Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 6 นางสาวกัญญาณัฐ กูลณรงค์ รหัส1106 ออกแบบภายในปี3 ภาคปกติ

บทที่ 6 นางสาวกัญญาณัฐ กูลณรงค์ รหัส1106 ออกแบบภายในปี3 ภาคปกติ

Published by กัญญาณัฐ กูลณรงค์, 2022-08-02 17:34:29

Description: บทที่ 6นางสาวกัญญาณัฐ กูลณรงค์ รหัส1106 ออกแบบภายในปี3 ภาคปกติ

Search

Read the Text Version

วิชา อนิ เทอร์เนต็ และพาณิชย์อเิ ลก็ เทอร์นิกส์พืน้ ฐาน นางสาวกญั ญาณฐั กูลณรงค์ รหสั 4631071141106 ออกแบบภายปี 3 แบบฝึ กหัด เร่ืองความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกบั ระบบการสื่อสารขอ้ มลู อภิปรายและตอบคาถามในหัวขอ้ ดงั ต่อไปน้ี 1. จงบอกความหมายของระบบการสื่อสารข้อมูล ตอบ ระบบการส่ือสารขอ้ มูล คือ การโอนถ่ายหรือแลกเปล่ียนข้อมูล (Transmission) กันระหว่างตน้ ทางกับ ปลายทางโดยผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือคอมพิวเตอร์ ระบบการสื่อสารขอ้ มูลอิเล็กทรอนิกส์ตอ้ งอาศยั อุปกรณ์หรือเคร่ืองมืออิเล็กทรอนิกส์ช่วยในการถ่ายโอนหรือเคลื่อนยา้ ยขอ้ มูล รวมท้งั ยงั ตอ้ งอาศยั สื่อกลางใน การนาขอ้ มูลจากตน้ ทางไปยงั ปลายทางคอมพิวเตอร์ซอฟตแ์ วร์และโปรแกรมที่ใชค้ วบคุมการไหลของขอ้ มูล และบุคลากรผูด้ าเนินงานจะช่วยส่งเสริมในการปฏิบตั ิการและจดั การในส่วนต่างๆท้งั หมด เพ่ือให้การสื่อสาร ขอ้ มูลเป็นไปตามตอ้ งการ 2. อธบิ ายองค์ประกอบพืน้ ฐานระบบการส่ือสารข้อมูล ตอบ องคป์ ระกอบพ้นื ฐานหลกั 4 อยา่ งในระบบสื่อสารขอ้ มลู ไดแ้ ก่ 1. ผูส้ ่งหรืออุปกรณ์ขอ้ มูล (Sender) และ ผูร้ ับหรืออุปกรณ์รับขอ้ มูล (Receiver) ท้งั อุปกรณ์รับและส่ง ขอ้ มลู อาจจะเป็นอปุ กรณ์ชนิดเดียวกนั กไ็ ดอ้ ุปกรณ์รับ/ ส่งขอ้ มลู มี 2 ชนิดคือ 1.1 Data Terminal Equipment (DTE) เป็นแหลง่ กาเนิดและรับขอ้ มูล เช่น คอมพิวเตอร์ เทอร์มินลั คอมพิวเตอร์ เมนเฟรม เคร่ืองพิมพ์ เป็นตน้ 1.2 Data Communication Equipment (DCE) เป็ นอุปกรณ์ในการรับ/ ส่งขอ้ มูล เช่น โมเด็ม จาน ไมโครเวฟ หรือจานดาวเทียม Fibrotic Infrared Wireless เป็น ตน้ 2. โปรโตคอล (Protocol) หรือซอฟตแ์ วร์ (Software) 2.1 โปรโตคอล คือ วิธีการหรือกฎระเบียบที่ใชใ้ นการสื่อสารขอ้ มูลเพื่อให้ผรู้ ับและผสู้ ่งขอ้ มูล เขา้ ใจกนั สามารถติดตอ่ สื่อสารกนั ได้ ตวั อยา่ งคอื x.25 SDLC TCP/IP

3. ซอฟตแ์ วร์ คือ ส่วนท่ีทาหนา้ ที่ในการดาเนินงานในการส่ือสารขอ้ มูลเป็นไปตามที่โปรแกรมกาหนด ตวั อยา่ งคือ Windows หรือ Novell’s Netware เป็นตน้ 4. ข่าวสาร (Message) ข่าวสาร คือสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผ่านไปในระบบสื่อสาร บางคร้ังเรียกว่า สารสนเทศ (Information) รูปแบบของขา่ วสารมี 4 รูปแบบ คือ 4.1 เสียง (Voice) 4.2 ขอ้ มูล (Data) 4.3 ขอ้ ความ (Text) 4.4 ภาพ (Picture) 5. ส่ือกลาง (Medium) เป็ นสื่อกลางท่ีใชใ้ นการส่ือสารขอ้ มูลจากตน้ กาเนิดไปยงั ปลายทางสื่อกลางน้ี อาจจะเป็น เสน้ ลวด สายไฟ สายเคเบิล หรือสายไฟเบอร์ออปติก เป็นตน้ หรืออาจจะเป็นคล่ืนท่ีส่งผ่านในอากาศ เช่น คลื่นไมโครเวฟ คลื่นดาวเทียม หรือ คล่ืนวทิ ยุ เป็นตน้ 3. จงบอกการส่งสัญญาณบนส่ือกลางข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ ตอบ สื่อกลางส่งขอ้ มูล ประกอบดว้ ยวสั ดุและรวมถึงการนาเทคนิคต่างๆ มาใชเ้ พื่อนาส่ง สัญญาณ โดยส่ือกลาง ส่งข้อมูลอาจเป็ นได้ท้ังแบบมีสายสัญญาณหรือเคเบิลต่างๆ รวมถึง ส่ือกลางแบบไร้สาย เช่น คลื่นวิทยุ อินฟราเรด หรือดาวเทียม เป็ นตน้ เมื่อมีการส่งขอ้ มูล จากคอมพิวเตอร์สัญญาณเหล่าน้ีจะเดินไปตามส่ือกลาง และพ้ืนฐานความเป็ นจริงส่ือกลาง ที่นามาใช้เพื่อเชื่อมโยงบนเครือข่ายท่ีมีระยะทางไกลๆ อาจประกอบด้วย สื่อกลาง หลากหลายชนิดท่ีนามาใชง้ านร่วมกนั และอาจมีความแตกต่างกนั ตามความเหมาะสมบน พ้ืนท่ีน้นั ๆ สาหรับเทคนิคการส่งสญั ญาณบนสื่อกลาง อาจส่งเพียงสญั ญาณเดียวหรือมากกวา่ หน่ึงสญั ญาณก็เป็นได้ 3.1 การส่งสัญญาณบนส่ือกลางแบบเบสแบนด์ (Baseband) เป็ นการใช้ช่องทาง การสื่อสารเพียง ช่องทางเดียวสาหรับการส่งสัญญาณดิจิทลั ในแตล่ ะคร้ังในช่วงเวลาหน่ึง โดยเครือข่ายคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่มกั ใชก้ ารส่งสญั ญาณชนิดน้ี เนื่องจากเป็นวิธีการที่ไม่ ซบั ซอ้ นและสามารถจดั การควบคมุ งา่ ย 3.2 การส่งสัญญาณบนสื่อกลางแบบบรอดแบนด์ (Broadband) เป็ นการใช้ ช่องทางการส่ือสารหลาย ช่องทางเพ่ือส่งสัญญาณอนาล็อก (Analog) โดยแต่ละคร้ังขอ้ มูล สามารถจดั ส่งหรือลาเลียงบนช่วงความถ่ีท่ี แตกต่างกนั ดงั น้นั การส่งสัญญาณชนิดน้ีจะมี ระบบการจดั การท่ียุ่งยากกว่าการส่งสัญญาณแบบเบสแบนดม์ าก

เพราะจะตอ้ งจดั การกบั จานวนขอ้ มลู ต่างๆ ท่ีลาเลียงอยบู่ นหลายช่องความถ่ี บนสายส่ง สาหรับสื่อกลางขอ้ มูลท่ี นามาใชเ้ พ่ือส่งสัญญาณแบบบรอดแบนด์น้นั จะรับรองความเร็ว ที่สูงกว่าแบบเบสแบนด์ และมีตน้ ทุนสูงกว่า โดยปัจจุบนั มกั มีการนาเทคโนโลยีบรอดแบนด์มาใช้งานตามบา้ นเรือน ที่พกั หรือองค์กรธุรกิจมากข้ึน เช่น เทคโนโลยบี รอดแบนดอ์ ินเทอร์เน็ต เป็นตน้ 4. ให้นักศึกษายกตัวอย่างชนิดสื่อกลางส่งข้อมูลที่นามาใช้งานบนเครือข่ายน้ันท้ังแบบสื่อกลางส่งข้อมูลแบบใช้ สายและแบบไร้สาย พร้อมท้ังอธบิ ายการทางาน ตอบ ส่ือกลางแบบใช้สาย สายคู่บิดเกลียว (twisted pair cable) ลกั ษณะของสายคู่บิด เกลียวแตล่ ะคู่จะทาดว้ ยสาย ทองแดง 2 เส้น แต่ละเส้นจะมีฉนวนหุ้มพนั กนั เป็ นเกลียว เพ่ือป้องกันการรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า นอกจากน้ีสายคู่บิดเกลียวยงั สามารถแบ่งออกเป็ นประเภทที่ไม่มีฉนวนป้องกนั สัญญาณรบกวนหรือเรียกว่า สายยูทีพี (UTP: Unshielded Twisted-Pair Cable) สายบิดเกลียวแบบไม่มีโลหะห่อหุ้มนิยมใช้กับ Ethernet network ซ่ึงมีความเร็วในการส่งข้อมูลประมาณ 10 Mbps กับแบบที่มีฉนวน ป้องกันสัญญาณรบกวน หรือ เรียกว่าสายเอสทีพี (STP: Shielded Twisted-Pair cable) สายบิดเกลียวแบบมีโลหะห่อหุ้มมีความเร็วในการส่ง ขอ้ มูลสูง มีช้นั โลหะที่ทาหนา้ ที่ป้องกนั สญั ญาณรบกวนจากภายนอก จึงทาใหม้ ีราคาแพงกวา่ สาย UTP สื่อกลางแบบไร้สาย สัญญาณทูธ (Bluetooth) การทางานของ Bluetooth จะใช้สัญญาณวิทยุความถี่สูง 2.4 GHz. (กิ๊ก กะเฮิร์ซ) แตจ่ ะแยกยอ่ ยออกไป ตามแตล่ ะประเทศ อยา่ งในแถบยโุ รปและอเมริกา จะใชช้ ่วง 2.400 ถึง 2.4835 GHz. แบ่งออกเป็ น 79 ช่องสัญญาณ และจะใช้ช่องสัญญาณที่แบ่งน้ี เพื่อส่งขอ้ มูลสลบั ช่องไปมา 1,600 คร้ังต่อ 1 วินาที ส่วนที่ญ่ีป่ ุนจะใช้ความถ่ี 2.402 ถึง 2.480 GHz. แบ่งออกเป็ น 23 ช่อง ระยะทาการของ Bluetooth จะอยู่ท่ี 5-10 เมตร โดยมีระบบป้องกันโดยใช้การป้อนรหัสก่อนการเช่ือมต่อและป้องกันการดกั สัญญาณระหว่างส่ือสารโดยระบบจะสลบั ช่องสัญญาณไปมา จะมีความสามารถในการเลือกเปลี่ยนความถี่ท่ีใช้ ในการติดต่อเองอตั โนมตั ิ โดยที่ไม่จาเป็นตอ้ งเรียงตามหมายเลขช่องทาใหก้ ารดกั ฟังหรือลกั ลอบขโมยขอ้ มูลทา ไดย้ ากข้ึน โดยหลกั ของบลูทูธจะถูกออกแบบมาเพื่อใชก้ บั อุปกรณ์ท่ีมีขนาดเล็ก เน่ืองจากใชก้ ารขนส่งขอ้ มูลใน จานวนที่ไม่มากอย่างเช่น ไฟลภ์ าพ, เสียง, แอพพลิเคชนั่ ต่างๆและสามารถเคล่ือนยา้ ยไดง้ า่ ย ขอให้อยใู่ นระยะท่ี กาหนดไวเ้ ทา่ น้นั (ประมาณ 5-10 เมตร) นอกจากน้ียงั ใชพ้ ลงั งานต่า กินไฟนอ้ ย และสามารถใชง้ านไดน้ าน โดย ไม่ต้องนาไปชาร์จไฟบ่อย ๆ ด้วย ส่วนความสามารถการส่งถ่ายข้อมูลของ Bluetooth จะอยู่ท่ี 1 Mbps (1 เมกกะบิตต่อวินาที) และจะไม่มีปัญหาอะไรกบั ขนาดของไฟลท์ ่ีใชก้ นั บนโทรศพั ทม์ ือถือ หรือ การใชง้ านแบบ ทว่ั ไปซ่ึงถือวา่ เหลือเฟื อมาก แตถ่ า้ เป็นขอ้ มลู ที่มีขนาดใหญ่ก็คงจะชา้ เกินไป และถา้ ถกู นาไปเปรียบกบั Wireless

LAN (WLAN) แลว้ ความสามารถของ Bluetooth คงแตกต่างกนั ซ่ึงในส่วนของ WLANกย็ งั มีระยะการรับ-ส่งท่ี ไกลกว่า แต่ข้อได้เปรียบของ Bluetooth จะอยู่ที่ขนาดท่ีเล็กกว่าการติดต้งั ทาได้ง่ายกว่าและท่ีสาคญั การใช้ พลงั งานก็นอ้ ยกวา่ มาก อยทู่ ี่ 0.1 วตั ต์ หากเทียบกบั คล่ืนมือถือแลว้ ยงั ห่างกนั อยหู่ ลายเท่า 5.จงอธบิ ายการทาหน้าทขี่ องอุปกรณ์ท่ใี ช้ในการส่งรับข้อมูลการส่ือสาร มาอย่างน้อย 3 ชนดิ ตอบ 1.อิมูเลเตอร์ (Emulator) อิมูเลเตอร์เป็นอปุ กรณ์ที่ทาหนา้ ท่ีเปล่ียนกลมุ่ ข่าวสารจาก โปรโตคอลแบบหน่ึงไป เป็นกลุ่มข่าวสาร ซ่ึงใชโ้ ปรโตคอลอีกแบบหน่ึง แต่จะเป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์หรือเป็ นโปรแกรมซอฟตแ์ วร์ก็ได้ บางคร้ังอาจจะเป็ นท้งั 2 อย่าง โดยทาให้คอมพิวเตอร์ท่ีต่อเขา้ มาน้ันดูเหมือนเป็ นเครื่องเทอร์มินลั หน่ึงเคร่ือง โฮสตห์ รือมินิคอมพิวเตอร์ในปัจจุบนั นิยมนาเครื่อง PC มาใชเ้ ป็ นเทอร์มินัลของเครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ ท้งั น้ีเพราะประหยดั กวา่ และเม่ือไรที่ไม่ใชต้ ิดต่อกบั มินิ หรือเมนแฟรมกส็ ามารถใชเ้ ป็น PC ทว่ั ไปได้ 2.โมเด็ม (MODEM) MODEM มาจากคาเต็มว่า Modulator – DEModulator ทาหน้าท่ีแปลงสัญญาณ ขอ้ มูลดิจิตอล ท่ีไดร้ ับจากเครื่องส่งหรือคอมพิวเตอร์ เป็นสัญญาณแบบอนาลอกก่อนทาการส่งไปยงั ปลายทาง ต่อไป โดยผ่านเครือข่ายโทรศพั ท์ และเม่ือส่งถึงปลายทางก็จะมีโมเด็มทาหนา้ ที่แปลงสัญญาณจากอนาลอกให้ เป็นดิจิตอล เพื่อใชก้ บั คอมพวิ เตอร์ปลายทาง 3.มลั ติเพล็กซ์เซอร์ (Multiplexer) วิธีการเชื่อมต่อการส่ือสารระหวา่ งผรู้ ับและผสู้ ่งปลายทางที่ง่ายท่ีสุด คือ การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด (Point to Point) แต่ตอ้ งเสียค่าใชจ้ ่ายสูงและใชง้ านไม่เต็มท่ี จึงมีวิธีการเชื่อมต่อท่ี ยงุ่ ยากข้นึ คอื การเช่ือมต่อแบบหลายจุดซ่ึงใชส้ ายสื่อสารเพยี งเสน้ 802.3 4.คอนเซนเตรเตอร์ (Concentrator) คอนเซนเตรเตอร์เป็นมลั ติเพลก็ ซ์เซอร์ท่ีมีประสิทธิภาพสูง สามารถ เพิม่ สายหรือช่องทางการส่งขอ้ มลู ไดม้ ากข้ึน การส่งขอ้ มูลจะเป็นแบบอซิงโครนสั