Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดที่ 4 การสร้างข้อสอบแบบเขียนตอบ

ชุดที่ 4 การสร้างข้อสอบแบบเขียนตอบ

Published by dengwansri31, 2020-07-21 09:39:31

Description: ชุดที่ 4 การสร้างข้อสอบแบบเขียนตอบ

Search

Read the Text Version

ชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสร้างเครือ่ งมอื วดั และประเมนิ ผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ เล่มท่ี 4 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเขียนตอบ นางสาวนชุ จริ า แดงวันสี สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎรธ์ านี เขต 2 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเครือ่ งมือวัดและประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ เล่มท่ี 4 การสร้างข้อสอบแบบเขียนตอบ นางสาวนชุ จริ า แดงวนั สี สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาสรุ าษฎร์ธานี เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

ชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสร้างเครอื่ งมอื วดั และประเมินผล วชิ าวิทยาศาสตร์ คำนำ การประเมินคุณภาพทางการศึกษาถือเป็นการสะท้อนให้เห็นถึงความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา เคร่ืองมือที่ใช้เป็นส่วนหน่ึงในการวัดผลประเมินการศึกษานั่นคือข้อสอบซึ่งต้องมีความหลากหลาย สามารถวัดได้ ทั้งด้านพุทธิพิสัย ด้านทักษะพิสัย และด้านจิตพิสัย ดังนั้น การสร้างข้อสอบที่ดีจะต้องอาศัยท้ัง ความรู้ความเข้าใจและการฝึกฝนการสร้างข้อสอบ ซึ่งชุดฝึกอบรมฉบับนี้กล่าวถึงคุณสมบัติของข้อสอบแบบ เขียนตอบ ข้ันตอนและแนวทางการสร้างข้อสอบ การสร้างเครื่องมือวัดความรู้ความสามารถของผู้เรียนตาม มาตรฐานและตัวช้ีวัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ไปสูการพัฒนาคุณภาพ นักเรียน จึงได้จัดทำชุดฝึกอบรมการสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผล วิชาวิทยาศาสตร์เพื่อเป็นแนวทางในการ สร้างข้อสอบแบบเขียนตอบ ให้ครูผู้สอนได้ใช้เป็นชุดฝึกอบรมในการฝึกสร้างข้อสอบ เพื่อนำข้อสอบไปให้ นักเรียนฝึกปฏิบัติในห้องเรียน ซึ่งจะทำให้นักเรียนมีความคุ้นเคยในการทำข้อสอบ อันจะส่งผลให้นักเรียน สามารถทำข้อสอบ ONET ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ พัฒนาทักษะการคดิ ตอ่ ไป ชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ ง เคร่ืองมือวัดและประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6 มที งั้ หมด 5 เลม่ ได้แก่ ค่มู ือ การใชช้ ดุ ฝึกอบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเคร่อื งมอื วัดและประเมนิ ผล วชิ าวิทยาศาสตร์ เลม่ ท่ี 1 แนวทางการจดั การเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เลม่ ท่ี 2 ความรพู้ ้นื ฐานเกีย่ วกับการวดั และประเมินผล เล่มท่ี 3 การสร้างขอ้ สอบแบบเลอื กตอบ เลม่ ที่ 4 การสรา้ งข้อสอบแบบเขียนตอบ เลม่ ที่ 5 การหาคุณภาพของเครอ่ื งมอื วัดและประเมินผล เอกสารเล่มน้ี เป็นเอกสารเลม่ ที่ 4 ผูจ้ ัดทำหวงั ว่าชุดฝกึ อบรมด้วยตนเองเล่มนี้ จะเป็นประโยชนต์ อ่ การ พัฒนาครูผสู้ อนวทิ ยาศาสตร์ มคี วามรู้ ความเข้าใจ สามารถสรา้ งข้อสอบเขียนตอบ สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการ เรียนรแู้ ละตัวชว้ี ดั ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ขอให้ผู้ศกึ ษาได้ศึกษาใบ ความรแู้ ละใบกิจกรรมให้ครบทุกใบกจิ กรรม เพ่อื นำความรไู้ ปใช้พฒั นาผเู้ รียนให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ ต่อไป เล่มที่ 4 การสร้างข้อสอบแบบเขยี นตอบ ก

ชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเครือ่ งมอื วัดและประเมนิ ผล วชิ าวิทยาศาสตร์ สารบญั หนา้ ก คำนำ ข สารบญั 1 คำชีแ้ จง 2 คำแนะนำในการศกึ ษา 3 วตั ถุประสงค์ 3 ขอบขา่ ยเน้อื หา 3 สาระสำคัญ 4 แนวคดิ 5 แบบทดสอบกอ่ นศกึ ษาชดุ ฝกึ อบรม 7 ใบความร้ทู ี่ 1 ประเภทของแบบทดสอบเขยี นตอบ 11 ใบกิจกรรมท่ี 1 12 ใบความรูท้ ่ี 2 การวเิ คราะหม์ าตรฐานและตัวช้วี ดั 18 ใบกิจกรรมท่ี 2 20 ใบความร้ทู ่ี 3 แนวคดิ ทฤษฎขี องบลมู 28 ใบกิจกรรมท่ี 3 31 ใบความรูท้ ี่ 4 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเขียนตอบ 39 ใบกจิ กรรมที่ 4 44 ใบความรูท้ ่ี 5 การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน (Rubric) 48 ใบกิจกรรมที่ 5 52 ใบความรทู้ ี่ 6 ตวั อยา่ งขอ้ สอบแบบเขียนตอบ 57 แบบทดสอบหลังใช้ชดุ ฝีกอบรม 60 บรรณานกุ รม 63 คณะทำงาน เล่มท่ี 4 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเขยี นตอบ ข

ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสร้างเครือ่ งมือวัดและประเมินผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ คำช้ีแจง ชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสร้างเคร่อื งมือวัดและประเมนิ ผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่มที่ 4 การสร้างข้อสอบแบบเขียนตอบ เป็นเอกสารฝึกอบรมให้ครูได้ศึกษา ด้วยตนเอง เพื่อให้เกิดความรู้ ความข้าใจและเกิดแนวคิดในการจัดประสบการณ์ในห้องเรียนให้แก่ ผู้เรียน ได้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 อันจะส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือ นำไปสู่แนวทางการปฏิบัติจริง ทุกชุดฝึกอบรมมีเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกันและต่อเนื่องกัน ผู้ศึกษาควรทำ ความเข้าใจศึกษาเอกสารโดยละเอียด พร้อมทั้งปฏิบัติตามคำแนะนำการใช้ชุดฝึกด้วยตนเอง ตาม ขั้นตอนดงั ต่อไปนี้ ศึกษาภาพรวมเอกสาร คำแนะนำ ศึกษาวตั ถปุ ระสงค์ ขอบข่ายเน้ือหา และสาระสำคญั ศกึ ษารายละเอยี ดการดำเนนิ ใช้ชดุ ฝึกอบรม ประเมนิ ตนเองดว้ ยการทดสอบก่อนใชช้ ุดฝกึ อบรม ศึกษาใบความรแู้ ละทำใบกจิ กรรม สรปุ องค์ความรู้ดว้ ยตนเองดว้ ยผงั ความคิด ไมผ่ ่าน ประเมนิ ตนเองด้วยการทดสอบหลงั ฝึกอบรม ผ่าน ศึกษาเอกสารเลม่ ท่ี 5 แผนภาพ ขน้ั ตอนการศึกษาชดุ ฝึกอบรมด้วยตนเอง 1 เล่มที่ 4 การสร้างข้อสอบแบบเขียนตอบ

ชุดฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเครื่องมือวดั และประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ คำแนะนำในการศึกษา การศึกษาชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรอ่ื งแนวทางการจดั การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์พฒั นาขึ้น สำหรับครวู ิทยาศาสตร์ เพ่ือเป็นแนวทางการออกแบบการจดั การเรยี นรู้ ผศู้ กึ ษาควรปฏิบัติดังนี้ 1. การเตรยี มตวั เพื่อศึกษาชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเอง 1.1 กำหนดเวลาในการศึกษาชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง แนวทางการจัดการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ 1.2 ศึกษาเอกสารเพม่ิ เตมิ ท่ีระบใุ นชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง จะทำใหผ้ ศู้ ึกษามคี วามรู้และเขา้ ใจเรว็ ขึ้น 2. การศึกษาชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง 2.1 ทำแบบทดสอบกอ่ นศึกษา และตรวจคำตอบด้วยตนเองจากเฉลยแบบทดสอบโดยให้ คะแนน 1 คะแนน สำหรับคำตอบทถี่ ูกต้องและให้ 0 คะแนนสำหรบั คำตอบทผ่ี ิด 2.2 ควรอา่ นเน้อื หาสาระในใบความรใู้ นแตล่ ะเลม่ อย่างนอ้ ย 1 จบ แลว้ สรปุ ความคดิ รวบ ยอด 2.3 ทำกจิ กรรมในใบงานแต่ละตอนและตรวจคำตอบด้วยตนเองจากแนวคำตอบในใบ ความรู้ โดยให้คะแนน 1 คะแนนสำหรบั คำตอบทถ่ี กู ตอ้ ง ให้ 0 คะแนนสำหรบั คำตอบทีผ่ ิด 2.4 ทำแบบทดสอบหลังศึกษาชุดฝึกอบรมดว้ ยตนเองและตรวจคำตอบด้วยตนเองจาก แบบทดสอบโดยใหค้ ะแนน 1 คะแนนสำหรับคำตอบทถ่ี ูกต้อง ใหค้ ะแนน 0 คะแนน สำหรบั คำตอบท่ี ผดิ 2.5 ใหศ้ ึกษาชดุ ฝึกอบรมด้วยตนเองต่อเน่อื งใหจ้ บเลม่ 2.6 ชุดฝึกอบรมด้วยตนเองนี้ เปน็ ชุดฝึกอบรมด้วยตนเองที่ศกึ ษาดว้ ยตนเองได้ทุกสถานที่ ทกุ เวลา 3 การประเมินผล 3.1 ในตอนทา้ ยของชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเอง จะมีการประเมินผลเพอ่ื วัดความรคู้ วามเขา้ ใจ แลว้ ตรวจสอบคำตอบด้วยตนเองจากเฉลย ใหค้ ะแนน 1 คะแนน สำหรบั คำตอบที่ถูก และ 0 คะแนน สำหรบั คำตอบท่ีผดิ โดยตอ้ งผา่ นเกณฑ์ 80% ข้ึนไป 3.2 เปรยี บเทยี บความแตกต่างของค่าเฉล่ียคะแนนก่อนศกึ ษาและหลงั ศกึ ษาชดุ ฝึกอบรม 2 เล่มท่ี 4 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเขยี นตอบ

ชุดฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเคร่ืองมอื วดั และประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ วัตถุประสงค์ เมอ่ื ศกึ ษาชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเองชดุ นแี้ ลว้ ผู้ศกึ ษามคี วามรคู้ วามเขา้ ใจและสามารถสร้าง ขอ้ สอบแบบเขียนตอบได้ ขอบข่ายเนือ้ หา มีขอบข่ายของเนื้อหาดงั นี้ 1. ประเภทของแบบทดสอบเขยี นตอบ 2. การวเิ คราะห์มาตรฐานและตวั ชี้วัด 3. แนวคิดทฤษฎคี วามรูข้ องบลูม 4. การสร้างขอ้ สอบแบบเขยี นตอบ 5. การเขยี นเกณฑ์การให้คะแนน (Rubric) 6. ตวั อยา่ งขอ้ สอบแบบเขียนตอบ วิชาวิทยาศาสตร์ สาระสำคัญ การสร้างขอ้ สอบแบบเขียนตอบน้ัน สร้างให้ตรงกับสิ่งที่ต้องการจะวัดให้สอดคล้องกับมาตรฐานการ เรียนรู้ และตัวชี้วัดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 ซึ่งเป็นแบบทดสอบที่ผู้สอบ จะต้องเรียบเรียงแนวความคิดและความรู้ที่ได้เรียนมา เขียนบรรยายหรือแสดงความคิดเห็น ตลอดจนเรียบเรียงภาษาเป็นรูปประโยคให้เป็นข้อความที่ชัดเจน ข้อคำถามของแบบทดสอบแบบ เขียนตอบโดยท่ัวไปจะไม่จำกัดเสรีภาพของผู้ตอบ ซึ่งลักษณะของแบบทดสอบแบบเขียนตอบ ประกอบด้วย สถานการณ์ คำถามและเกณฑ์ 3 เล่มที่ 4 การสรา้ งข้อสอบแบบเขยี นตอบ

ชุดฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสร้างเครอื่ งมอื วดั และประเมินผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ แนวคดิ การพัฒนาครูโดยชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง ใช้แนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Construction Knowledge) ครูเป็นผู้ศึกษาเรียนรู้และลงมือทำกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Learning by Doing) ไม่มีวิทยากรบรรยายให้ความรู้ การปฏิบัติกิจกรรมเป็นไปตามขั้นตอนที่ ออกแบบไว้ เป็นขั้นตอนหลักของการสรา้ งองค์ความรู้ด้วยตนเอง ตามกระบวนการเรียนรูแ้ บบซิปปา (CIPPA MODEL) เริ่มจากการทบทวนความรู้เดิมในเรื่องที่จะเรียนรู้ การศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจาก ชุดฝึกอบรมแล้วนำความรู้เดิม ไปเชื่อมโยงกับความรู้ใหม่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ก่อนที่จะสรุปความรู้ ความเข้าใจของตนเอง เป็นทฤษฎีการเรียนรู้ทเ่ี นน้ ผู้ศึกษาเปน็ ผู้สร้างองค์ความรูด้ ว้ ยตนเอง ประสบการณใ์ หม่ / ความรูใ้ หม่ + ประสบการณเ์ ดมิ / ความรูเ้ ดิม = องคค์ วามร้ใู หม่ โดยเริ่มจากการทบทวนความรู้เดิมในเรื่องที่จะเรียนรู้ การศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ ต่าง ๆ นำความเข้าใจข้อมูลเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ก่อนที่จะสรุปองค์ ความรู้และทำความเขา้ ใจดว้ ยตนเอง 4 เลม่ ท่ี 4 การสร้างข้อสอบแบบเขยี นตอบ

ชุดฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสร้างเครือ่ งมอื วดั และประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ แบบทดสอบกอ่ นศึกษาชุดฝึกอบรม คำส่ัง ให้ท่านเลือกคำตอบทถี่ ูกตอ้ งท่ีสดุ เพยี งคำตอบเดยี ว 1. เพราะเหตุใดจงึ นยิ มออกขอ้ สอบแบบเขยี นตอบ 1.วัดความสามารถระดับการวเิ คราะหข์ ้นึ ไปได้ 2.ข้อสอบมคี วามเทยี่ งตรง 3. ตรวจง่ายและสะดวกรวดเร็ว 4. วดั ไดค้ รอบคลุมเนื้อหาทงั้ หมด 2. ตวั ชว้ี ดั ใดเหมาะทจ่ี ะวัดและประเมนิ ผลดว้ ยขอ้ สอบแบบเขยี นตอบ 1. ตระหนักถึงความสำคญั ของระบบย่อยอาหาร 2. สร้างแบบจำลองการหมนุ ของโลก 3. ปลูกฝกั ปลอดสารพิษได้ถกู ตอ้ งตามหลักวชิ าการ 4. ทดลองการแยกสารละลายของสารเนอ้ื ผสม3. 3. ขอ้ ใดคอื ความแตกต่างระหว่างขอ้ สอบเลือกตอบกับขอ้ สอบเขียนตอบที่ชดั เจนท่สี ุด 1. ความเป็นปรนยั ของขอ้ คำถาม 2. การกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน 3. ความครอบคลมุ ของเน้อื หาทีอ่ อกข้อสอบ 4. สถานการณท์ ใี่ ชเ้ ป็นข้อมูลในการตอบคำถาม 4. ขอ้ ใดไม่ใช่ องค์ประกอบสำคัญของขอ้ สอบเขียนตอบ 1. สถานการณท์ เ่ี ป็นขอ้ มลู 2. ประเด็นคำถาม 3. ตวั เลือกและตวั ลวง 4. เกณฑ์การใหค้ ะแนน 5. ขัน้ ตอนแรกของสรา้ งเครือ่ งมือแบบเขยี นตอบคือขอ้ ใด 1. การกำหนดเกณฑ์การประเมินคุณภาพ 2. วิเคราะหม์ าตรฐานและตวั ชีว้ ัดตามหลักสตู ร 3. เลอื กวิธกี ารวดั และประเมินผล 4. เลอื กรปู แบบของขอ้ สอบ 5 เล่มที่ 4 การสรา้ งข้อสอบแบบเขียนตอบ

ชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเคร่อื งมอื วดั และประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ 6. ขอ้ ใดกล่าวไม่ถูกต้องเกย่ี วกบั ข้อสอบเขียนตอบ 1. มีเน้ือหาและคำตอบท่ีชดั เจนตายตวั 2. สามารถวดั พฤตกิ รรมระดับการประเมนิ คา่ ไดเ้ ปน็ อย่างดี 3. สามารถวดั ไดใ้ นทกุ ระดบั พฤติกรรมทางสตปิ ัญญาของบลูม 4. สามารถวัดระดบั พฤตกิ รรมทเ่ี ปน็ การคดิ ขั้นสูง ได้ 7. ตัวชีว้ ดั ใด ไมเ่ หมาะ ทจี่ ะวดั และประเมนิ ผลด้วยแบบทดสอบแบบเขียนตอบ 1. ออกแบบการทดลองเร่อื งแรงดันอากาศ 2. บอกความแตกตา่ งระหว่างของแข็ง ของเหลวและแกส๊ 3. จงวดั ปรมิ าตรของสารลาย A ในบีกเกอรข์ นาด 250 ml 4. อธบิ ายการเคล่ือนทขี่ องอนุภาคมวลสาร 8. นกั เรยี นเขยี นขน้ั ตอนการวางแผนการแกป้ ญั หา อยู่ในระดับพฤติกรรมดา้ นใดของทฤษฎบี ลมู 1. การประเมนิ คา่ 2. การคดิ วิเคราะห์ 3. การสังเคราะห์ 4. การคดิ สรา้ งสรรค์ 9. ข้อดีของข้อสอบแบบเขียนตอบ ได้แก่ข้อใด 1. สามารถวัดพฤตกิ รรมขัน้ สูง 2. ใชเ้ วลาในการสอบไมม่ าก 3. ตรวจให้คะแนนไดง้ ่าย 4. วัดไดค้ รอบคลมุ เนอ้ื หา 10. การออกขอ้ สอบแบบเขยี นตอบ เมอื่ ตอ้ งการวัดสิ่งใด 1. ใครฉลาดกว่ากนั 2. ใครมคี วามคิดริเร่ิมดี 3. ใครคล่องกว่ากนั 4. ใครมคี วามรคู้ วามจำดี 6 เลม่ ที่ 4 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเขียนตอบ

ชุดฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเครื่องมือวดั และประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ ใบความรู้ที่ 1 ประเภทของแบบทดสอบเขยี นตอบ แบบทดสอบแบบเขียนตอบ หมายถึง แบบทดสอบที่ผู้สอบ ต้องเขียนเรียบเรียงความคิดและความรู้ให้สอดคล้องกับคำถาม เขียน บรรยายหรือแสดงความคิดเห็น จากความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับมา (สำนักทดสอบทาง การศึกษา, 2561) ใช้วดั ความสามารถในการบรรยาย อธิบายและแสดงเหตุผลตามความคดิ อาจ จำกัดความยาวหรือไม่ก็ได้ (ล้วน สายยศและอังคณา สายศ, 2543) ลักษณะของแบบทดสอบ เขียนตอบนี้ อาจจะเป็นโจทย์หรือคำถามที่กำหนดสถานการณ์ หรือปัญหาอย่างกว้างๆ หรือ เฉพาะเจาะจง โดยจดุ มุ่งหมายของการใชแ้ บบทดสอบแบบเขียนตอบ มดี งั นี้ 1.1 ต้องการให้ผู้เข้าสอบแสดงความสามารถด้านความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) และ บรรยายความคิดออกมาได้อย่างเป็นอิสระ และต้องคำนึงถึงความสามารถทักษะการเขียนของ นักเรยี นดว้ ย 1.2 ต้องการเน้นการวัดความรู้ขั้นลึกซึ้ง เช่น ความสามารถในการสังเคราะห์หรือ ตอ้ งการวัดความเขา้ ใจในเนือ้ หาที่เรียนมาทัง้ หมด 1.ประเภทของแบบทดสอบเขยี นตอบ แบบทดสอบแบบเขียนตอบเป็นแบบทดสอบประเภทเสนอคําตอบ ซึ่งผู้สอบจะต้องอ่าน คําถาม และเขียนคําตอบด้วยตนเอง ซึ่งอาจเป็นการเรียบเรียงคําตอบ แบบความเรียง ตอบสั้นหรือ เติมคําตอบ แบบทดสอบแบบเขียนตอบ จําแนกออกเป็น 2 ประเภท (ศิริชัย กาญจนวาสี, 2552; เยา วดี วิบูลย์ศรี, 2548; บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธ์ิ, 2535) คือแบบทดสอบแบบเขียนตอบ แบบจํากัด คําตอบ (essay restricted response) และแบบทดสอบแบบเขียนตอบ แบบไม่จำกัดคาํ ตอบ (essay extended response) ดังน้ี 7 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งข้อสอบแบบเขยี นตอบ

ชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเครอ่ื งมือวดั และประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ 1. แบบจํากัดคําตอบ เป็นแบบทดสอบเขียนตอบที่มกี ารจํากัดกรอบของ เนอ้ี หา(content) หรอื รปู แบบ (form) ของแนวทางคําตอบ และความยาวของคําตอบ กำหนดขอบเขตของประเด็นใหผู้ตอบทำการตอบใน เนอ้ื หาท่ีแคบและสั้น ขอดคี อื สามารถใชวัดความรคู วามสามารถที่เฉพาะเจาะจงไดค้ รอบคลุม 2. แบบไมจ่ ํากดั คําตอบ เป็นแบบทดสอบเขียนตอบที่เปิดโอกาสให ผู้ตอบไดแ้ สดงความสามารถในความรู ความคดิ คิดเห็น และเรียบเรียงผสมผสานออกมาเป็นคำตอบตามความคิดและเหตุผลของตน โดยไม่จํากัด ขอบเขตของคําตอบ แต่ภายใตเวลาท่ีจํากัด จึงสามารถใชวัดความสามารถระดับการวิเคราะห์การ สงั เคราะหแ์ ละการประเมนิ ผลได้อยา่ งดี ขอดีคือ สามารถใชวัดผลการเรียนรูที่ซับซ้อน สามารถสร้างได้ง่าย แต่มีปญหาในการ ควบคุมทิศทางการตอบของผู้สอบและการตรวจใหคะแนน สำนักทดสอบทางการศกึ ษา (2561) ได้จำแนกประเภทของแบบทดสอบแบบเขียนตอบดงั นี้ 1. แบบทดสอบแบบไม่จำกัดคำตอบหรือตอบอย่างอิสระ(Unrestricted Response) เป็น แบบทดสอบที่ไม่จำกัดคำตอบ เป็นแบบทดสอบที่เปิดโอกาสให้ผู้ตอบแสดงความคิดเห็น อธิบาย บรรยาย อภิปรายได้อย่างเตม็ ที่ ขอดีคือ สามารถใช้วัดความสามารถระดับการวิเคราะห์ การสังเคราะห์และการประเมินผล ได้เป็นอย่างดี จึงมักใช้กับผู้เรียนในระดับชั้นสูง ลักษณะคำถามมักมีคำว่า “จงอธิบาย อภิปราย เปรียบเทียบ วิเคราะห์ สรุปประเด็นสำคัญ แสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ประเมินผล วางแผน ออกแบบการทดลอง แนวทางแก้ปญั หา” เป็นต้น เช่น จากการศึกษาข้อมลู เกย่ี วกับดินเค็มของสถานีวจิ ัยดินเค็มเพ่ือการพัฒนาและ ส่งเสรมิ ให้เกษตรกรปลูกพืชที่เหมาะสมกับสภาพดนิ ได้อย่างยัง่ ยืน ไดข้ ้อมูลดงั น้ี ระดบั ความเคม็ ปริมาณเกลอื ในดนิ (%) ชนดิ ของพืชผักสวนครัวทปี่ ลูกได้ นอ้ ย 0.12 -0.25 ผกั กาด, ถ่วั ฝักยาว, แตงกวา 0.26 -0.50 ผกั ช,ี บวบ, หอมใหญ่ ปานกลาง 0.51 -1.00 คะน้า, ผักบงุ้ จนี , กะหลำ่ ปลี เคม็ จดั 8 เลม่ ที่ 4 การสรา้ งข้อสอบแบบเขียนตอบ

ชดุ ฝึกอบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเคร่อื งมือวดั และประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ นิดมบี า้ นอยูใ่ นภาคกลาง เมอื่ ตรวจสอบสภาพของดนิ บริเวณบา้ น พบว่า มีปรมิ าณเกลอื ในดนิ 0.68% แต่ครอบครวั ของนดิ ต้องการปลูกผักชี ซึง่ กำลังเปน็ ท่ตี ้องการของตลาดและเปน็ ผกั ท่โี ต เร็ว ขายไดร้ าคาดี คำถาม นิดตอ้ งวางแผนเตรยี มดินใหเ้ หมาะแก่การปลกู ผกั ชอี ยา่ งไร พรอ้ มใหเ้ หตุผลประกอบ ............................................................................................................................................................ 2. แบบทดสอบแบบจำกัดคำตอบหรือตอบแบบสั้น (Restricted Response or Shot Essay Item) เป็นแบบทดสอบที่จำกัดกรอบของเนื้อหาหรือรูปแบบของแนวทางคำตอบ และกำหนด ขอบเขตของประเด็นให้ตอบในเนอื้ หาที่แคบลงและสั้นกวา่ แบบทดสอบที่ไมจ่ ำกัดความยาว ข้อดีคือ ใช้วัดความรู้ความสามารถที่เฉพาะเจาะจงได้ดีกว่าแบบทดสอบแบบไม่จำกัดความยาว ซึ่งเหมาะท่ีจะวดั ผลการเรยี นที่สำคญั โดยที่ผสู้ อบจะต้องเลือกความรทู้ ่ดี ที ่ีสุดสำหรับ คำถามนั้น ๆ ลักษณะคำตอบมักอยู่ในรูป “จงอธิบายสั้นๆ จงบอกประโยชน์ จงอธิบายสาเหตุ หรอื จงบอกข้นั ตอน” แต่แบบทดสอบนีไ้ มไ่ ดเ้ ปิดโอกาสให้ผ้ตู อบไดแ้ สดงความรู้ ความสามารถอยา่ งเตม็ ท่ี ตัวอย่างเช่น สภาพแวดล้อมของสิ่งมีชีวิตแห่งหนึ่ง ประกอบด้วย ต้นข้าว หนอน งู ตั๊กแตน หนู นา ซง่ึ อาศัยอยรู่ ว่ มกนั 1. หว่ งโซ่อาหารของส่งิ มชี วี ติ ดงั สถานการณด์ งั กลา่ ว เปน็ อย่างไร 2. สายใยอาหารของส่ิงมีชีวิตกลุ่มนี้ กำหนดได้เป็นอยา่ งไร 3. สิ่งมีชีวิตชนิดใดในสภาพแวดล้อมแห่งนี้จัดเป็นผู้ผลิต ผู้บริโภค ผู้ล่า เหยื่อ และเป็นทั้งผู้ล่า และเหย่อื NRC (2012) โดยศูนย์ PISA สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้กำหนด รูปแบบของข้อคำถามจะมีสถานการณ์ที่ใช้เป็นข้อมูลในการตอบคำถามและมีคำถามให้ผู้เข้าสอบ พิจารณา และนำเสนอคำตอบใน 3 แบบ ได้แก่ 3.2.1 แบบสรา้ งคำตอบแบบปดิ มลี กั ษณะเปน็ ข้อสอบท่ีมีขอ้ คำถามแล้วใหผ้ ูเ้ ขา้ สอบ เขียนคำตอบที่เป็นคำตอบถูกต้องที่มีลักษณะเฉพาะและชัดเจน เช่น คำถาม การเปลี่ยนแปลงสถานะ ของสาร มีกี่สถานะ อะไรบา้ ง 3.2.2 แบบเขียนตอบสั้นๆมีลักษณะเป็นข้อสอบที่มีข้อคำถาม และให้ผู้เข้าสอบเขียน คำตอบสั้น ๆ ในที่ว่างที่เตรียมไว้ในแบบทดสอบ ซึ่งอาจเขียนคำตอบเป็นตัวหนังสือ วาดภาพ และ/ หรอื เขียนตัวเลข เช่น คำถาม หนว่ ยทเ่ี ลก็ ทีส่ ุดของสิ่งมีชวี ิตเรียกว่า....... 3.2.3 แบบสร้างคำตอบแบบอิสระ มีลักษณะเป็นข้อสอบที่มีข้อคำถามแล้วให้ผู้เข้า สอบอธิบายคำตอบหรือให้เหตุผลประกอบคำตอบที่แสดงความเข้าใจที่มีต่อคำถาม ผู้เข้าสอบควร เขียนคำตอบในเส้นบรรทัดที่กำหนดไว้ให้ จำนวนเส้นบรรทัดจะเป็นตัวบอกความยาวอย่างคร่าว ๆ ที่ ควรเขียนตอบ ดังนั้น เมื่อพิจารณาลักษณะของข้อสอบที่ใช้ทดสอบในการทดสอบทั่วไปและการทดสอบ ในระดับนานาชาติมคี วามคล้ายคลึงซ่ึงสามารถสรุปไดด้ งั ตารางต่อไปนี้ 9 เล่มที่ 4 การสรา้ งข้อสอบแบบเขยี นตอบ

ชดุ ฝึกอบรมด้วยตนเอง การสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผล วิชาวิทยาศาสตร์ ข้อสอบที่ใช้ในการทดสอบโดยทว่ั ไป ขอ้ สอบทีใ่ ชใ้ นการทดสอบในระดบั นานาชาติ (PISA) 1. แบบจำกดั คำตอบ 1. แบบสร้างคำตอบแบบปดิ 2. แบบไม่จำกดั คำตอบหรือตอบอย่าง 2. แบบเขยี นตอบสน้ั ๆ อสิ ระ 3. แบบสร้างคำตอบแบบอสิ ระ ดังนั้นสรุปได้ว่า แบบทดสอบแบบเขียนตอบ เป็นแบบทดสอบแบบเขียนความเรียง เขียน ตอบสนั้ หรือเตมิ คําตอบ เขยี นบรรยายหรือแสดงความคิดเห็นลงไปได้ มี 2 แบบคอื แบบเขยี นตอบสั้น มีลักษณะที่ผู้ตอบสามารถเขียนตอบได้แบบจำกัดข้อความ และแบบเขียนตอบอย่างอิสระมีลักษณะที่ ผ้ตู อบเขยี นบรรยาย อภปิ ราย แสดงความคดิ เหน็ ไดอ้ ย่างเตม็ ท่ี 2. ขอ้ ดแี ละข้อจำกดั ของแบบทดสอบแบบเขยี นตอบ ขอ้ ดี ขอ้ จำกดั 1. สามารถวัดพฤติกรรม ด้านการคิดวิเคราะห์ 1. การวดั ไมค่ รอบคลมุ เน้ือหาทงั้ หมด เนอ่ื งจาก สังเคราะห์ การประเมินค่า และแสดงความคิด จำนวนขอ้ มจี ำกัด เป็นการยากทจี่ ะสุ่มเน้ือหาให้ สรางสรรคได้เปน็ อยา่ งดี ครอบคลุมความรูท้ ีต่ ้องการจะวดั ได้ครบถ้วน 2. ผู้ตอบมีโอกาสใช้ความรู้แสดงความคิดเห็น 2. การตรวจให้คะแนนยาก ไมม่ คี วามคงที และความสามารถในการใชภ้ าษา มักมีความคลาดเคลื่อนมาก และควบคุมให้เกิด 3. ผู้ตอบที่ไม่มีความรู้ในเรื่องนั้น สามารถปอง ความยตุ ิธรรมได้ยาก กันการเดาไดดี จะช่วยลดความคาดเคลื่อนใน 3.ไม่เหมาะที่จะใช้กับผู้สอบจำนวนมาก ๆ การวัดไดเ้ ปน็ อยา่ งดี เพราะใช้เวลาในการตรวจ 4. สร้างได้ง่ายและประหยัดค่าใชจ้ า่ ย 4. ลายมอื ของผตู้ อบและความสามารถใน 5. ช่วยตรวจสอบความรู้พื้นฐานของผู้เรียนได้ การถ่ายทอดความคดิ อาจจะมีผลตอ่ คะแนน เป็นอย่างดี 5. มีความเชื่อมัน่ ตำ่ และมักขาดความเท่ียงธรรม 6.เขียนไมค่ รอบคลุมเน้อื หา ตอ่ ไป..ทำใบกิจกรรมกันดีกว่าค่ะ 10 เล่มท่ี 4 การสรา้ งข้อสอบแบบเขยี นตอบ

ชุดฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเครือ่ งมอื วัดและประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ ใบกจิ กรรมท่ี 1 คำชีแ้ จง จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. แบบทดสอบแบบไม่จำกัดคำตอบและแบบทดสอบแบบจำกดั คำตอบ แตกต่างกนั อย่างไร จงยกตวั อย่าง ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 2. เพราะเหตใุ ด การสรา้ งแบบทดสอบแบบเขียนตอบจึงสามารถวัดได้ในระดับพฤตกิ รรมของบลมู ขัน้ การวเิ คราะห์ใช้ขน้ึ ไป ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 3. ข้อสอบแบบเขียนตอบมขี อ้ ดีและขอ้ เสยี อย่างไร ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ...ไม่ยากใช่ไหมคะ...งัน้ ทำ ใบกจิ กรรมตอ่ ไปกนั เลยคะ่ 11 เล่มที่ 4 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเขียนตอบ

ชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเคร่ืองมอื วัดและประเมินผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ ใบความรูท้ ่ี 2 การวเิ คราะห์มาตรฐานและตวั ช้วี ดั ปัจจุบันการวัดและประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ยึดมาตรฐานและตัวชี้วัดในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์เป็นกรอบในการสร้างเครื่องวดั และประเมนิ ผลสมั ฤทธิผ์ ู้เรยี น จำแนกออกไดเ้ ป็น 3 กลุ่ม พฤติกรรม ไดแ้ ก่ 1) พฤติกรรมด้านความรู้ (Knowledge: K) เป็นพฤติกรรมทางสตปิ ัญญาของมนุษย์โดยผ่าน กระบวนการทำงานของสมอง ความรู้ที่เป็นข้อเท็จจริง ความคิดรวบยอด วิธีและกระบวนการการ และกระบวนการความคดิ ของตนเอง (อภปิ ญั ญา) 2) พฤติกรรมด้านทักษะกระบวนการ (Process & skill: P) เป็นพฤติกรรมที่เกิดจากการท่ี อวัยวะของรา่ งการหลายสว่ นทำงานรว่ มกันอยา่ งแคล่วคลอ่ งและเป็นระบบ 3) พฤติกรรมด้านคุณลักษณะ (Attribute: A) เป็นพฤติกรรมที่เป็นค่านิยม เจตคติ และ คณุ ลักษณะเชิงคุณธรรมและจรยิ ธรรมที่แฝงอย่ภู ายในไม่สามารถตรวจสอบไดโ้ ดยตรง ดังนั้น ครูจะต้องออกแบบการเรียนรู้และการวัดและประเมินผลให้สอดคล้องกับมาตรฐาน และตัวชี้วัดของหลักสูตรฯ ที่เป็นเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการวัดและ ประเมินผลคุณภาพผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ครูผู้สอนจะต้องเลือกใช้ วธิ กี ารวัดและประเมนิ ผลทีส่ อดคล้องกบั พฤตกิ รรมของตัวชว้ี ัด วิธีการวัดและประเมนิ ผลผู้เรยี น ความร้คู วามสามารถทางสมอง องคค์ วามร้ตู ามตัวช้ีวดั (Knowledge) ทกั ษะกระบวนการ ข้นั ตอน/ วิธีการ/หลักการ/ (Process Skill) กระบวนการตามตัวชว้ี ัด คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ พฤติกรรมทแ่ี สดงออกตามตัวชี้วัด (Attribute) ภาพ วิธกี ารวดั และประเมนิ ผล 12 เลม่ ที่ 4 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเขยี นตอบ

ชดุ ฝึกอบรมด้วยตนเอง การสร้างเครอื่ งมอื วัดและประเมินผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ 1. ดา้ นความรู้ (Knowledge: K) 1.การจำ ความสามารถ (Remembering) ในการระลึกได้ 2.การเขา้ ใจ ความสามารถใน (Understanding)) การแปลความหมาย 3.การประยกุ ต์ใช้ ความสามารถใน (Applying) การนำไปใชใ้ น สถานการณ์ใหม่ 4. การวิเคราะห์ (Analyzing) ความสามารถใน การแยกความรู้เปน็ 5) การประเมนิ คา่ ส่วนๆ (Evaluating) ความสามารถใน การตัดสนิ ตีค่า เปรยี บเทยี บผล 6) การคิดสร้างสรรค์ ความสามารถในการออกแบบ (Creating) การสร้างผลผลติ ท่ีไม่เหมือนใคร ภาพ พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ด้านความรู้ ตามแนวคิดของบลมู 13 เลม่ ที่ 4 การสร้างข้อสอบแบบเขยี นตอบ

ชุดฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสร้างเครื่องมอื วัดและประเมินผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ 2.ดา้ นกระบวนการและทักษะ ทกั ษะการส่ือสาร (Process and Skill: P) ทกั ษะการฟัง การพดู การอ่านและการเขยี น ทกั ษะและ กระบวนการทำงาน การกำหนดและควบคุมตัวแปร การคำนวณ ทักษะและกระบวน ความสมารถในการแกป้ ญั หา การจัดทำและสื่อความหมายข้อมูล การจำแนก การคณติ ศาสตร์ การใหเ้ หตผุ ล การสื่อสาร การตั้งสมมติฐาน การตีความหมายข้อมูล สอ่ื ความหมาย นำเสนอ การทดลอง การกำหนดนิยามเชิงปฏิบตั ิ กระบวนการทาง การพยากรณ์ การลงความเห็นข้อมูล การวัด วิทยาศาสตร์ การตัง้ ประเดน็ ท่ีจะศกึ ษา การสังเกต การหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติ สืบค้นและรวบรวมข้อมูล กับมิตแิ ละมิตกิ ับเวลา กระบวนการวิธีการ การวิเคราะหแ์ ละตีความ ทางประวัตศิ าสตร์ ข้อมลู ทางประวตั ศิ าสตร์ การทำความเข้าใจปญั หา วางแผน การคัดเลือกและประเมนิ ออกแบบแก้ปญั หา ดำเนนิ การตาม กระบวนการคิด ข้อมลู การเรียบเรียง รายงาน แผน สรุปและตรวจสอบการ แกป้ ญั หา ข้อเทจ็ จรงิ ทางประวตั ศิ าสตร์ แก้ปัญหา ทกั ษะการปฏิบตั ิงาน การเขา้ ใจและใช้ระบบ การวิเคราะห์งาน การวางแผน เทคโนโลยี เลือกและใช้ การทำงาน ลงมือทำงาน ทักษะการใช้ โปรแกรม ประยุกต์อย่าง ประเมินผลการทำงาน เทคโนโลยี เหมาะสม ภาพ พฤติกรรมการเรียนรู้ดา้ นกระบวนการและทกั ษะ ตามแนวคดิ ของบลูม 14 เล่มที่ 4 การสรา้ งข้อสอบแบบเขยี นตอบ

ชุดฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเคร่อื งมือวัดและประเมินผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ คนดี 3.ดา้ นคณุ ลักษณะ คนมีความสขุ (Attribute: A) คนที่ปฏบิ ตั ิตนอยูบ่ น คนท่มี ีสขุ ภาพรา่ งกาย พน้ื ฐานความถกู ต้อง คนเก่ง แข็งแรงและสุขภาพจิตดี เหมาะสม มีคุณภาพ มี คนท่ีมสี มรรถนะและ จิตใจเขม้ แขง็ จิตใจที่ดีงาม มี สมรรถภาพสงู ใน มีมนุษยสมั พันธ์ท่ีดี คุณธรรมจริยธรรม สามารถดำรงชีวิตได้ มีคณุ ลกั ษณะอนั พงึ การดำเนินชวี ิต โดยมี อยา่ งพอเพียงตาม ประสงค์ท้งั ด้าน ความสามารถพเิ ศษ พฤตกิ รรม และจิตใจ อัตภาพ รอบดา้ น ภาพ พฤติกรรมการเรียนรดู้ า้ นคุณลกั ษณะ ตามแนวคิดของบลมู มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชวี้ ดั มาตรฐานและตัวชี้วดั ของหลกั สูตร ตวั ชว้ี ัด 1 มาตรฐาน 1 ตวั ชวี้ ัด 2 ความรู้ (Knowledge) หลกั สตู ร มาตรฐาน 2 ตัวช้วี ัด 3 ทกั ษะกระบวนการ(Process & Skill) มาตรฐาน 3 ตัวช้วี ัด 4 คุณลักษณะ (Attribute) ภาพ มาตรฐานตัวชว้ี ัดและหลกั สตู ร 15 เล่มที่ 4 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเขยี นตอบ

ชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเครอ่ื งมือวดั และประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ องคป์ ระกอบของตัวช้ีวัด 1. ตวั ชว้ี ดั ว1.2 ป 6/2 บอก แนวทางในการเลือกรับประทานอาหารใหไ้ ดส้ ารอาหารครบถ้วน ในสัดส่วนท่เี หมาะสมกบั เพศและวัย รวมท้งั ความปลอดภยั ตอ่ สุขภาพ คำสำคัญ (key word) หรือ พฤติกรรมทตี่ ้องการแสดง สถานการณ์ หรือ บริบทเนื้อหา 2. ตัวช้ีวดั ว2.2 ป 6/1 อธิบาย การเกิดเงามืดเงามวั จากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ สถานการณ์ หรือ บรบิ ทเน้ือหา คำสำคัญ (key word) หรอื พฤตกิ รรมที่ต้องการแสดง ภาพ องคป์ ระกอบของตัวชีว้ ดั 4.2 ตวั อยา่ ง มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองคป์ ระกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกิด และวิวฒั นาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และ ระบบสุริยะ รวมทั้งปฏสิ มั พนั ธภ์ ายในระบบสรุ ิยะที่สง่ ผลต่อส่งิ มีชีวิตและการ ประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยี อวกาศ ตวั ชวี้ ดั ว3.2 ป 6/1 เปรียบเทียบ กระบวนการเกดิ หินอัคนี หินตะกอน และหนิ แปร และ อธบิ าย วัฏจกั รหนิ จากแบบจำลอง Knowledge ตัวชวี้ ดั ว3.2 ป 6/3 สรา้ ง แบบจำลองที่อธบิ ายการเกดิ ซากดึกดำบรรพ์และ คาดคะเน สภาพแวดล้อมในอดีตของซากดกึ ดำบรรพ์ Process & Skill Knowledge 16 เลม่ ท่ี 4 การสร้างขอ้ สอบแบบเขยี นตอบ

ชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสร้างเคร่ืองมอื วัดและประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ ตวั ชวี้ ดั ว4.2 ป 6/1 ใชเ้ หตผุ ล เชิงตรรกะในการอธิบายและ ออกแบบ วธิ ีการแกป้ ญั หาทพี่ บใน ชวี ติ ประจำวัน Knowledge Process & Skill ตัวชว้ี ดั ว4.2 ป 6/2 ออกแบบ และ เขียนโปรแกรม อยา่ งงา่ ยเพอ่ื แก้ปัญหาในชีวติ ประจำวัน ตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรมและแก้ไข Process & Skill 17 เล่มที่ 4 การสรา้ งข้อสอบแบบเขียนตอบ

ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสร้างเครือ่ งมือวัดและประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ ใบกจิ กรรมท่ี 2 คำชีแ้ จง จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. ให้ทา่ นระบพุ ฤตกิ รรมที่ปรากฏในตวั ช้ีวัด และประเภทของพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ 5 ตัวชว้ี ดั ที่ นกั เรยี นแสดงออก หรอื คำสำคญั (key word) รหสั ตวั ชี้วดั ตัวชีว้ ัด คำสำคญั ประเภทของพฤตกิ รรม การเรียนรู้ KA P 1.ว3.2 ป 6/5 อธิบายผลของมรสุมต่อการเกิด 2.ว3.2 ป 6/6 ฤดขู องประเทศไทย จากขอ้ มูลท่ี 3.ว3.2 ป 6/7 รวบรวมได้ บรรยายลกั ษณะและผลกระทบ 4.ว3.2 ป 6/8 ของน้ำทว่ ม การกดั เซาะชายฝ่งั 5.ว3.2 ป 6/9 ดินถล่ม แผ่นดนิ ไหว สนึ ามิ ตระหนกั ถงึ ผลกระทบของภยั ธรรมชาติและธรณพี ิบัตภิ ยั โดย นำเสนอแนวทางในการเฝ้าระวัง และปฏบิ ตั ติ นใหป้ ลอดภยั จาก ภัยธรรมชาติและธรณีพิบัตภิ ัยท่ี อาจเกิดในท้องถิ่น สรา้ งแบบจำลองทอี่ ธิบายการ เกดิ ปรากฏการณ์เรอื นกระจก และผลของปรากฏการณ์เรอื น กระจกต่อสิ่งมีชีวติ ตระหนกั ถึงผลกระทบของ ปรากฏการณ์เรอื นกระจกโดย นำเสนอแนวทาง การปฏิบัตติ น เพ่อื ลดกจิ กรรมที่กอ่ ใหเ้ กดิ แกส๊ เรอื นกระจก 18 เล่มที่ 4 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเขยี นตอบ

ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสร้างเครื่องมือวัดและประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ 2. คัดเลอื กพฤติกรรมการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ เพอ่ื ระบลุ ำดบั ขน้ั พฤตกิ รรมตามทฤษฏคี วามรู้ ของบลูม และประเภทของขอ้ สอบเขียนตอบตามแนวทางการทดสอบทั่วไป 5 ตวั ช้ีวดั ตวั ชี้วัด ลำดับขั้นพฤตกิ รรม ประเภทของขอ้ สอบเขียนตอบ ตามทฤษฎคี วามรู้ของบลมู 1.ว3.2 ป 6/5 อธิบายผลของมรสุมต่อ ตอบส้นั / ตอบอิสระ/ การเกดิ ฤดขู องประเทศไทย จากขอ้ มูล จำกดั คำตอบ ไมจ่ ำกดั คำตอบ ที่รวบรวมได้ 2.ว3.2 ป 6/6 บรรยายลกั ษณะและ ผลกระทบของนำ้ ทว่ ม การกดั เซาะ ชายฝงั่ ดินถล่ม แผ่นดนิ ไหว สึนามิ 3.ว3.2 ป 6/7 ตระหนักถงึ ผลกระทบ ของภัยธรรมชาติและธรณีพิบัตภิ ยั โดย นำเสนอแนวทางในการเฝ้าระวงั และ ปฏิบัตติ นให้ปลอดภัยจากภยั ธรรมชาติ และธรณีพิบัติภัยทอ่ี าจเกิดในท้องถิน่ 4.ว3.2 ป 6/8 สร้างแบบจำลองที่ อธิบายการเกิดปรากฏการณ์เรอื น กระจกและผลของปรากฏการณเ์ รอื น กระจกต่อส่ิงมชี วี ิต 5.ว3.2 ป 6/9 ตระหนักถึงผลกระทบ ของปรากฏการณ์เรือนกระจกโดย นำเสนอแนวทาง การปฏบิ ัตติ นเพอื่ ลด กจิ กรรมทกี่ อ่ ให้เกิดแก๊สเรือนกระจก ใหท้ า่ นศกึ ษาใบความรู้ถัดไปเลยคะ่ .... 19 เล่มที่ 4 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเขยี นตอบ

ชดุ ฝึกอบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเครอื่ งมือวดั และประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ ใบความรูท้ ่ี 3 แนวคดิ ทฤษฎคี วามรูข้ องบลมู 1. พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ตามแนวคดิ ทฤษฎคี วามรู้ของบลูม (Bloom Taxonomy’s Revised) พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านความรู้ ตามแนวคิดของบลูม (Bloom Taxonomy’s Revised) เป็น พื้นฐานในการศึกษาพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน (Bloom,1957) ปัจจุบันพฤติกรรมการเรียนรู้ มีการปรับปรุงใหม่ โดย Anderson and Krathwohl และคณะ (Anderson and Krathwohl , 2001) ได้ปรับปรุงกลุ่มพฤติกรรมขึ้นมาใหม่และสะท้อนผลงานในศตวรรษท่ี 21 แสดงรูปภาพ ที่เป็นตัวแทนของคำกริยาใหม่ที่มีความเกี่ยวเนื่องกับ Bloom’s Taxonomy ที่เราคุ้นเคยมานาน โดยการปรับปรุงลำดับขั้นทางสติปัญญาของบลูมที่ได้เสนอไว้ คือ เปลี่ยนชื่อที่เรียกในแต่ละระดับ ความรู้ ความคิด จากคำนามเป็นกิริยาเพื่อสะท้อนความเป็นกระบวนการของสมองหรือสติปัญญา ทีช่ ่วยให้มนุษยเ์ กดิ ความรู้ แสดงดังภาพประกอบดงั นี้ ภาพประกอบ: ระดบั พฤติกรรมทางสมองของบลูม ตามแนวคิดเดิมและทป่ี รบั ปรุงใหม่ (สำนกั ทดสอบ ทางการศึกษา, 2560) 20 เล่มที่ 4 การสรา้ งข้อสอบแบบเขยี นตอบ

ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง การสร้างเคร่ืองมือวดั และประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ ภาพประกอบ: ระดับพฤตกิ รรมทางสมองของบลมู ตามแนวคิดเดิมและทีป่ รบั ปรงุ ใหม่ (สำนักทดสอบ ทางการศกึ ษา, 2561) กระบวนการทางปัญญา เปน็ พฤตกิ รรมที่เกย่ี วกบั สติปัญญาดา้ นความรู้ ความสามารถใน การคิด เรื่องราวต่าง ๆ และการใช้สติปัญญาของมนุษย์โดยผ่านกระบวนการทางสมอง ซึ่งประกอบด้วย ความรู้ที่เป็นข้อเท็จจริง ความรู้ที่เป็นความคิดรวบยอด ความรู้เกี่ยวกับวิธีและกระบวนการการ และ ความรู้ที่เกี่ยวกับทักษะหรือกระบวนการความคิดของตนเอง (อภิปัญญา) โดยด้านความรู้ส่วนใหญ่จะ ยึดตามแนวคดิ ทฤษฎที างความรู้ของบลูม (Bloom Taxonomy) ซ่งึ สามารถอธบิ ายได้ดังนี้ 21 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเขียนตอบ

การจำ หมายถึง ความสามารถในการระลึกได้ การจำไดถ้ ึง การจ ข้อมูลสารสนเทศ เหตุการณ์ ที่เก็บไว้ในสมอง เช่น ความรู้ด้านเน้ือหา ศัพท์ นิยาม ความรู้เกี่ยวกับความจริง ข้อเท็จจริง ความรู้เกี่ยวกับวิธีดำเนินการ การจัดระบบ วิธีการแสวงหาความรู้และลำดับขั้นตอน เช่นความรู้ เกี่ยวกับประเพณี วัฒนธรรม ธรรมเนียม ลำดับขั้นตอน เรื่องใดเรื่องหนึ่ง เกณฑ์ต่าง ๆ ความคิดรวบยอด หลัก วชิ าการทฤษฎี เปน็ ต้น พฤตกิ รรม สตั ว์นำ้ ชนิดใดบ้า ร้จู ัก จำได้ นกั เรยี นเขยี นราย จัดทำรายการ การเปลยี่ นแปลง อธบิ าย นกั เรยี นระบปุ ระ การระบุ สัตวน์ ำ้ แตกตา่ งก บอกความแตกตา่ ง ภาพ ตัวอยา่ งระดับพฤติกร

ชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเคร่ืองมือวัดและประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ จำ (Remembering) พฤติกรรมที่บ่งช้ี ได้แก่ นักเรียนสามารถใน การจำได้ บอก/ระบุชื่อได้ บงชี้ บรรยาย เลือก การแสดงรายการได้ การบอกตำแหน่ง การให้สัญลักษณ์ ยกตัวอย่าง บอก ความสัมพันธ์ การจัดกลุ่ม คัดเลือก อธิบายใต้ รูปภาพ เรียงลำดับ จับคู่ บันทึกข้อมูล ทบทวน อ้างองิ เรียงลำดบั เป็นต้น ตวั อย่างคำถาม างออกลกู เป็นตวั ยการสารทน่ี ำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั งสถานะของสารเกิดข้นึ ไดอ้ ย่างไรจงอธิบาย ะเภทของใบเลีย้ งเดย่ี วและใบเลย้ี งคมู่ าทง้ั หมด กับสตั วบ์ กอย่างไรบา้ ง รรมทางสตปิ ัญญาของบลูมข้ันการจำ 22 เล่มท่ี 4 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเขียนตอบ

การเขา้ ใจ หมายถงึ ความสามารถทาง สมองในการแปลความหมาย การสรา้ ง ความหมาย สรา้ งความร้จู ากสือ่ หรอื เคร่อื งมอื ทางการศกึ ษาด้วยตนเอง การเข้าใจ (Understa พฤติกรรม จากขอ้ ความเรื่องภัยธรรม การสรปุ ความ จงอธิบายกราฟ ปริมาณอ การแปลความหมาย จงวาดรปู ระบบยอ่ ยอาหาร จงเปรยี บเทียบการเจรญิ เต การเปรยี บเทียบ จงอธบิ ายวา่ หัวใจมคี วามเห จงอธิบายการเปลี่ยนแปลง อธบิ าย วาดแผนผังอธิบายความดนั จากภาพวงจรชีวิตของผีเส บรรยาย ภาพ ตวั อยา่ งระดบั พฤต

ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสร้างเครอื่ งมอื วัดและประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ anding) พฤติกรรมที่บ่งชี้ ได้แก่ ผู้เรียนอธิบายความหมาย สารสนเทศ โดยการแปลความหมาย ตีความ และขยาย ความสิ่งที่เคยเรียน ยกตัวอย่าง สรุปอ้างอิง การเรียบเรียง ใหม่ การจำแนกหมวดหมู่ ให้คำจำกัดความ แปล ความหมาย ประมาณคา่ เขียนข้อความ ใหม่ อภิปราย ตัวอยา่ งคำถาม 23 มชาติ นกั เรยี นสามารถสรุปสาระสำคญั ไดอ้ ยา่ งไร ออกซิเจนท่พี บในนำ้ กบั จำนวนส่ิงมีชวี ติ ท่พี บ รของมนษุ ย์ ติบโตของต้นดาวเรอื ง 2 แห่ง ทไ่ี ดร้ ับแสงและไมไ่ ด้รับแสง หมอื นกบั ป๊มั น้ำอยา่ งไร งสถานะของสารประกอบตอ่ ไปน้ี นความดนั อากาศส่งผลอยา่ งไรตอ่ อากาศ ส้อื ให้นักเรียนบรรยายรายละเอยี ด ติกรรมทางสตปิ ัญญาของบลมู ข้นั การเข้าใจ เล่มท่ี 4 การสร้างขอ้ สอบแบบเขยี นตอบ

การประยุกต์ใช้ หมายถึง การประยุกต์ใช้ (Ap กระบวนการทางสมองในการใช้ กระบวนการที่ได้เรียนรู้มาใช้ใน สถานการณ์ใหม่หรือคล้ายคลึง กัน ความสามารถในการ นำไปใช้ ประยุกต์ใช้ แก้ไข ปัญหาในสถานการณต์ า่ ง ๆ พฤตกิ รรม นกั เรยี นสามารถใชค้ วามรใู้ นการแกป้ ญั การนำไปปฏิบตั ิ ถ้านกั เรียนจะขนลังทีม่ นี ้ำหนักมากๆ การลงมอื ทำ จงยกอาหารทมี่ คี ณุ ค่าและราคาถูกใน ออกแบบการทดลองเก่ยี วกบั การศึกษ การนำไปใช้ ถา้ นกั เรียนตอ้ งการแยกขยะแลว้ สามา จงอธบิ ายกราฟของผลการทดลองการ การจดั การ การแปลความหมาย ภาพ ตัวอย่างระดบั พฤติกรรมทา

ชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเครือ่ งมอื วัดและประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ พฤติกรรมที่บ่งช้ี ได้แก่ ผู้เรียนใช้ ความรู้และประสบการณ์จากที่เคยเรียนมา ก่อนไปใช้ในการลงมือปฏิบัติหรือแก้ไข ปัญหาการจดั การ การคำนวณ การคาดคะเนเหตุการณ์ pplying) ตวั อย่างคำถาม ญหาไดอ้ ยา่ งไร จะตอ้ งทำอยา่ งไร นชีวิตประจำวันและอธิบายดว้ ยว่ามีคณุ คา่ ต่อรา่ งกายอย่างไร ษาการสังเคราะห์แสงของพืช ารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ นกั เรยี นจะจัดการอย่างไร รเกิดปฏิกิรยิ าระหว่างโลหะกบั กรด างสติปัญญาของบลมู ขน้ั การประยกุ ต์ใช้ 24 เล่มท่ี 4 การสร้างข้อสอบแบบเขียนตอบ

การวิเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการแยก ความร้อู อกเป็นสว่ นๆ แตกองค์ประกอบเนื้อหาสู่ ส่วนประกอบยอ่ ยและเขา้ ใจวา่ แตล่ ะส่วนสมั พนั ธ์ กันอยา่ งไร รวมถึงโครงสรา้ งในการสร้างภาพรวม ดว้ ย การวิเคราะห์ (A พฤตกิ รรม จงเรยี งลำดบั การจัด การจดั ระบบ นกั เรยี นมวี ธิ กี ารใดบ การสืบเสาะ สืบสวน พืชมีการเจรญิ โต จง การใหเ้ หตุผล การอ้างเหตผุ ล นกั เรยี นบอกความแ จำแนกความแตกตา่ ง พฤติกรรมใด เปน็ กา การตคี า่ ภาพ ตวั อยา่ งระดบั พฤติกรรมทางสต

ชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเครอื่ งมือวดั และประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ พฤตกิ รรมที่บ่งช้ี ไดแ้ ก่ ผู้เรียนยอ่ ยความรู้ หรอื ขอ้ มูลสารสนเทศออกเปน็ ส่วนยอ่ ย เพื่อใหเ้ กิดความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ียวกับขอ้ มูล สารสนเทศน้นั อย่างลึกซ้งึ เปรียบเทยี บ แยกแยะเพือ่ หาสว่ นยอ่ ย ๆ ของเหตุการณ์ ไดแ้ ก่ อธิบายลกั ษณะ การจัดการทดลอง แยกกลุ่ม คำนวณ วิพากษ์ วจิ ารณ์ ลำดับ เร่อื ง ทำแผนผัง หาความสัมพันธ์ Analyzing) ตวั อย่างคำถาม 25 ดระบบในร่างกายจากหนว่ ยเล็กไปหาหน่วยใหญ่ให้ถกู ต้อง บา้ งในการทำนำ้ ให้สะอาด งใหเ้ หตุผลสนับสนนุ แตกตา่ งระหวา่ งกบกบั ปลามาตามเกณฑท์ นี่ ักเรียนกำหนด ารอนรุ กั ษส์ งิ่ แวล้อม ตปิ ญั ญาของบลมู ขน้ั การวเิ คราะห์ เลม่ ที่ 4 การสร้างข้อสอบแบบเขยี นตอบ

การประเมินคา่ หมายถึง ความสามารถ ทางสตปิ ญั ญา เก่ยี วกบั การตรวจสอบ และการวิพากษ์ตา่ ง ๆ การตดั สิน คุณคา่ บนพนื้ ฐานของเกณฑแ์ ละ มาตรฐาน การประเมินคา่ (Evalua พฤติกรรม ภาชนะบรรจุแกงสม้ ภาชน การตรวจสอบ ถ้าทอ้ งฟา้ มืดคร้มึ แล้วฝนจะ ตงั้ สมมติฐาน ทำไมจงึ ควรรบั ประทานอาห วิพากษว์ จิ ารณ์ นกั เรียนคนหนง่ึ ทำการทดล ทดลอง เท่า ๆ กนั เพอ่ื ทดลองเร่ือง นักเรยี นสามารถตดั สนิ คณุ ค ตดั สิน ภาพ ตวั อย่างระดับพฤติกรรมทางสติป

ชดุ ฝึกอบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเครื่องมือวัดและประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ พฤติกรรมที่บ่งชี้ ได้แก่ ผู้เรียนสามารถ ตรวจสอบ อภิปราย ตัดสินใจ วิพากษ์วิจารณ์ คัดเลือกหรือประเมินค่า อย่างสมเหตุสมผล และน่าเชื่อถือ ให้ คะแนน เปรียบเทียบผล ตีค่า สรุป แนะนำ ตดั สินใจ คดั เลอื ก ating) ตวั อยา่ งคำถาม นะควรมคี ุณสมบัติอยา่ งไร ะตก นักเรยี นคดิ ว่าเปน็ เชน่ น้นั หรอื ไม่เพราะเหตใุ ด หารทท่ี ำเสร็จใหม่ๆ ลอง ใส่หินอ่านช้นิ เลก็ ๆ ในน้ำบริสทุ ธแ์ ละนำ้ อดั ลมอย่างละ งอะไร คา่ ของน้ำอัดลมและนำ้ บรสิ ุทธ์ไิ ดอ้ ย่างไร ปญั ญาของบลมู ขนั้ การประเมนิ คา่ 26 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งข้อสอบแบบเขียนตอบ

ก า ร ค ิ ด ส ร ้ า ง ส ร ร ค ์ ห ม า ย ถึ ง ความสามารถในการออกแบบ (Design) การสรา้ งผลผลติ ทไี่ ม่เหมือน ใคร การคิดสรา้ งสรรค์ (C พฤตกิ รรม ให้นกั เรยี นออกแบบหอ้ งนอนท ออกแบบ ใหน้ กั เรยี นนำเสนอวิธกี ารสรา้ ง สรา้ งสิ่งใหม่ ต้งั สมมตฐิ านเพอื่ อธบิ ายว่าทำไม นกั เรยี นเขยี นขน้ั ตอนการวางแผ วางแผน จงบอกวิธปี รบั ปรุงดินให้เหมาะ ปรบั ปรุง จากขอ้ มูลของกราฟเสน้ ตรง นัก พยากรณ์ ภาพ ตวั อยา่ งระดบั พฤตกิ รรมทา

ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเครอื่ งมือวดั และประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ Creating) พฤติกรรมที่บ่งชี้ ได้แก่ นักเรียน สามารถออกแบบ (Design) วางแผน ผลิต ประดิษฐ์ พยากรณ์ ทำนาย สร้าง สูตร จินตนาการสิ่งใหม่ๆ โดยใช้ ประสบการณ์เดิมเป็นฐานคิด สร้างส่ิง ใหม่ หรือผลิตภัณฑ์ ชิ้นงานที่แปลก ใหม่ ตัวอย่างคำถาม ท่ีนกั เรียนคิดว่าเหมาะสมและถูกสขุ ลักษณะ งหุน่ ยนต์ใหมท่ ี่แตกตา่ งไปจากหนุ่ ยนตเ์ ดมิ มพืชต้องการแสง และน้ำ ผนการแกป้ ญั หา ะกับการปลกู ข้าว กเรียนคิดวา่ แนวโน้มในปตี ่อไปจะเปน็ อย่างไร างสตปิ ัญญาของบลูมขนั้ การสรา้ งสรรค์ 27 เล่มท่ี 4 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเขยี นตอบ

ชุดฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเครือ่ งมอื วดั และประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ ใบกิจกรรมท่ี 3 1. จงยกตวั อย่างคำถามทแ่ี สดงถึงพฤตกิ รรมตามระดับแนวคดิ ทฤษฎีความร้ขู องบลมู 1.การจำ พฤติกรรม คำถาม 1. บอกความสัมพันธ์ 2. บอก/ระบชุ ื่อ 3. การบอกตำแหน่ง 4. การให้สัญลกั ษณ์ 5. ยกตวั อย่าง 2.การเขา้ ใจ คำถาม พฤติกรรม 1. การสรุปความ 2. การแปลความหมาย 3. การเปรียบเทียบ 4. บรรยาย 5. ยกตวั อยา่ ง 28 เล่มท่ี 4 การสร้างข้อสอบแบบเขยี นตอบ

ชุดฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเคร่ืองมอื วัดและประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ 3.การประยกุ ตใ์ ช้ ใบกิจกรรมที่ 3 (ตอ่ ) พฤติกรรม คำถาม 1. การนำไปปฏบิ ัติ คำถาม 2. การลงมือทำ 3. การจัดการ 4. แก้ไขปญั หา 5. ประยกุ ตใ์ ช้ 4. การวิเคราะห์ พฤตกิ รรม 1. การจัดระบบ 2. การสืบเสาะ สบื สวน 3. การจดั การทดลอง 4. จำแนกความ แตกตา่ ง 5. การตคี า่ 29 เล่มท่ี 4 การสร้างข้อสอบแบบเขยี นตอบ

5. การประเมินค่า ชุดฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสร้างเคร่ืองมอื วัดและประเมนิ ผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ พฤติกรรม ใบกิจกรรมที่ 3 (ตอ่ ) 1. การตรวจสอบ 2. ตงั้ สมมตฐิ าน คำถาม 3. วิพากษว์ ิจารณ์ 4. ทดลอง คำถาม 5. ตดั สิน 6. การคิดสร้างสรรค์ พฤตกิ รรม 1. ออกแบบ 2. สรา้ ง 3. วางแผน 4. ปรบั ปรงุ 5. ตั้งสมมติฐาน ให้ท่านศกึ ษาใบความร้ถู ดั ไปเลยค่ะ.... 30 เล่มที่ 4 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเขียนตอบ

ชุดฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเครื่องมือวดั และประเมนิ ผล วชิ าวิทยาศาสตร์ ใบความรทู้ ี่ 4 การสร้างขอ้ สอบแบบเขยี นตอบ ข้อสอบแบบเขียนตอบ เป็นแบบทดสอบที่มเี ฉพาะคำถามผู้สอบจะตอ้ งบรรยายคำตอบ ดว้ ยตนเอง โดยการเขยี นแสดงความคิดเหน็ จงึ เหมาะสำหรบั การวดั ทักษะการคิดขั้นสูง (Higher–order thinking) สำนักทดสอบทางการศกึ ษา (2561) ได้กลา่ วถงึ หลักการสรา้ งข้อสอบแบบเขยี นตอบดงั น้ี 4.1 หลกั ในการสร้างขอ้ สอบเขยี นตอบ 1) เขยี นคำชีแ้ จงเกี่ยวกบั วธิ ีการตอบใหช้ ัดเจนระบจุ ำนวนข้อคำถามเวลาทีใ่ ช้สอบและคะแนน เตม็ ของแตล่ ะข้อเพอ่ื ใหผ้ ้ตู อบสามารถวางแผนการตอบไดถ้ ูกต้อง 2) ข้อคำถามตอ้ งพิจารณาให้เหมาะสมกบั พื้นความรูข้ องผู้ตอบ 3) ควรถามเฉพาะเรื่องที่สำคัญและเป็นเรื่องที่ข้อสอบเลือกตอบวัดได้ไม่ดีเท่า เนื่องจาก ข้อสอบเลือกตอบไม่สามารถถามได้ทุกเนื้อหาที่เรียนหรือทุกระดับพฤติกรรมตามทฤษฎีการเรียนรู้ ของบลูมควรถามในระดับพฤติกรรมที่สูง เช่น ระดับการนำไปใช้การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ ความคิด สรา้ งสรรค์ การแสดงความคิดเหน็ การวพิ ากษ์ วจิ ารณ์ เปน็ ตน้ 4) กำหนดขอบเขตของคำถามเพื่อให้ผู้ตอบทราบถึงจุดมุ่งหมายในการวัดสามารถตอบได้ ตรงประเดน็ 5) การกำหนดเวลาในการสอบจะต้องสอดคล้องกบั ความยาวและลกั ษณะคำตอบท่ีตอ้ งการ ระดับความยากงา่ ยและจานวนข้อสอบ 6) ไม่ควรมีข้อสอบไว้ให้เขียนตอบ เป็นบางข้อเพราะอาจมีการได้เปรียบเสียเปรียบกัน เนือ่ งจากแตล่ ะขอ้ คำถามจะมีความยากงา่ ยไมเ่ ท่ากนั และวัดเนื้อหาแตกตา่ งกนั รวมท้งั จะไม่ยตุ ิธรรมกบั ผทู้ ี่สามารถตอบได้ทุกขอ้ ซึง่ มีโอกาสได้คะแนนเท่ากับผู้ท่ตี อบไดเ้ พยี งบางข้อ 7) หลีกเลี่ยงคำถามที่วัดความรู้การจำหรือถามเรื่องที่ผู้เรียนเคยทำหรือเคยอภิปรายมาก่อน หรือถามเรื่องที่มีคำตอบในหนังสือเพราะจะเป็นการวัดการจำ ควรถามในเรื่องที่ผู้เรียนต้องนำความรู้ไปใช้ ในสถานการณใ์ หม่ 8) พยายามเขียนคำถามให้มจี ำนวนมากข้อโดยจำกดั ใหต้ อบสนั้ ๆ เพ่ือจะไดว้ ัดไดค้ รอบคลุม เนอ้ื หาซึ่งจะทำให้แบบทดสอบมคี วามเช่อื มัน่ สงู 31 เลม่ ท่ี 4 การสร้างข้อสอบแบบเขยี นตอบ

ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเครอ่ื งมอื วัดและประเมินผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ 9) ควรเตรียมเฉลยคำตอบและกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนตามขั้นตอนและน้ำหนักที่ต้องการ เนน้ ไว้ 10) ถ้าแบบทดสอบมีหลายขอ้ ควรเรียงลำดบั จากขอ้ งา่ ยไปหายาก 4.2 ลกั ษณะคำถามของแบบทดสอบเขียนตอบ 1) ถามใหน้ ิยามหรืออธิบายความหมาย 2) ถามให้จดั ลำดบั เร่อื งราวหรือลำดบั เหตุการณ์ 3) ถามให้จดั หรอื แยกประเภทส่งิ ของหรือเรื่องราวตา่ ง ๆ 4) ถามให้อธิบายเหตกุ ารณ์หรอื กระบวนการ 5) ถามใหเ้ ปรียบเทียบเหตุการณค์ วามคลา้ ยคลงึ และความแตกตา่ ง 6) ถามใหอ้ อกแบบเขียนเคา้ โครงหรือวางแผนการดำเนนิ งานตา่ ง ๆ 7) ถามให้อธิบายเหตุผลในการสนบั สนนุ หรอื คดั ค้าน 8) ถามให้วเิ คราะห์เร่ืองราวหรอื วเิ คราะหค์ วามสัมพันธ์ 9) ถามให้ช้ีแจงหลักการหรือจดุ ประสงค์ 10) ถามใหอ้ ภิปรายแสดงความคิดเห็นวิพากษว์ ิจารณ์อยา่ งกวา้ งขวาง 11) ถามใหน้ ำหลกั การไปใช้ในการแกป้ ัญหาในสถานการณต์ ่าง ๆ 4.3 ขน้ั ตอนการสร้างเครือ่ งมือแบบเขียนตอบ 1) วิเคราะห์ตัวชว้ี ัดเพอ่ื หาคำสำคัญทีเ่ ป็นเปา้ หมายในการเรยี นรู้ 2) กำหนดพฤติกรรมที่ตอ้ งการวดั ให้ชัดเจน ควรวัดพฤติกรรมตงั้ แต่ระดบั นำไปใช้ข้นึ ไป 3) เลอื กรปู แบบของข้อสอบ คือ แบบจำกดั คำตอบหรอื แบบไม่จำกัดคำตอบ 4) เขียนคำถามให้ชัดเจนว่าต้องการให้ผูต้ อบทำอะไร อยา่ งไร เช่น อธิบาย เปรยี บเทยี บให้ เหตผุ ล แสดงวิธีทำ เปน็ ตน้ โดยใชส้ ถานการณใ์ หมใ่ ห้ตา่ งจากที่เคยเรยี นหรือทอี่ ยู่ในตำรา 5) ถามเฉพาะส่ิงทเี่ ปน็ ประเดน็ สำคญั ของเรอื่ ง 6) กำหนดความซับซ้อนและความยากให้เหมาะกับวยั ของผู้ตอบ 7) ควรเฉลยคำตอบไปพรอ้ ม ๆกบั การเขียนขอ้ สอบ 8) ไม่ควรให้มีการเขียนตอบ บางข้อ 32 เลม่ ที่ 4 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเขียนตอบ

ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเคร่อื งมอื วดั และประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ 4.4 หลกั การตรวจให้คะแนน 1) เขยี นแนวเฉลยไวก้ อ่ นและระบุคะแนนว่าประเด็นใดตอนใดควรไดก้ ่คี ะแนน 2) ไมค่ วรดูช่อื ผ้สู อบเพ่ือป้องกันไมใ่ ห้เกิดอคติในการให้คะแนน 3) การตรวจใหค้ ะแนนควรตรวจทลี ะข้อของทกุ ๆคนจนครบหมดทกุ ข้อแล้วจงึ ตรวจขอ้ ใหม่ เพ่อื จะได้เปรยี บเทียบระหวา่ งคำตอบของแตล่ ะคน เช่น ตรวจขอ้ ที่ 1 ของทกุ คนแล้วจึงคอ่ ยตรวจขอ้ ต่อไป เปน็ ตน้ 4) การตรวจใหค้ ะแนนควรยึดในสว่ นทีเ่ ปน็ ความรูท้ ต่ี อ้ งการวัดมาเปน็ ส่วนสำคญั ใน การพจิ ารณาให้คะแนนไมค่ วรใหค้ ะแนนความถูกต้องในการสะกดคาหรือการใชไ้ วยากรณ์ 5) เกณฑใ์ นการตรวจให้คะแนนควรใชท้ ง้ั เกณฑด์ า้ นเนอ้ื หาเกณฑด์ า้ นการจดั ลำดับความคิด 6) การเรยี บเรียงเรอื่ งและเกณฑด์ า้ นกระบวนการทางสมองนอกจากนต้ี อ้ งพจิ ารณาในเร่อื ง - ความถูกต้องตรงประเดน็ ทถ่ี าม - ความสมบูรณค์ รบถ้วนของประเด็นท่ถี าม - ความสมเหตสุ มผลของคาตอบ 33 เล่มท่ี 4 การสร้างขอ้ สอบแบบเขียนตอบ

ชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเครื่องมอื วัดและประเมินผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ดังนน้ั สรุปข้ันตอนการสร้างข้อสอบแบบเขียนตอบได้ดังนี้ ศกึ ษาวิเคราะห์ มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชวี้ ดั ของหลกั สูตร การกำหนด test blueprint ระบุพฤติกรรมท่ีนกั เรยี นแสดงออก พจิ ารณาพฤตกิ รรมว่าสอดคลอ้ งกบั ลำดับขั้นใด ตามทฤษฎีความรู้ของบลูม วเิ คราะห์หลกั การเขยี นข้อสอบ แบบตอบสน้ั หรือจำกัดคำตอบ ระบุประเภทของข้อสอบแบบ แบบตอบแบบอสิ ระหรือไมจ่ ำกัดคำตอบ สรา้ งขอ้ สอบแบบเขยี นตอบตามแบบฟอร์ม บตั รขอ้ สอบ (Item Card) ตรวจทานขอ้ สอบ ผู้เชีย่ วชาญตรวจสอบ (IOC) ปรับปรงุ ข้อสอบ/ตรวจสอบคณุ ภาพขอ้ สอบ คดั เลือกขอ้ สอบท่ีมคี ุณภาพ 34 ภาพ แสดงขั้นตอนในการสรา้ งและการวิเคราะหข์ ้อสอบ เล่มที่ 4 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเขียนตอบ

ชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสร้างเครื่องมือวัดและประเมนิ ผล วชิ าวิทยาศาสตร์ 4.5 ตารางวิเคราะหก์ ารออกแบบการสรา้ งแบบทดสอบ (Test Blueprint) การจัดทำตารางวเิ คราะห์การออกแบบการสร้างแบบทดสอบ (Test Blueprint) ซงึ่ มขี ้นั ตอนดงั น้ี 1. กำหนดตัวชีว้ ดั หรอื จุดประสงค์ โดยกรอกรายละเอยี ดลงในตารางวิเคราะห์ 2. กำหนดจำนวนขอ้ สอบเพ่อื ทดสอบพฤติกรรมทางสมองระดับใด และพจิ ารณาลำดบั ความสำคัญ ของระดับพฤตกิ รรมวา่ ระดับใดมีความสำคญั เปน็ ลำดับที่ 1 และรองลง ไป ตามลำดบั โดยดูจากคา่ ร้อยละ ของแตล่ ะระดับพฤติกรรม ดังตัวอย่าง ตารางวิเคราะห์ขอ้ สอบ รายวชิ าวิทยาศาสตรพ์ น้ื ฐาน ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ตามพฤติกรรมท่ีตอ้ งการวัดให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ ตามระดบั ความสามารถของ บลมู แสดงดงั ตารางนี้ ตาราง วเิ คราะหก์ ารออกแบบการสร้างแบบทดสอบ (Test Blueprint) จำนวนข้อสอบแตล่ ะระดบั พฤติกรรม (ข้อ) เรอื่ ง ตัวชี้วัด การจำ ขอ้ สอบ รูปแบบ การเ ้ขาใจ (ข้อ) ขอ้ สอบ การประ ุยก ์ตใช้ การ ิวเคราะ ์ห การประเ ิมน ่คา การ ิคดส ้รางสรร ์ค ว2.1 ป 6/1 อธิบายและเปรียบเทียบการแยกสาร - 2 3 1 - 6 เขยี นตอบ ผสมโดยการหยิบออก การร่อน การใช้ (1 ข้อ)/ แม่เหล็กดึงดูด การรินออก การกรอง เลือกตอบ และการตกตะกอน โดยใช้หลักฐานเชิง (5 ข้อ) ประจักษ์ รวมทั้งระบุวิธีแก้ปัญหาใน ชีวิตประจำวนั เกย่ี วกบั การแยกสาร ว2.2 ป 6/1 อธิบายการเกิดและผลของแรงไฟฟ้าซึ่ง - 1 2 2 2 - 7 เขยี นตอบ เกดิ จากวัตถทุ ่ีผา่ นการ ขดั ถโู ดยใช้ (3 ข้อ)/ หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ เลือกตอบ (5 ข้อ) ว2.3 ป 6/1 ระบสุ ว่ นประกอบและบรรยายหน้าที่ - 2 3 2 - 7 เขยี นตอบ ของแต่ละส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า (2 ข้อ)/ อย่างงา่ ยจากหลักฐานเชิงประจักษ์ เลอื กตอบ (5 ข้อ) รวมจำนวนข้อ 1 6 8 5 - 20 ร้อยละ 5 30 40 25 - 100 อันดับความสำคญั 42 1 3 35 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเขยี นตอบ

ชดุ ฝึกอบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเคร่ืองมือวัดและประเมินผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ 4.6 การวเิ คราะห์มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชว้ี ัด เพื่อการสรา้ งเครื่องมอื วดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นแบบเขยี นตอบในการวิเคราะห์มาตรฐาน การเรยี นรูแ้ ละตวั ช้วี ดั เพือ่ นำไปสรา้ งเครอ่ื งมอื วดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนแบบเขยี นตอบตามแนว การทดสอบระดับนานาชาตดิ ำเนนิ การ ดังนี้ ขน้ั ที่ 1 ระบุ คำสำคญั (key word) หรือ พฤติกรรมทนี่ กั เรียนแสดงออกจากตัวชีว้ ดั รหัส ตวั ช้วี ัด คำสำคญั ตัวชว้ี ดั อธิบายและเปรียบเทียบการแยกสารผสมโดยการหยิบ - อธิบาย ว2.1 ป 6/1 ออก การร่อน การใชแ้ มเ่ หลก็ ดึงดูด การรินออก - เปรียบเทยี บการแยกสารผสม การกรอง และการตกตะกอน โดยใช้หลักฐานเชิง - ระบวุ ธิ ีแกป้ ญั หาในชีวติ ประจำวนั ว2.2 ป 6/1 ประจักษ์ รวมทั้งระบุวิธีแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ว2.3 ป 6/1 เก่ียวกับการแยกสาร - อธบิ ายการเกิด อธิบายการเกดิ และผลของแรงไฟฟา้ ซง่ึ เกดิ จากวตั ถุที่ผ่าน การ ขัดถโู ดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจักษ์ - ระบสุ ว่ นประกอบ ระบุส่วนประกอบและบรรยายหน้าที่ของแต่ละ - บรรยายหน้าที่ ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายจากหลักฐานเชิง ประจักษ์ ตอ่ ไปเปน็ ขั้นท่ี 2 ค่ะ 36 เลม่ ที่ 4 การสร้างขอ้ สอบแบบเขียนตอบ

ชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเครื่องมอื วัดและประเมนิ ผล วชิ าวิทยาศาสตร์ ขั้นที่ 2 พิจารณา คำสำคัญ (key word) หรือ พฤติกรรมที่นักเรียนแสดงออกตามตัวชี้วัดว่าเป็น พฤติกรรมการเรียนรูใ้ นดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคุณลกั ษณะ (A) หรอื ด้านกระบวนการและทักษะ (P) รหัส คำสำคญั ประเภทพฤตกิ รรมการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด ความรู้ คุณลักษณะ ทกั ษะ (K) (A) (P) ว2.1 ป 6/1 - อธิบาย - - - เปรยี บเทียบการแยกสารผสม ว2.2 ป 6/1 - - ว2.3 ป 6/1 - ระบวุ ธิ แี กป้ ัญหาในชวี ติ ประจำวัน - - - อธิบายการเกดิ - ระบุสว่ นประกอบ - บรรยายหน้าท่ี ขั้นที่ 3 เลือกคำสำคัญ (key word) หรือพฤติกรรมที่นักเรียนแสดงออก จากตัวชี้วัดใน พฤติกรรมการเรียนรู้ ในด้านความรู้ (K) แล้วพิจารณาว่าคำสำคัญดังกล่าวสอดคล้องกับลำดับขั้นใด ตาม ทฤษฎีความรู้ของบลูม (Bloom’s Taxonomy) พฤตกิ รรม ลำดบั ขนั้ ของพฤตกิ รรมตามทฤษฎีความรขู้ องบลูม การเรยี นรู้ รหัสตวั ชี้วดั คำสำคญั จำ เข้าใจ ประยกุ ตใ์ ช้ วเิ คราะห์ ประเมิน คดิ สรา้ งสรรค์ (K) คา่ ว2.1 ป 6/1 - อธบิ าย - เปรยี บเทยี บการแยกสาร ความรู้ (K)   ว2.2 ป 6/1 ว2.3 ป 6/1 ผสม ความรู้ (K)  - ระบุวิธีแก้ปญั หาใน ความรู้ (K)  ชีวิตประจำวัน - อธิบายการเกดิ - ระบุสว่ นประกอบ - บรรยายหนา้ ที่ 37 เลม่ ท่ี 4 การสร้างข้อสอบแบบเขียนตอบ

ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเครอื่ งมอื วัดและประเมินผล วชิ าวิทยาศาสตร์ ขัน้ ที่ 4 ระบปุ ระเภทของข้อสอบเขียนตอบตามแนวทางการทดสอบทัว่ ไปในตวั ชี้วัด โดย พิจารณาจากลำดับขน้ั ของพฤตกิ รรมตามทฤษฎีการเรยี นรขู้ องบลูม ดังนี้ ลำดับข้ันของพฤตกิ รรม ประเภทของข้อสอบเขียนตอบ ตามทฤษฎคี วามรู้ของบลูม ตามแนวทางการทดสอบทวั่ ไป การสรา้ งสรรค์ แบบไม่จำกดั คำตอบ การประเมนิ ค่า แบบไม่จำกดั คำตอบ การวิเคราะห์ แบบไม่จำกดั คำตอบ การประยุกต์ใช้ แบบจำกัดคำตอบ และแบบไม่จำกัดคำตอบ แบบจำกดั คำตอบ การเขา้ ใจ แบบจำกัดคำตอบ การจำ ตวั อย่าง การกำหนดรูปแบบข้อสอบให้สอดคลอ้ งกบั ระดบั พฤติกรรมตามทฤษฎคี วามรขู้ องบลมู รหัสตวั ชว้ี ดั คำสำคญั พฤติกรรมตามทฤษฎี ประเภทของขอ้ สอบเขยี นตอบ ความรูข้ องบลูม ตามการทดสอบท่วั ไป วิเคราะห์ เขยี นตอบแบบส้ัน เขยี นตอบแบบ หรอื แบบจำกัด อสิ ระหรอื แบบไม่ คำตอบ จำกัดคำตอบ ว2.1 ป 6/1 - อธิบาย - - เปรียบเทียบการแยกสารผสม ว2.2 ป 6/1 วิเคราะห์ -  ว2.3 ป 6/1 - ระบุวิธีแกป้ ญั หาในชีวติ ประจำวนั วเิ คราะห์ -  - อธิบายการเกดิ - ระบสุ ว่ นประกอบ - บรรยายหนา้ ท่ี 38 เล่มท่ี 4 การสรา้ งข้อสอบแบบเขียนตอบ

ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเครอ่ื งมอื วัดและประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ ใบกิจกรรมที่ 4 คำช้ีแจง จงตอบคำถามต่อไปน้ี 1.จงเตมิ ขอ้ มลู ของความสำคญั ของขอ้ สอบแบบเขียนตอบต่อไปนี้ “แบบทดสอบเขยี นตอบสำคญั อย่างไรในหอ้ งเรียน” ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ นกั เรียน คุณครู ผูส้ อน แบบทดสอบ เขยี นตอบ การจัดการเรยี นการสอน การวดั และประเมนิ ผล ฯ ................................................................ ................................................................ .............................................................. ................................................................ .............................................................. ................................................................ .............................................................. ................................................................ .............................................................. ................................................................ .............................................................. .............................................................. 39 เลม่ ที่ 4 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเขียนตอบ

ชุดฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเครือ่ งมอื วัดและประเมินผล วชิ าวิทยาศาสตร์ 2. จงบอกหลกั การสร้างขอ้ สอบแบบเขียนตอบ ............................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 3. ท่านจะออกขอ้ สอบแบบเขียนตอบ จะมีขั้นตอนการสรา้ งขอ้ สอบอย่างไร ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 4. ทา่ นมหี ลักการตรวจใหค้ ะแนนการสอบดว้ ยแบบทดสอบเขียนตอบอยา่ งไร ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 5. ท่านมีวธิ ีการวิเคราะห์มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชว้ี ัดอย่างไรบ้าง ............................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 40 เล่มท่ี 4 การสร้างข้อสอบแบบเขยี นตอบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook