม่ใช่ เปน็ ข้อเท็จจริงท่ยี ังไม่ไดผ้ ่านการประมวล 3. ตอบ แบง่ เป็น 3 ระดบั ระดบั ภายนอก ระดับแนวคดิ ระดับภายใน 4. ตอบ แบ่งเป็น 2 ประเภท 4.1 การค้นคนื ระเบียนในแฟม้ ข้อมูล 4.2 การปรบั เปลีย่ นข้อมลู 5. ตอบ กระบวนการคดิ หรือ การจัดระเบยี บแบบแผนของขอ้ มูล เพ่ือให้ไดผ้ ลลพั ธ์ ตามที่ตอ้ งการ

9 การจัดการระบบสารสนเทศ การจดั การระบบสารสนเทศ การจดั การระบบสารสนเทศ คอื การศกึ ษาระบบสารสนเทศ โดยเน้นในเรอื่ งของธุรกิจและการ จดั การ การจดั การระบบสารสนเทศจะเปน็ การรวมทฤษฎีการทางานของวิทยาศาสตรค์ อมพวิ เตอร์ การ จดั การ และการปฏิบตั ิการ ซงึ่ นามาวจิ ยั หาหนทางในการพฒั นาระบบที่จะแกป้ ญั หาในโลกของความเป็น จรงิ และนาเทคโนโลยีสารสนเทศเขา้ มาเปน็ สว่ นหน่ึงของการจดั การมากไปกวา่ นน้ั จะม่งุ เนน้ ในเร่อื งของการ พฒั นา การใชง้ าน และผลกระทบของระบบ ความหมายของ เทคโนโลยสี ารสนเทศ เทคโนโลยสี ารสนเทศ (IT : Information Technology) หมายถึง การนาวิทยาการท่ีก้าวหน้า ทางด้านคอมพิวเตอร์และ การส่ือสารมาสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับสารสนเทศ ทาให้สารสนเทศ มีประโยชน์ และใช้งานได้กว้างขวางมากขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงการใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ ในการรวบรวม จัดเกบ็ ใช้งาน ส่งต่อ หรอื สอ่ื สารระหว่างกนั เทคโนโลยีสารสนเทศเก่ียวขอ้ ง โดยตรงกับเคร่ืองมือเครื่องใช้ ในการจัดการสารสนเทศ

10 การจดั การระบบสารสนเทศ โครงสรา้ งระบบสารสนเทศ ➢ 1.ระบบสารสนเทศแบบเดีย่ ว (Standalone Information Systems) ไดแ้ ก่ระบบสารสนเทศทีใ่ ช้งานสาหรับคนใดคนหนึ่ง ไม่มีการเชื่อมต่อกับผู้อ่ืน เช่น ผู้จัดการฝ่าย ตลาดจัดเก็บข้อมูลลูกค้าไว้ เพื่อการวิเคราะห์ลูกค้าทาประวัติลูกค้า (Customer Profile) ไว้เพ่ือจะได้ ตัดสนิ ใจเรอื่ งการตอบสนองความต้องการของลูกค้า เป็นตน้ ได้แก่ ระบบสารสนเทศ ➢ 2.ระบบสารสนเทศแบบกระจายไปยงั เครอื ข่าย (Distributed of Network Information Systems) กระจายการประมวลผลข้อมูลหรือการจัดเก็บข้อมูลไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer, PC) ที่เชอื่ มโยงกนั ในระบบเครอื ข่าย ➢ 3. ระบบสารสนเทศท่อี ยบู่ นเมนเฟรม (Mainframe Information Systems) ได้แก่ ระบบสารสนเทศท่ีรวมการประมวลผลและการเก็บข้อมลู ไวท้ ่ีเคร่อื งคอมพิวเตอร์เมนเฟรม ส่วนใหญ่จะเป็นการประมวลผลที่มีข้อมูลจานวนมาก หรือการประมวลผลท่ีมีความสาคัญมากต่อองค์กร เช่น การประมวลผลดอกเบยี้ ของธนาคาร หรือ การประมวลผลทางบญั ชี เป็นต้น ระบบสารสนเทศแบบต่างๆ ❖ คือกลมุ่ ของระบบงานทมี่ กี ารใช้คอมพวิ เตอรเ์ ทคโนโลยีทาหน้าท่ีรวบรวม ประมวลผล จัดเก็บ และแจกจ่าย ขอ้ มูลข่าวสารเพ่ือสนบั สนุนการตัดสนิ ใจและการควบคุมภายในองคก์ ร ❖ ประกอบด้วย บคุ ลากร ฮารด์ แวร์ ซอฟแวร์ และข้อมูล ซ่ึงจะทางานร่วมกันเพื่อผลิตสารสนเทศท่ีจาเป็นต่อ องค์กร สารสนเทศนจ้ี ะช่วยในการผลิตสินคา้ หรอื บรกิ ารตา่ ง ๆ ให้สาเรจ็ ดว้ ยดี ซึ่งจะส่งผลกาไรใหก้ ับองคก์ ร ❖ ระบบทอี่ าศยั เทคโนโลยคี อมพวิ เตอรเ์ ข้ามาจดั การข้อมลู ในองคก์ ร ❖ เพอื่ ให้บรรลเุ ป้าหมายทีต่ ้องการอย่างมีประสทิ ธภิ าพ ❖ เก่ยี วขอ้ งกับกลุ่มผู้ใช้ในองค์กรหลายระดับ ตง้ั แตส่ ูงสุดจนถึงลา่ งสดุ

11 การจดั การระบบสารสนเทศ ระบบการประมวลผลข้อมูล (Transaction Processing Systems -- TPS) ระบบสานกั งานอตั โนมตั ิ (Office Automation Systems : OAS) ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information Systems -- MIS) ระบบสนบั สนนุ การตัดสินใจ (Decision Support Systems -- DSS) ระบบสารสนเทศเพอ่ื ผบู้ ริหารระดบั สงู (Executive Information Systems -- EIS) ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence -- AI) และ ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems --ES)

12 การจดั การระบบสารสนเทศ ระบบสานกั งานอัตโนมตั ิ (Office Automation Systems : OAS) นามาใชใ้ นสานกั งานเพอื่ เอื้อประโยชน์ให้การทางานมีประสิทธิภาพมากข้ึนอาจใช้อุปกรณ์สานักงานทั่วไปหรือ เครอื ขา่ ยการสอ่ื สารข้ันสูงชว่ ยปจั จบุ ันมที งั้ ฮาร์ดแวร์และซอฟตแ์ วร์ท่ีนามาใช้กับระบบนกี้ นั มากข้นึ ระบบการประมวลผลทางธุรกจิ (Transaction Processing System : TPS) ระบบการประมวลผลทางธุรกจิ มักเป็นการประมวลผลต่อวัน เช่น การรับ – จ่ายบิล ระบบควบคุมสินค้าคง คลงั ระบบรายรับ – จ่ายสนิ ค้า ระบบนี้เป็นระบบสารสนเทศลาดับแรกท่ไี ดร้ ับ การพฒั นาให้ใชก้ บั เครือ่ งคอมพิวเตอร์ ลักษณะเด่นของระบบ TPS คือ การทาให้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ทางานง่าย ไม่ยุ่งยาก ซับซ้อน ซ่ึงระบบนี้เกือบท้ังหมด ใช้การประมวลผลแบบออนไลน์ และสิง่ ทีอ่ งค์กรจะได้รับเม่ือใชร้ ะบบนี้ คือ – ลดจานวนพนักงาน – องค์กรจะมกี ารบรกิ ารท่ีสะดวกรวดเรว็ – ลกู คา้ มีจานวนเพมิ่ มากข้ึน TPS ฐานขอ้ มลู DSS Software ขอ้ มลู ภายนอก DSS เช่น OLAP

13 การจดั การระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศเพ่อื การจดั การ (Management Information Systems -- MIS) ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ คือ ระบบท่ีเกี่ยวข้องกับผู้บริหารท่ีต้องการ การประมวลผลของเคร่ือง คอมพวิ เตอรท์ ่ีให้ประโยชน์มากกวา่ การช่วยงานแบบตอ่ วัน MIS จึงมีความสามารถในการคานวณเปรียบเทียบข้อมูล ซ่งึ มคี วามหมายต่อการจดั การและบรหิ ารงานเป็นอยา่ งมาก นอกจากนัน้ ระบบนยี้ งั สามารถสร้างสารสนเทศที่ถูกต้อง ทันสมัย คณุ สมบตั ิของระบบ MIS คอื – ระบบ MIS สนับสนนุ การทางานของระบบประมวลผลข้อมลู และการจดั เก็บข้อมลู รายวนั – ระบบ MIS จะใชฐ้ านข้อมลู ที่ถูกรวมเข้าด้วยกนั และสนับสนุนการทางานของฝ่ายตา่ งๆ ในองค์กร – ระบบ MIS จะชว่ ยให้ผบู้ รหิ ารระดับตน้ ระดบั กลาง ระดบั สงู เรียกใช้ขอ้ มูลทีเ่ ป็นโครงสร้างไดต้ ามเวลาทีต่ ้องการ – ระบบ MIS จะมคี วามยดื หยนุ่ และสามารถรองรบั ความตอ้ งการข้อมูลท่ีเปลี่ยนแปลงขององค์กร – ระบบ MIS ต้องมรี ะบบรกั ษาความลบั ของข้อมูล และจากัดการใช้งานของบุคคลเฉพาะผู้ท่ีเก่ียวข้องเทา่ นัน้ Database Management MIS Information ระบบสนับสนุนการตัดสนิ ใจ (Decision Support Systems -- DSS) ระบบชว่ ยตัดสินใจ หมายถึง ระบบทที่ าหน้าท่ีจัดเตรียมสารสนเทศ เพ่ือช่วยในการตัดสินใจ หากเป็นการ ใช้โดยผู้บริหารระดับสูง เรียกว่า “ระบบสนับสนุนการตัดสินในเพ่ือผู้บริหารระดับสูง” (Executive Support System : ESS) บางคร้ังสารสนเทศที่ TPS และ MIS ไม่สามารถช่วยให้ผู้บริหารตัดสินใจได้จาเป็นต้องพัฒนา ระบบช่วยตัดสินใจ DSS ขึ้น เพื่อช่วยในการตัดสินใจภายใต้ผลสรุปและการเปรียบเทียบข้อมูลจากแหล่งอื่น ทั้ง ภายในและนอกองคก์ ร

14 การจดั การระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศเพ่อื ผูบ้ ริหารระดับสงู (Executive Information System : EIS) ระบบสารสนเทศเพ่ือผู้บริหารระดับสูง คือ MIS ประเภท พิเศษท่ีถูกพัฒนาสาหรับผู้บริหารระดับสูง โดยเฉพาะ ช่วยให้ผู้บริหารระดับสูงที่ไม่คุ้นเคยกับเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถ ใช้ระบบสารสนเทศได้ง่ายข้ึน โดยใช้เมาส์เล่ือนหรือ จอภาพแบบสัมผสั เพื่อเช่ือมโยงข่าวสารระหวา่ งกนั ทาใหผ้ ู้บริหารไมต่ ้องจาคาสั่ง สารสนเทศ EIS ผูบ้ ริหาร ระบบผ้เู ช่ยี วชาญ (Artificial Intelligence / Expert System : AI/ES) ระบบผู้เช่ยี วชาญ หมายถึง ระบบท่ีทาใหเ้ ครือ่ งคอมพวิ เตอรก์ ลายเป็นผู้เชยี่ วชาญในสาขาใดสาขาหนึ่งคลา้ ย กับ มนษุ ย์ ระบบนไ้ี ดร้ ับความรจู้ ากมนษุ ยผ์ เู้ ช่ียวชาญในสาขาใดสาขาหนง่ึ เก็บไวใ้ นระบบ คอมพวิ เตอร์ เพ่ือให้คอมพวิ เตอร์ สามารถวิเคราะห์เหตุผล เพ่อื ตดั สินใจ ความรทู้ ีเ่ กบ็ ไว้ในระบบคอมพวิ เตอรน์ ป้ี ระกอบด้วย ฐานความรู้ (Knowledge Bass) และกฎข้อวินิจฉยั (Inference Rule) ซ่ึง เปน็ ความสามารถเฉพาะทท่ี าให้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถตัดสินใจได้ เอง เช่น การวินจิ ฉัยความผิดพลาดของรถจักรดีเซลไฟฟา้ โดยใชค้ อมพิวเตอร์ คาถาม คาแนะนา/ ผใู้ ช้ คาอธิบาย

15 การจดั การระบบสารสนเทศ ความสัมพนั ธร์ ะหว่างระบบสารสนเทศแบบต่างๆ

แบบฝกึ หดั ท้ายหน่วยที่ 3 การจดั การระบบสารสนเทศ 1. การจัดการระบบสารสนเทศคือ 2. เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT : Information Technology) หมายถงึ 3. คาใดทปี่ ระกอบกนั แล้วมคี วามหมายเหมือนคาว่า “ไอท”ี 4. ระบบสารสนเทศเพอื่ การจัดการ (Management Information System : MIS) คือ 5. ระบบสารสนเทศทสี่ นับสนนุ ท่ีใช้สนบั สนนุ ในการตัดสินใจของผบู้ รหิ าร เรยี กว่า อะไร

เฉลยแบบฝึกหัดทา้ ยหน่วยที่ 3 การจดั การระบบสารสนเทศ 1. ตอบ การจัดการระบบสารสนเทศ (Information System) คอื การรวบรวม ประมวลผลกล่นั กรองข้อมลู ตา่ ง ๆ ให้นา่ เช่ือถอื และสามารถนาขอ้ มลู ที่ประมวลผล แล้วไปใช้ประกอบกบั การตัดสนิ ใจเระดบั ของข้อมลู แบ่งเปน็ กี่ระดบั อะไรบา้ ง 2. ตอบ เทคโนโลยสี ารสนเทศ (IT : Information Technology) หมายถงึ การนา วิทยาการท่ีก้าวหน้าทางดา้ นคอมพวิ เตอร์และ การส่ือสารมาสร้างมลู ค่าเพ่มิ ให้กับ สารสนเทศ ทาใหส้ ารสนเทศ มีประโยชน์และใช้งานไดก้ ว้างขวางมากขนึ้ รวมถึง การใชเ้ ทคโนโลยีดา้ นตา่ งๆ ในการรวบรวม จัดเกบ็ ใชง้ าน ส่งต่อ หรอื ส่ือสาร ระหว่างกนั 3. ตอบ เทคโนโลยี สารสนเทศ 4. ตอบ ระบบทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับผบู้ รหิ ารที่ตอ้ งการการประมวลผลของเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ ท่ีใหป้ ระโยชนม์ ากกวา่ การช่วยงานแบบวนั ตอ่ วัน mis จึงมคี วามสามารถในการ คานวณและเปรียบเทยี บขอ้ มลู ซึง่ มคี วามหมายตอ่ การจัดการ และบริหารงาน 5. ตอบ DSS

16 ระบบสารสนเทศองค์กร ระบบสารสนเทศองค์กร ระบบสารสนเทศ (Information System) คือ การรวบรวมประมวลผลกลั่นกรอง ขอ้ มลู ต่าง ๆ ใหน้ า่ เชอ่ื ถอื และสามารถนาข้อมลู ทปี่ ระมวลผลแล้วไปใช้ประกอบกับการตัดสินใจเพื่อช่วย ในการสรปุ ผลในเชิงบริหารขององค์กรได้ ระบบสารสนเทศประกอบดว้ ย • ขอ้ มูล คือ ขอ้ มูลดิบทีย่ งั ไม่ได้ผ่านการประมวลผล • บุคลากร คือ ผทู้ จี่ ะนาขอ้ มลู ดิบท่ไี ดไ้ ปประมวลผลให้เป็นสารสนเทศ • ข้ันตอนการปฏบิ ตั ิงาน คอื ขนั้ ตอนการนาขอ้ มูลไปประมวลผลให้เกดิ เป็นสารสนเทศทถ่ี กู ต้องและ น่าเชือ่ ถอื • ฮารด์ แวร์ คือ อปุ กรณท์ ช่ี ่วยในการจัดการสารสนเทศ • ซอฟตแ์ วร์ คอื ชดุ คาส่ังทช่ี ่วยในการประมวลผลสารสนเทศให้ไดต้ ามความตอ้ งการ ระบบงานหลักในองคก์ ร 1.หลกั วัตถุประสงค์ (Objective) กล่าววา่ องค์การต้องมวี ตั ถุประสงค์ที่กาหนดไว้อย่างชัดเจน 2. หลักความรคู้ วามสามารถเฉพาะอย่าง (Specialization) กล่าวว่า การจดั แบง่ งานควรจะแบง่ ตาม ความถนดั 3. หลักการประสานงาน (Coordination) กลา่ วว่า การประสานงานกัน คือ การหาทางทาให้ทุกๆ ฝ่ายรว่ มมอื กันและทางานสอดคล้องกนั 4. หลักของอานาจหน้าท่ี (Authority) กลา่ วว่า ทกุ องคก์ ารต้องมีอานาจสงู สุด จากบคุ คลผมู้ อี านาจ สงู สดุ น้ี จะมีการแยกอานาจออกเปน็ สายไปยังบุคคลทุกๆคนในองคก์ าร หลกั นี้บางทีเรียกว่า Scalar Principle 5. หลกั ความรบั ผดิ ชอบ (Responsibility) หลักของความรับผิดชอบ กลา่ ววา่ อานาจหน้าทค่ี วรจะ เทา่ กบั ความรับผิดชอบ คือบคุ คลใดเมอ่ื ไดร้ ับมอบหมายความรบั ผดิ ชอบก็ควรจะไดร้ บั มอบหมาย อานาจใหเ้ พียงพอ เพอ่ื ทางานใหส้ าเร็จดว้ ยดี

17 ระบบสารสนเทศองคก์ ร ระบบงานหลักในองคก์ ร 6. หลักความสมดลุ (Balance) จะต้องมอบหมายใหห้ น่วยงานย่อยทางานให้สมดลุ กันกลา่ วคอื ปริมาณงานควรจะมปี รมิ าณที่ใกล้เคยี งกนั รวมท้ังความสมดุลระหว่างงานกบั อานาจหนา้ ท่ีทจ่ี ะ มอบหมาย 7. หลักความต่อเนือ่ ง (Continuity) ในการจัดองค์การเพือ่ การบริหารงานควรจะเป็นการกระทาที่ ตอ่ เนื่อง ไม่ใช่ ทา ๆ หยุด ๆ หรือ ปิด ๆ เปิด ๆ ยิ่งถ้าเป็นบรษิ ทั หรือห้างร้านคงจะไปไม่รอด 8. หลักการโตต้ อบและการตดิ ตอ่ (Correspondence) ตาแหนง่ ทกุ ตาแหง่ จะตอ้ งมกี ารโต้ตอบ ระหวา่ งกนั และตดิ ต่อสื่อสารกัน 9. หลักขอบเขตของการควบคุม (Span of control) เปน็ การกาหนดขดี ความสามารถในการบงั คับ บัญชาของผูบ้ ังคับบญั ชาคนหนง่ึ 10. หลักเอกภาพในการบงั คบั บญั ชา (Unity of command) ในการจดั องคก์ ารท่ีดี ควรให้ เจา้ หน้าทร่ี บั คาสง่ั จากผู้บังคับบญั ชาหรือหัวหน้างานเพียงคนเดียว 11. หลักตามลาดบั ข้นั (Ordering) ในการที่นกั บริหารหรอื หวั หนา้ งานจะออกคาส่ังแก่ ผู้ใต้บงั คับบญั ชา ควรปฏบิ ัตกิ ารตามลาดับขั้นของสายการบังคบั บัญชาไม่ควรออกคาสั่งขา้ มหนา้ ผบู้ งั คับบญั ชา 12. หลกั การเลือ่ นข้นั เล่ือนตาแหน่ง (Promotion) ในการพิจาความดคี วามความชอบและการเอน ตาแหน่งควรถือหลักวา่ ผบู้ ังคับบญั ชาโดยตรงย่อมเปน็ ผทู้ ี่ปฏบิ ัตงิ านเก่ยี วกับใต้บงั คับบัญชาของตนโดย ใกล้ชดิ และย่อมทราบพฤติกรรมในการทางานของผ้ใู ต้บงั คบั บญั ชาไดด้ ีกวา่ ผ้อู ่นื

18 ระบบสารสนเทศองค์กร การจัดองคก์ รธุรกจิ เมื่อต้องการจัดตั้งธุรกิจประเภทใดก็ตาม จะใหญ่หรือจะเล็กก็ตาม ก็ต้องสร้างองค์กร ธุรกิจให้สอดคล้องกับธุรกิจเพื่อความสาเร็จของธุรกิจ นักบริหารจะต้องออกแบบและพัฒนาองค์กร ข้นึ มา เพือ่ สง่ เสรมิ ใหธ้ รกุ ิจเป็นไปตามเปา้ หมาย ซง่ึ แต่ละธุรกิจกจ็ ะไม่เหมือนกัน การจัดองคก์ ร ตอ้ งอาศัยความสัมพันธ์ขั้นพ้ืนฐาน 3 ประการคือ อานาจหน้าท่ีการงาน บุคลากร และ ทรัพยากร จะใชห้ ลัก 7 ประการในการจดั องคก์ ร คอื 1. การคานึงถงึ ปัจจัยพ้ืนฐานของการผลติ 2. การพฒั นาคนเพือ่ สรา้ งคุณภาพของงาน โดยการพฒั นาท้ังทางด้านจติ ใจ และ ความรู้ ความสามารถควบคกู่ นั ไป 3. การศกึ ษาและวเิ คราะห์การทาธรุ กจิ อย่างดี ไมว่ ่าจะเปน็ จดุ ใดๆ กต็ าม และตอ้ งติดตามธุรกิจ อยา่ งต่อเนอื่ ง 4. การศึกษาและวเิ คราะหส์ ภาพสังคม เศรษฐกจิ ที่เปลย่ี นแปลงไปอยา่ งรวดเรว็ โดยเฉพาะ เร่อื ง เกีย่ วกับการเมือง นโยบาย เป็นตน้ 5. การศึกษาและวิเคราะหก์ ารลงทนุ และ การหาแหลง่ เงนิ ทนุ รวมทงั้ การหาแหล่งเงินทนุ สารอง เพอ่ื เปน็ ตัวสนับสนนุ และ ทาใหธ้ รกุ จิ ดาเนนิ ตอ่ ไปได้ 6. การพัฒนาคณุ ภาพของสินคา้ และบริการ อยู่เสมอ ดว้ ยการตรวจสอบคณุ ภาพ รวมทง้ั ตรวจสอบ วิธกี ารผลติ การประเมนิ ผลจากลูกค้า หรือผบู้ รโิ ภค ซึง่ คุณภาพก็จะขึ้นกบั ราคาด้วยเช่นกัน

19 ระบบสารสนเทศองคก์ ร โครงสรา้ งขององค์กรทใี่ ชค้ อมพิวเตอร์ โมเดลโครงสรา้ งองคก์ ร โมเดลโครงสรา้ งองคก์ ร EIS ระดบั วางแผนยทุ ธศ์ าสตร์ DSS MIS ระดบั วางแผนการบรหิ าร DPS ระดบั วางแผนปฏบิ ตั กิ าร ระดบั ปฏบิ ตั กิ าร 1. ระดบั ปฏิบัติการ เกย่ี วข้องอยกู่ บั งานท่ตี อ้ งกระทาซา้ ๆ กัน และจะเนน้ ไปทีก่ ารจัดการรายการประจาวนั น่นั คือบุคลากร ในระดับนี้เกีย่ วข้องกับระบบสารสนเทศในฐานะเปน็ ผู้จดั หาขอ้ มลู เขา้ สู่ระบบ 2. ระดับวางแผนปฏิบัตกิ าร เปน็ ผบู้ ริหารระดับกลางซงึ่ มีหน้าท่ีในการวางแผนให้บรรลุเป้าหมายตา่ ง ๆ เพ่ือใหอ้ งค์กรสามารถประสบ ความสาเร็จตามแผนงานระยะยาวท่กี าหนดโดยผูบ้ รหิ ารระดบั สงู 3. ระดบั วางแผนยทุ ธศาสตรร์ ะยะยาว เป็นผู้บรหิ ารระดับสงู สดุ ซง่ึ เน้นในเรือ่ งเปา้ ประสงคข์ ององค์กร ระบบสารสนเทศทีต่ ้องการจะเน้นท่ี รายงานสรปุ รายงานแบบ What-if และการวเิ คราะหแ์ นวโน้มต่าง ๆ (Trend Analysis)

แบบฝกึ หัดทา้ ยหน่วยที่ 4 ระบบสารสนเทศองคก์ ร 1.ระบบสารสนเทศ (Information System) คือไร 2. ระบบสารสนเทศประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง 3. Correspondenceแปลวา่ อะไร 4. การจดั องคก์ รธุรกิจหมายถงึ 5. ฮารด์ แวรแ์ ละซอฟตแ์ วรค์ ืออะไร

เฉลยแบบฝึกหดั ท้ายหนว่ ยท่ี4 1.ตอบ คือ การรวบรวมประมวลผลกล่นั กรอง ข้อมูลต่าง ๆ ใหน้ ่าเช่อื ถือและ สามารถน าขอ้ มลู ที่ประมวลผลแลว้ ไปใชป้ ระกอบกับการตดั สินใจเพือ่ ช่วย ในการ สรุปผลในเชิงบรหิ ารขององค์กรได้ 2. ตอบ ขอ้ มูล คือ 1.ขอ้ มูลดิบท่ยี ังไมไ่ ด้ผา่ นการประมวลผล สารสนเทศ 2. บุคลากร คือ ผ้ทู ่ีจะนาขอ้ มลู ดิบท่ไี ด้ไปประมวลผลให้เป็น 3. ขน้ั ตอนการปฏิบตั งิ าน คือ ข้ันตอนการนาข้อมลู ไป ประมวลผลใหเ้ กิดเปน็ สารสนเทศทถ่ี ูกตอ้ งและ น่าเช่อื ถอื 4. ฮารด์ แวรค์ อื อปุ กรณ์ท่ีช่วยในการจัดการสารสนเทศ 5. ซอฟตแ์ วรค์ ือ ชุดคาสัง่ ที่ช่วยในการประมวลผลสารสนเทศให้ ไดต้ ามความต้องการ 3. ตอบ หลกั การโต้ตอบและการตดิ ตอ่ 4. ตอบ การจดั ต้งั ธุรกิจประเภทใดก็ตาม จะใหญ่หรือจะเล็กกต็ าม ก็ตอ้ งสร้าง องคก์ ร ธุรกิจให้สอดคลอ้ งกับธรุ กจิ เพ่ือความสาเร็จของธรุ กจิ นกั บรหิ ารจะตอ้ ง ออกแบบและพัฒนาองค์กร ขน้ึ มา เพือ่ ส่งเสริมให้ธรุกิจเปน็ ไปตามเปา้ หมาย ซง่ึ แต่ ละธุรกิจก็จะไม่เหมือนกัน การจดั องคก์ ร ตอ้ งอาศัยความสัมพนั ธข์ ัน้ พ้นื ฐาน 3 ประการคือ อานาจหนา้ ท่ีการงาน บคุ ลากร และ ทรัพยากร จะใช้หลัก 7 ประการ ในการจัดองค์กร 5. ตอบ ฮารด์ แวร์คือ อุปกรณท์ ี่ชว่ ยในการจัดการสารสนเทศ ซอฟต์แวรค์ อื ชุดคาสั่งทชี่ ่วยในการประมวลผลสารสนเทศให้ได้ตามความ ตอ้ งการ

20 ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ ( Computer System ) คือ ข้ันตอนการปฏิบัติงานของคอมพิวเตอร์ท่ีมีการ กาหนดอย่างชัดเจนว่าต้องทาอะไรบ้าง เพื่อให้ได้ผลออกมาตามท่ีต้องการ ขั้นตอนการปฏิบัติงานจะประกอบด้วย ขอ้ มูลนาเข้า การประมวลผล ผลลพั ธ์ และข้อมูลปอ้ นกลับ ซงึ่ มีความสมั พนั ธ์เชอื่ มโยงกัน ระบบคอมพวิ เตอร์ ➢ ฮารด์ แวร์ ( Hardware ) คอื อปุ กรณห์ รอื ช้ินสว่ นของเครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีมีวงจรไฟฟ้าอยู่ภายในเป็นส่วน ใหญ่ สามารถจับ ต้องได้ เช่น ตัวเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ตัวซีพูยู จอภาพ เมาส์ แป้นพิมพ์ ลาโพง สแกนเนอร์ เครอ่ื งพมิ พ์ ฯลฯ เป็นตน้ ➢ ซอฟตแ์ วร์ ( Software ) คอื โปรแกรมหรือชุดคาสั่ง ที่จะส่ัง และควบคุมให้ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ทางาน เราไม่สามารถจับต้องซอฟต์แวร์ ได้โดยตรงเหมือนกับตัวฮาร์แวร์ เพราะซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมน้ีจะถูก จัดเกบ็ อยู่ ในสอ่ื ท่ใี ช้ในการบนั ทกึ ข้อมูล ท่ีใช้ในการบันทึกข้อมูล เช่น แผ่นดิสก์ ฮาร์ดดิส ซีดีรอม ดีวีดีรอม แฮนดีไร์ฟ เป็นต้น ซอฟต์แวร์ท่ีมักติดต้ังไว้ในฮาร์ดดิสก์เพ่ือทางานทันทีที่เปิดเครื่องคือ ซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบตั ิการ ➢ พีเพิลแวร์ ( Peopleware) คือ บุคคลที่มีส่วนเก่ียวข้องกับการทางานของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ พีเพิลแวร์ หรือบุคคลากรด้านคอมพิวเตอร์นับว่าเป็นองค์ประกอบที่สาคัญท่ีสุด เพราะบุคคลกรจะเป็นผู้จัดการหรือผู้ ดาเนนิ งานใหร้ ะบบ คอมพิวเตอรด์ าเนนิ ต่อไปได้ ➢ ข้อมูล ( Data) คือ รายละเอียดข้อเท็จจริงต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับบุคคลสิ่งของ สถานท่ีหรือเหตุการณ์ใด ๆ ท่ีสนใจศึกษา และนาข้อมูลเข้าสู่ระบบ การประมวลผลของคอมพิวเตอร์ เพ่ือให้อยู่ ในรูปแบบท่ีสามารถ นาไปใชป้ ระโยชน์ตอ่ ไปได้

21 ระบบคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ ความหมายและความเป็นมาของ ระบบคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องมือหรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (computer นิยมอ่านในภาษาไทยว่า คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ ที่มีความสามารถในการคานวณอัตโนมัติตามคาสั่ง ส่วนท่ีใช้ประมวลผลเรียกว่า หน่วยประมวลผล ชุดของคาสั่งที่ระบขุ ้ันตอนการคานวณเรียกวา่ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ❖ แอนะล็อก(ค(อ(ม(พ(วิ (เต(อ(ร(์ ((a(n(a(l(o(g((co((m(p(u(t(e(r)((เ(ป็(น(เค(ร(่ือ(ง(ค(า(น(ว(ณ(อ(ิเล(็ก(ท(ร(อ(น(ิก(ส(์(ท(่ีไ(ม(่ไดใ้ ชค้ ่าตวั เลข เป็ นหลกั ของการคานวณ แต่จะใชค้ ่าระดบั แรงดนั ไฟฟ้าแทน ไมบ้ รรทดั คานวณ อาจถือเป็ นตวั อยา่ ง หน่ึงของแอนะล็อกคอมพวิ เตอร์ ❖ ดิจิทัลคอมพิวเตอร์ (digitalcomputer) คอมพิวเตอร์ที่พบเห็นทั่วไปในปัจจุบัน จดั เป็ นดิจิทัล คอมพวิ เตอร์แทบท้งั หมด ดิจิทลั คอมพวิ เตอร์เป็นเครื่องคานวณอิเลก็ ทรอนิกส์ท่ีใชง้ านเก่ียวกบั ตวั เลข มี หลกั การคานวณที่ไม่ใช่แบบไมบ้ รรทดั คานวณ ประเภทของเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ คอมพวิ เตอร์สามารถจาแนกได้หลายประเภท ทั้งน้ี ขึ้นอยู่กับความแตกต่างของขนาดเคร่ืองความเร็วใน การประมวลผล และราคาเป็นข้อพิจารณาหลัก ซึ่งโดยทั่วไปนิยมจาแนกประเภทคอมพิวเตอร์เป็น 7ประเภท ดังนี้ ➢ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพในการทางานสูงสุด จึงมีราคา แพงมาก ความสามารถในการประมวลผลท่ีทาไดถ้ งึ พันลา้ นคาส่ังต่อวนิ าที ➢ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) หรือ คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เป็นคอมพิวเตอร์ท่ีมี ประสิทธภิ าพรองจากซูเปอร์คอมพวิ เตอร์ สามารถรองรบั การทางานจากผูใ้ ชไ้ ด้หลายร้อยคนในเวลาเดียวกัน ประมวลผลด้วยความเรว็ สงู มหี น่วยความจาหลกั ขนาดใหญ่

22 ระบบคอมพิวเตอร์ ประเภทของเคร่อื งคอมพิวเตอร์ ➢ มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพในการทางานด้าน ความเร็วและความสามารถในการจดั เก็บข้อมูลน้อยกว่าเมนเฟรม แตส่ ูงกว่าคอมพวิ เตอรต์ งั้ โต๊ะ ➢ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (DesktopC0mputer) หรือเดสก์ท็อปเป็นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer หรือ PC) ท่ีมีขนาดเล็กเหมาะกับโต๊ะทางานในสานักงาน สถานศึกษา และทบี่ ้าน ➢ คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค (Notebook Computer) หรือบางคร้ังเรียกว่า แลบท็อปคอมพิวเตอร์ (Laptop Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าเครื่องพีซีแบบต้ังโต๊ะน้าหนัก เบา ➢ คอมพิวเตอร์ฝ่ามือ (Hand-held Personal Computer) หรือเคร่ืองพีซีขนาดมือถือ หรือ เครือ่ งพดี เี อ(Personal Digital Assistant-PDA) เปน็ เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ทม่ี ีขนาดเท่ากับเครื่อง คิดเลขขนาดเลก็ ➢ คอมพิวเตอร์แบบฝัง (Embedded Computer) หรือไมโครคอนโทรลเลอร์ (Micro Controller) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กมากท่ีใช้ไมโครโพรเซสเซอร์ชนิดพิเศษเพ่ือฝัง (Embed) ไว้ในอุปกรณ์ประเภทตา่ งๆ

23 ระบบคอมพิวเตอร์ หลักการทางานของคอมพวิ เตอร์ การทางานของคอมพวิ เตอรจ์ ะเรมิ่ จากผใู้ ชป้ ้อนข้อมลู ผา่ นทางอุปกรณข์ องหนว่ ยรบั เขา้ (Input device) เช่น คยี ์บอร์ด เมาส์ ขอ้ มลู จะถูกเปลย่ี นใหเ้ ป็นสัญญาณดิจทิ ลั ประกอบด้วยเลข 0 และ 1 แล้ว สง่ ต่อไปยงั หน่วยประมวลผลกลาง เพอื่ ประมวลผลตามคาสัง่ ในระหว่างการประมวลผลขอ้ มูลจะถูกเก็บไวท้ ่ี (Random Access Memory: RAM) ทาหนา้ ที่เกบ็ ขอ้ มลู จากการประมวลผลเป็นการช่วั คราว ระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ มหี นว่ ยพืน้ ฐาน 5 หน่วย คือ ➢ หน่วยรบั ขอ้ มูล (Input Unit) ทาหน้าทใี่ นการรับขอ้ มูลหรือคาสั่งจากภายนอกเข้าไปเกบ็ ไวใ้ น หนว่ ยความจา เพือ่ เตรยี มประมวลผลข้อมูลทต่ี อ้ งการ ➢ หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) ทาหน้าท่ีในการคานวณและประมวลผล ➢ หน่วยความจาหลกั (Main Memory) ทาหน้าทใี่ นการเก็บข้อมลู หรือคาสงั่ ตา่ งๆ ท่รี บั จากภายนอกเข้า มาเกบ็ ไว้ เพ่อื ประมวลผลและยงั เกบ็ ผลทไี่ ดจ้ ากการประมวลผลไว้เพ่ือแสดงผลอีกด้วย ➢ หน่วยความจารอง (Secondedata Storage) ทาหน้าทจี่ ัดเก็บข้อมูลและโปรแกรมต่างๆ เพื่อนามาใช้ อีกครง้ั ภายหลัง แม้จะปดิ เครือ่ งคอมพิวเตอรข์ ้อมูลและโปรแกรมที่จัดเก็บไว้จะไม่สญู หาย ➢ หนว่ ยแสดงผล (Output Unit) ทาหนา้ ทีใ่ นการแสดงผลลัทธ์ท่ีได้หลังจากการคานวณและประมวลผล สาหรบั อปุ กรณท์ ี่ ทาหนา้ ที่ในการแสดงผลขอ้ มูลทไี่ ดน้ ั้น ลกั ษณะเดน่ และขอ้ จากดั ของคอมพิวเตอร์ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ถูกสร้างข้ึนมาเพื่อให้มีจุดเด่น 4 ประการ เพื่อทดแทนข้อจากัดของมนุษย์ เรียกว่า 4 S special ดังน้ี ❖ หน่วยเก็บ (Storage)หมายถึง ความสามารถในการเก็บข้อมูลจานวนมากและเป็นเวลานาน นบั เป็นจุดเด่นทางโครงสรา้ งและเปน็ หัวใจของการทางานแบบอตั โนมัตขิ องเครื่องคอมพวิ เตอร์ ❖ ความเรว็ (Speed)หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลข้อมูล (Processing Speed) โดยใช้เวลานอ้ ย เป็นจดุ เดน่ ทางโครงสร้างทผ่ี ูใ้ ช้ทั่วไปมีส่วนเก่ียวข้องน้อยทส่ี ุด ❖ ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting)หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลข้อมูลตามลาดับ ขั้นตอนได้อย่างถูกต้องและต่อเน่ืองอย่างอัตโนมัติ โดยมนุษย์มีส่วนเกี่ยวข้องเฉพาะในขั้นตอนการ กาหนดโปรแกรมคาสงั่ และขอ้ มูลกอ่ นการประมวลผลเทา่ นัน้ ❖ ความน่าเชื่อถือ (Sure)หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลให้เกิดผลลัพธ์ท่ีถูกต้อง ความ น่าเช่ือถือนับเป็นสิ่งสาคัญท่ีสุดในการทางานของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ความสามารถนี้เกี่ยวข้องกับ โปรแกรมคาสั่งและข้อมูลที่มนุษย์กาหนดให้กับเคร่ืองคอมพิวเตอร์โดยตรง กล่าวคือ หากมนุษย์ ปอ้ นข้อมูลท่ไี มถ่ ูกต้องใหก้ บั เคร่ืองคอมพิวเตอร์กย็ ่อมได้ผลลัพธท์ ี่ไม่ถกู ต้องดว้ ยเชน่ กนั

24 ระบบคอมพิวเตอร์ ประโยชน์ของคอมพวิ เตอร์ ▪ ประโยชนด์ า้ นการศึกษา ใช้เพ่อื งานด้านการเรยี นการสอนในหลายรูปแบบ เช่นการนาบทเรยี น การ ผลิตสือ่ การสอน ▪ ด้านความบันเทงิ เปน็ การใชค้ อมพิวเตอรเ์ พ่ือความสนุกสนานบนั เทงิ เช่น เล่นเกม ฟงั เพลง ชมภาพยนตร์ ▪ ด้านการเงิน การธนาคาร ใชใ้ นการเบิก - ถอนเงนิ ผา่ นเครอ่ื ง ATM การโอนเงินดว้ ยระบบ ▪ ดว้ ยอัตโนมัตโิ ดยโอนเงนิ จากทห่ี นึง่ ไปยังอีกท่ีหนง่ึ โดยผา่ นระบบเครือขา่ คอมพิวเตอร์ การดขู ้อมูล ตลาดหุ้นการทากราฟแสดงยอดขาย ▪ ด้านการสอ่ื สารและคมนาคม ใชใ้ นการตดิ ต่อสอ่ื สารผา่ นอนิ เตอร์เน็ต ส่อื สารถา่ ยทอดผา่ นดาวเทยี ม การตดิ ต่อสื่อสารผ่านโทรศพั ท์ การคมนาคมทางเรือ เครือ่ งบินและรถไฟฟา้ ▪ ดา้ นศลิ ปะและการออกแบบ เป็นการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการวาดรปู การต์ นู ออกแบบงานและการ สร้างภาพกราฟกิ หรือการตกแตง่ ภาพในคอมพวิ เตอร์ ▪ ดา้ นการแพท์ย์ ปจั จุบันมกี ารนาคอมพวิ เตอรม์ าช่วยงานดา้ นการแพทย์หลายด้านเชน่ การเก็ประวตั ิ คนไข้ การใช้ทดลองประกอบการวนิ ิจฉันของแพทย์ใช้ในการตรวจเลอื ก ตรวจปัสสาวะ การผา่ ตดั หวั ใจการตรวจสอบห้องพกั ผปู้ ว่ ยว่าวา่ งหรอื ไม่ การควบคมุ แสงเลเซอร์การเอก็ ซเ์ รย์ การตรวจคลือ่ น สมองคล่ืนหัวใจ เปน็ ตน้ ▪ ด้านวิทยาศาสตร์และเคมี ใชใ้ นการวเิ คราะห์สูตรทางเคมกี ารคานวณสูตรทางวทิ ยาศาสตร์การค้นควา้ ทดลองในห้องวิทยาศาสตร์ การคานวณเก่ยี วกบั ระบบสุริยะจักรวาลและการเกปิ รากฏการณ์เก่ียวกับ ดวงดาวต่างๆ

25 ระบบคอมพิวเตอร์

แบบฝกึ หดั ท้ายหนว่ ยท่ี 5 ระบบคอมพวิ เตอร์ 1. ระบบคอมพิวเตอร์ ( Computer System ) คอื อะไร 2. คอมพิวเตอร์ คือ อะไร 3. ระบบคอมพวิ เตอรน์ ้ีประกอบไปด้วย องค์ประกอบหลกั ทส่ี าคัญ ก่ปี ระการอะไรบ้าง 4. เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ถกู สรา้ งขึ้นมาเพอ่ื ใหม้ จี ดุ เด่น 4 ประการ เพื่อทดแทนขอ้ จากดั ของ มนษุ ย์ เรียกวา่ 4 S special อะไรบ้าง 5. เป็นการใชค้ อมพิวเตอรเ์ พอ่ื ความสนุกสนานบันเทงิ เช่น เลน่ เกม ฟังเพลง ชมภาพยนตร์ อยู่ในด้านใดของประโยชนค์ อมพวิ เตอร์

เฉลยแบบฝึกหดั ท้ายหนว่ ยท่ี5 ระบบคอมพวิ เตอร์ 1.ตอบ องค์ประกอบที่จะทาใหค้ อมพวิ เตอร์สามารถทางานได้อย่างสมบูรณ์ ถา้ ขาดองคป์ ระกอบส่วนใดสว่ นหนง่ึ แล้ว เครือ่ งคอมพิวเตอรก์ ไ็ มส่ ามารถทางานได้ 2.ตอบ เคร่ืองมือหรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (computer) นิยมอ่านในภาษาไทยว่า คอมพิวเตอรอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ 3.ตอบ 4 ประการ 1. ฮารด์ แวร์ 2. ซอฟตแ์ วร์ 3. พเี พิลแวร์ 4. ข้อมูล 4.ตอบ 1. หน่วยเก็บ 2. ความเรว็ 3. ความเปน็ อตั โนมัติ 4.ความนา่ เชื่อถือ 5.ตอบ ดา้ นความบันเทิง

26 การนาเสนอ จดั เกบ็ ดูแลข้อมูลและสารสนเทศ การนาเสนอ จดั เกบ็ ดแู ลข้อมลู และสารสนเทศ การนาเสนอขอ้ มูลและสารสนเทศ วิธีการนาเสนอสารสนเทศเพ่อื ใหเ้ กิดความเข้าใจและใชป้ ระโยชน์จากสารสนเทศ สามารถแสดงผล ออกภายนอกได้ ดงั น้ี ❖ ลักษณะของสารสนเทศทีน่ าเสนอ ข้อมลู (numerical data) ไดแ้ ก่ กลุ่มตัวเลขทั้งทีเ่ ป็นจานวนเต็ม ทศนิยมหรอื จานวนจรงิ ขอ้ มูลจริง ขอ้ มลู ลกั ษณะนใ้ี ชก้ ันในการศกึ ษา คานวณทางวิทยาศาสตร์การพยากรณ์อากาศเศรฐกจิ ข้อมูลดรรชนหี ้นุ ของตลาดหลักทรพั ย์ เป็นตน้ ข้อมลู ตัวอักขระ(alphabetical data) ได้แก่ ข้อมลู ตวั อกั ษรท่ใี ชใ้ นการเขียนภาษาตา่ งๆทุก ภาษา เชน่ ตวั อกั ษร a-z, ก-ฮ,สระ,วรรณยุกต์ รวมทั้งสัญลักษณ์ และเครอื่ งหมายต่างๆซึง่ จะทาให้ สามารถครอบคลมุ สารสนเทศทใี่ ชก้ นั ท่วั ไปในทุกวงการ ท้งั การศึกษา คน้ คว้า วจิ ัย วิทยาศาสตร์ และ ธุรกิจการพาณิชย์ เป็นต้น ขอ้ มูลกรฟ(graphic data) ได้แก่ ข้อมลู ที่มลี ักษณะเป็นรูปภาพ รูปจาลอง รปู วาด การ วเิ คราะหข์ ้อมูลตวั เลขและแสดงผลในรปู ของแผนผัง แผนภูมิ กราฟตา่ งๆ ข้อมลู เสี่ยง (voice data) ไดแ้ ก่ ข้อมูลทใี่ ช้ในการส่อื สารดว้ ยภาษาพดู เสยี งรอ้ ง เสียงกรงิ่ เสยี งจากวิทยุ เปน็ ต้น

27 การนาเสนอ จดั เก็บ ดูแลข้อมลู และสารสนเทศ ข้อมลู • ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงหรือสาระต่าง ๆท่ีเก่ียวข้องกับงานที่ปฏิบัติ อาจเป็นตัวเลขหรือ ขอ้ ความที่เกดิ ข้นึ จากการดาเนินงาน หรอื ท่ไี ด้จากหนว่ ยงานอืน่ ๆ ข้อมลู เหล่าน้ี ยังไม่สามารถนาไปใช้ ประโยชนใ์ นการตดั สินใจได้ทนั ที จะนาไปใช้ได้กต็ ่อเม่อื ผา่ นกระบวนการประมวลผลแล้ว คุณสมบตั ิของข้อมลู การจดั เก็บข้อมลู จาเปน็ ต้องมคี วามพยายามและตั้งใจดาเนนิ การ ดังนัน้ การดาเนนิ งานเพ่อื ใหไ้ ด้มา ซึง่ สารสนเทศทด่ี ี ขอ้ มูลจะต้องมคี ุณสมบตั ขิ ั้นพืน้ ฐาน ดงั น้ี ❖ ความถกู ต้อง หากมกี ารเกบ็ รวบรวมข้อมูลแล้วข้อมูลเหลา่ นน้ั เช่ือถือไมไ่ ด้จะทาให้เกดิ ผลเสยี อย่างมาก ❖ ความรวดเรว็ และเป็นปจั จุบัน การไดม้ าของขอ้ มูลจาเปน็ ต้องใหท้ ันต่อความต้องการของผู้ใช้ มกี าร ตอบสนองตอ่ ผ้ใู ช้ไดเ้ รว็ ตี ประเภทและรปู แบบของขอ้ มูล ประเภทของขอ้ มลู ถา้ พิจารณาการประมวลผลขอ้ มลู ในองค์กร เราอาจจะแบ่งแหล่งทมี่ าของขอ้ มลู ได้ 2 ประเภท คือ ❖ข้อมูลภายใน เปน็ ข้อเท็จจริงต่างๆ ที่เกดิ ขึ้นภายในองคก์ รน้ัน ซึ่งอาจเปน็ สิง่ ทเ่ี กดิ จากการปฏิบัติงานของสมาชกิ ใน องคก์ ร เช่น ขอ้ มูลบุคลากร ข้อมูลกิจกรรมต่างๆ ข้อมลู ธรุ การ ขอ้ มลู การเงนิ ตา่ งๆ ❖ขอ้ มูลภายนอก เปน็ ข้อมลู หรอื ข้อเทจ็ จรงิ ท่ีเกิดขึ้นจากหน่วยงานอื่นๆ นอกองค์กรท่ีเกยี่ วข้องสาหรบั ข้อมูลทเ่ี ก็บ รวบรวมได้ในคร้งั แรก ยงั ไม่ไดต้ ัดเลือกหรือกล่ันกรองข้อมูลจะเรยี กวา่ ขอ้ มูลปฐมภมู ิ (Primary Data) ส่วนข้อมูลที่ ผ่านการคัดเลือกหรอื กล่นั กรองมาแลว้ ซง่ึ ไม่ใช่ขอ้ มูลทไ่ี ดม้ าคร้ังแรกจะเรียกวา่ ข้อมูลทตุ ยิ ภูมิ (Secondary Data) รูปแบบของขอ้ มูล รปู แบบของขอ้ มลู ที่นาเข้าสู่ระบบการประมวลผล ของคอมพวิ เตอรม์ ีดังนี้คือ 1.ตัวเลข (Numeric) 2.ตวั อักษรและข้อความ (Character and Text) 3.ภาพนงิ่ และภาพเคลอื่ นไหว (Image and Animation) 4.เสยี ง (Audio)

28 การนาเสนอ จัดเก็บ ดูแลข้อมลู และสารสนเทศ ลกั ษณะของข้อมูลทีด่ ี ขอ้ มลู นบั เป็นสว่ นสาคัญสว่ นหนึ่งในระบบคอมพวิ เตอร์ เพราะข้อมลู ท่ถี ูกต้องสมบรู ณเ์ มื่อนาไป ระมวลผลแลว้ ยอ่ มไดผ้ ลลพั ธท์ ีถ่ ูกต้องสมบูรณ์ หรือไดส้ ารสนเทศที่มีคณุ คา่ แกอ่ งค์กร ดังนน้ั นอกจากความ ถูกต้องตอ้ งสมบูรณข์ องข้อมูลแลว้ จงึ ควรพิจารณาถงึ ลกั ษณะของข้อมลู ที่ดว่ี ่าประกอบด้วยอะไรบา้ ง ข้อมูลทด่ี คี วรมลี กั ษณะ ดังนี้ ❖ มีความถูกตอ้ ง ความถกู ตอ้ งของข้อมูลนับเป็นเรื่องสาคัญอย่างยิ่ง เพราะข้อมูลทถ่ี กู ตอ้ งยอ่ มทาให้ผลลัพธท์ ่ี ได้จากการประมวลข้อมลู ถูกตอ้ งด้วย และถ้าข้อมลู ผิดพลาดก็จะทาใหผ้ ลลัพธท์ ่ีได้จากการประมวลผล ผดิ พลาดด้วย ❖ มคี วามสมบูรณ์ ความสมบรู ณข์ องขอ้ มูลทเ่ี กบ็ รวบรวมมาไดจ้ ะทาให้เราสามารถประมวลผลแลง้ ไดผ้ ลลัพธ์ หรือสารสนเทศท่ีมีความสมบรู ณด์ ้วย ❖ ตรงกบั ความตอ้ งการของผ้ใู ช้ ข้อมลู ทีด่ ีจะต้องสามารถนาไปประมวลผลแล้วไดผ้ ลลัพธต์ ามที่ผู้ใช้ต้องการ สามารถนาผลลพั ธน์ ัน้ ไปใชเ้ พ่อื การวางแผนและตัดสินใจของผูบ้ รหิ ารได้ ❖ ทันตอ่ ความตอ้ งการใช้งาน การได้รับสารสนเทสทีท่ นั ต่อการใชง้ านของผ้ใู ช้หรอื ผ้บู ริหาร จะช่วยให้ผู้บริหาร สามารถวางแผนหรือตดั สินใจในสถานการณต์ ่างๆ ❖ มีความทนั สมยั ความทันสมัยของขอ้ มูลเปน็ สงิ่ จาเปน็ อย่างย่ิงสาหรับการนาผลลัพธ์หรือสราสนเทศที่ได้ จากการนาข้อมลู นั้นมาประมวลผล หน้าท่ขี องระบบฐานข้อมูล ➢ การนิยามข้อมูล (Data Definition) ต้องสามารถรับการนิยามข้อมูลได้ เช่น การกาหนดเค้าร่าง ภายนอก เค้าร่างแนวคิด เค้าร่างภายใน และการเชื่อมทุกตัวท่ีเกี่ยวข้อง จากน้ันแปลงนิยามน้ันให้ เป็นวตั ถุ ➢ การจดั ดาเนินการข้อมลู (Data Manipulation) ระบบฯ ต้องสามารถจัดการคาร้องในการสืบค้น ปรับปรงุ ลบ เพม่ิ ขอ้ มลู ได้ ➢ การแปลงคาส่ังให้เหมาะสมที่สุดและการเอ็กซีคิวคาสั่ง ระบบบริหารฐานข้อมูล จะมี Optimizer เป็นซอฟต์แวร์ที่รับเอาคาร้องขอ โค้ดคาส่ังวัตถุนั้นมาตรวจดูก่อนรันเพื่อดูว่าจะรันอย่างไรจึงจะดี ท่สี ดุ ➢ ความปลอดภัยและความถูกต้องของข้อมูล ระบบฯ จะต้องยอมให้ผู้บริหารฐานข้อมูล (DBA) สามารถเขยี นคาส่งั หรอื กาหนดกฎความถกู ตอ้ งได้ ➢ การฟื้นฟูสภาพข้อมูลและสภาวะพร้อมกัน ระบบฯ ต้องสนับสนุนให้ผู้บริหารฐานข้อมูลสามารถส่ัง ให้ ตัวจัดการธรุกรรม ให้ทาการฟื้นฟูสภาพ และควบคุมสภาวะการเข้าถึงฐานข้อมูลแบบพร้อมกัน ได้ ➢ พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) ระบบฯ ต้องสร้างพจนานุกรมข้อมูลของมันเองขึ้นมาได้ เพื่อให้ผู้ใชส้ ามารถนาไปใช้ได้

29 การนาเสนอ จดั เก็บ ดูแลขอ้ มลู และสารสนเทศ ความสาคัญของระบบฐานข้อมลู การนาเอาระบบคอมพิวเตอรม์ าใช้งานเพ่ือประมวลผลข้อมูล นอกจากอานวยความสะดวกในการ ทางานได้รวดเรว็ แลว้ ยังมคี วามถกู ตอ้ งแมน่ ยาในการประมวลผลอกี ด้วยนอกจากน้รี ะบบฐานข้อมูลยงั มี ความสาคญั ในด้านต่าง ๆ อกี ดังน้ี ❖ ความมปี ระสิทธภิ าพ ระบบการจดั การฐานขอ้ มลู ช่วยใหก้ ารจดั การเปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและบรรลุผลมากข้ึน ❖ การสอบถามข้อมลู ระบบบบการจัดการฐานขอ้ มูลมีภาษาทใี่ ช้ในการสอบถามสาหรับสอบถามขอ้ มูลได้ทันทแี มว้ า่ โปรแกรมเมอร์ไมไ่ ดเ้ ขียนคาสงั่ สอบถามในบางรายการเอาไว้ ❖ การเขา้ ถึงขอ้ มูล ระบบการจดั การฐานขอ้ มลู ใหบ้ รกิ ารการเขา้ ถึงขอ้ มลู ได้เป็นอยา่ งดีมรี ะบบรกั ษาความปลอดภยั รวมทั้ง การจัดการขอ้ มลู ที่ดี ❖ ลดขอ้ มูลทีข่ ดั แย้ง ระบบการจัดการฐานข้อมูลชว่ ยลดความไม่สอดคล้อง หรอื ข้อมูลที่ขัดแย้งกนั ให้น้อยลงทาใหข้ ้อมูล มีความสมบูรณ์มากข้ึน

แบบฝึกหดั ท้ายหนว่ ยที่ 6 1. ข้อมลู (Data) คืออะไร 2. สว่ นขอ้ มูลทผ่ี ่านการคัดเลือกหรือกลน่ั กรองมาแล้ว ซ่ึงไม่ใช่ขอ้ มลู ที่ไดม้ าครั้งแรกจะ เรียกว่า อะไร 3. นอกองค์กรทเี่ กย่ี วขอ้ งสาหรบั ข้อมูลทเ่ี กบ็ รวบรวมไดใ้ นคร้งั แรก ยังไม่ไดต้ ดั เลือกหรือ กล่ันกรองข้อมลู จะเรียกวา่ อะไร 4. รูปแบบของขอ้ มลู ท่นี าเขา้ สรู่ ะบบการประมวลผล ของคอมพิวเตอร์มีดงั นี้คือ 5. ระบบฯ ตอ้ งสรา้ งพจนานกุ รมข้อมูลของมันเองขน้ึ มาไดเ้ พ่ือให้ผ้ใู ช้สามารถนาไปใชไ้ ด้คือ ระบบใด

เฉลยแบบฝึกหัดท้ายหน่วยท่ี 6 1. ตอบ ขอ้ เทจ็ จริงหรือสาระตา่ ง ๆที่เก่ยี วข้องกับงานทีป่ ฏบิ ตั ิ อาจเป็นตวั เลขหรอื ข้อความที่เกดิ ขึ้นจากการดาเนนิ งาน 2. ตอบ ข้อมูลทุติยภมู ิ (Secondary Data) 3. ตอบ ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) 4. ตอบ 1.ตัวเลข 2.ตัวอักษรและข้อความ 3.ภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว4.เสียง 5. ตอบ พจนานกุ รมข้อมลู (Data Dictionary)

30 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และ อุปกรณ์ต่อพ่วงเข้าด้วยกันเพ่ือให้สามารถใช้ข้อมูลทรัพยากรร่วมกันได้ เช่น สามารถใช้เครื่องพิมพ์ ร่วมกัน สามารถใช้ฮาร์ดดิสก์ร่วมกัน แบ่งปันการใช้ อุปกรณ์อ่ืน ๆ ที่มีราคาแพงหรือไม่สามารถจัดหา ให้ทุกคนได้ แม้กระทั่งสามารถใช้โปรแกรมร่วมกันได้เป็นการลดต้นทุนขององค์กรเครือข่าย คอมพิวเตอรส์ ามารถแบง่ ออกเปน็ ประเภทตามพ้ืนทที่ ค่ี รอบคลมุ การใช้งานของเครือข่าย ดังน้ี ➢ เครือข่ายส่วนบุคคล หรือแพน (Personal Area Network : PAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ส่วน บุคคล เช่น การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์กับโทรศัพท์มือถือ การเช่ือมต่อพีดีเอกับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ซง่ึ การเช่ือมต่อแบบนจ้ี ะอยใู่ นระยะใกล้ ➢ เครือข่ายเฉพาะที่ หรือแลน (Local Area Network: LAN) เป็นเครือข่ายท่ีใช้ในการเช่ือมโยง คอมพิวเตอรแ์ ละอุปกรณต์ ่างๆ ทอ่ี ยู่ในพื้นที่เดียวกนั หรอื ใกล้เคยี งกัน

31 ระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ ➢ เครือข่ายนครหลวง หรือแมน (Metropolitan Area Network : MAN) เป็นเครือข่ายท่ีใช้ เชื่อมโยงแลนทอี่ ยหู่ ่างไกลออกไป ➢ เครือข่ายวงกว้าง หรือแวน (Wide Area Network: WAN) เป็นเครือข่ายท่ีใช้ในการ เชอ่ื มโยงกับเครือขา่ ยอน่ื ที่อยูไ่ กลกันมาก เช่น เครอื ข่ายระหวา่ งจังหวดั

32 ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ การสือ่ สารขอ้ มลู ❖ การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง การโอนถ่าย (Transmission) ข้อมูลหรือการแลกเปล่ียน ข้อมูลระหว่างผู้ส่งต้นทางกับผู้รับปลายทาง ทั้งข้อมูลประเภท ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือข้อมูลส่ือผสม โดยผู้ส่งต้นทางส่งข้อมูลผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีหน้าที่แปลงข้อมูลเหล่าน้ันให้อยู่ ในรูปสัญญาณทางไฟฟา้ (Electronic data) จากนั้นถงึ ส่งไปยงั อุปกรณห์ รอื คอมพิวเตอรป์ ลายทาง • ผ้สู ง่ เปน็ ส่งิ ท่ที าหน้าที่ส่งข้อมลู ขา่ วสารออกไปยงั จดุ หมายปลายทางท่ตี ้องการ ซง่ึ อาจเป็น บคุ คลหรืออปุ กรณ์ • ข้อมลู ข่าวสาร เป็นสิ่งที่ผู้ส่งต้องการส่งไปให้ผู้รับที่อยู่ปลายทางซึ่งอาจเป็นเสียงข้อความหรือภาพ เพอ่ื สื่อสารให้เกิดความเขา้ ใจตรงกนั • สื่อกลาง หรือช่องทางการส่ือสาร เป็นส่ิงที่ช่วยให้ข้อมูลข่าวสารเดินทางจากผู้ส่งไปยังผู้รับได้ โดยสะดวก องคป์ ระกอบหลกั สาคญั ของการส่ือสารข้อมูลในระบบเครอื ยขา่ ย องค์ประกอบของการส่ือสารข้อมูล มอี ยู่ 5 อยา่ ง ได้แก่ • ผูส้ ง่ (Sender) ผสู้ ง่ (Sender) เป็นอปุ กรณท์ ใี่ ชใ้ นการส่งข่าวสาร (Message) เปน็ ต้นทางของการสื่อสาร ข้อมลู มหี นา้ ทเี่ ตรียมสรา้ งขอ้ มูล เช่น ผู้พูด โทรทศั น์ กล้องวิดโี อ เปน็ ต้น • ผรู้ ับ (Receiver) ผรู้ บั (Receiver) เปน็ ปลายทางการส่อื สาร มหี นา้ ท่ีรบั ข้อมลู ท่สี ง่ มาให้ เช่น ผู้ฟังเคร่ืองรบั โทรทัศน์ เครอ่ื งพมิ พ์ เปน็ ตน้ • สอ่ื กลาง (Medium) สือ่ กลาง (Medium) หรอื ตัวกลาง เปน็ เส้นทางการสื่อสารเพื่อนาข้อมูลจากต้นทางไป ยงั ปลายทาง ส่อื ส่งข้อมูลอาจเป็นสายคบู่ ดิ เกลียว สายโคแอกเชยี ล สายใยแกว้ นาแสง • ข้อมลู ขา่ วสาร (Message) ข้อมลู ขา่ วสาร (Message) คือสญั ญาณอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ทสี่ ่งผ่านไปใน ระบบสอ่ื สาร ซึ่งอาจถกู เรียกว่า สารสนเทศ (Information) • โปรโตคอล (Protocol)โปรโตคอล (Protocol) คือ วธิ ีการหรอื กฎระเบยี บท่ใี ช้ในการสอ่ื สารขอ้ มูลเพื่อให้ ผรู้ ับและผู้สง่ สามารถเขา้ ใจกันหรือคยุ กันรเู้ รื่อง

33 ระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ ประเภทของระบบเครอื ข่าย ประเภทของระบบเครือขา่ ย เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ( computer network ) เป็นการเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงเข้า ด้วยกันเพ่ือให้สามารถใช้ขอ้ มูลทรพั ยากรรว่ มกันไดเ้ ครือข่ายคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นประเภทตามพื้นท่ีท่ี ครอบคลุมการใช้งานของเครอื ข่าย ดังนี้ • เครือข่ายส่วนบุคคล หรือแพน ( Personal Area Network: PAN )เป็นเครือข่ายท่ีใช้ส่วนบุคคล เช่น การเชอื่ มตอ่ คอมพิวเตอรก์ บั โทรศพั ท์มือถือ และมกี ารเชือ่ มตอ่ แบบไรส้ าย • เครือข่ายเฉพาะที่ หรือแลน ( Local Area Network: LAN ) เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่อยู่ในพื้นท่ีเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน เช่น ภายในบ้าน ภายในสานักงาน และภายใน อาคาร • เครือข่ายนครหลวง หรือแมน (Metropolitan Area Network: MAN) เป็นเครือข่ายท่ีใช้เชื่อมโยงแลนที่อยู่ ห่างไกลออกไป เช่น การเชอ่ื มตอ่ เครือขา่ ยระหวา่ งสานกั งานที่อาจอยคู่ นละอาคารและมรี ะยะทางไกลกัน • เครือข่ายวงกว้าง หรือแวน (Wide Area Network: WAN) เป็นการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระยะไกล ซ่ึงมีอยู่ท่ัวโลกเข้าด้วยกัน โดยอุปกรณ์แปลงสัญญาณ เช่น โมเด็ม ช่วยในการติดต่อส่ือสารหรือ สามารถนาเครอื ข่ายทอ้ งถ่นิ มาเชือ่ มตอ่ กันเป็นเครือข่ายระยะไกล

34 ระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ ขอ้ เปรยี บเทียบของระบบ เครอื ขา่ ยแต่ละแบบ ระบบเครอื ข่าย (Network) แตล่ ะแบบไมว่ า่ จะเปน็ ระบบเครือข่ายระดับประเทศ (Wide Area Network หรือ WAN) หรือระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่น (Local Area Networkหรือ LAN) หรือระบบเครือข่ายระดับเมือง (Metropolitan Area Network หรือ Man) มีความแตกตา่ งกันอยูห่ ลายประกาศ ซึ่งพอทจ่ี ะสามารถสรปุ ได้ ดงั น้ี 1. ระบบเครือข่ายระดับท้องถ่ิน (LAN) มีระยะทางระหว่างจุดท่ีต่อกันจากัด ขนาดสูงสุดปกติไม่เกิน 10 กิโลเมตร และต่าสดุ ไมน่ ้อยกว่า 1 เมตร 2. โดยปกติท่ัวไปแล้วระบบเครือข่ายระดับเมือง (MAN) จะทางานด้วยความเร็วน้อยกว่า 1 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) แต่การทางานโดยปกติของระบบเครือข่ายระดับท้องถ่ินจะมีความเร็วระหว่าง 1-10 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) แต่ถ้าใช้เทคโนโลยแี บบเส้นใยนาแสง (Fiber Optic) ในการเช่ือมต่อจุดแต่ละจุดแล้ว จะทาให้ส่งข้อมูลด้วย ความเร็วหลายรอ้ ยเมกะบิตตอ่ วินาที (Mbps) 3. เนื่องจากระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่น (LAN) มีระยะทางการใช้งานไม่กว้างนักทาให้มีอัตราของความ ผิดพลาดหรือขอ้ ผดิ พลาดต่างๆ น้อยกว่าระบบเครอื ข่ายระดับเมือง (MAN) 4. ระบบเครือข่ายระดับท้องถ่ิน (LAN) จะอยู่ภายใต้การควบคุมของคน หรือองค์กรเดียวแต่ระบบเครือข่าย ระดบั ประเทศ (WAN) จะมีขอบข่ายการใช้งานอยู่ท่ัวโลก ดังน้ัน การใช้งานจะขึ้นอยู่กับองศ์กรการส่ือสารของแต่ละ ประเทศด้วย โดยสรุปแล้ว ระบบเครือข่ายระดับท้องถ่ิน (LAN) เป็นรูปแบบการทางานของระบบเครือข่ายแบบหน่ึงที่ช่วยให้ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ จอภาพ เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์ต่างๆ สามารถติดต่อและใช้งานร่วมกันได้ ซึ่งจะต่างกับระบบ เครือข่ายแบบอ่ืนๆ ตรงท่ีจากัดการติดต่อสื่อสารของอุปกรณ์อยู่ในบริเวณแคบๆ เท่าน้ัน โดยทั่วไปจะมีระยะการใช้ งานไม่เกิน 2 กิโลเมตร เช่นใช้ภายในมหาวิทยาลัย อาคารสานักงาน คลังสินค้า หรือโรงงาน เป็นต้น การส่งข้อมูล สามารถทาได้ด้วยความเร็วสูงถึง 1-10 เมกะบิตต่อวนิ าที (Mbps) และมีขอ้ ผดิ พลาดนอ้ ย

35 ระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ ประโยชนข์ องระบบเครือขา่ ย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่ึงเครือข่ายจะมีการทางานรวมกันเป็นกลุ่ม ที่เรียกว่า กลุ่มงาน (workgroup) ก็จะไดเ้ ครือขา่ ยขนาดใหญ่ขนึ้ การประยกุ ต์ใชง้ านเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างกว้างขวาง และสามารถใช้ประโยชน์ได้มากมาย ทั้งน้ีเพราะระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทาให้เกิดการเช่ือมโยงอุปกรณ์ ตา่ งๆ เขา้ ดว้ ยกัน และสื่อสารข้อมลู ระหวา่ งกนั ได้ ประโยชนข์ องระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ มดี ังน้ี ➢ การใช้อุปกรณ์ร่วมกัน เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทาให้ผู้ใช้ สามารถใช้อุปกรณ์ รอบข้างที่ต่อพ่วงกับระบบ คอมพิวเตอร์ ร่วมกนั ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ➢ การใช้โปรแกรมและข้อมูลร่วมกันได้ การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่าย ท้ังประเภทเครือข่าย LAN , MAN และ WAN ทาให้คอมพิวเตอร์ สามารถสื่อสารแลกเปลย่ี นขอ้ มูลระยะไกลได้ ➢ สามารถประยุกต์ใช้ในงานด้านธุรกิจได้ องค์กรธุรกิจที่มีการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ กับระบบ เครอื ข่ายอินเทอร์เน็ต เพ่ือประโยชนท์ างธุรกิจ ➢ ความประหยัด ตัวอย่างเช่นในสานักงานแห่งหนึ่งมีเครื่องคอมพิวเตอร์ จานวน 30 เครื่อง หรือมากกว่านี้ ถ้าไม่มีการนาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มาใช้ จะเห็นว่าต้องใช้เครื่องพิมพ์ อย่างน้อย 5 - 10 เคร่ือง มาใช้งาน แต่ถ้ามีระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์แล้วสามารถใช้ เครือ่ งพมิ พ์ประมาณ 2-3 เครอ่ื งก็เพียงพอตอ่ การใชง้ านแลว้

36 ระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของระบบเครอื ข่าย ❖ คอมพิวเตอร์แม่ข่าย คอมพิวเตอร์ แม่ข่าย หมายถึงคอมพิวเตอร์ ที่ทาหน้าที่เป็นผู้ให้บริการทรัพยากร (Resources) ต่าง ๆ ซึ่งได้แก่ หน่วยประมวลผล หน่วยความจา หน่วยความจาสารอง ฐานข้อมูล และ โปรแกรมตา่ ง ๆ เป็นต้น ในระบบเครอื ขา่ ยท้องถนิ่ (LAN) มักเรยี กว่าคอมพิวเตอร์แมข่ า่ ย ในระบบเครือข่าย ระยะไกล ที่ใช้เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หรือ มินิคอมพิวเตอร์เป็นศูนย์กลางของเครือข่าย เรานิยมเรียกว่า Host Computer และเรียกเคร่ืองท่รี อรบั บรกิ ารวา่ ลูกข่ายหรือสถานงี าน ❖ ช่องทางการส่ือสาร ช่อง ทางการส่ือสาร หมายถึง สื่อกลางหรือเส้นทางท่ีใช้เป็นทางผ่าน ในการรับส่ง ข้อมูล ระหว่างผู้รับ (Receiver) และผู้ส่งข้อมูล (Transmitter) ปัจจุบันมีช่องทางการสื่อสาร สาหรับการ เช่ือมต่อเครือข่าย คอมพิวเตอร์มีหลายประเภทคือ สายโทรศัพท์แบบสายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP) สายคู่ตีเกลียว แบบมีฉนวนหุ้ม (STP) สายโคแอคเชียล สายใยแก้วนาแสง คล่ืนไมโครเวป และดาวเทียม เปน็ ตน้ ❖ สถานีงาน สถานี งาน (Workstation or Terminal) หมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ที่ เช่ือมต่อ กับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทาหน้าที่เป็นสถานีปลายทางหรือสถานีงาน ท่ีได้รับการบริการจาก เครื่อง คอมพิวเตอร์แม่ข่าย เรียกว่าเป็นคอมพิวเตอร์ลูกข่าย (Workstation) ในระบบเครือข่ายระยะใกล้ มกั มีหนว่ ยประมวลผล ❖ อุปกรณ์ในเครือข่าย การ์ดเช่ือมต่อเครือข่าย (Network Interface Card :NIC) หมายถึง แผงวงจร สาหรับ ใชใ้ นการเช่อื มต่อสายสญั ญาณของเครอื ขา่ ย ตดิ ตัง้ ไว้ในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่เป็นเครื่องแม่ข่าย และ เครื่องทีเ่ ป็นลูกขา่ ย หน้าที่ของการด์ นค้ี อื แปลงสญั ญาณจากคอมพิวเตอร์สง่ ผา่ นไปตามสายสัญญาณ ❖ ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่ทา หน้าท่ี จัดการระบบเครือข่ายของคอมพิวเตอร์ เพ่ือให้คอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่ออยู่กับเครือข่าย สามารถ ติดตอ่ สอ่ื สาร แลกเปลย่ี นขอ้ มูลกันไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง และมีประสทิ ธภิ าพ

37 ระบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ มาตรฐานการเชอ่ื มต่อระบบเครือข่าย แบบจาลอง OSI Model การเช่อื มตอ่ คอมพวิ เตอร์เป็นระบบเครือขา่ ยในยุคแรกจะมลี กั ษณะเฉพาะตวั ตามบริษัทผู้ผลติ อุปกรณ์ เครอื ข่ายนนั้ ๆ ทาให้เกดิ ปัญหาความเขา้ กันได้ของอุปกรณท์ ผ่ี ลติ จากต่างบริษทั กัน ดงั นน้ั หนว่ ยงาน มาตรฐานสากล (International Standard Organization) หรอื ISO จงึ ได้กาหนดโครงสรา้ งมาตรฐานในการรับ – ส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอรใ์ หเ้ ปน็ แบบเดียวกนั เพ่ือให้ใช้งานร่วมกนั ได้ เรียกวา่ แบบจาลอง OSI Model (Open System Interconnection Model) เพื่อใช้เป็นแบบอ้างอิงในการผลิต ทาใหอ้ ปุ กรณเ์ ครอื ขา่ ยต่างบริษทั กนั สามารถใชง้ านร่วมกันไดโ้ ดยไมม่ ีปญั หา แบบจาลอง OSI Model จะแบง่ การเช่อื มต่อในเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ ออกเป็นชัน้ ยอ่ ย ๆ จานวน 7 ชนั้ ลักษณะการเช่ือมตอ่ คือ แต่ละช้ันหรือแต่ละเลเยอร์ (Layer) จะเสมอื นเชอ่ื มตอ่ ถึงกันและกนั แต่ในส่วนของการ เชื่อมต่อจริงทางกายภาพจะมเี พยี งช้ันลา่ งสดุ คือ Physical Layer เทา่ นั้นทีเ่ ชอ่ื มตอ่ ถึงกัน สว่ นช้ันอ่ืน ๆ จะไมไ่ ด้ เชื่อมต่อถงึ กนั จรงิ เพียงแตเ่ สมอื นวา่ เชื่อมต่อกันโดยผา่ นกลไกในระบบเครือขา่ ยเท่านน้ั ตามแนวทางของแบบจาลอง OSI Model จะกาหนดใหก้ ารติดตอ่ ระหว่างกันจะต้องติดต่อภายในชัน้ เดียวกันเท่าน้นั จะติดตอ่ ข้ามชั้นกนั ไม่ได้ เช่น ช้นั ที่ 3 ทางฝัง่ ผู้สง่ กจ็ ะตอ้ งเช่ือมต่อกบั ช้ันที่ 3 ของฝง่ั ผรู้ ับเท่านั้น สว่ นผู้ใช้งานจะต้องตดิ ตอ่ ผา่ นทางชั้นที่ 7 คอื Application layer ซง่ึ เป็นชั้นบนสุด ในทางปฏิบตั ิ 4 ช้ัน ดา้ นบน คอื Application layer, Presentation Layer, Session Layer และ Transport Layer จะจดั เปน็ การเชอื่ มต่อ ขอ้ มลู ในสว่ นซอฟตแ์ วร์ (Application Dependent Layer) ส่วน 3 ชนั้ ดา้ นลา่ งคอื Network Layer, Data Link และ Physical Layer จะเปน็ สว่ นควบคุมการรับ – ส่งขอ้ มลู โดยทาการตดิ ต่อกับฮาร์ดแวร์โดยตรง คือ เปน็ ส่วนของการเชือ่ มตอ่ ทางเครอื ขา่ ย (Network Dependent Layer) หน้าท่ีของแต่ละช้ัน จะเปน็ ดงั น้ี ❖ Application Layer ทาหนา้ ทีใ่ นการเช่ือมต่อข้อมลู ระหวา่ งผใู้ ชง้ านกับโปรแกรมใช้งาน โดยจะแบง่ คาส่งั ต่าง ๆ ท่ผี ูใ้ ช้กาหนด ผา่ นทางเมนู หรอื การคลกิ เมาส์ สง่ ใหโ้ ปรแกรมใชง้ าน ซ่งึ โปรแกรมใช้งานจะไปเรยี กฟงั กช์ นั่ ท่ีใหบ้ รกิ ารจาก ระบบปฏบิ ัติการอกี ตอ่ หนง่ึ ❖ Presentation Layer เปน็ ชน้ั ท่ที าหน้าทเ่ี ปน็ สว่ นตดิ ตอ่ ระหวา่ งช้ัน Application และ Session ใหเ้ ข้าใจกนั โดยจะ เป็นการสร้างขบวนการยอ่ ย ๆ ในการทางานระหว่างกัน และจัดรปู แบบการนาเสนอขอ้ มลู ในการ ส่อื สารใหเ้ ขา้ ใจกนั ได้ เช่น การแปลงรหัสข้อมูล การเข้ารหัส (Encrypt) และการถอดรหัส (Decrypt)

38 ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ มาตรฐานการเช่อื มต่อระบบเครือข่าย ❖ Session Layer เป็นชนั้ ท่ีทาหน้าท่ีสร้างส่วนติดต่อ (Session) ในการสอ่ื สารข้อมูล โดยกาหนดจงั หวะในการรับ – สง่ ข้อมลู ว่าจะทางานในแบบผลัดกนั สง่ (Half Duplex) หรือส่งรบั พรอ้ มกนั (Full Duplex) โดยจะ สรา้ งเป็นสว่ นของชดุ ขอ้ มูลโตต้ อบกนั ❖ Transport Layer ทาหน้าทแ่ี บ่งข้อมลู ท่มี ีขนาดใหญ่เกนิ มาตรฐานการรับ – สง่ ออกเป็นสว่ นย่อย ๆ ให้เหมาะสมกับ การทางานทางฮาร์ดแวรข์ องอุปกรณใ์ นระบบเครือข่ายตามมาตรฐานที่ใชง้ าน ❖ Network Layer ทาหน้าท่ีเชื่อมต่อและกาหนดเส้นทางในการรับ – ส่งข้อมูลผ่านระบบเครือข่าย โดยจะ นาข้อมูลในช้ันบนท่ีส่งมาในรูปของ Package หรือ Frame ซ่ึงมีเพียงแอดเดรสของผู้รับ – ผู้ส่ง ลาดับการรับ – ส่งขอ้ มูล และสว่ นของข้อมูล นอกจากน้ียังทาหน้าที่ในการสถาปนาการเช่ือมต่อใน ครัง้ แรก (Call Setup) และการยกเลกิ การตดิ ต่อ (Call Clearing) ❖ Data Link Layer ทาหน้าท่ีในการจัดเตรียมข้อมูลในการเชื่อมต่อให้กับอุปกรณ์ทางฮาร์ดแวร์ โดยหลังจากที่ ได้รับข้อมูลจากชั้น Network Layer ท่ีกาหนดเส้นทางในการติดต่อ และทากาตรวจสอบ ขอ้ ผิดพลาดในการรบั – ส่งข้อมลู เพ่อื ใหข้ ้อมูลทรี่ ับ – สง่ กันตรงกับมาตรฐานการรับ – ส่งข้อมูลใน ระดับฮาร์ดแวร์ เชน่ มาตรฐานอีเทอร์เน็ต (Ethernet) มาตรฐานโทเค็นริง (Token Ring) เป็นตน้ ❖ Physical Layer เป็นช้ันล่างสุดของแบบจาลอง OSI Model และเป็นช้ันที่มีการเชื่อมต่อจริงทางกายภาพ ในช้ันนี้จะเปน็ สว่ นที่ใช้กาหนดคณุ สมบตั ิทางกายภาพของอุปกรณ์ที่จะนามาเชื่อมต่อกัน เช่น จะใช้ ขั้วต่อสัญญาณแบบใด ใช้การรับ – ส่งข้อมูลแบบใด ความเร็วในการรับ – ส่งข้อมูลที่จะใช้เป็น เท่าใด ข้อมูลในช้ันน้ีจะอยู่ในรูปของสัญญาณทางไฟฟ้าแบบดิจิตอล คือมีระดับสัญญาณ 0 หรือ 1 หากมีปัญหาในการรับ – ส่งทางฮาร์ดแวร์ เช่น สายรับ – ส่งข้อมูลขาดหรืออุปกรณ์ในเครือข่าย ชารุดเสียหายก็จะทาการตรวจสอบและส่งข้อมูลความผิดพลาดไปให้ช้ันอ่ืน ๆ ท่ีอยู่เหนือขึ้นไป ไดร้ ับทราบ

แบบฝกึ หัดท้ายหนว่ ยท่ี 7 1. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) คืออะไร 2. องค์ประกอบของการสอื่ สารข้อมลู มอี ยู่ 5 อยา่ ง ไดแ้ ก่อะไรบ้าง 3. วธิ กี ารหรอื กฎระเบียบทใี่ ชใ้ นการสื่อสารขอ้ มลู เพื่อใหผ้ ้รู ับและผู้ส่งสามารถเขา้ ใจกนั หรือคุยกันรู้ เร่อื งอยใู่ นระบบเครอื ยข่ายใด 4. เครอื ขา่ ยทใ่ี ช้ในการเชอ่ื มโยงคอมพิวเตอรแ์ ละอปุ กรณต์ ่าง ๆ ที่อยู่ในพ้ืนที่เดียวกันหรอื ใกล้เคยี ง กนั เรยี กว่าเครือข่ายใด 5. เครอื ข่ายวงกว้าง หรือแวน (Wide Area Network: WAN)คืออะไร

เฉลยแบบฝกึ หัดทา้ ยหนว่ ยท่ี7 1. ตอบ เปน็ การเชือ่ มตอ่ คอมพวิ เตอร์และอุปกรณต์ อ่ พ่วงเขา้ ดว้ ยกนั เพอ่ื ให้สามารถใช้ ข้อมูลทรพั ยากรรว่ มกนั ได้ 2. ตอบ1. ผ้สู ่ง 2.ผรู้ บั 3.สอ่ื กลาง 4.ข้อมูลขา่ วสาร 5.โปรโตคอล 3. ตอบ โปรโตคอล (Protocol) 4. เครือขา่ ยเฉพาะท่ี หรอื แลน ( Local Area Network: LAN ) 5. ตอบ การเชื่อมต่อเครือขา่ ยคอมพิวเตอรร์ ะยะไกล ซ่ึงมอี ยทู่ ัว่ โลกเข้าด้วยกัน

39 อินเทอรเ์ นต็ อนิ เทอรเ์ น็ตคอื อะไร ❖ ความสาคญั ของอินเทอร์เน็ต ในปจั จบุ นั อินเทอรเ์ นต็ น้ันมีความสาคัญต่อชวี ติ ประจาวันของคนเราหลายๆดา้ น ทั้งด้านการศกึ ษา ดา้ น ธรุ กจิ และพาณชิ ย์ ดา้ นการบันเทงิ ➢ ด้านการศกึ ษา การใช้อนิ เทอรเ์ น็ตเพ่อื การสนับสนนุ การศึกษา เป็นการใช้อินเทอรเ์ น็ตในการติดต่อส่ือสาร เพ่อื การสง่ การบา้ น นดั หมาย อธบิ ารายละเอียด รวมท้ังแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ ของคณาจารยก์ ับนักเรยี น และนกั เรียนกบั นกั เรยี นดว้ ยกนั นอกจากนย้ี ังมีระบบการเรียนการสอนดว้ ยระบบออนไลน์ การเรียนออนไลน์ คอ่ นขา้ งเป็นทีน่ ยิ มมากในปจั จุบนั เพราะเป็นการเรยี นที่สะดวกสามารถเรยี นได้ในเวลาทีต่ อ้ งการ อกี ทงั้ สามารถลดค่าเล่าเรยี นลงไปไดอ้ ย่างมาก และทง้ั นี้อนิ เทอร์เน็ตนัน้ ยังสามารถใช้เป็นแหล่งคน้ คว้าหาข้อมลู เสมอื นเป็นห้องสมุดขนาดใหญพ่ ร้อมท้ังมขี ้อมลู ทีค่ รอบคลุมมที ั้งภาพ เสยี ง และภาพเคลื่อนไหว ➢ ด้านธรุ กิจและพาณชิ ย์ การใช้อนิ เทอรเ์ น็ตกบั งานธุรกิจณชิ ยน์ ้นั ช่วยใหส้ ามารถตัดสินใจซื้อขายสินค้าและ บรกิ ารได้อยา่ งรวดเร็วและสะดวก นบั ว่าเป็นตลาดทก่ี ว้างขวางและมีประสทิ ธิภาพในการตดิ ต่อซอ้ื สินค้าและ บริการ เพราะคนเราสมยั น้ีนิยมความสะดวกสบายและรวดเร็วทันใจ ไม่ว่าจะอย่ทู ่ีใดบนโลกก็ตามกส็ ามารถ เปิดเวบ็ ไซตเ์ พือ่ เลอื กสนิ ค้าหรือหาข้อมลู ผลิตภัณฑ์ หรอื แมก้ ระท่ังปรึกษากไ็ ด้ฉบั ไว ➢ ดา้ นการบนั เทิง อนิ เทอรเ์ น็ตถือว่าเป็นแหล่งความบนั เทิงในอกี รปู แบบหน่งึ เหมือนับการนั่งดโู ทรทัศน์ ภาพยนตร์ อา่ นหนังสือหรือบทความตา่ งๆ ซง่ึ สามารถจะดูหรือใช้งานทไ่ี หนเม่อื ไหร่กไ็ ด้ตามต้องการ อนิ เทอร์เนต็ ต่อดา้ นบนั เทิงนั้นถือว่าเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ สามารถค้นคว้าวารสารทง้ั หนงั สือพมิ พ์ ขา่ วสาร นิยาย วรรณกรรมและอืน่ ๆผา่ นระบบเครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต อกี ทง้ั สามารถฟงั วทิ ยอุ อนไลน์ ดูรายการ โทรทัศน์รวมท้งั ภาพยนตรท์ งั้ เกา่ และใหมม่ าดไู ดอ้ ีกด้วย

40 อนิ เทอร์เนต็ รายละเอยี ดของเวบ็ เบราเซอร์ Web Browser (เวบ็ เบราวเ์ ซอร์) คอื โปรแกรมทใ่ี ช้ในการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู และติดตอ่ สอ่ื สารใน รปู แบบ Webpage (เวบ็ เพจ) โดยโปรแกรมจะแปลงภาษาคอมพวิ เตอร์ HTML ให้เป็นภาษาทคี่ นท่วั ไป สามารถอา่ นและเข้าใจไดบ้ นหน้าเวบ็ การใช้งาน Web Browser ในการเขา้ ชมเวบ็ ไซตน์ ้ัน ผู้ใช้งานจะตอ้ งกรอก Domain Name (โดเมนเนม) ลง ไปเวลาต้องการเข้าไปยงั เว็บไซตต์ า่ งๆ โดย Domain Name จะนามาใช้แทน IP Address (ไอพี แอดเดรส) หรือที่อยขู่ องเว็บไซต์ที่เป็นตวั เลขซง่ึ จดจาไดย้ าก ตวั อย่าง Web Browser ทนี่ ยิ มใช้ ❖ Internet Explorer Internet Explorer หรือ IE เป็น Web Browser ที่มีความเก่าแก่ท่ีสุด เพราะเป็นโปรแกรมพ้ืนฐานท่ีมี มาพร้อมระบบปฏิบัติการ Windows 3.11 และยังคงมีอยู่ถึงปัจจุบัน รุ่นล่าสุดของ Internet Explorer (ปี 2019) คือ Internet Explorer 11 รองรับการใช้งานสาหรับ Windows 7, Windows Server 2008, Windows 8, Windows Server 2012, Windows 8.1, Windows Server 2012 R2 และ Windows 10 ซ่ึงมี ประสิทธิภาพในการเข้าอินเทอร์เน็ตสูงข้ึน และการันตีว่าใช้ Ram และ CPU น้อยกว่า Firefox และ Chrome ทีเดยี ว

41 อินเทอร์เนต็ Mozilla Firefox ❖ Mozilla Firefox Firefox เป็น Web Browser ที่โดดเด่นด้วยไอคอน จิ้งจอกไฟ พัฒนาขึ้นโดยมูลนิธิ Mozilla และ อาสาสมัครอีกหลาย 100 คน สามารถทางานบนระบบปฏิบตั ิการได้หลายแบบ ต้ังแต่ Windows, McOS10, Linux ครั้งหนึ่งเคยเป็น Web Browser ที่ดีที่สุดเลยทีเดียว โดยมีแถบเครื่องมือใช้งานและแท็บหน้าต่าง อนิ เทอร์เนต็ ท่ีเรียบงา่ ย ไม่รกสายตา เวอร์ชั่นล่าสดุ ยงั รองรับผลการแสดงเวบ็ ไซต์ในรูปแบบ 3 มติ ิด้วย Google Chrome ❖ Google Chrome Chrome พฒั นาโดย Google เปิดตัวคร้ังแรกเม่ือปี 2008 สามารถทางานบนระบบปฏิบัติการ ท้ัง Windows, Linux, McOS, iOS และ Android และเคยได้รับความนิยมมากท่ีสุด แต่ปัจจุบัน จัดเป็นหนึ่งในโปรแกรมท่ีใช้ทรัพยากรพ้ืนท่ีบนคอมพิวเตอร์เปลืองที่สุด แต่ข้อดีคือเช่ือมโยงกับบัญชี ตา่ งๆ ของ Google ทาให้ใช้งานสะดวก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook