Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประเพณี

ประเพณี

Published by 20947, 2019-09-08 22:06:28

Description: ประเพณี

Search

Read the Text Version

บทท่ี 1 เรื่องเอกลกั ษณ์ของสงั คมไทย และวฒั นธรรมไทย ความหมายของเอกลกั ษณ์ไทย เอกลกั ษณ์ คือ ลกั ษณะที่เด่นชดั ชองสงั คมใดสงั คมหน่ึง ซ่ึงมีลกั ษณะเหมือนกนั หรือรวมกนั ของสงั คมน้นั ๆ ท่ีเห็นไดช้ ดั เชนวา่ ต่างจากลกั ษณะของสังคมอื่น เอกลกั ษณ์ไทยจึงหมายถึง ลกั ษณะของความเป็ นไทยที่ดูแลว้ แตกต่างจากลกั ษณะสงั คม ของชนชาติอื่น มีความแตกต่าง ซ่ึงอาจมองไดจ้ ากลกั ษณะ การประพฤติปฏิบตั ิ กิริยาท่าทาง การแต่งกาย วฒั นธรรม จารีตประเพณี ฯลฯ สงั เกตไดว้ า่ ลกั ษณะเด่นของความเป็นไทยน้นั ไม่วา่ จะอยทู่ ่ีใด กส็ ามารถแยกออกจากชนชาติอ่ืนได้ นอกจากภาษาพดู แลว้ ความยมิ้ แยม้ แจ่มใสกเ็ ป็น ลกั ษณะเด่นอยา่ งหน่ึงของสงั คมไทย จนชาวตะวนั ตกขนานนามวา่ “สยามเมืองยมิ้ ”  เอกลกั ษณ์ของความเป็นไทย เอกลกั ษณ์ของวฒั นธรรมไทย พอสรุปเป็นตารางไดด้ งั น้ี  ภาษาไทย ตวั อกั ษรไทย ซ่ึงนบั วา่ เป็นอารยธรรม จุดเด่นของวฒั นธรรมไทย ข้นั สูง  อาหารไทย เช่น น้าพริกปลาทู หรือตม้ ยากงุ้  ลกั ษณะที่เด่นชดั ชองสงั คมใดสงั คมหน่ึง ที่เป็นรู้จกั และโด่งดงั ไปทง่ั โลก  สมุนไพรไทย แมแ้ ต่ต่างชาติกใ็ หค้ วามสนใจ เช่น เป็น “วฒั นธรรมเกษตร” เช่น มีการช่วยเหลือกนั วา่ นหางจระเข้ กระชายดา กวาวเครือ เรียกวา่ การลงแขกเกี่ยวขา้ ว การแห่นาแมวเพื่อ  ฉายาสยามเมืองยมิ้ ซ่ึงแสดงถึงความยมิ้ แยม้ ขอฝน การทาขวญั ขา้ ว ไหวแ้ ม่โพสพ แจ่มใส มีอธั ยาศยั ซ่ึงหายากในชนชาติอ่ืน  เป็นสังคมท่ีมีสนุกสนาน การทางานจะเป็น  มารยาทไทย เช่น การไหว้ เป็นที่รู้จกั ของคน ไปพร้อมกบั ความรื่นเริง เช่น เม่ือเก่ียวขา้ วจะ ทว่ั โลก การมีสัมมาคารวะ เคารพผอู้ าวโุ สรู้จกั กาลเทศะ ร้องเพลงไปดว้ ย “ เก่ียวเถอะนะแม่เก่ียว อยา่ มวั แล  ประเพณีไทย เช่น ผตี าโขน บุญบ้งั ไฟ การแห่ เหลียว เดี๋ยวเคียว จะเก่ียวกอ้ ยเอย ปราสาทผ้งึ แหนางแมว  เป็นสงั คมที่เทิดทูนพระมหากษตั ริยด์ ว้ ยความ  การแสดงแบบไทย เช่น ลิเก โขน ราวง จงรักภกั ดี  ดนตรีไทร เช่น ระนาด ป่ี ขลุ่ย องั กะลุง  นบั ถือพระพทุ ธศาสนา เป็นสังคมชาวพุทธ  การละเลน่ ไทย เช่น มอญซ่อนผา้ ลาตดั มีพทุ ธศาสนิกชนใหค้ วามสาคญั  สิ่งก่อสร้าง เช่น เรือนไทย  มีน้าใจของความเป็นไทย พ่ึงพาอาศยั กนั  เพลงไทย เช่น เพลงไทย (ไทยเดิม) เพลงลูกทุ่ง ช่วยเหลือกนั รักความสงบ  ชอบเรื่องการทาบุญ สร้างกศุ ล และช่วยงาน บุญกศุ ล

เอกลกั ษณ์ทสี่ ำคญั ของสังคมไทย เอกลกั ษณ์ของสงั คมไทย เป็นสิ่งที่แสดงถึงความเป็นไทยท่ีบรรพบุรุษไดส้ งั่ สม สืบทอด โดยมอบเป็นมรดกใหแ้ ก่อนุชนรุ่นหลงั ไวไ้ ดเ้ ป็นความภาคภูมิใจในความเป็นชาติ  เอกลกั ษณ์ที่ดีและควรสืบสานในสังคมไทย ๑. เป็นสงั คมที่มีพระมหากษตั ริยเ์ ป็นประมุข สถาบนั พระมหากษตั ริยน์ บั วา่ เป็น ศูนยร์ วมจิตใจของคนไทยท้งั ชาติ กษตั ริยไ์ ทยแต่โบราณจนถึงปัจจุบนั ทรงเป็นผนู้ าประเทศใหพ้ น้ ภยั ทานุบารุงประเทศชาติใหเ้ จริญรุ่งเรือง ๒. สังคมไทยเป็นสงั คมเกษตรกรรม ซ่ึงเป็นอาชีพหลกั มาแต่อดีตจนถึงปัจจุบนั ทาให้ คนไทยมีความผกู พนั กบั ธรรมชาติ มีความอดทน การร่วมมือร่วมใจ รู้จกั บุญของธรรมชาติ และบุญคุณของแผน่ ดิน ๓. ครอบครัว เป็นเอกลกั ษณ์ของสงั คมท่ีความสมั พนั ธ์ที่แน่นแฟ้น มีความผกู พนั เคารพใน ระบบอาวโุ ส ทาใหค้ นไทยมีความอ่อนนอ้ มถ่อมตน รู้จกั กาลเทศะ ๔. ศาสนา สงั คมไทยมีศาสนาพทุ ธเป็นเคร่ืองยดึ เหน่ียวจิตใจมาแต่อดีต และเป็นศาสนา ที่คนไทยนบั ถือมากที่สุด หลกั ธรรมคาสอนของพระพทุ ธศาสนา สอนใหค้ นยดึ ถือทางสายกลาง เช่ือในเร่ืองบาป บุญ คุณโทษ หลกั คาสอนของพระพทุ ธศาสนา มีความเป็นวิทยาศาสตร์ แมแ้ ต่ ชาวต่างชาติกห็ นั มานบั ถือและบวชในพระพทุ ธศาสนากนั มาก ๕. ภาษา เริ่มมาแต่สมยั สุโขทยั โดยพอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช ทาใหค้ นไทยมีภาษาไทย เป็นเอกลกั ษณ์ คนไทยจึงควรพดู และเขยี นภาษาไทยใหถ้ ูกตอ้ ง เพ่อื สืบทอดใหล้ ูกหลานต่อไป ๖. รักอิสระ หรืออาจใชค้ าวา่ ความเป็นไทย ไม่ข้ึนกบั ใคร แสดงความเป็นเอกราช ซ่ึงเป็น สิ่งสาคญั ท่ีควรจะดารงไว้ ๗. ศิลปกรรม คือ ผลงานท่ีช่างฝีมือไทยหรือศิลปิ นไทยไดส้ ร้างสมไวจ้ ากความรู้สึกนึกคิด หรือจินตนาการ แบ่งออกเป็น ๕ ประเภท ดงั น้ี ๗.๑ จิตรกรรม (Painting) จิตรกรรมไทย หมายถึง ภาพที่แสดงถึงเรื่องราว ตลอดไปถึงจนเขียนภาพ ลวดลายประดบั ตกแต่งในงานช่างต่างๆ ซ่ึงเป็นศิลปกรรมช้นั สูง และเพอื่ ใหเ้ กิดความงามในศิลปะ ตามคติของชาติ

๗.๒ ประติมากรรมไทย หมายถึง งานป้ัน และแกะสลกั ที่จะตอ้ งนามาทาการ หล่ออีกทีหน่ึง ซ่ึงเป็นงานฝีมือโดยมากมกั จะเป็นงานป้ันเก่ียวกบั พระพทุ ธรูป มีต้งั แต่ขนาดเลก็ ไป จนถึงขนาดใหญ่ เครื่องใชแ้ ละเคร่ืองประดบั ต่างๆ ๗.๓ สถาปัตยกรรม (Architecture) สถาปัตยกรรม คือ อาคารสิ่งก่อสร้างต่างๆ เช่น อาคาร ตึก บา้ นเรือน พระราชวงั ตลอดจนอนุสาวรียใ์ หญ่ๆ พรี ามิด สถูป เจดีย์ วหิ าร ปราสาท พระปรางค์ มณฑป อุโบสถ ดงั จะเห็นไดว้ า่ งานสถาปัตยกรรมมกั ควบคูไ่ ปกบั งานประติมากรรม ๗.๔ วรรณกรรม(Literature) วรรณกรรม คือ ท้งั ประเภทร้อยกลอง (โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน) และ ร้อยแกว้ คือ เรียงความธรรมดา รวมถึงการจดจาเร่ืองราวต่างๆ เช่น นิทาน ตานานดว้ ย วรรณกรรมที่เป็นอมตะ เช่นพระอภยั มณี ขนุ ชา้ งขนุ แผน ๗.๕ นาฏศิลป์ และดุริยางดศิตกรรม คือ ดนตรีทุกประเภท รวมท้งั การร่ายรา นาฏศิลป์ และดนตรี หรือคีตกรรม คือ ดนตรีทุกประเภท รวมท้งั การร่ายรา ระบาต่างๆ เช่น โขน ลิเก ละครรา ราไทย การแสดงต่างๆ เป็นตน้ .

ใบความรู้ท่ี1.1 เร่ือง ความหมายของวฒั นธรรมไทย ความหมายและความสาคญั ของวฒั นธรรมไทย ความหมายของวฒั นธรรม การท่ีมนุษยร์ ู้จกั มาอยรู่ ามกนั เป็นสงั คม และมีขนาดเพ่ิมข้นึ ตามระยะเวลา และการเพมิ่ ข้นึ ของประชากร จึงเกิดความจาเป็นที่จะตอ้ งมีการจดั ระเบียบ มีการกาหนด กฎเกณฑข์ อ้ บงั คบั หรือแนวทางปฏิบตั ิตลอดจนขอ้ ตกลงต่างๆ ที่เก่ียวกบั การดารงชีวติ ข้ึนมา ใชใ้ นแต่ละสงั คม เพ่อื ใหเ้ กิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย ซ่ึงสิ่งต่างๆ ที่กาหนดข้ึนน้นั จะ ปรับเปลี่ยนไปตามสภาพสงั คมในแต่ละยคุ สมยั พร้อมกนั น้นั กจ็ ะมีการสืบทอดใหค้ นรุ่นหลงั ได้ เรียนรู้และนาไปปฏิบตั ิกนั ต่อๆ มาจนกลายเป็นวฒั นธรรมของสงั คม วฒั นธรรม ตรงกบั ภาษาองั กฤษวา่ culture ท่ีมาจากรากศพั ทภ์ าษาละตินวา่ cult หรือ Cultura ท่ีหมายถึงการเพราะปลูกฝัง เมื่อแยกศพั ทจ์ ะเป็น การเพาะ หมายถึง การประดิษฐห์ รือการสร้างใหม่ และ การปลูก หมายถึง การปรุงแต่งใหเ้ จริญงอกงามยง่ิ ข้ึน วฒั นธรรมจึงเป็นผลงาน หรือส่ิงที่มนุษยไ์ ดส้ ร้างสรรคป์ รุงแต่งใหเ้ หมาะสมต่อการดาเนินชีวิต จน เกิดเป็นความสุขสมบูรณ์แห่งวถิ ีของมนุษยชาติ* วฒั นธรรม (culture) ตามความหมายในพจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พทุ ธศกั ราช 2525 ใหไ้ ว้ คือ ลกั ษณ์ที่แสดงถึงความเจริญงอกงามแก่หม่คู ณะ หรือวถิ ีชีวิต ของหมู่คณะ ส่วนในราชบญั ญตั ิวตั ิวฒั นธรรม พทุ ธศกั ราช 2485 ไดใ้ หค้ วามหมาย คาวา่ วฒั นธรรมไวค้ ือ ลกั ษณ์ที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเป็นระเบียบเรียนร้อย ความ กลมเกลียวกา้ วหนา้ ของชาติและศิลธรรมอนั ดีของประชาชน แต่สานกั งานคณะกรรมการ วฒั นธรรมแห่งชาติไดใ้ หไ้ ดค้ วามหมายไวว้ า่ วฒั นธรรมเป็นวิถีชีวติ ของมนุษย์ ที่เกิดจากระบบ ความสาคญั ระหวา่ งมนุษยก์ บั มนุษย์ มนุษยก์ บั สงั คม และมนุษยก์ บั ธรรมชาติ วฒั นธรรมมี ท้งั สาระ และแบบท่ีระบบความคิด วธิ ีการ โครงสร้างทางสงั คม สถาบนั ตลอดจนแบบ แผนและทุกส่ิงทุกอยา่ งที่มนุษยส์ ร้างข้ึน ในความหมายของวชิ ามานุษยวทิ ยา และสงั คมวทิ ยา ใหค้ วามหมายไวก้ วา้ งขวางมาก วา่ วฒั นธรรมเป็นแบบอยา่ งการดาเนินชีวติ ของมนุษยท์ ี่เป็นกลุ่มสงั คมหรือหมู่คณะ** สาหรับความหมายท่ีพระเทพเวที (ประยทุ ธ์ ปยตุ โต) ไดใ้ หไ้ ว้ คือ วฒั นธรรมเป็น ผลรวมของการสงั่ สม สร้างสรรค์ ภูมิธรรม ภูมิปัญญาท่ีสืบทองต่อกนั มาของสงั คมน้นั ๆ หรือกล่าวส้นั ๆวา่ วฒั นธรรม คือ ประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถที่สงั คมน้นั มีอยู่ หรือ เน้ือตวั ท้งั หมดของสงั คมน้นั เอง*

สรุปไดว้ า่ วฒั นธรรม คือ ส่ิงของหรือสัญลกั ษณ์ต่างๆ ที่มนุษยส์ ร้างข้ึน เพ่ือ เป็นส่ิงท่ียดึ ถือปฏิบตั ิสืบทอดกนั มา เป็นส่ิงแสดงใหถ้ ึงความเจริญงอกงามของสงั คมมนุษย์ เพราะ แต่ละสงั คมจะมีลกั ษณ์ของตนเอง และแตกต่างกนั ไปตามสภาพแวดลอ้ มของแต่ละสงั คม ควำมสำคญั ของวัฒนธรรม วฒั นธรรมถือเป็นมรดกทางสงั คม เพราะเป็นส่ิงที่มนุษยข์ ้นึ จากการเรียนรู้สงั่ สม ประสบการณ์ แลว้ มีการถ่ายทอดต่อๆ มา ทาใหว้ ฒั นธรรมกลายเป็นเครื่องช้ีวดั ความเจริญของ สงั คม เป็นส่ิงที่กาหนดชีวติ ความเป็นอยขู่ องมนุษยใ์ นสงั คมดว้ ย ท้งั น้ีเพราะมนุษยใ์ นแต่ระยคุ สมยั จะรู้จกั ปรับปรุง และพฒั นาวฒั นธรรมของตนใหเ้ หมาะสมกบั สภาพเหตุการณ์อยตู่ ลอดเวลา ดว้ ยเหตุน้ีเองจึงทาใหม้ นุษยแ์ ตกต่างกนั ไปจากสตั วป์ ระเภทอ่ืน เพราะสามารถพฒั นาสงั คม รวมท้งั สภาพความเป็นอยขู่ องตนเองใหก้ า้ วหนา้ ข้นึ จนสามารถมีอานาจเหนือสตั วอ์ ่ืน ๆ ตลอดจนเอา ชนะธรรมชาติบางอยา่ งได้ นอกจากน้ี วฒั นธรรมยงั เป็นสิ่งที่สร้างความเป็นระเบียบเรียบร้อย ความเป็นหน่ึง อนั เดียวในสงั คม เพราะวฒั นธรรมน้นั เป็นแบบแผนของการดาเนินชีวิตที่ทุกคนจะตอ้ ง ปฏิบตั ิใหถ้ ูกตอ้ ง เพอ่ื สร้างสนั ติสุขใหเ้ กิดข้นึ ในสมยั ทาใหว้ ฒั นธรรมกลายเป็นส่ิงสาคญั และ จาเป็นต่อการดาเนินชีวติ ของมนุษยม์ ากมาย ดงั สรุปไดค้ อื 1. เป็นเครื่องกาหนดพฤติกรรมของมนุษยใ์ นสงั คม ทาใหว้ ฒั นธรรมกลายเป็นส่ิงสาคญั และ ยา่ งมีความสุข 2. เป็นส่ิงบ่งบอกความความเจริญกา้ วหนา้ และความมนั่ คงของสงั คม สามรถแสดง ความเป็นเอกลกั ษณ์ของสงั คมน้นั ๆไดช้ ดั เจน สร้างความผกู พนั ในสงั คมใหแ้ น่นแฟ้นไดเ้ ป็นอยา่ งดี 3. เป็นส่ิงท่ีช่วยในการดาเนินชีวติ สะดวกสบายข้ึน ท้งั น้ีเพราะมนุษยไ์ ดส้ ร้างส่ิงต่างๆ ข้ึนมา ใชเ้ พือ่ ความเป็นอยขู่ องตนเองใหด้ ีข้นึ โดยบางอยา่ วสามารถเอกชนะธรรมชาติ เช่น การสร้างเข่ือน เพื่อกกั เกบ็ น้าไวใ้ ชใ้ นการขาดแคลนและสามารถผลิตพลงั งานไฟฟ้า เป็นตน้

สาหรับพระราชบญั ญตั ิธรรม พ.ศ. 2485 แบ่งวฒั นธรรมออกเป็น 4 ประเภท คือ  คติธรรม คือ วฒั นธรรมท่ีเกี่ยวกบั หลกั ในการดาเนินชีวิต จิตใจ และศาสนา  เนติธรรม คือ วฒั นธรรมทางกฎหมาย และระเบียบประเพณีท่ียอมรับในสงั คม  วตั ถุธรรม คือ วฒั นธรรมทางวตั ถุ เช่น โตะ๊ เกา้ อ้ี วิทยุ ฯลฯ  สหธรรม คือ วฒั นธรรมทางสงั คมท่ีทาใหค้ นในสงั คมอยรู่ ่วมกนั อยา่ งมีความสุข เช่น มารยาทในดา้ นต่างๆ การแต่งการตามกาลเทศะ การแสดงความเคารพต่อกนั ในส่วนของนกั สงั คมวิทยาบางท่านไดแ้ บ่งวฒั นธรรมออกเป็น 3 ประเภท คือ * 1. วฒั นธรรมทางแนวความคิด หมายถึง วฒั นธรรมท่ีเก่ียวกบั ความคิดเห็น ความ เช่ือหรือความรู้สึกนึกคิด ซ่ึงอาจถูกหรือผดิ กไ็ ด้ เช่น เช่ือวา่ ทาดีไดด้ ี ทาชว่ั ไดช้ ว่ั 2. วฒั นธรรมทางบรรทดั ฐาน หมายถึง ระเบียบแบบแผนหรือประเพณีที่บุคคลใน สงั คมยดึ ถือร่วมกนั ไดแ้ ก่ 2.1 วถิ ีชาวบา้ น (mores) คือ ระเบียบแบบแผนที่บุคคลในสงั คม ควรจะปฏิบตั ิ เช่น การตอ้ นรับแขก การบวชเพอ่ื ทดแทนบุญคุณบิดา มารดา เมื่อถึงวยั เป็นตน้ 2.2 จารีต (mores) คือ ระเบียบแบบแผนท่ีบุคคลในสังคม จะตอ้ งปฏิบตั ิ หาก ฝ่ าฝืนกจ็ ะถือวา่ ทาผดิ ทางศีลธรรม สงั คมอาจรังเกียจหรือถูกปฏิเสธจากสงั คม เช่น ทาร้ายหรือ ทอดทิ้งพอ่ แม่ ฉอ้ โกงหรือหลอกลวงประชาชนนอกจากน้ีลกั ษณะของความผดิ บางอยา่ งยงั ถูกลง โทษในทางกฎหมายดว้ ย 2.3 กฎหมาย (laws) คือ ระเบียบ ขอ้ บงั คบั ท่ีทุกคนในสมยั ตอ้ งปฏิบตั ิหากฝ่าฝืนจะถูกลงโทษตามขอ้ บงั คบั ของกฎหมายบา้ นเมือง เช่น การฆาตกรรม มีโทษต้งั แต่จาคุกถึงประหารชีวติ การทาร้ายร่างกาย มีโทษต้งั แต่ปรับ ถึง จาคุก เป็นตน้ 3. วฒั นธรรมทางวตั ถุ คือ สิ่งต่างๆ ที่มนุษยส์ ร้างข้ึนโดยสามารถสมั ผดั ไดจ้ ากการแตะตอ้ ง และมองเห็น เพือ่ นามาใชเ้ ป็นประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิต 4. เป็นส่ิงท่ีช่วยใหเ้ กิดการพฒั นาความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยแี ละนารายไดเ้ ขา้ ประเทศ เพราะการประดิษฐค์ ิดคน้ สิ่งของบางอยา่ ง สามารผลิตเพ่ือการจาหน่ายใหก้ บั ประชาชนทว่ั ไปท้งั ภายในและภายนอกประเทศ มีการปรับปรุงส่ิงต่างๆ ใหท้ นั สมยั อยเู่ สมอ จน กลายเป็นเทคโนโลยใี นสงั คมปัจจุบนั ที่พฒั นาข้ึนไปเรื่อย ๆ 5. เป็นส่ิงท่ีทาใหร้ ะเบียบแบบแผน สร้างความสงบสุขใหก้ บั มนุษย์ เพราะ ทุกคนที่จะมีแบบแผนของการอยรู่ ่วมกบั ในสงั คมดว้ ยดีตามกฎเกณฑท์ ่ีกาหนดข้ึน

ประเภทของวฒั นธรรม วฒั นธรรม คือ สิ่งท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึน ซ่ึงมีอยมู่ ากมาย มีท้งั สิ่งเก่ียวขอ้ งกบั การดาเนินชีวติ โดยตรง ชีวิตโดยตรง และโดยออ้ ม ดงั น้ีจึงแบ่งวฒั นธรรมเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ดงั น้ี 1. วฒั นธรรมที่เป็นวตั ถุ (material culture) หรือวฒั นธรรมท่ีเป็นรูปธรรม ไดแ้ ก่ ส่ิงของเคร่ืองใช้ และสิ่งประดิษฐต์ ่างๆ ที่สามารถมองเห็นและแตะตอ้ งได้ เช่น อาคารบา้ นเรือนสิ่งก่อสร้าง เส้ือผา้ อาหาร เครื่องใชไ้ ฟฟ้า รถยนต์ เครื่อง ฯลฯ ส่ิงที่เป็นวตั ถุเหล่าน้ีบ่อบอกถึงความเป็นวฒั นธรรมของ แต่ละสงั คมไดเ้ ป็นอยา่ งดี เช่น การสร้างบา้ นเรือนของแต่ละสงั คมไดเ้ ป็นอยา่ งดี เช่นการสร้างบา้ นเรือน ของแต่ละสงั คมจะมีรูปแบบและใชว้ ตั ถุในการก่อสร้างแตกต่างกนั ไปตามลกั ษณะของทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ มท่ีเป็นอยู่ 2. วฒั นธรรมที่ไม่ใช่วตั ถุส่ิงของ (Non – Material culture) หรือวฒั นธรรมท่ีเป็นนามธรรม คือ สิ่งท่ีไม่มีตวั ตน จบั ตอ้ งไม่ได้ เป็นนามธรรม คือ สิ่งที่มีตวั ตน จบั ตอ้ งไม่ไดส้ ่วนใหญ่จะเป็นลกั ษณะพฤติกรรม และแนวคิด อุดมการณ์ ของมนุษย์ ไดแ้ ก่ 2.1 คา่ นิยม คือ ส่ิงที่สงั คมยอมรับวา่ เป็นสิ่งดีงาม ถูกตอ้ งและเหมาะสม สมควรท่ีจะยดึ ถือปฏิบตั ิ เช่น คา่ นิยมในการยกยอ่ งผมู้ ีความรู้ ค่านิยมในการนบั ถือผอู้ าวโุ ส เป็นตน้ 2.2 ความเชื่อ คือ ความผดิ ท่ีมนุษยย์ อมรับและเช่ือถือ อาจเป็นความคิดท่ียอมรับกนั ทว่ั ไป หรือเฉพาะบางกลุ่มบางสงั คม ส่วนใหญ่มกั จะเป็นความช่ือถือ เก่ียวกบั ศาสนาวญิ ญาณ ส่ิงศกั ด์ิสิทธ์ิ หรือโชคลาง เป็นตน้ ลกั ษณะของวฒั นธรรม ทุกสงั คมคมจะมีลกั ษณะของวฒั นธรรมแตกต่างกนั ไปตามสภาพแวดลอ้ ม แต่ลกั ษณะท่ี เหมือนกนั ของทุกวฒั นธรรม ไดแ้ ก่ 1. เป็นท่ีเกิดข้ึนจากการเรียนรู้ วฒั นธรรมไม่ไดเ้ กิดข้ึนเองตามธรรมชาติ มนุษยจ์ ะตอ้ ง เรียนรู้สิ่งต่างๆ ดว้ ยตวั เอง หรือตอ้ งไดร้ ับการสงั่ สอน อบรม ถ่ายทอดจากบุคคล สงั คมและสิ่งแวดลอ้ ม ซ่ึงการเรียนรู้น้นั อาจจะไดจ้ ากการเรียนรู้ในระบบและนอก ระบบโรงเรียน ต้งั ใจ และ ไม่ต้งั ใจ เช่น มนุษยจ์ ะปลูกขา้ ว เล้ียงสตั ว์ ปลูกบา้ น ทอ ผา้ หรือแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ออกมาไดน้ ้นั จะไดเ้ รียนรู้มาก่อน ท้งั จารดกการสอน อบรม กระทาเป็นแบบอยา่ งจาก พอ่ แม่ ญาติ พ่ี นอ้ ง หรือ จากประสบการณ์ท่ีพบ เห็นจากสงั คม สิ่งต่างๆ น้ีจากประสบการณ์ที่พบเห็นจากสงั คม ส่ิงต่าง ๆ

น้ีเองทาใหม้ นุษยแ์ ตกต่างจากสตั วเ์ พราะพฤติกรรมของสตั วน์ ้นั ส่วนใหญ่เกิดจาก สญั ชาตญาณ แต่ มนุษยม์ ีพฤติกรรมท่ีเกิดจากการเรียนรู้ ท้งั น้ีเพราะ มนุษยม์ ีสมอง จึงรู้จกั คิด รู้จกั ที่จะพฒั นาปรับ ปรุงสิ่งท่ีไดเ้ รียนรู้มาใหเ้ กิดคุณภาพหรือประโยชนแ์ ก่ตนเองและสงั คม 2. เป็นส่ิงที่มนุษยส์ ร้างข้ึน เพอื่ ใชเ้ ป็นเคร่ืองอานวยประโยชน์ในการดาเนินชีวิต และส่ิงท่ีถือเป็นวฒั นธรรมน้ีไม่ใช่เป็นของบุคคลใดบุคคลหน่ึง แต่เป็นทุกคนในสงั คมที่จะช่วย กนั สร้างสรรค์ และปรับปรุงใหย้ งั คงมีอยรู่ ่วมกนั ต่อไป หากบุคลใดประดิษฐค์ ิดคน้ สิ่งใดแต่มิได้ เปิ ดเผยหรือใหผ้ อู้ ่ืนมีสิทธิร่วมใชแ้ ละเรียนรู้สิ่งน้นั จะไม่จดั เป็นวฒั นธรรม 3. เป็นมรดกของสงั คม วฒั นธรรมเป็นสิ่งท่ีบ่งบอกถึงความยงิ่ ใหญ่ และความเจริญ กา้ วหนา้ ของสงั คม ชาติใดสงั คมใดมีวฒั นธรรมเป็นของตนเองและสืบทอดมาชา้ นาน ยอ่ มสร้าง ความภาคภูใจใหส้ งั คมในสมยั น้นั ๆ ประเทศไทยกเ็ ป็นชาติหน่ึงท่ีมีวฒั นธรรมสืบทอดยาวนาน เป็นของตนเอง การที่ถือวา่ วฒั นธรรมเป็นมรดกของสงั คม เพราะมีการถ่ายทอดกนั มา ซ่ึง เครื่องมือที่มนุษยถ์ ่านทอดความเจริญกา้ วหนา้ สู่รุ่นต่อๆ กนั ไปไดค้ ือ ภาษา และภาษายงั ช่วยให้ มนุษยแ์ สดงถึงความรู้สึก รู้จกั และเขา้ ใจบุคคลอื่นได้ ภาษาจึงเป็นส่วนประกอบที่สาคญั และใชก้ นั อยใู่ นทุกวฒั นะธรรม หากไม่มีภาษาจะไม่มีวฒั นธรรมใหส้ ืบทอดมาจนทุกวนั น้ี 4. เป็นวถิ ีชีวติ หรือแบบแผนการดาเนินชีวิต การดาเนินชีวติ ของบุคคลในแต่ละสงั คม จะแตกต่างกนั ไปสภาพภูมิศาสตร์ และทรัพยารกสิ่งแวดลอ้ ม ดงั น้นั วฒั นธรรมท่ีเกิดข้ึนในแต่ละ สงั คมจะแตกต่างกนั ไป แตล่ ะสงั คมกจ็ ะมีวฒั นธรรมเฉพาะของตนเอง ตาละบุคคลกจ็ ะเรียนรู้ วฒั นธรรมของตนเอง ซ่ึงจะเปล่ียนแปลงไปตามเวลา และสถานการณ์ของสงั คม เช่น วฒั นธรรม ดา้ นการแต่งกาย การประกอบอาหาร การประอาชีพ ฯลฯ ในสมยั กรุงสุโขทยั กจ็ ะแตกต่างกนั สมยั อยธุ ยา และกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นตน้ การท่ีวฒั นธรรมในการดาเนินชีวิตของแต่ละสงั คมแตกต่างกนั กเ็ พราะความ เหมาะสมของแต่ละสงั คม ไม่สามารถนาวฒั นธรรมมาเป็นเครื่องช้ีวดั ไดว้ า่ งวฒั นธรรมของใคร ดีกวา่ ของใครหรือดูถูกวฒั นธรรมอ่ืนวา่ ลา้ หลงั กวา่ ของตนได้ นอกจากบุคคลในสงั คมต่างยอมรับ วา่ น่าจะนาเอาวฒั นธรรมจากสงั คมอ่ืนท่ีจะเป็นประโยชน์มากข้ึนมาใชก้ บั สงั คมตน เช่น ในสมยั กรุง รัตนโกสินทร์ใหข้ นุ นาง ขา้ ราชการ และประชาชนเปล่ียนมาสวมเส้ือเขา้ เฝ้าได้ เพราะทาใหด้ ูเป็น ระเบียบเรียนร้อยมากข้ึน หรือการใหป้ ระชาชนเลิกกินหมา ซ่ึงเป็นผลดีของสุขภาพของประชาชน เองเป็ นตน 5.เป็นส่ิงที่มีการเปล่ียนอยเู่ สมอ การที่สภาพสงั คมมนุษยเ์ ปล่ียนแปลงไป ตามกาลเวลา จึงเป็นส่ิงที่มนุษยจ์ ะตอ้ งมีการประดิษฐค์ ิดคน้ ปรับปรุง เปล่ียนแปลงและพฒั นา สิ่งต่างๆ ใหท้ นั สมยั หรือเกิดข้ึนมาใหม่ เพอื่ ความเหมาะสมกบั สภาพความเป็นอยู่ และตอบสนอง ความตอ้ งการของตนได้ เช่น วธิ ีการเพราะปลูกแบบดงั่ เดิมที่ใชแ้ รงงานคน และสตั วอ์ ยา่ งเดียวน้นั

ไม่เหมาะสมกบั สภาพปัจจุบนั จึงมีการประดิษฐค์ ิดคน้ เทคโนโนยเี ครื่องมือใหม่ๆ มาใชใ้ นการ เพาะปลูก เพอื่ ใหไ้ ดผ้ ลผลิตที่เพ่มิ ข้ึน และประสิทธิภาพสูงข้ึนดว้ ย ดงั น้นั การเปลี่ยนแปลงของ วฒั นธรรมในสงั คมจึงเกิดข้ึนตลอดเวลา สิ่งใดไม่ดี หรือลา้ นสมยั จะถูกทิ้งไป ส่ิงใดดีกย็ งั ควรรักษา ไว้ หรือมีการปรับปรุงข้ึนมาใหม่อยเู่ สมอ วฒั นธรรมจึงไม่ใช่สิ่งท่ีตายตวั แต่ตอ้ งเป็นสิ่งท่ีมีการ เปล่ียนแปลงและปรับตวั อยเู่ สมอ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook