สารบัญ หนา้ 1 เรื่อง 4 มาตรฐานและตวั ชีว้ ัด 5 คำอธบิ ายรายวิชา 6 โครงสร้างรายวิชา 7 โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 9 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 เร่ือง ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา 13 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ใชผ้ ังงานแสดงขั้นตอนในการทำงาน/การแกป้ ญั หา 19 24 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 3 เรื่อง วธิ ปี กป้องสิทธ์ใิ นผลงานตนเอง 30 แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 4 เรอ่ื ง เขียนโปรแกรมแบบมเี งอื่ นไข 1 34 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 5 เรื่อง ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศทำงานรว่ มกนั อยา่ งปลอดภยั 38 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 6 เรื่อง แนวทางการสำรองข้อมลู 44 แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 7 เรื่อง เขียนโปรแกรมแบบมีเงอื่ นไข 2 49 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 8 เรื่อง เขียนโปรแกรมเพื่อสุ่มคา่ 54 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 9 เรอ่ื ง เขียนโปรแกรมตรวจสอบการกดแป้นพมิ พจ์ ากผู้ใช้ 63 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 10 เรอ่ื ง ใชง้ านโปรแกรมเอกสารออนไลน์ร่วมกนั 67 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 11 เร่อื ง จัดกลมุ่ ขอ้ มลู 72 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 เรอ่ื ง ใชง้ านโปรแกรมตารางทำงานรว่ มกนั 78 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 13 เรื่อง คน้ หาขอ้ มูลข้ันสงู 84 แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 14 เรื่อง เรียบเรียงและสรุปข้อความจากแหล่งข้อมูล แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 15 เรอ่ื ง ปกป้องขอ้ มลู ส่วนตวั
1 มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั วชิ า วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ป.6 สาระท่ี 1วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัตขิ องสิง่ มีชีวติ หน่วยพน้ื ฐานของส่ิงมีชีวติ การลำเลยี งสารผ่านเซลล์ความสัมพันธ์ ของโครงสร้าง และหน้าทีข่ องระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ทีท่ ำงานสัมพันธก์ ัน ความสมั พนั ธ์ของโครงสรา้ ง และ หนา้ ทขี่ องอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพนั ธก์ นั รวมทง้ั นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ตวั ช้วี ัด ว 1.2 ป.6/1 ระบุสารอาหารและบอกประโยชน์ของสารอาหารแต่ละประเภทจากอาหารทต่ี นเอง รบั ประทาน ว 1.2 ป.6/2 บอกแนวทางในการเลือกรบั ประทานอาหารใหไ้ ด้สารอาหารครบถว้ นในสดั ส่วนทีเ่ หมาะสมกับ เพศและวัย รวมทงั้ ความปลอดภัยต่อสุขภาพ ว 1.2 ป.6/3 ตระหนักถงึ ความสำคญั ของสารอาหาร โดยการเลือกรับประทานอาหารทม่ี ีสารอาหาร ครบถว้ นในสดั ส่วนท่เี หมาะสมกับเพศและวยั รวมทั้งปลอดภยั ต่อสุขภาพ ว 1.2 ป.6/4 สรา้ งแบบจำลองระบบยอ่ ยอาหาร และบรรยายหนา้ ทีข่ องอวัยวะในระบบย่อยอาหาร รวมทั้ง อธิบายการย่อยอาหารและการดดู ซึมสารอาหาร ว 1.2 ป.6/5 ตระหนักถงึ ความสำคัญของระบบย่อยอาหาร โดยการบอกแนวทางในการดแู ลรกั ษาอวยั วะใน ระบบย่อยอาหารให้ทำงานเป็นปกติ สาระที่ 2วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 เขา้ ใจสมบัตขิ องสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสมบตั ขิ องสสารกบั โครงสร้าง และแรงยดึ เหนี่ยวระหวา่ งอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลีย่ นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และ การเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี ตวั ช้วี ัด ว 2.1 ป.6/1 อธบิ ายและเปรียบเทียบการแยกสารผสมโดยการหยบิ ออก การรอ่ น การใช้แมเ่ หล็กดึงดดู การรนิ ออก การกรอง และการตกตะกอน โดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ รวมทง้ั ระบุวิธีแก้ปญั หาในชวี ิตประจำวนั เก่ยี วกบั การแยกสาร มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาตขิ องแรงในชวี ติ ประจำวันผลของแรงท่ีกระทำต่อวัตถุลกั ษณะการเคลอื่ นทแ่ี บบ ต่างๆของวตั ถรุ วมท้ังนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชวี้ ัด ว 2.2 ป.6/1 อธิบายการเกิดและผลของแรงไฟฟ้าซึ่งเกิดจากวัตถทุ ่ีผา่ นการขัดถูโดยใชห้ ลักฐานเชิง ประจักษ์
2 สาระท่ี2วทิ ยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลงั งาน การเปลย่ี นแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ ง สสารและพลงั งาน พลังงานในชีวติ ประจำวนั ธรรมชาตขิ องคลื่น ปรากฏการณท์ ี่เกยี่ วข้องกับเสียง แสง และคลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟา้ รวมทัง้ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ตวั ชว้ี ัด ว 2.3 ป.6/1 ระบสุ ว่ นประกอบและบรรยายหน้าท่ี ของแต่ละส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า อยา่ งง่ายจาก หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ ว 2.3 ป.6/2 เขยี นแผนภาพและตอ่ วงจรไฟฟา้ อยา่ งงา่ ย ว 2.3 ป.6/3 ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวธิ ที ีเ่ หมาะสมในการอธบิ ายวธิ ีการและผลของการตอ่ เซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม ว 2.3 ป.6/4 ตระหนกั ถึงประโยชนข์ องความรขู้ องการตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้าแบบอนุกรมโดยบอกประโยชน์และ การประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจำวนั ว 2.3 ป.6/5 ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธที ี่เหมาะสมในการอธบิ ายการต่อหลอดไฟฟา้ แบบ อนกุ รมและแบบขนาน ว 2.3 ป.6/6 ตระหนกั ถงึ ประโยชน์ของความรขู้ องการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน โดยบอก ประโยชน์ ข้อจำกัด และการประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน ว 2.3 ป.6/7 อธบิ ายการเกิดเงามืดเงามัวจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ ว 2.3 ป.6/8 เขยี นแผนภาพรงั สีของแสงแสดงการเกดิ เงามดื เงามวั สาระท่ี 3วิทยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ มาตรฐาน ว 3.1 เขา้ ใจองคป์ ระกอบลกั ษณะกระบวนการเกดิ และวิวัฒนาการของเอกภพกาแลก็ ซีดาวฤกษ์ และระบบสุริยะรวมทั้งปฏสิ ัมพนั ธ์ภายในระบบสุรยิ ะท่สี ่งผลต่อสิง่ มชี ีวิตและการประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยอี วกาศ ตัวชี้วัด ว 3.1ป.6/1 สรา้ งแบบจำลองทอ่ี ธบิ ายการเกิด และเปรียบเทยี บปรากฏการณส์ รุ ิยุปราคา และ จันทรุปราคา ว 3.1ป.6/2 อธบิ ายพฒั นาการของเทคโนโลยอี วกาศ และยกตัวอยา่ งการนำเทคโนโลยอี วกาศมาใช้ ประโยชน์ในชวี ิตประจำวัน จากขอ้ มลู ท่ีรวบรวมได้ มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบ และความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก และบนผวิ โลก ธรณีพิบตั ภิ ัย กระบวนการเปลีย่ นแปลงลมฟ้าอากาศและภูมอิ ากาศโลกรวมทั้งผลต่อสง่ิ มชี ีวติ และ ส่ิงแวดลอ้ ม ตัวชี้วัด ว 3.2ป.6/1 เปรียบเทียบกระบวนการเกิดหนิ อคั นี หินตะกอน และหนิ แปรและอธิบายวัฏจักรหินจาก แบบจำลอง
3 ว 3.2ป.6/2 บรรยายและยกตวั อย่างการใชป้ ระโยชน์ของหินและแร่ในชวี ิตประจำวนั จากข้อมูล ท่ี รวบรวมได้ ว 3.2ป.6/3 สรา้ งแบบจำลองทอ่ี ธบิ ายการเกดิ ซากดึกดำบรรพแ์ ละคาดคะเนสภาพแวดล้อมในอดีต ของซากดกึ ดำบรรพ์ ว 3.2ป.6/4 เปรยี บเทยี บการเกดิ ลมบก ลมทะเล และมรสุม รวมท้ังอธบิ ายผลที่มตี อ่ สิ่งมีชีวติ และ สิง่ แวดล้อม จากแบบจำลอง ว 3.2ป.6/5 อธิบายผลของมรสุมต่อการเกิดฤดขู องประเทศไทย จากขอ้ มูลทร่ี วบรวมได้ ว 3.2ป.6/6 บรรยายลักษณะและผลกระทบของน้ำท่วม,การกัดเซาะชายฝั่ง,ดินถล่ม,แผ่นดนิ ไหว,สึนามิ ว 3.2ป.6/7 ตระหนักถึงผลกระทบของภัยธรรมชาติและธรณพี ิบตั ภิ ัย โดยนำเสนอแนวทางในการเฝ้า ระวังและปฏบิ ตั ติ นให้ปลอดภัยจากภัยธรรมชาตแิ ละธรณพี บิ ัตภิ ยั ทีอ่ าจเกิดในท้องถิ่น ว 3.2ป.6/8 สรา้ งแบบจำลองทีอ่ ธบิ ายการเกดิ ปรากฏการณ์เรอื นกระจกและผลของปรากฏการณ์เรือน กระจกต่อส่ิงมีชวี ิต ว 3.2ป.6/9 ตระหนักถงึ ผลกระทบของปรากฏการณเ์ รอื นกระจกโดยนำเสนอแนวทางการปฏิบตั ิตน เพื่อลดกจิ กรรมที่กอ่ ใหเ้ กิดแกส๊ เรือนกระจก สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณในการแกป้ ัญหาทีพ่ บในชวี ติ จริงอย่างเป็นขั้นตอนและเปน็ ระบบใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปญั หาไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ รูเ้ ท่าทัน และมีจรยิ ธรรม ตวั ชี้วดั ว 4.2ป.6/1 ใชเ้ หตุผลเชงิ ตรรกะในการอธบิ ายและออกแบบวธิ ีการแก้ปัญหาท่พี บในชวี ิตประจำวัน ว 4.2ป.6/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมอยา่ งงา่ ย เพ่อื แก้ปญั หาในชวี ิตประจำวนั ตรวจหา ข้อผิดพลาดของโปรแกรมและแกไ้ ข ว 4.2ป.6/3 ใช้อนิ เทอรเ์ นต็ ในการค้นหาข้อมลู อย่างมีประสิทธภิ าพ ว 4.2ป.6/4 ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศทำงานรว่ มกนั อยา่ งปลอดภัย เขา้ ใจสิทธแิ ละหนา้ ที่ของตน เคารพในสทิ ธิของผอู้ ่ืน แจง้ ผูเ้ กย่ี วขอ้ งเมอ่ื พบขอ้ มูลหรือบุคคลทไี่ มเ่ หมาะสม
4 คำอธบิ ายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 รหสั วิชา ว 16101 เวลา 40 ชว่ั โมง / ปี ............................................................................................................................................................. ศกึ ษาและใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะในการอธิบาย ออกแบบวิธีการแกป้ ัญหา และเขียนโปรแกรมอย่างงา่ ย เพอ่ื แกป้ ัญหาในชีวิตประจำวัน ตรวจหาขอ้ ผดิ พลาดของโปรแกรมและแกไ้ ข ใช้อินเทอร์เน็ตคน้ หาความรู้อย่าง มปี ระสิทธิภาพ ตามวัตถุประสงค์โดยใช้ซอฟต์แวร์หรอื บริการบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย เพื่อแก้ปัญหาใน ชวี ิตประจำวนั ตลอดจนใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงานร่วมกนั อย่างปลอดภยั เข้าใจสิทธิและหนา้ ทีข่ องตน เคารพใน สิทธิของผูอ้ ืน่ แจ้งผู้เกยี่ วขอ้ งเม่อื พบขอ้ มูลหรือบุคคลทีไ่ ม่เหมาะสม โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์และการแก้ปัญหา เชื่อมโยงความร้สู ู่การนำไปใช้จริง รวมทั้งสามารถ ใชเ้ ทคโนโลยเี ปน็ เคร่ืองมือในการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อืน่ ๆที่เกย่ี วขอ้ ง รหสั ตวั ชว้ี ัด มาตรฐาน ว 4.2 ป.6/1 , ป.6/2 , ป.6/3 , ป.6/4 รวม 4 ตวั ชี้วัด
5 โครงสร้างรายวิชา รายวิชา วทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 รหัสวชิ า ว16101 เวลา 40 ชว่ั โมง / ปี ช่อื หน่วยการเรียนรู้ รหัสตวั ช้ีวดั จำนวน(ช่วั โมง) บทที่ 1 รบั นอ้ งใหม่ หัวใจป๊งิ ๆ ว4.2 ป.6/1 3 - ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแกป้ ัญหา - ใช้ผงั งานแสดงขัน้ ตอนในการทำงานหรอื การแกป้ ัญหา บทที่ 2 คลิปซ้อน ซอ่ นเงอ่ื น ว4.2 ป.6/4 3 ว4.2 ป.6/1, ป.6/2 4 - บอกวิธปี กป้องสิทธใ์ิ นผลงานของตนเอง และเคารพสทิ ธิของผู้อื่น ว4.2 ป.6/4 4 บทที่ 3 เดนิ ตามเส้น เลน่ ตามสคริปต์ - เขียนโปรแกรมแบบมเี ง่อื นไข - ตรวจสอบและแก้ไขข้อผิดพลาดของโปรแกรม บทที่ 4 ลงิ สยอง สำรองอิม่ - ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงานรว่ มกันอย่างปลอดภัย - บอกแนวทางการสำรองข้อมูล บทที่ 5 ค้างคาวกนิ กล้วย ว4.2 ป.6/1, ป.6/2 5 - เขยี นโปรแกรมแบบมเี งื่อนไข - เขียนโปรแกรมเพอื่ สมุ่ ค่า ว4.2 ป.6/4 - เขยี นโปรแกรมตรวจสอบการกดแปน้ พิมพจ์ ากผู้ใช้ 1 - ตรวจสอบและแกไ้ ขข้อผิดพลาดของโปรแกรม 5 สอบปลายภาคเรียนที่ 1 บทที่ 6 เรอ่ื งว่นุ ๆ หนังสอื รนุ่ ออนไลน์ - ใช้งานโปรแกรมเอกสารออนไลนร์ ่วมกัน - จัดกลุ่มขอ้ มูล บทท่ี 7 รวบรวมรว่ มแรง จัดแจงขอ้ มูล ว4.2 ป.6/4 5 - ใช้งานโปรแกรมตารางทำงานร่วมกัน ว4.2 ป.6/3 5 - ประมวลผลข้อมลู เบือ้ งตน้ บทท่ี 8 นำ้ นองเต็มตลงิ่ ค้นหาความจริงใหก้ ระจ่าง - คน้ หาขอ้ มูลขั้นสูง - ประเมินความน่าเชอ่ื ถือของข้อมลู - เรียบเรยี งและสรปุ ข้อความจากแหล่งขอ้ มลู หลายแหล่ง บทท่ี 9 ลงเรอื ลำใหญ่ ทอ่ งไปในโลกกว้าง ว4.2 ป.6/4 4 - ปกป้องข้อมลู ส่วนตัว 4 - ใชง้ านเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย 1 40 สอบปลายภาคเรยี นท่ี 2 รวม
โครงสรา้ งหนว่ ยการเรยี นรู้ 6 รายวชิ า วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 รหสั วิชา ว16101 เวลา 40 ชั่วโมง / ปี บทที่ บทท/ี่ แผนการจดั การเรยี นรู้ เวลา ชั่วโมง 1 บทที่ 1 รับนอ้ งใหม่ หวั ใจป๊ิงๆ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรื่อง ใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะในการแก้ปญั หา 3 แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 2 เรื่อง ใช้ผังงานแสดงขั้นตอนในการทำงาน/การแก้ปญั หา 1 2 2 บทที่ 2 คลปิ ซ้อน ซอ่ นเงื่อน 2 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 3 เร่ือง วิธปี กป้องสทิ ธิใ์ นผลงานตนเอง 2 4 3 บทที่ 3 เดนิ ตามเส้น เล่นตามสครปิ ต์ 4 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 4 เรื่อง เขยี นโปรแกรมแบบมเี งื่อนไข 1 4 2 4 บทท่ี 4 ลงิ สยอง สำรองอ่มิ 2 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 5 เรื่อง ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงานรว่ มกนั อย่างปลอดภยั 6 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 6 เรื่อง แนวทางการสำรองข้อมูล 2 2 5 บทที่ 5 ค้างคาวกนิ กล้วย 2 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 เร่ือง เขยี นโปรแกรมแบบมีเง่อื นไข 2 5 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 8 เรอ่ื ง เขยี นโปรแกรมเพื่อสมุ่ ค่า 3 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 9 เร่ือง เขียนโปรแกรมตรวจสอบการกดแปน้ พมิ พ์จากผู้ใช้ 2 5 6 บทที่ 6 เรื่องวุ่นๆหนังสือรุ่นออนไลน์ 5 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 10 เรอื่ ง ใช้งานโปรแกรมเอกสารออนไลน์ร่วมกนั 5 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 11 เร่ือง จัดกลุ่มขอ้ มูล 3 2 7 บทที่ 7 รวบรวมรว่ มแรง จดั แจงข้อมลู 4 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 12 เรื่อง ใช้งานโปรแกรมตารางทำงานรว่ มกนั 4 8 บทท่ี 8 น้ำนองเต็มตลง่ิ ค้นหาความจรงิ ใหก้ ระจ่าง แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 13 เรื่อง คน้ หาข้อมูลขัน้ สูง แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 14 เร่ือง เรยี บเรียงและสรปุ ข้อความจากแหลง่ ข้อมลู 9 บทที่ 9 ลงเรอื ลำใหญ่ ทอ่ งไปในโลกกวา้ ง แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 15 เร่ือง ปกปอ้ งข้อมูลส่วนตัว
7 บูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง สำหรับครู ความพอประมาณ ความมเี หตุผล การมีภูมคิ ุ้มกนั ในตวั ทดี่ ี 1.ออกแบบการจดั กิจกรรม ตรง 1.ออกแบบการเรียนรสู้ ่งเสริมกระบวนการ 1. ศึกษาแนวทางการจดั การเรยี นรลู้ ว่ งหนา้ ตามตวั ชว้ี ัด คดิ 2. จัดเตรียมการวัดผลประเมินผล และแบบ 2. เลอื กสื่อ แหล่งเรยี นรู้เหมาะสม 2. ใช้เทคนิคการจดั การเรยี นรทู้ ่ีหลากหลาย สังเกตพฤตกิ รรมนักเรียน 3. วัดผลประเมินผลตรงตาม เนอื้ หา เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม 1. รู้จักเทคนิคการสอนที่ส่งเสรมิ กระบวนการคิด และนักเรียนสามารถเรียนรไู้ ด้ 1. มคี วามขยัน เสยี สละ และมงุ่ ม่ันในการ อย่างมคี วามสขุ จัดหาสอ่ื มาพัฒนานักเรียนให้บรรลุตาม 2. มีความรู้เก่ียวกับการใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการอธิบาย ออกแบบวิธีการ จุดประสงค์ แก้ปัญหาและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ตรวจหา 2. มคี วามอดทนเพ่ือพัฒนานักเรียนโดยใช้ ข้อผิดพลาดของโปรแกรมและแก้ไข ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้อย่างมี เทคนคิ การสอนทีห่ ลากหลาย ประสิทธิภาพ ตามวัตถุประสงค์โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่ หลากหลาย เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ตลอดจนใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทำงานรว่ มกนั อย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหนา้ ทีข่ องตน เคารพในสทิ ธขิ องผู้อื่น แจ้งผูเ้ กี่ยวขอ้ งเม่ือพบขอ้ มลู หรอื บคุ คลทไี่ มเ่ หมาะสม
8 บรู ณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง สำหรบั นกั เรยี น ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมภี ูมคิ ุม้ กันในตวั ทีด่ ี 1. การใช้เวลาในการทำกจิ กรรม/ 1. ฝกึ กระบวนการทำงานเปน็ กลุ่ม 1. วางแผนการศึกษาใบงาน/ใบ ภาระงานได้อย่างเหมาะสม ทันเวลา 2. ฝกึ กระบวนการคิดวิเคราะห์ การแกป้ ัญหา เช่ือมโยง กจิ กรรม 2. เลอื กสมาชิกกลมุ่ ได้เหมาะสมกบั ความรู้สูก่ ารนำไปใช้จริง รวมท้งั สามารถใช้เทคโนโลยเี ปน็ 2. นำความรเู้ รอ่ื งท่เี รียนไปใชใ้ น เนอื้ หาท่เี รยี นและศักยภาพของตน เครอื่ งมอื ในการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ ชีวติ ประจำวนั ได้ ศาสตร์อน่ื ๆท่ีเกี่ยวข้อง เงอ่ื นไขความรู้ เง่อื นไขคุณธรรม มคี วามรเู้ บื้องต้นเก่ยี วกับการศกึ ษาและใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะในการอธิบาย ออกแบบวิธีการ 1. มีความรับผิดชอบ และปฏิบตั ติ าม แก้ปัญหา และเขียนโปรแกรมอย่างง่าย เพ่ือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ตรวจหาข้อผิดพลาดของ ขอ้ ตกลงของกล่มุ โปรแกรมและแก้ไข ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ตามวัตถุประสงค์โดยใช้ 2. มีสติ มสี มาธชิ ่วยเหลือกันในการ ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ตลอดจนใช้ ทำงานร่วมกนั เทคโนโลยีสารสนเทศทำงานร่วมกนั อย่างปลอดภยั เข้าใจสิทธิและหน้าท่ีของตน เคารพในสิทธิของ ผอู้ ่ืน แจ้งผู้เก่ียวข้องเม่ือพบข้อมูลหรือบุคคลที่ไม่เหมาะสมมีมารยาท เขา้ ใจสิทธแิ ละหน้าท่ีของตน เคารพในสิทธขิ องผู้อืน่ สามารถสรา้ งจัดทำช้นิ งาน ผลงานและใบงานไดต้ ามวตั ถุประสงค์ ส่งผลต่อการพัฒนา 4 มติ ใิ ห้ย่งั ยนื ยอมรบั ตอ่ การเปล่ียนแปลงในยุคโลกาภวิ ฒั น์ วัตถุ สังคม สิง่ แวดลอ้ ม วฒั นธรรม ความรู้ (K) มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการใช้เหตุผลเชิงตรรกะ มีความรูแ้ ละเขา้ ใจ มคี วามรูแ้ ละเข้าใจ มคี วามรแู้ ละ ในการอธิบาย ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา และเขียน กระบวนการทำงาน เกย่ี วกับ เขา้ ใจการ โปรแกรมอย่างง่าย เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน กลุ่ม สิง่ แวดลอ้ มและสิ่ง ช่วยเหลอื ตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรมและแก้ไข ใช้ ต่างๆรอบตัว แบง่ ปัน อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ตาม วัตถุป ระสงค์โดยใช้ซ อฟต์แวร์ห รือบริก ารบ น อิน เท อร์เน็ ต ที่ ห ล าก ห ล าย เพ่ื อแ ก้ปั ญ ห าใน ชวี ิตประจำวนั ทักษะ (P) สามารถใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการอธิบาย ออกแบบ ทำงานได้สำเร็จตาม ใชแ้ หล่งเรยี นรู้โดย ช่วยเหลือ วิธีการแก้ปัญหา และเขียนโปรแกรมอย่างง่าย เพ่ือ เป้าหมาย ด้วย ไม่ทำลาย แบง่ ปันซ่งึ กัน แก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ตรวจหาข้อผิดพลาดของ กระบวนการกลุม่ สิง่ แวดลอ้ ม และกัน โปรแกรมและแกไ้ ข ใช้อนิ เทอร์เนต็ คน้ หาความรู้อย่าง มปี ระสิทธภิ าพ ตามวตั ถปุ ระสงค์ ค่านยิ ม (A) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงานร่วมกันอย่างปลอดภัย เห็นคณุ คา่ และ เห็นคณุ ค่าของการ ปลูกฝังนสิ ยั เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน เคารพในสิทธิของผู้อ่ืน ภาคภูมใิ จในการ ใช้แหล่งเรียนรโู้ ดย การชว่ ยเหลือ แจ้งผูเ้ กยี่ วข้องเมือ่ พบขอ้ มลู หรอื บุคคลทีไ่ มเ่ หมาะสม ทำงานร่วมกนั ได้ ไมท่ ำลาย แบง่ ปัน สำเรจ็ สิ่งแวดล้อม
9 บทท่ี 1 รบั นอ้ งใหม่ หวั ใจปงิ๊ ๆ วิชาวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ว16101 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 ใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะในการแกป้ ญั หา ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 เวลา 1 ช่วั โมง ผู้สอน ............................................................................... มาตรฐาน มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใชแ้ นวคดิ เชิงคำนวณในการแกป้ ญั หาท่พี บในชวี ติ จริงอย่างเปน็ ขั้นตอนและเป็น ระบบใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแกป้ ัญหาได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ ร้เู ทา่ ทนั และมจี รยิ ธรรม ตวั ชี้วดั ว 4.2ป.6/1 ใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะในการอธบิ ายและออกแบบวธิ ีการแกป้ ัญหาทพี่ บในชีวิตประจำวนั จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้สูต่ วั ช้วี ัด 1. สามารถใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการอธบิ ายและออกแบบวิธกี ารแกป้ ญั หาท่ีพบในชวี ติ ประจำวันได้ (P) 2. มีความรเู้ ก่ียวกบั การใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะในการอธบิ ายและออกแบบวิธกี ารแกป้ ัญหาท่ีพบใน ชวี ติ ประจำวนั (K) 3. เปน็ คนชา่ งสังเกต ช่างคดิ ช่างสงสยั และเป็นผู้ท่ีมีความกระตือรอื รน้ ในการเสาะแสวงหาความรู้ (A) สาระสำคญั ตาชัง่ สองแขน ใช้สำหรับเปรยี บเทียบนำ้ หนักของสองสิ่งโดยวางบนแขนตาชง่ั สองข้าง ดา้ นทม่ี นี ำ้ หนัก มากกว่าจะอยูต่ ำ่ กวา่ การเปรยี บเทยี บส่งิ ของสามารถทำได้หลายวิธี เช่นการเปรียบเทยี บทีละชน้ิ หรอื การแบง่ กลุ่มแล้ว นำมาเปรยี บเทียบกนั วิธแี ก้ปัญหาหน่งึ ๆ มไี ดห้ ลายวธิ แี ต่ละวธิ ีอาจมีจำนวนข้นั ตอนท่ไี ม่เท่ากัน แต่สามารถแกป้ ญั หาได้ เช่นเดียวกัน สาระการเรยี นรู้ การแก้ปญั หาอยา่ งเปน็ ขั้นตอนจะชว่ ยให้แก้ปัญหาไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ การใชเ้ หตุผลเชงิ ตรรกะเปน็ การนำกฎเกณฑ์ หรือเงอ่ื นไขที่ครอบคลมุ ทกุ กรณมี าใชพ้ ิจารณา ในการ แก้ปัญหา การพิจารณากระบวนการทำงานท่มี ีการทำงานแบบวนซ้ำ หรอื เงอ่ื นไขเป็นวธิ กี ารที่จะช่วยให้การ ออกแบบวิธกี ารแก้ปัญหาเป็นไปอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
10 ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 1. การสร้างสรรค์ 2. การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ 3. การแกป้ ัญหา 4. ความร่วมมอื 5. การส่อื สาร ชน้ิ งานหรอื ภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้) ใบงานสญั ลักษณผ์ ังงาน การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขัน้ ที่ 1 สรา้ งความสนใจ (engagement) 1. ครนู ำเขา้ สูบ่ ทเรยี นโดยการใช้นกั เรียนสังเกตปรมิ าณน้ำในภาชนะ 2 ใบ 2. ใหน้ กั เรยี นบอกว่าน้ำในภาชนะทั้งสองใบมีปริมาณเท่ากนั หรือไม่ สามารถเปรียบเทยี บได้อย่างไร (นักเรียนตอบตามประสบการณ์และความคิด) ขัน้ ที่ 2 สำรวจและค้นหา (exploration) 1. ครูใหน้ กั เรียนอ่านการ์ตูนในหนงั สือเรียนเรอื่ งรบั นอ้ งใหม่ หวั ใจปง๊ิ ๆ หนา้ 3 ถงึ หนา้ 14 โดยครฝู ึก ทกั ษะการอ่านตามวธิ กี ารอ่านทีเ่ หมาะสมกบั ความสามารถของนกั เรยี น 2. ครูถามคำถามเพอื่ สำรวจและคน้ หา ผลการเรียนรจู้ ากการอ่านการต์ นู กับประสบการณ์ของ นักเรียน • จากเร่อื งมใี ครบา้ ง เหตุการณเ์ กดิ ข้นึ ที่ใด • จากเร่ืองเกดิ เหตุการณ์ใดขนึ้ • จากเรอ่ื งมกี ารแก้ปัญหาอยา่ งไรบา้ ง • นกั เรยี นเคยเปรยี บเทียบวสั ดุ/สิง่ ของต่างๆ ในชวี ิตประจำวนั บา้ งหรือไม่ อย่างไร
11 3. ครูแนะนำเคร่ืองช่งั สองแขนใหน้ กั เรียนรจู้ ัก พรอ้ มทง้ั ฝกึ การใช้งาน ขั้นท่ี 3 อธิบายและลงขอ้ สรปุ (explanation) 1. ครูแจกขนมตัวอย่างใหน้ กั เรียนเปรียบเทยี บ เรียงลำดบั นำ้ หนัก ดว้ ยการคาดคะเนโดยไม่ใชเ้ ครือ่ ง ชั่ง 2. นกั เรียนตวั แทนกลมุ่ นำเสนอผลการคาดคะเน เรยี งลำดบั น้ำหนกั ถงุ ขนมตัวอย่าง 3. ครูใหน้ ักเรียนตรวจสอบผลการคาดคะเนโดยการใชเ้ คร่อื งช่ังสองแขน 4. ครูเสริมความรู้ว่าวิธีแก้ปัญหาหน่ึงๆ มีได้หลายวิธีแต่ละวิธีอาจมีจำนวนขั้นตอนท่ีไม่เท่ากัน แต่ สามารถแก้ปัญหาได้เช่นเดียวกัน จากนั้นแสดงผังงานการเปรียบเทียบน้ำหนักขนมบนกระดานโดยใช้ สญั ลักษณ์ พรอ้ มทั้งอธบิ ายสญั ลกั ษณ์ตา่ งๆของการเขียนผงั งาน ขน้ั ท่ี 4 ขยายความรู้ (elaboration) 1. ให้นักเรียนทำใบงานสัญลักษณ์ผงั งาน เพือ่ ขยายความรู้เก่ียวกบั การเขียนผังงาน 2. ครเู ป็นทปี่ รึกษาในการดำเนินกจิ กรรม ขนั้ ท่ี 5 ประเมิน (evaluation) ครูประเมินการเรียนรู้ของนักเรียน ดังน้ี สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะทำงานร่วมกัน สังเกตการตอบคำถามของนักเรียนในช้ันเรียน การทำกิจกรรมกลุ่ม ใบงานสัญลักษณ์ผังงาน และประเมิน ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 โดยใชแ้ บบประเมนิ ตามสภาพจรงิ สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้ ขวดสองใบขนาดต่างกนั ใส่นำ้ ใบงานสญั ลกั ษณผ์ ังงาน ตาช่ังสองแขน ถงุ ขนมสำหรับเปรียบเทยี บ แบบประเมนิ การเรยี นรู้
12 เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบประเมนิ - ใบงานสัญลกั ษณ์ผงั งาน ตัวช้วี ัด ระดบั คะแนน 1 การจัดทำใบงาน 32 ทำใบงานอย่างเปน็ ระบบ - ใบงานสัญลักษณผ์ งั งาน ชัดเจน ถกู ต้อง แตย่ งั ไม่ ทำใบงานอย่างเป็นระบบ ทำใบงานอยา่ งเป็นระบบ ครอบคลมุ ชดั เจน ถกู ต้อง ครอบคลุม ชัดเจน ถูกตอ้ ง ครอบคลมุ และมีการเชอื่ มโยงใหเ้ ห็นเป็น สอดคลอ้ งกับวตั ถุประสงค์ ภาพรวม สอดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงค์
13 ข้อเสนอแนะของหวั หน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ลงช่อื .................................................................. (.................................................................) ตำแหนง่ ................................................ วนั ที.่ ......เดอื น........................พ.ศ. .......... บันทึกหลังสอน ผลการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. นกั เรยี นเกิดทักษะใดบ้าง ทำเคร่อื งหมาย ในชอ่ งวา่ งทต่ี รงกับส่งิ ที่ทำได้ การสังเกต การวดั การใชจ้ ำนวน การจำแนกประเภท การหาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง สเปซกบั สเปซ สเปซกับเวลา การจดั กระทำและการสื่อความหมายข้อมูล การพยากรณ์ การลงความเห็นจากขอ้ มูล การต้งั สมมตฐิ าน การกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ การกำหนดและควบคมุ ตัวแปร การทดลอง การตคี วามหมายและลงข้อสรปุ การสร้างแบบจำลอง นักเรียนเกดิ ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ใดบา้ ง ทำเคร่ืองหมาย ในช่องวา่ งท่ีตรงกบั ทกั ษะที่เกิด การสร้างสรรค์ การคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ การแกป้ ัญหา การส่อื สาร ความรว่ มมอื การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร ปัญหาและอปุ สรรค .................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ.................................................................. (.................................................................) ตำแหน่ง ................................................ วันท.่ี ......เดือน........................พ.ศ. ..........
14 บทท่ี 1 รับน้องใหม่ หวั ใจปงิ๊ ๆ วิชาวิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ว16101 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 2 ใช้ผงั งานแสดงขนั้ ตอนในการทำงาน/การแก้ปญั หา ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 เวลา 2 ชว่ั โมง ผสู้ อน ............................................................................... มาตรฐาน มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใชแ้ นวคดิ เชิงคำนวณในการแกป้ ญั หาที่พบในชีวิตจริงอยา่ งเป็นข้ันตอนและเป็น ระบบใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแกป้ ัญหาไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ รเู้ ทา่ ทนั และมจี รยิ ธรรม ตวั ชี้วัด ว 4.2ป.6/1 ใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะในการอธิบายและออกแบบวธิ ีการแก้ปญั หาทีพ่ บในชีวิตประจำวนั จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรสู้ ่ตู ัวช้ีวัด 1. สามารถใช้เหตผุ ลเชงิ ตรรกะในการอธบิ ายและออกแบบวธิ กี ารแกป้ ญั หาที่พบในชีวิตประจำวันได้ (P) 2. มคี วามรู้เก่ียวกบั การใชเ้ หตผุ ลเชงิ ตรรกะในการอธิบายและออกแบบวิธกี ารแก้ปญั หาที่พบใน ชวี ิตประจำวนั (K) 3. เป็นคนช่างสังเกต ชา่ งคดิ ชา่ งสงสัย และเป็นผู้ที่มีความกระตือรอื ร้นในการเสาะแสวงหาความรู้ (A) สาระสำคัญ การแสดงข้นั ตอนในการแก้ปัญหาสามารถทำไดโ้ ดยเขยี นรหัสลำลอง หรอื เขยี นผังงาน ผังงาน (flowchart) ใช้ออกแบบหรือวางแผนข้ันตอนการทำงาน ช่วยให้เข้าใจข้ันตอนและเห็นภาพ การทำงานทช่ี ดั เจนขึน้ และสามารถตรวจสอบยอ้ นกลับเม่ือพบขอ้ ผดิ พลาดในการทำงานได้ สัญลกั ษณ์ที่ใช้ในการเขยี นผังงาน เชน่ เริม่ ต้น/จบ การปฏิบัตงิ าน การตดั สนิ ใจ ทศิ ทาง สาระการเรยี นรู้ การแก้ปัญหาอยา่ งเป็นขนั้ ตอนจะช่วยใหแ้ กป้ ัญหาได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ การใช้เหตุผลเชิงตรรกะเป็นการนำกฎเกณฑ์ หรือเง่ือนไขท่ีครอบคลุมทุกกรณีมาใช้พิจารณา ในการ แกป้ ัญหา การพิจารณากระบวนการทำงานที่มีการทำงานแบบวนซ้ำ หรือเง่ือนไขเป็นวิธีการท่ีจะช่วยให้การ ออกแบบวิธกี ารแกป้ ัญหาเป็นไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพ
15 ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 1. การสร้างสรรค์ 2. การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ 3. การแก้ปญั หา 4. ความร่วมมือ 5. การส่อื สาร ช้นิ งานหรอื ภาระงาน (หลกั ฐาน รอ่ งรอยแสดงความร้)ู ใบงานอิ่มอยู่ที่ไหน ใบงานเรียงน้ำหนักกระปุกออมสนิ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ชัว่ โมงท่ี 1 ข้ันท่ี 1 สรา้ งความสนใจ (engagement) 1. ครูนำเข้าส่บู ทเรยี นโดยการใชน้ กั เรยี นสงั เกตภาพขนมเคก้ 3 ภาพ และหาวา่ ขนมเคก้ ในภาพใดคอื ผลลัพธข์ องรหัสลำลองต่อไปน้ี เรมิ่ วางเคก้ ในถาดกลม แต่งสรี งุ้ ทด่ี ้านขา้ งของเคก้ ราดชอ็ กโกแลตท่ีดา้ นบนของเคก้ วางสตรอวเ์ บอรร์ ี 3 ลกู ทด่ี ้านบน จบ ภาพจากหนังสอื เรียน สสวท. (นกั เรยี นตอบตามลำดบั รหสั ลำลอง)
16 ขัน้ ท่ี 2 สำรวจและคน้ หา (exploration) 1. ครูใหน้ ักเรยี นอ่านการ์ตูนในหนงั สอื เรียนเร่ืองรบั นอ้ งใหม่ หวั ใจป๊ิงๆ หน้า 14 ถงึ หน้า 15 โดยครู ฝกึ ทกั ษะการอา่ นตามวิธกี ารอ่านท่เี หมาะสมกบั ความสามารถของนักเรียน 2. ครูถามคำถามเพ่อื สำรวจและคน้ หา ผลการเรยี นรจู้ ากการอา่ นการ์ตูน กบั ประสบการณ์ของ นกั เรยี น • จากเรอ่ื งเกิดเหตกุ ารณ์ใดข้นึ • หากเป็นนกั เรยี นจะมีวิธีการหากล่องของขวญั ทไี่ มไ่ ด้ใสย่ างลบได้อย่างไร 3. ครูเขยี นวธิ ีการที่นกั เรยี นเสนอในรูปแบบผังงานบนกระดาน ขน้ั ที่ 3 อธิบายและลงขอ้ สรุป (explanation) 1. แบง่ กลุ่มนกั เรยี นออกเปน็ 4-5 กลุ่ม จากน้ันครูแจกบตั รช่อื สถานทต่ี ่างๆในโรงเรียน ใหน้ กั เรียน กลมุ่ ละ 1 แผ่น เพือ่ ใหน้ ักเรียนในกลุ่มช่วยกนั ออกแบบผังงานการเดินทางจากห้องเรียนไปยงั สถานที่ ทไ่ี ด้รับ จากบตั รชอ่ื สถานทตี่ ่างๆในโรงเรียน 2. นักเรยี นตวั แทนกลุม่ นำเสนอผังงานของกลมุ่ ตนเอง 3. ครูให้นักเรยี นตรวจสอบผลลพั ธจ์ ากผงั งาน และร่วมกันเสนอการทำงานรปู แบบอนื่ ๆ 4. ครเู สรมิ ความรู้ว่าการแก้ปญั หาอย่างเป็นขน้ั ตอนจะช่วยให้แกป้ ัญหาได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ขนั้ ที่ 4 ขยายความรู้ (elaboration) 1. ให้นกั เรียนทำใบงานอ่ิมอยู่ท่ไี หน เพอ่ื ขยายความรู้เก่ียวกับการเขียนผังงาน 2. ครูเปน็ ที่ปรึกษาในการดำเนินกจิ กรรม ขน้ั ที่ 5 ประเมนิ (evaluation) ครปู ระเมินการเรยี นรู้ของนกั เรยี น ดงั นี้ สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนขณะทำงานร่วมกนั สงั เกตการตอบคำถามของนักเรียนในชน้ั เรียน การทำกจิ กรรมกล่มุ ใบงานอ่ิมอย่ทู ไี่ หน และประเมินทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 โดยใช้แบบประเมินตามสภาพจรงิ ชั่วโมงท่ี 2 ขั้นที่ 1 สรา้ งความสนใจ (engagement) 1. ครนู ำเข้าสบู่ ทเรียนโดยการทบทวนบทเรียนจากช่วั โมงที่แลว้ เกย่ี วกับการเขียนผังงาน โดยให้ นักเรยี นดภู าพขนมเคก้ และลองช่วยกนั บอกการทำงาน (แต่งเคก้ ) โดยครเู ขยี นแสดงผังงานตามนกั เรยี นเสนอ บนกระดาน
17 ภาพจากหนังสอื เรียน สสวท. 2. นกั เรียนชว่ ยกนั ตรวจสอบผลลัพธ์ของผังงาน ขน้ั ท่ี 2 สำรวจและคน้ หา (exploration) 1. ครูให้นักเรียนดูคลิปวีดโี อการต์ ูนลปิ ดากบั โพล่า ตอนสีของลิปดา https://www.youtube.com/watch?v=TBa5MD5-s_o โดยครูฝกึ ทักษะการดู และฟงั โดยการถามคำถาม สรุป ผลการเรียนรจู้ ากคลิปวีดีโอ • จากเรื่องเกดิ เหตกุ ารณ์ใดขน้ึ • หากต้องการสีสม้ ทำไดอ้ ยา่ งไร • หากต้องการสีมว่ ง ทำไดอ้ ยา่ งไร • หากตอ้ งการสีเขยี ว ทำไดอ้ ย่างไร • หากตอ้ งการสีแดง , นำ้ เงนิ , เหลอื ง ทำไดอ้ ย่างไร 3. ครูสาธิตการเขยี นผังงานแสดงการผสมแม่สี ให้ได้สเี ขียว ขัน้ ท่ี 3 อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ (explanation) 1. แบ่งกล่มุ นกั เรยี นออกเป็น 4-5 กลมุ่ จากนนั้ ครูแจกบัตรสีให้นกั เรยี นแต่ละกลุ่ม กลุม่ ละ 2 สี เพอื่ ให้นกั เรียนในกลุม่ ช่วยกันออกแบบผงั งานผสมสจี ากแม่สี (นำ้ เงิน, แดง, เหลือง) 2. นักเรยี นตัวแทนกลมุ่ นำเสนอผงั งานของกลุม่ ตนเอง 3. ครใู ห้นักเรียนตรวจสอบผลลัพธจ์ ากผงั งาน โดยการทดลองผสมสนี ้ำ 4. ครเู สรมิ ความร้วู า่ การแกป้ ัญหาอย่างเป็นขน้ั ตอนจะช่วยให้แก้ปัญหาไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ ขัน้ ที่ 4 ขยายความรู้ (elaboration) 1. ครูให้นักเรยี นอา่ นการต์ นู ในหนังสอื เรียนเรื่องรบั น้องใหม่ หวั ใจปิ๊งๆ หนา้ 16 ถงึ หนา้ 20 โดยครู ฝึกทักษะการอา่ นตามวธิ ีการอา่ นทเ่ี หมาะสมกับความสามารถของนักเรียน 2. ครถู ามคำถามเพือ่ สำรวจและค้นหา ผลการเรยี นรจู้ ากการอ่านการ์ตูน กับประสบการณ์ของ นกั เรียน • ทบทวนสญั ลกั ษณ์ผังงานจากเร่ืองที่อา่ น • จากเรือ่ งการเปรยี บเทยี บถุงขนมทำไดอ้ ยา่ งไร
18 3. ใหน้ ักเรยี นทำใบงานเรียงน้ำหนกั กระปกุ ออมสนิ เพ่ือขยายความรเู้ ก่ียวกับการเขยี นผงั งาน 4. ครูเปน็ ท่ีปรกึ ษาในการดำเนนิ กิจกรรม ข้ันที่ 5 ประเมนิ (evaluation) ครูประเมินการเรียนรู้ของนักเรียน ดังนี้ สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะทำงานร่วมกัน สังเกตการตอบคำถามของนักเรียนในชั้นเรียน การทำกิจกรรมกลุ่ม ใบงานเรียงน้ำหนักกระปุกออมสิน และ ประเมนิ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 โดยใช้แบบประเมินตามสภาพจริง ส่อื /แหลง่ การเรยี นรู้ ภาพขนมเค้ก 3 ภาพ บตั รช่อื สถานท่ีตา่ งๆในโรงเรียน ใบงานอ่ิมอยู่ท่ไี หน ใบงานเรยี งนำ้ หนกั กระปกุ ออมสนิ สนี ้ำ (สแี ดง นำ้ เงนิ เหลือง) พ่กู ัน จานสี คลิปวีดโี อการ์ตนู ลิปดากับโพลา่ ตอนสีของลปิ ดา https://www.youtube.com/watch?v=TBa5MD5-s_o แบบประเมนิ การเรียนรู้ เกณฑ์การใหค้ ะแนนแบบประเมิน - ใบงานอ่ิมอยู่ทีไ่ หน - ใบงานเรียงน้ำหนกั กระปกุ ออมสิน ตัวชีว้ ดั ระดับคะแนน 1 การจัดทำใบงาน 32 ทำใบงานอย่างเป็นระบบ - ใบงานอิม่ อยทู่ ่ไี หน ชดั เจน ถูกตอ้ ง แต่ยงั ไม่ - ใบงานเรียงน้ำหนกั กระปกุ ทำใบงานอย่างเป็นระบบ ทำใบงานอย่างเปน็ ระบบ ครอบคลุม ออมสิน ชดั เจน ถกู ตอ้ ง ครอบคลมุ ชัดเจน ถกู ต้อง ครอบคลมุ และมกี ารเชือ่ มโยงใหเ้ ห็นเป็น สอดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงค์ ภาพรวม สอดคล้องกับ วตั ถปุ ระสงค์
19 ขอ้ เสนอแนะของหัวหน้าสถานศกึ ษาหรือผู้ท่ีได้รบั มอบหมาย .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ.................................................................. (.................................................................) ตำแหน่ง ................................................ วนั ท่ี.......เดือน........................พ.ศ. .......... บันทึกหลงั สอน ผลการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. นกั เรยี นเกดิ ทกั ษะใดบา้ ง ทำเครอ่ื งหมาย ในชอ่ งวา่ งทตี่ รงกับสง่ิ ทที่ ำได้ การสงั เกต การวดั การใช้จำนวน การจำแนกประเภท การหาความสมั พันธร์ ะหวา่ ง สเปซกับสเปซ สเปซกับเวลา การจดั กระทำและการสอ่ื ความหมายขอ้ มูล การพยากรณ์ การลงความเหน็ จากขอ้ มูล การตง้ั สมมตฐิ าน การกำหนดนิยามเชงิ ปฏิบัตกิ าร การกำหนดและควบคุมตัวแปร การทดลอง การตคี วามหมายและลงขอ้ สรปุ การสร้างแบบจำลอง นักเรยี นเกดิ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ใดบ้าง ทำเครอื่ งหมาย ในช่องว่างทตี่ รงกับทกั ษะทีเ่ กิด การสร้างสรรค์ การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ การแก้ปญั หา การส่อื สาร ความรว่ มมอื การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร ปัญหาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ.................................................................. (.................................................................) ตำแหนง่ ................................................ วันท.ี่ ......เดือน........................พ.ศ. ..........
20 บทท่ี 2 คลิปซอ้ น ซอ่ นเงือ่ น วชิ าวิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ว16101 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 3 วธิ ปี กปอ้ งสิทธ์ใิ นผลงานตนเอง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เวลา 2 ชวั่ โมง ผ้สู อน ............................................................................... มาตรฐาน มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใชแ้ นวคิดเชิงคำนวณในการแกป้ ญั หาท่ีพบในชีวติ จรงิ อยา่ งเป็นข้ันตอนและเป็น ระบบใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแกป้ ญั หาไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ รูเ้ ทา่ ทัน และมจี ริยธรรม ตัวช้ีวัด ว 4.2ป.6/4 ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศทำงานร่วมกนั อยา่ งปลอดภัย เขา้ ใจสิทธิและหนา้ ทขี่ องตน เคารพในสทิ ธิของผู้อน่ื แจง้ ผเู้ กยี่ วข้องเมื่อพบข้อมูลหรอื บุคคลที่ไมเ่ หมาะสม จุดประสงคก์ ารเรยี นรสู้ ตู่ ัวชี้วดั 1. สามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศทำงานร่วมกันอย่างปลอดภยั (P) 2. มคี วามรู้เก่ยี วกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงานร่วมกันอยา่ งปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหนา้ ที่ ของตน เคารพในสทิ ธิของผูอ้ นื่ แจง้ ผเู้ กย่ี วขอ้ งเมือ่ พบข้อมูลหรอื บุคคลที่ไมเ่ หมาะสม (K) 3. เข้าใจสิทธแิ ละหนา้ ทข่ี องตน เคารพในสิทธขิ องผู้อ่นื เป็นคนช่างสงั เกต ชา่ งคดิ ชา่ งสงสัย และเป็นผทู้ ่ี มีความกระตือรือรน้ ในการเสาะแสวงหาความรู้ (A) สาระสำคัญ หากต้องการนำภาพ ขอ้ ความ หรือผลงานของผ้อู ่ืนไปใชเ้ พือ่ การศกึ ษาควรบอกที่มาของข้อมลู เพอื่ ให้ เกียรติแกเ่ จา้ ของขอ้ มลู การปกปอ้ งสทิ ธ์ิในผลงานของตนเองทำโดยใสช่ ื่อแสดงความเปน็ เจ้าของให้ชัดเจน การคดั ลอกผลงานผอู้ นื่ ไปเป็นผลงานของตนเองเป็นการละเมิดลิขสทิ ธิ์ ซึ่งมีความผิดตามกฎหมาย การนำภาพหรือข้อมลู ของผ้อู ื่นไปเผยแพรใ่ นทสี่ าธารณะ หรือบนสือ่ สงั คมโดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต เปน็ การละเมดิ ความเปน็ สว่ นตวั ของผอู้ น่ื ไม่ควรบนั ทกึ ภาพ หรอื วดี ีโอในสถานพยาบาลเพราะอาจเป็นการละเมิดสิทธข์ิ องผปู้ ่วย และอาจกีด ขวางการปฏิบตั งิ านของเจ้าหนา้ ท่ี สาระการเรยี นรู้ อนั ตรายจากการใชง้ านและอาชญากรรม ทางอินเทอรเ์ นต็ แนวทางในการปอ้ งกนั วธิ กี ำหนดรหสั ผ่าน การกำหนดสิทธิ์การใชง้ าน (สทิ ธิ์ในการเข้าถึง) แนวทางการตรวจสอบและป้องกนั มัลแวรอ์ ันตรายจากการตดิ ตั้งซอฟตแ์ วร์ทอี่ ยบู่ นอนิ เทอร์เนต็
21 ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 1. การสร้างสรรค์ 2. การคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ 3. การแก้ปญั หา 4. ความร่วมมอื 5. การส่อื สาร 6. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ชิ้นงานหรอื ภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้) แผนผงั ความคิดการละเมิดลิขสิทธ์ิ ใบงานละเมิดหรือไม่ การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ช่วั โมงท่ี 1 ขนั้ ท่ี 1 สร้างความสนใจ (engagement) 1. ครนู ำเข้าสู่บทเรยี นโดยการสนทนากบั นกั เรียน เกีย่ วกบั การโพสต์ผา่ นสอื่ สงั คมออนไลน์ (อาจเปิด ภาพประกอบได้) และถามคำถามดงั นี้ - นักเรียนเคยถ่ายภาพเพอ่ื นหรอื ไม่ (นกั เรยี นตอบตามประสบการณ์) - นกั เรียนเคยโพสต์ภาพของเพือ่ น หรือนำภาพของเพอ่ื นไปให้คนอนื่ ดูหรอื ไม่ (นกั เรียนตอบตาม ประสบการณ)์ - นักเรยี นคิดวา่ เราสามารถนำภาพของเพื่อนไปให้ผู้อน่ื ดไู ด้หรอื ไม่ เพราะเหตุใด (นักเรยี นตอบ ตามประสบการณ์ และความเขา้ ใจ) 2. ครูนำเขา้ สู่กจิ กรรมตอ่ ไป ขน้ั ที่ 2 สำรวจและคน้ หา (exploration) 1. ครูแบง่ กลุ่มนกั เรยี นออกเป็น 4-5 กลุ่ม ใหน้ ักเรยี นอา่ นการ์ตูนในหนงั สือเรียนเรื่องคลิปซอ้ น ซอ่ น เง่อื น หน้า 30 ถงึ หนา้ 38 โดยครูฝกึ ทกั ษะการอ่านตามวธิ ีการอ่านที่เหมาะสมกับความสามารถของนักเรยี น 2. ครถู ามคำถามเพื่อสำรวจและคน้ หา ผลการเรียนร้จู ากการอ่านการต์ ูน กับประสบการณข์ อง นกั เรยี น • จากเรอื่ งโป้งและก้อยทำอะไร • จากเรือ่ งเกิดเหตกุ ารณ์ใดขึ้น • เหตุการณ์ในเร่ืองถอื เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ หรอื การละเมดิ ความเปน็ ส่วนตวั เพราะเหตุใด
22 3. ให้นักเรยี นแลกเปล่ยี นเรียนรู้ร่วมกันในกล่มุ เพอื่ ยกตัวอยา่ งการละเมดิ ลขิ สิทธิ์ ขัน้ ที่ 3 อธบิ ายและลงข้อสรปุ (explanation) 1. ใหผ้ ้แู ทนนกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มนำเสนอผลการแลกเปลีย่ นเรยี นร้รู ่วมกนั ในกลุ่มเพ่อื ยกตวั อยา่ งการ ละเมดิ ลิขสิทธิ์ 2. ให้นกั เรียนร่วมกนั อภปิ รายเกย่ี วกบั ตวั อย่างการละเมดิ ลขิ สิทธ์ิ 3. ครูเสริมความรู้ว่าการละเมิดลิขสิทธ์เิ ป็นความผิดทางกฎหมาย ผู้ละเมดิ ต้องถูกดำเนนิ คดีตาม กฎหมาย ขั้นท่ี 4 ขยายความรู้ (elaboration) 1. ใหน้ ักเรยี นในกลมุ่ รว่ มกนั สรุปและยกตวั อยา่ งการละเมิดลิขสิทธ์ิ รปู แบบแผนผังความคิด เพอื่ ขยายความร้เู กีย่ วกบั การละเมดิ ลขิ สิทธ์ิ 2. ครเู ป็นทป่ี รึกษาในการดำเนนิ กิจกรรม ขน้ั ท่ี 5 ประเมิน (evaluation) ครูประเมินการเรียนรู้ของนักเรียน ดังน้ี สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะทำงานร่วมกัน สังเกตการตอบคำถามของนักเรียนในช้ันเรียน การทำกิจกรรมกลุ่ม แผนผังความคิดการละเมิดลิขสิทธิ์ และ ประเมนิ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 โดยใชแ้ บบประเมนิ ตามสภาพจรงิ ช่วั โมงที่ 2 ขั้นท่ี 1 สรา้ งความสนใจ (engagement) 1. ครูนำเขา้ สู่บทเรยี นโดยการทบทวนบทเรียนจากชว่ั โมงทแี่ ลว้ และสนทนากบั นกั เรียนเกี่ยวกบั สถานที่ เช่น โรงพยาบาล โดยถามคำถาม ดังนี้ - นกั เรียนเคยไปโรงพยาบาล หรอื ไม่ อย่างไร (นกั เรียนตอบตามประสบการณ์) - นักเรยี นเคยถ่ายภาพทโ่ี รงพยาบาล แล้วสง่ ใหผ้ ู้อ่ืนดู หรือไม่ อยา่ งไร (นกั เรียนตอบตาม ประสบการณ์) - นักเรียนเคยถ่ายภาพท่ีโรงพยาบาล แลว้ โพสต์ผ่านสอื่ สังคมออนไลน์ หรือไม่ อย่างไร (นักเรียน ตอบตามประสบการณ์) 2. ครนู ำเข้าสูก่ จิ กรรมตอ่ ไป ข้ันที่ 2 สำรวจและคน้ หา (exploration) 1. ครูแบง่ กลุม่ นักเรยี นออกเป็น 4-5 กลมุ่ ใหน้ ักเรยี นอา่ นการต์ นู ในหนงั สอื เรียนเรอื่ งคลิปซอ้ น ซ่อน เงือ่ น ตอ่ จากช่ัวโมงทแี่ ล้ว หนา้ 39 ถึง หนา้ 43 โดยครูฝกึ ทกั ษะการอ่านตามวิธกี ารอ่านทเ่ี หมาะสมกบั ความสามารถของนกั เรยี น
23 2. ครถู ามคำถามเพ่ือสำรวจและคน้ หา ผลการเรยี นรู้จากการอ่านการต์ ูน กบั ประสบการณ์ของ นักเรียน • จากเรอ่ื งโป้งและก้อยไปที่ใด • จากเรื่องเกิดเหตกุ ารณ์ใดขน้ึ • เหตุการณ์ในเรือ่ งถอื เป็นการละเมิดลขิ สิทธิ์ หรอื การละเมดิ ความเป็นสว่ นตัว เพราะเหตใุ ด 3. ใหน้ กั เรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในกลมุ่ เพอื่ ยกตัวอย่างการละเมดิ ความเปน็ สว่ นตวั ข้นั ท่ี 3 อธิบายและลงข้อสรปุ (explanation) 1. ใหผ้ ูแ้ ทนนกั เรยี นแต่ละกลมุ่ นำเสนอผลการแลกเปล่ยี นเรียนรู้ร่วมกนั ในกลุ่มเพ่ือยกตวั อยา่ งการ ละเมิดความเป็นส่วนตวั 2. ใหน้ กั เรียนร่วมกันอภปิ รายเกยี่ วกบั ตวั อยา่ งการละเมิดความเปน็ สว่ นตวั 3. ครูเสริมความรู้ว่าการนำภาพหรือข้อมูลของผู้อื่นไปเผยแพร่ในท่ีสาธารณะ หรือบนส่ือสังคมโดย ไม่ได้รับอนุญาต เป็นการละเมิดความเป็นส่วนตัวของผู้อื่น นอกจากน้ีไม่ควรบันทึกภาพ หรือวีดีโอใน สถานพยาบาลเพราะอาจเปน็ การละเมิดสทิ ธขิ์ องผู้ปว่ ย และอาจกีดขวางการปฏิบตั ิงานของเจา้ หน้าที่ ข้ันท่ี 4 ขยายความรู้ (elaboration) 1. ให้นักเรยี นในกลมุ่ ร่วมกันสรปุ ความรู้เก่ียวกบั การละเมดิ ความเปน็ สว่ นตวั และทำใบงานละเมดิ หรือไม่ เพอ่ื ขยายความร้เู กีย่ วกบั การละเมดิ ลิขสิทธิ์ และการละเมิดความเป็นสว่ นตวั 2. ครูเป็นทีป่ รกึ ษาในการดำเนินกิจกรรม ข้ันท่ี 5 ประเมิน (evaluation) ครูประเมินการเรียนรู้ของนักเรียน ดังนี้ สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะทำงานร่วมกัน สังเกตการตอบคำถามของนักเรียนในช้ันเรียน การทำกิจกรรมกลุ่ม ใบงานละเมิดหรือไม่ และประเมินทักษะ แหง่ ศตวรรษที่ 21 โดยใชแ้ บบประเมนิ ตามสภาพจรงิ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ ใบงานละเมดิ หรอื ไม่ แบบประเมนิ การเรยี นรู้
24 เกณฑ์การใหค้ ะแนนแบบประเมิน - แผนผังความคดิ การละเมิดลขิ สิทธิ์ - ใบงานละเมิดหรอื ไม่ ตัวชว้ี ัด ระดบั คะแนน การจดั ทำใบงาน 3 21 - แผนผังความคิดการละเมิด ลิขสิทธิ์ จดั ทำอย่างเป็นระบบ ชัดเจน จัดทำอย่างเปน็ ระบบ ชัดเจน จัดทำอย่างเป็นระบบ - ใบงานละเมิดหรือไม่ ถกู ต้อง ครอบคลุมและมกี าร ถูกต้อง ครอบคลุม ชัดเจน ถูกต้อง แต่ยงั ไม่ เชอื่ มโยงใหเ้ ห็นเปน็ ภาพรวม สอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค์ ครอบคลุม สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
25 ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศกึ ษาหรือผู้ท่ีไดร้ บั มอบหมาย .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ.................................................................. (.................................................................) ตำแหนง่ ................................................ วันท่ี.......เดอื น........................พ.ศ. .......... บนั ทึกหลังสอน ผลการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. นักเรียนเกิดทกั ษะใดบ้าง ทำเคร่ืองหมาย ในช่องว่างที่ตรงกับส่งิ ที่ทำได้ การสงั เกต การวดั การใช้จำนวน การจำแนกประเภท การหาความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง สเปซกับสเปซ สเปซกบั เวลา การจดั กระทำและการสอ่ื ความหมายข้อมูล การพยากรณ์ การลงความเห็นจากข้อมูล การตง้ั สมมตฐิ าน การกำหนดนยิ ามเชงิ ปฏิบัตกิ าร การกำหนดและควบคมุ ตัวแปร การทดลอง การตคี วามหมายและลงขอ้ สรุป การสร้างแบบจำลอง นกั เรยี นเกดิ ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ใดบ้าง ทำเครื่องหมาย ในช่องว่างทต่ี รงกบั ทักษะที่เกิด การสรา้ งสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การแก้ปญั หา การสือ่ สาร ความรว่ มมือ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร ปญั หาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื .................................................................. (.................................................................) ตำแหน่ง ................................................ วันท.่ี ......เดอื น........................พ.ศ. ..........
26 บทท่ี 3 เดนิ ตามเสน้ เลน่ ตามสครปิ ต์ วิชาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ว16101 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4 เขียนโปรแกรมแบบมเี ง่ือนไข 1 ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6 เวลา 4 ชว่ั โมง ผู้สอน ............................................................................... มาตรฐาน มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจรงิ อยา่ งเป็นขั้นตอนและเป็น ระบบใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแกป้ ัญหาไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ รู้เทา่ ทนั และมีจริยธรรม ตัวชี้วดั ว 4.2ป.6/1 ใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะในการอธบิ ายและออกแบบวิธีการแกป้ ัญหาทพ่ี บในชวี ิตประจำวนั ว 4.2ป.6/2 ออกแบบและเขยี นโปรแกรมอย่างงา่ ย เพอื่ แก้ปัญหาในชีวติ ประจำวนั ตรวจหาขอ้ ผดิ พลาด ของโปรแกรมและแก้ไข จุดประสงค์การเรียนรสู้ ่ตู วั ชี้วัด 1. สามารถออกแบบและเขยี นโปรแกรมอยา่ งง่าย เพอ่ื แก้ปัญหาในชวี ติ ประจำวันได้ (P) 2. มีความรู้เก่ียวกับการออกแบบและเขยี นโปรแกรมอย่างงา่ ย เพอ่ื แก้ปัญหาในชวี ติ ประจำวนั (K) 3. เปน็ คนช่างสงั เกต ชา่ งคิด ช่างสงสยั และเป็นผู้ทมี่ ีความกระตอื รอื ร้นในการเสาะแสวงหาความรู้ (A) สาระสำคญั กอ่ นลงมอื เขียนโปรแกรมควรวางแผนลำดบั ขน้ั ตอนในการทำงานโดยเขยี นเปน็ รหัสลำลองหรอื ผงั งาน บลอ็ กคำส่ัง color… is touching…? อยู่ในกลมุ่ บล็อก Sensing ใช้ตรวจสอบการสมั ผัสระหว่างสี ตวั แปร (variable) เปน็ ชอ่ื ท่ีกำหนดขน้ึ มาเพ่ือเกบ็ ข้อมลู บางอยา่ ง การนบั จำนวนสามารถใช้บล็อกคำสั่งทอี่ ยูใ่ นกลุ่มบลอ็ ก Variables (ตัวแปร) ดังน้ี - บล็อกคำส่งั set…to ใชส้ ำหรบั กำหนดคา่ ใหก้ ับตัวแปร - บล็อกคำส่ัง change…by ใช้สำหรับเปล่ยี นค่าตวั แปร ให้เพมิ่ ข้ึนหรือลดลงจากเดิมตามจำนวนท่กี ำหนด บลอ็ กคำสั่ง touching ใชต้ รวจสอบการสัมผัสตวั ชีเ้ มาส์ เส้นขอบ หรือตวั ละคร บล็อกคำส่ัง wait until ใช้สำหรับกำหนดให้โปรแกรมหยุดรอจนกระท่ังเงื่อนไขเป็นไปตามที่กำหนด แลว้ จงึ ทำงานตอ่ บล็อกคำส่ัง not อยู่ในบล็อก Operators ใช้เปลี่ยนเงื่อนไขที่นำมาต่อด้านหลัง ให้เป็นเงื่อนไขที่ตรง ข้ามกนั บลอ็ กคำสัง่ stop all อยูใ่ นกลมุ่ บล็อก Control ใชห้ ยดุ การทำงานทัง้ หมดของโปรแกรม บล็อกคำสั่งเท่ากับ (=) อยู่ในกลุ่มบล็อก Operators ใช้เปรยี บเทียบค่า 2 ค่า สาระการเรยี นรู้
27 การแกป้ ญั หาอย่างเป็นขัน้ ตอนจะชว่ ยใหแ้ กป้ ญั หาได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ การใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะเปน็ การนำกฎเกณฑ์ หรอื เงอ่ื นไขท่คี รอบคลมุ ทกุ กรณมี าใชพ้ จิ ารณา ในการ แกป้ ญั หา การพจิ ารณากระบวนการทำงานทีม่ กี ารทำงานแบบวนซ้ำ หรือเงอื่ นไขเป็นวิธีการทีจ่ ะชว่ ยให้การ ออกแบบวิธกี ารแก้ปญั หาเปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ การออกแบบโปรแกรมสามารถทำได้โดยเขียน เป็นข้อความ หรอื ผังงาน การออกแบบและเขยี นโปรแกรมที่มกี ารใช้ตัวแปร การวนซำ้ การตรวจสอบเง่อื นไข หากมีขอ้ ผิดพลาดให้ตรวจสอบการทำงาน ทีละคำสั่ง เมือ่ พบจุดที่ทำให้ผลลัพธไ์ มถ่ ูกตอ้ ง ให้ทำการ แก้ไขจนกวา่ จะไดผ้ ลลัพธท์ ีถ่ กู ตอ้ ง การฝกึ ตรวจหาข้อผดิ พลาดจากโปรแกรมของผอู้ ื่นจะชว่ ยพัฒนาทกั ษะการหาสาเหตุของปัญหาได้ดี ย่ิงข้ึน ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 1. การสร้างสรรค์ 2. การคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ 3. การแก้ปญั หา 4. ความร่วมมอื 5. การสอ่ื สาร 6. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร ชิน้ งานหรอื ภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความร้)ู เขยี นโปรแกรม Scratch กิจกรรมเกบ็ หิมะ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ช่วั โมงที่ 1-2 ขนั้ ที่ 1 สรา้ งความสนใจ (engagement) 1. ครนู ำเข้าสู่บทเรยี นโดยการทบทวนโปรแกรม Scratch จากบทเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4-5 โดย การสนทนากับนกั เรียน เกยี่ วกบั ประสบการณ์ในการใช้งาน โปรแกรม Scratch และถามคำถามดังนี้ - นักเรยี นเคยใชโ้ ปรแกรม Scratch ทำอะไรบา้ ง (นกั เรยี นตอบตามประสบการณ)์ - นักเรียนคิดว่าโปรแกรม Scratch สามารถทำอะไรไดอ้ ีกบ้าง นอกจากท่ีนักเรยี นเคยเรยี นรมู้ า (นักเรยี นตอบตามประสบการณ์และความคิด) 2. ครนู ำเขา้ สูก่ ิจกรรมต่อไป
28 ขน้ั ที่ 2 สำรวจและคน้ หา (exploration) 1. ครูแบง่ กลุ่มนกั เรยี นออกเปน็ 4-5 กลุม่ ให้นกั เรียนอ่านการต์ นู ในหนงั สอื เรียนเรอ่ื งเดินตามเสน้ เลน่ ตามสครปิ ต์ หน้า 56 ถงึ หน้า 64 โดยครฝู ึกทักษะการอ่านตามวิธีการอ่านท่ีเหมาะสมกับความสามารถ ของนกั เรียน 2. ครูถามคำถามเพอื่ สำรวจและคน้ หา ผลการเรียนรูจ้ ากการอา่ นการ์ตูน กบั ประสบการณ์ของ นักเรียน • จากเรื่องเกิดเหตกุ ารณ์ใดข้นึ • จากเรือ่ งโปง้ และก้อยต้องการแกป้ ญั หาอย่างไร 3. ใหน้ ักเรียนดูคลปิ วีดีโอการต์ นู ลิปดากับโพลา่ เพือ่ ทบทวนโปรแกรม Scratch https://www.youtube.com/watch?v=dGgGSPEaCTw&t=150s 4. ครถู ามคำถามเพอ่ื สำรวจและคน้ หา ผลการเรียนร้จู ากการดคู ลิปวดี ีโอ • จากคลิปวีดโี อ โปรแกรม Scratch สามารถทำอะไรไดบ้ ้าง • จากคลิปวดี โี อ โปรแกรม Scratch ประกอบด้วยอะไรบ้าง ขัน้ ท่ี 3 อธิบายและลงข้อสรปุ (explanation) 1. ครใู ห้นักเรยี นเปดิ โปรแกรม Scratch พร้อมกับเรยี นรู้ บล็อกคำส่งั เพม่ิ เติมจากหนังสอื เรยี น หนา้ 65 ถึง หน้า 67 2. ครสู าธติ การใชง้ านบล็อกคำส่ังต่างๆ พร้อมแสดงผลใหน้ ักเรยี นดู จากน้ันใหน้ กั เรียนทดลองใชง้ าน โปรแกรมตามครูทลี ะขั้นตอน 3. ให้นกั เรยี นเขียนโปรแกรม Scratch ตามหนงั สือเรยี น หน้า 67 พร้อมแสดงผล จากนน้ั ใหน้ ักเรียน ทดลองปรบั ปรุงโปรแกรม Scratch ของตนเอง 4. ครูเปน็ ที่ปรกึ ษาในกจิ กรรม ข้ันที่ 4 ขยายความรู้ (elaboration) 1. ใหน้ กั เรียนเขียนโปรแกรม Scratch ตามหนงั สือเรียน หนา้ 72 พร้อมแสดงผล และลองปรับปรุง โปรแกรมเปน็ รูปแบบอนื่ ๆ เพ่อื ขยายความร้เู กย่ี วกบั การใช้งานโปรแกรม Scratch 2. ครูเปน็ ทีป่ รึกษาในการดำเนินกิจกรรม ข้ันที่ 5 ประเมนิ (evaluation) ครูประเมินการเรียนรู้ของนักเรียน ดังน้ี สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะทำงานร่วมกัน สังเกตการตอบคำถามของนักเรียนในช้ันเรียน การทำกิจกรรมกลุ่ม การใช้งานโปรแกรม Scratch และ ประเมนิ ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 โดยใช้แบบประเมินตามสภาพจรงิ ชวั่ โมงท่ี 3-4 ขน้ั ท่ี 1 สร้างความสนใจ (engagement)
29 1. ครนู ำเขา้ สู่บทเรียนโดยการทบทวนบทเรียนจากชั่วโมงที่แล้ว และสนทนากบั นักเรยี นเกีย่ วกบั ห่นุ ยนต์ ดงั นี้ - นักเรยี นเคยเห็นหนุ่ ยนต์บางหรอื ไม่ จากสื่อใด (นกั เรียนตอบตามประสบการณ์) - นักเรยี นทเี่ คยเหน็ หุ่นยนต์ ห่นุ ยนตน์ ้ันใช้สำหรบั ทำงานใด (นักเรยี นตอบตามประสบการณ์และ ความเขา้ ใจ) 2. ครนู ำเขา้ ส่กู ิจกรรมตอ่ ไป ข้นั ที่ 2 สำรวจและค้นหา (exploration) 1. ครูแบ่งกลมุ่ นกั เรียนออกเป็น 4-5 กลมุ่ ให้นักเรยี นดคู ลิปสกปู๊ หุ่นยนต์เดนิ ตามเส้นจากเวทีฝึกหัดสู่ เวทอี ุตสาหกรรมไทย https://www.youtube.com/watch?v=SOKWe9eHPqk 2. ครูถามคำถามเพ่ือสำรวจและคน้ หา ผลการเรยี นรจู้ ากการดูคลิปวีดโี อ • จากคลิปวดี ีโอเป็นหนุ่ ยนตป์ ระเภทใด (นกั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจ) • หุ่นยนต์ในคลิปวีดโี อเหมาะกับการทำงานประเภทใดบ้าง (นกั เรียนตอบตามความ เข้าใจ) 3. ให้นักเรียนหาข้อมูลเพ่มิ เติมเกย่ี วกับหนุ่ ยนต์เดินตามเส้น โดยการสืบค้นขอ้ มลู ผา่ นอนิ เทอร์เนต็ ข้ันที่ 3 อธบิ ายและลงข้อสรปุ (explanation) 1. ใหผ้ ูแ้ ทนนกั เรียนแต่ละกลมุ่ นำเสนอผลการสืบคน้ ข้อมลู 2. จากน้นั ให้นกั เรียนอา่ นการต์ นู ในหนงั สือเรยี นเร่ืองเดินตามเสน้ เลน่ ตามสครปิ ต์ หนา้ 73 ถงึ หน้า 78 โดยครูฝึกทักษะการอา่ นตามวิธีการอา่ นทเี่ หมาะสมกับความสามารถของนักเรียน 3. ครถู ามคำถามเพือ่ สำรวจและค้นหา ผลการเรียนรู้จากการอา่ นการ์ตูน กับประสบการณ์ของ นกั เรียน • จากเรือ่ งมีการใชบ้ ล็อกคำสง่ั ใดบ้าง เพอื่ อะไร (นกั เรียนตอบตามความเขา้ ใจ) 4. ครูเสรมิ ความรู้เกยี่ วกบั บล็อกคำสั่ง ดังนี้ บล็อกคำส่งั color… is touching…? อยู่ในกลุ่มบล็อก Sensing ใช้ตรวจสอบการสมั ผัสระหว่างสี ตวั แปร (variable) เปน็ ชอื่ ท่ีกำหนดขึน้ มาเพอื่ เก็บขอ้ มลู บางอย่าง การนบั จำนวนสามารถใช้บล็อกคำส่ังท่ีอยู่ในกลุ่มบล็อก Variables (ตัวแปร) ดังนี้ - บลอ็ กคำสัง่ set…to ใชส้ ำหรับกำหนดคา่ ใหก้ บั ตวั แปร - บล็อกคำส่งั change…by ใชส้ ำหรับเปล่ยี นคา่ ตัวแปร ให้เพิม่ ขึน้ หรอื ลดลงจากเดมิ ตามจำนวนท่ีกำหนด บลอ็ กคำสงั่ touching ใชต้ รวจสอบการสัมผสั ตวั ช้เี มาส์ เส้นขอบ หรอื ตัวละคร บล็อกคำสั่ง wait until ใช้สำหรับกำหนดให้โปรแกรมหยุดรอจนกระทั่งเงื่อนไขเป็นไปตามท่ีกำหนด แลว้ จึงทำงานตอ่
30 บลอ็ กคำสั่ง not อยู่ในบล็อก Operators ใช้เปล่ียนเง่ือนไขที่นำมาต่อด้านหลัง ให้เป็นเง่ือนไขที่ตรง ขา้ มกัน บลอ็ กคำส่ัง stop all อยู่ในกลมุ่ บลอ็ ก Control ใช้หยดุ การทำงานทง้ั หมดของโปรแกรม บลอ็ กคำสัง่ เท่ากับ (=) อย่ใู นกลุ่มบลอ็ ก Operators ใชเ้ ปรียบเทียบคา่ 2 คา่ 5. ให้นักเรียนทดลองเขียนโปรแกรมตามหนังสือเรียน หน้า 76 พร้อมทั้ง ทดลองปรับปรุงแก้ไข โปรแกรม พรอ้ มแสดงผลให้ครดู ู ขน้ั ท่ี 4 ขยายความรู้ (elaboration) 1. ใหน้ ักเรียนในกลุ่มร่วมกันสรุปความร้เู กี่ยวกบั การใช้บลอ็ กคำส่ังต่าง และทำกิจกรรมเก็บหิมะ เพอื่ ขยายความรูเ้ ก่ียวกบั การเขยี นโปรแกรม 2. ครเู ป็นที่ปรึกษาในการดำเนนิ กจิ กรรม ข้นั ท่ี 5 ประเมิน (evaluation) ครูประเมินการเรียนรู้ของนักเรียน ดังนี้ สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะทำงานร่วมกัน สงั เกตการตอบคำถามของนักเรียนในชั้นเรียน การทำกิจกรรมกลุ่ม การเขียนโปรแกรม และประเมินทักษะ แหง่ ศตวรรษที่ 21 โดยใชแ้ บบประเมินตามสภาพจรงิ ส่ือ/แหล่งการเรยี นรู้ กจิ กรรมเกบ็ หมิ ะ คลปิ วดี โี อการ์ตนู ลิปดากบั โพล่า เพ่ือทบทวนโปรแกรม Scratch https://www.youtube.com/watch?v=dGgGSPEaCTw&t=150s คลปิ สก๊ปู หุน่ ยนตเ์ ดนิ ตามเสน้ จากเวทีฝกึ หัดส่เู วทีอตุ สาหกรรมไทย https://www.youtube.com/watch?v=SOKWe9eHPqk แบบประเมนิ การเรียนรู้ เกณฑ์การใหค้ ะแนนแบบประเมนิ - การใชง้ านโปรแกรม Scratch - กิจกรรมเกบ็ หมิ ะ ตวั ชี้วดั ระดบั คะแนน การจัดทำ 3 21 - การใชง้ านโปรแกรม Scratch - กิจกรรมเกบ็ หมิ ะ จัดทำอย่างเป็นระบบ ชัดเจน จดั ทำอยา่ งเปน็ ระบบ ชดั เจน จดั ทำอย่างเปน็ ระบบ ถกู ต้อง ครอบคลุมและมกี าร เชอ่ื มโยงใหเ้ ห็นเป็นภาพรวม ถูกตอ้ ง ครอบคลมุ ชดั เจน ถูกต้อง แตย่ ังไม่ สอดคล้องกับวัตถปุ ระสงค์ สอดคลอ้ งกับวตั ถุประสงค์ ครอบคลมุ
31 ขอ้ เสนอแนะของหัวหน้าสถานศกึ ษาหรือผู้ท่ีได้รบั มอบหมาย .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ.................................................................. (.................................................................) ตำแหน่ง ................................................ วนั ท่ี.......เดือน........................พ.ศ. .......... บันทึกหลงั สอน ผลการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. นกั เรยี นเกดิ ทกั ษะใดบา้ ง ทำเครอ่ื งหมาย ในชอ่ งวา่ งทตี่ รงกับสง่ิ ทที่ ำได้ การสงั เกต การวดั การใช้จำนวน การจำแนกประเภท การหาความสมั พันธร์ ะหวา่ ง สเปซกับสเปซ สเปซกับเวลา การจดั กระทำและการสอ่ื ความหมายขอ้ มูล การพยากรณ์ การลงความเหน็ จากขอ้ มูล การตง้ั สมมตฐิ าน การกำหนดนิยามเชงิ ปฏิบัตกิ าร การกำหนดและควบคุมตัวแปร การทดลอง การตคี วามหมายและลงขอ้ สรปุ การสร้างแบบจำลอง นักเรยี นเกิดทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ใดบ้าง ทำเครอื่ งหมาย ในช่องว่างทตี่ รงกับทกั ษะทีเ่ กิด การสรา้ งสรรค์ การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ การแก้ปญั หา การสอ่ื สาร ความรว่ มมอื การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร ปัญหาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ.................................................................. (.................................................................) ตำแหนง่ ................................................ วันท.ี่ ......เดือน........................พ.ศ. ..........
32 บทท่ี 4 ลิงสยอง สำรองอิม่ วิชาวิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ว16101 แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 5 ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศทำงานร่วมกันอย่างปลอดภัย ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 เวลา 2 ชว่ั โมง ผู้สอน ............................................................................... มาตรฐาน มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคดิ เชงิ คำนวณในการแก้ปญั หาที่พบในชีวติ จริงอยา่ งเปน็ ข้ันตอนและเป็น ระบบใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแกป้ ัญหาไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ รเู้ ทา่ ทัน และมจี รยิ ธรรม ตัวชี้วดั ว 4.2ป.6/4 ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศทำงานร่วมกนั อย่างปลอดภยั เข้าใจสิทธแิ ละหนา้ ทข่ี องตน เคารพในสิทธขิ องผอู้ ่ืน แจ้งผเู้ ก่ยี วข้องเมื่อพบขอ้ มูลหรอื บุคคลที่ไม่เหมาะสม จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้สตู่ วั ช้วี ดั 1. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงานรว่ มกนั อยา่ งปลอดภยั (P) 2. มีความรเู้ กี่ยวกบั การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงานรว่ มกันอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหนา้ ที่ ของตน เคารพในสทิ ธิของผู้อ่ืน (K) 3. ปลอดภยั เขา้ ใจสิทธิและหน้าทีข่ องตน เคารพในสทิ ธขิ องผู้อน่ื เป็นคนช่างสงั เกต ช่างคดิ ช่างสงสัย และเป็นผู้ทีม่ ีความกระตอื รอื รน้ ในการเสาะแสวงหาความรู้ (A) สาระสำคัญ ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS) คือ โปรแกรมพ้ืนฐาน ท่ีควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ แท็บเลต็ และสมารต์ โฟน ให้สามารถใช้หน่วยความจำ ฮาร์ดดสิ ก์ ระบบเครอื ข่าย ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ และ ชว่ ยจดั การโปรแกรมอ่ืนๆ ใหส้ ามารถทำงานรว่ มกนั ได้ คลาวด์ (cloud) ในระบบคอมพิวเตอร์หมายถึง พื้นที่บนอนิ เทอร์เน็ตที่มีไว้สำหรับเก็บขอ้ มูลและแชร์ ให้กันได้ เมื่อต้องการดาวนโ์ หลดโปรแกรมบนอินเทอร์เนต็ ควรตรวจสอบใหด้ ีและดาวน์โหลดจากเวบ็ ไซด์ทเี่ ป็น ทางการเทา่ นน้ั การแชรโ์ ฟลเ์ ดอร์บนคลาวดส์ ามารถแชรไ์ ด้ 2 วธิ ี คือ แชร์โดยการส่งลงิ ก์และแชรโ์ ดยการกำหนดที่อยู่ อเี มล ซง่ึ สามารถกำหนดสิทธก์ิ ารเขา้ ถงึ โฟล์เดอรไ์ ด้ เชน่ - ทกุ คนที่มลี ิงก์เอกสารนสี้ ามารถแก้ไขไฟลไ์ ด้ (Anyone with the link can edit) - มองเห็นได้เท่านน้ั แต่แก้ไขข้อมลู ไมไ่ ด้ (View only หรือ Read only) - แก้ไขไฟล์ได้ (Can organise, add and edit)
33 สาระการเรยี นรู้ อันตรายจากการใชง้ านและอาชญากรรม ทางอินเทอร์เนต็ แนวทางในการปอ้ งกัน วิธีกำหนดรหัสผ่าน การกำหนดสิทธิ์การใช้งาน (สทิ ธิ์ในการเขา้ ถงึ ) แนวทางการตรวจสอบและปอ้ งกัน มลั แวร์อนั ตรายจากการตดิ ต้ังซอฟตแ์ วร์ทีอ่ ยูบ่ นอนิ เทอร์เน็ต ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 1. การสรา้ งสรรค์ 2. การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ 3. การแก้ปัญหา 4. ความร่วมมือ 5. การสือ่ สาร 6. การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ช้นิ งานหรือภาระงาน (หลักฐาน รอ่ งรอยแสดงความรู้) ใบงานคลาวดห์ รอื คอม การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชั่วโมงที่ 1-2 ข้นั ที่ 1 สร้างความสนใจ (engagement) 1. ครนู ำเข้าสูบ่ ทเรยี นโดยการสนทนากบั นักเรียนเกยี่ วกบั การเก็บข้อมลู และถามคำถามดังน้ี - นักเรียนรจู้ กั อุปกรณใ์ นการเก็บข้อมูลอะไรบา้ ง (นักเรยี นตอบตามประสบการณ)์ - ถ้าผู้ปกครองซื้อสมาร์ตโฟนเครื่องใหม่ใช้แทนเครื่องเก่า นักเรียนจะแนะนำการบันทึกข้อมูลใด จากเครอ่ื งเกา่ บา้ ง (นกั เรยี นตอบตามประสบการณ์และความคิด) 2. ครูนำเข้าสกู่ จิ กรรมต่อไป ข้นั ท่ี 2 สำรวจและคน้ หา (exploration) 1. ครูแบ่งกล่มุ นักเรียนออกเป็น 4-5 กลุ่ม ให้นกั เรียนอ่านการต์ ูนในหนงั สอื เรียนเร่ืองลิงสยอง สำรอง อิ่ม หน้า 86 ถึง หนา้ 99 โดยครฝู กึ ทักษะการอ่านตามวิธีการอ่านที่เหมาะสมกับความสามารถของนกั เรียน 2. ครูถามคำถามเพื่อสำรวจและค้นหา ผลการเรียนรู้จากการอ่านการ์ตูน กับประสบการณ์ของ นักเรยี น • จากเร่อื งเกดิ เหตุการณใ์ ดขึ้น • จากเรื่องมกี ารแกป้ ญั หาอย่างไร 3. ใหน้ ักเรยี นในกลมุ่ รว่ มกนั แลกเปล่ียนเรียนรู้ และสรปุ ความหมายของคำตอ่ ไปนี้
34 • การสำรองขอ้ มลู • คลาวน์ • ก้คู นื • ฮารด์ ดสิ ก์ 4. ผู้แทนนักเรียนแตล่ ะกลุ่มนำเสนอผลการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ ข้ันที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป (explanation) 1. ครู ให้นักเรียนอ่านการ์ตูนในหนังสือเรียนเรื่องลิงสยอง สำรองอิ่ม ต่อในหน้า 100 ถึง หน้า 104 โดยครูฝกึ ทักษะการอ่านตามวธิ ีการอ่านที่เหมาะสมกบั ความสามารถของนักเรยี น 2. ครูถามคำถามเพ่ือสำรวจและค้นหา ผลการเรียนรู้จากการอ่านการ์ตูน กับประสบการณ์ของ นกั เรียน • จากเรื่องการหาไฟล์ล่าสดุ ทำไดอ้ ย่างไรบา้ ง ขนั้ ที่ 4 ขยายความรู้ (elaboration) 1. ให้นักเรยี นทำใบงานคลาวด์หรอื คอม เพอื่ ขยายความรู้ 2. ครเู ป็นทีป่ รกึ ษาในการดำเนนิ กิจกรรม ขั้นท่ี 5 ประเมนิ (evaluation) ครปู ระเมินการเรยี นรู้ของนกั เรยี น ดงั น้ี สังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นขณะทำงานร่วมกนั สังเกต การตอบคำถามของนกั เรยี นในชนั้ เรยี น การทำกิจกรรมกลมุ่ ใบงานคลาวดห์ รือคอม และประเมิน ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 โดยใช้แบบประเมินตามสภาพจรงิ สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้ ใบงานคลาวด์หรือคอม แบบประเมินการเรียนรู้ เกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมนิ - ใบงานคลาวด์หรือคอม ตวั ชี้วดั ระดับคะแนน การจัดทำ 3 21 - ใบงานคลาวด์หรอื คอม จัดทำอย่างเปน็ ระบบ ชดั เจน จัดทำอย่างเป็นระบบ ชดั เจน จัดทำอยา่ งเป็นระบบ ถูกต้อง ครอบคลุมและมีการ ถูกต้อง ครอบคลุม ชัดเจน ถูกต้อง แตย่ งั ไม่ เชอ่ื มโยงให้เหน็ เป็นภาพรวม สอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงค์ ครอบคลุม สอดคลอ้ งกับวัตถปุ ระสงค์
35 ขอ้ เสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ทไี่ ด้รับมอบหมาย .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ.................................................................. (.................................................................) ตำแหนง่ ................................................ วนั ท่ี.......เดือน........................พ.ศ. .......... บันทกึ หลงั สอน ผลการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. นักเรียนเกิดทักษะใดบา้ ง ทำเครอื่ งหมาย ในชอ่ งว่างทีต่ รงกบั ส่งิ ทที่ ำได้ การสังเกต การวัด การใชจ้ ำนวน การจำแนกประเภท การหาความสมั พันธร์ ะหว่าง สเปซกบั สเปซ สเปซกับเวลา การจัดกระทำและการสือ่ ความหมายข้อมูล การพยากรณ์ การลงความเหน็ จากข้อมูล การตั้งสมมติฐาน การกำหนดนิยามเชงิ ปฏบิ ัติการ การกำหนดและควบคมุ ตัวแปร การทดลอง การตีความหมายและลงข้อสรุป การสร้างแบบจำลอง นกั เรียนเกดิ ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ใดบ้าง ทำเคร่อื งหมาย ในช่องวา่ งที่ตรงกับทกั ษะทเ่ี กิด การสรา้ งสรรค์ การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ การแกป้ ญั หา การสอ่ื สาร ความร่วมมือ การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ปญั หาและอปุ สรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ.................................................................. (.................................................................) ตำแหนง่ ................................................ วนั ท.่ี ......เดือน........................พ.ศ. ..........
36 บทท่ี 4 ลิงสยอง สำรองอม่ิ วชิ าวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ว16101 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 6 แนวทางการสำรองข้อมูล ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6 เวลา 2 ชั่วโมง ผ้สู อน ............................................................................... มาตรฐาน มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใช้แนวคดิ เชิงคำนวณในการแกป้ ญั หาทีพ่ บในชวี ิตจรงิ อยา่ งเป็นข้ันตอนและเป็น ระบบใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแกป้ ญั หาได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ รูเ้ ท่าทัน และมีจรยิ ธรรม ตัวชี้วดั ว 4.2ป.6/4 ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศทำงานรว่ มกนั อยา่ งปลอดภยั เข้าใจสิทธิและหนา้ ทข่ี องตน เคารพในสทิ ธิของผอู้ ืน่ แจง้ ผู้เกีย่ วขอ้ งเมอ่ื พบขอ้ มูลหรอื บุคคลทไ่ี ม่เหมาะสม จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรสู้ ตู่ ัวชี้วดั 1. สามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศทำงานร่วมกันอย่างปลอดภยั (P) 2. มคี วามรู้เก่ยี วกบั การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศทำงานรว่ มกันอย่างปลอดภยั เข้าใจสทิ ธิและหนา้ ท่ี ของตน เคารพในสทิ ธิของผูอ้ ่ืน (K) 3. ปลอดภัย เข้าใจสิทธแิ ละหน้าทข่ี องตน เคารพในสทิ ธขิ องผูอ้ ื่น เป็นคนช่างสังเกต ชา่ งคิด ช่างสงสัย และเป็นผทู้ ่มี ีความกระตือรือร้นในการเสาะแสวงหาความรู้ (A) สาระสำคัญ การสำรองข้อมลู (backup) คอื การคัดลอกข้อมูลสำคัญไปเกบ็ ไวอ้ ีกท่ีหน่ึง เชน่ ยูเอสบีไดรฟ์ ฮารด์ ดิสก์ หรือบนคลาวด์ เมอ่ื ข้อมูลต้นฉบับสูญหายหรือถูกทำลาย จะสามารถกูค้ นื จากขอ้ มูลท่ีสำรองไวไ้ ด้ และความมกี ารสำรองข้อมลู สำคัญไวเ้ สมอ เมือ่ มีการสำรองข้อมูลหรือไฟล์หลายๆไฟล์แล้ว วิธีสงั เกตไฟล์ใดคอื ไฟลล์ ่าสดุ ดูไดจ้ ากข้อมูลวนั ทแี่ ก้ไข ลา่ สุด การแชร์โฟล์เดอรบ์ นคลาวดส์ ามารถแชร์ได้ 2 วิธี คอื แชร์โดยการสง่ ลิงกแ์ ละแชร์โดยการกำหนดท่ีอยู่ อีเมล ซงึ่ สามารถกำหนดสทิ ธ์ิการเขา้ ถึงโฟล์เดอรไ์ ด้ เช่น - ทกุ คนที่มลี งิ กเ์ อกสารนี้สามารถแกไ้ ขไฟลไ์ ด้ (Anyone with the link can edit) - มองเหน็ ไดเ้ ทา่ นนั้ แตแ่ ก้ไขขอ้ มลู ไมไ่ ด้ (View only หรอื Read only) - แก้ไขไฟลไ์ ด้ (Can organise, add and edit) สาระการเรยี นรู้ อนั ตรายจากการใช้งานและอาชญากรรม ทางอินเทอร์เนต็ แนวทางในการปอ้ งกัน วธิ กี ำหนดรหัสผ่าน
37 การกำหนดสิทธิก์ ารใช้งาน (สทิ ธ์ใิ นการเขา้ ถึง) แนวทางการตรวจสอบและป้องกนั มัลแวร์อนั ตรายจากการตดิ ตง้ั ซอฟตแ์ วรท์ ี่อย่บู นอินเทอร์เนต็ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 1. การสรา้ งสรรค์ 2. การคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ 3. การแกป้ ญั หา 4. ความรว่ มมอื 5. การส่ือสาร 6. การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชน้ิ งานหรอื ภาระงาน (หลกั ฐาน รอ่ งรอยแสดงความรู้) ใบงานสิทธ์ิในการเขา้ ถงึ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ชว่ั โมงที่ 1-2 ขั้นท่ี 1 สรา้ งความสนใจ (engagement) 1. ครูนำเขา้ ส่บู ทเรยี นโดยการสนทนากบั นักเรียนเก่ยี วกบั การสำรองข้อมูล และถามคำถามดงั น้ี - หากคอมพิวเตอร์ท่ีบันทึกงานของนักเรียนเสีย ข้อมูลหายไปหมด นักเรียนจะทำอย่างไร (นักเรยี นตอบตามประสบการณ์และความคดิ ) - นักเรียนคิดว่าการสำรองข้อมูลมีความสำคัญอย่างไร (นักเรียนตอบตามประสบการณ์และ ความคดิ ) 2. ครูนำเข้าสูก่ ิจกรรมตอ่ ไป ขน้ั ท่ี 2 สำรวจและค้นหา (exploration) 1. ใหน้ กั เรยี นดูคลปิ วีดีโอ การสำรองข้อมลู Backup Data รูปแบบตา่ งๆ https://www.youtube.com/watch?v=2JOkokTNcfM 2. ครถู ามคำถามเพอ่ื สำรวจและคน้ หา ผลการเรยี นรจู้ ากดคู ลิปวีดีโอ • จากคลิปวีดโี อ หลักการสำรองข้อมูล 3, 2 และ 1 คืออะไร 3. แบ่งกลมุ่ นักเรียนกลุ่มละ 4-5 คนใหน้ ักเรียนรว่ มกนั แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ เสนอรูปแบบ/วธิ ีการสำรอง ข้อมูล 4. ผแู้ ทนนักเรยี นแต่ละกลมุ่ นำเสนอผลการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ขั้นท่ี 3 อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ (explanation)
38 1. ให้นักเรียนอ่านการ์ตูนในหนังสือเรียนเรื่องลิงสยอง สำรองอ่ิมต่อจากช่ัวโมงท่ีแล้ว หน้า 105 ถึง หน้า 109 โดยครูฝกึ ทกั ษะการอ่านตามวิธีการอ่านทีเ่ หมาะสมกบั ความสามารถของนักเรียน 2. ครูถามคำถามเพื่อสำรวจและค้นหา ผลการเรียนรู้จากการอ่านการ์ตูน กับประสบการณ์ของ นกั เรียน • จากเรอื่ งมีการสำรองขอ้ มูลท่ใี ด • การสำรองขอ้ มูลจากในเรื่องมีขอ้ ดีอย่างไร 3. ครสู าธติ การสำรองข้อมลู ใน USB Driver และให้นักเรียนทดลองดำเนนิ การตาม 4. ครูแนะนำ Google Drive และสาธิตการสำรองข้อมูลใน Google Drive และให้นักเรียนทดลอง ดำเนนิ การตาม ขั้นท่ี 4 ขยายความรู้ (elaboration) 1. ให้นักเรียนดูคลิปวีดีโอ สอนแชร์ไฟล์หรือรูปภาพผ่าน Google Drive ง่ายกว่าส่งอีเมลเยอะ https://www.youtube.com/watch?v=X-A4RVNeNOo 2. ครูขยายความรู้: การแชรโ์ ฟลเ์ ดอร์บนคลาวด์สามารถแชรไ์ ด้ 2 วธิ ี คอื แชร์โดยการส่งลงิ ก์และแชร์ โดยการกำหนดทอี่ ย่อู ีเมล ซ่ึงสามารถกำหนดสทิ ธ์ิการเข้าถึงโฟล์เดอร์ได้ เชน่ - ทุกคนทม่ี ีลิงก์เอกสารน้สี ามารถแกไ้ ขไฟลไ์ ด้ (Anyone with the link can edit) - มองเห็นได้เท่านั้นแตแ่ กไ้ ขขอ้ มลู ไมไ่ ด้ (View only หรือ Read only) - แกไ้ ขไฟล์ได้ (Can organise, add and edit) 3. ใหน้ กั เรยี นทำใบงานสทิ ธ์ิในการเขา้ ถงึ 4. ครูเป็นทป่ี รกึ ษาในการดำเนนิ กิจกรรม ขัน้ ท่ี 5 ประเมนิ (evaluation) ครูประเมนิ การเรยี นรู้ของนักเรียน ดงั น้ี สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนขณะทำงานร่วมกนั สงั เกต การตอบคำถามของนักเรียนในชั้นเรียน การทำกิจกรรมกลุ่ม ใบงานสิทธิ์ในการเข้าถึง การสำรองข้อมูลแบบ ตา่ งๆ และประเมนิ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 โดยใชแ้ บบประเมินตามสภาพจรงิ สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้ ใบงานสิทธิ์ในการเขา้ ถึง คลิปวีดีโอ การสำรองขอ้ มลู Backup Data รูปแบบต่างๆ https://www.youtube.com/watch?v=2JOkokTNcfM คลิปวีดโี อ สอนแชรไ์ ฟล์หรอื รปู ภาพผา่ น Google Drive ง่ายกว่าสง่ อีเมลเยอะ https://www.youtube.com/watch?v=X-A4RVNeNOo
39 แบบประเมินการเรยี นรู้ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบประเมนิ - ใบงานสทิ ธิ์ในการเขา้ ถงึ ตวั ช้วี ัด ระดบั คะแนน การจดั ทำ 3 21 - ใบงานสทิ ธิ์ในการเขา้ ถึง จดั ทำอย่างเปน็ ระบบ ชัดเจน จัดทำอยา่ งเปน็ ระบบ ชัดเจน จดั ทำอยา่ งเป็นระบบ ถกู ต้อง ครอบคลุมและมีการ ถูกตอ้ ง ครอบคลมุ ชัดเจน ถูกต้อง แต่ยงั ไม่ เชอ่ื มโยงใหเ้ หน็ เปน็ ภาพรวม สอดคลอ้ งกบั วัตถุประสงค์ ครอบคลุม สอดคล้องกบั วตั ถุประสงค์
40 ขอ้ เสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื .................................................................. (.................................................................) ตำแหน่ง ................................................ วนั ที.่ ......เดือน........................พ.ศ. .......... บันทึกหลงั สอน ผลการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. นกั เรยี นเกดิ ทกั ษะใดบา้ ง ทำเครอ่ื งหมาย ในชอ่ งว่างทีต่ รงกบั สงิ่ ทท่ี ำได้ การสงั เกต การวัด การใชจ้ ำนวน การจำแนกประเภท การหาความสมั พันธร์ ะหวา่ ง สเปซกับสเปซ สเปซกับเวลา การจดั กระทำและการสือ่ ความหมายขอ้ มูล การพยากรณ์ การลงความเหน็ จากขอ้ มูล การตง้ั สมมตฐิ าน การกำหนดนิยามเชิงปฏิบัตกิ าร การกำหนดและควบคุมตวั แปร การทดลอง การตีความหมายและลงขอ้ สรปุ การสร้างแบบจำลอง นักเรยี นเกิดทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ใดบา้ ง ทำเคร่อื งหมาย ในชอ่ งว่างทต่ี รงกบั ทกั ษะทีเ่ กิด การสรา้ งสรรค์ การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ การแก้ปัญหา การสอ่ื สาร ความร่วมมือ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร ปัญหาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ.................................................................. (.................................................................) ตำแหน่ง ................................................ วนั ที.่ ......เดอื น........................พ.ศ. ..........
41 บทท่ี 5 คา้ งคาวกินกล้วย วชิ าวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ว16101 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 7 เขียนโปรแกรมแบบมเี งอื่ นไข 2 ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 เวลา 2 ชัว่ โมง ผู้สอน ............................................................................... มาตรฐาน มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณในการแกป้ ญั หาที่พบในชีวิตจริงอย่างเปน็ ขั้นตอนและเป็น ระบบใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปญั หาไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ ร้เู ท่าทัน และมจี รยิ ธรรม ตัวชี้วัด ว 4.2ป.6/1 ใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะในการอธิบายและออกแบบวธิ ีการแกป้ ญั หาทีพ่ บในชีวิตประจำวนั ว 4.2ป.6/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมอยา่ งง่าย เพอ่ื แกป้ ญั หาในชวี ิตประจำวัน ตรวจหาขอ้ ผดิ พลาด ของโปรแกรมและแกไ้ ข จดุ ประสงคก์ ารเรียนรสู้ ตู่ วั ช้วี ัด 1. สามารถออกแบบและเขยี นโปรแกรมอย่างง่าย เพือ่ แก้ปัญหาในชีวติ ประจำวันได้ (P) 2. มีความร้เู กย่ี วกบั การออกแบบและเขยี นโปรแกรมอย่างง่าย เพอื่ แกป้ ญั หาในชวี ติ ประจำวัน (K) 3. เป็นคนช่างสงั เกต ช่างคิด ชา่ งสงสยั และเปน็ ผู้ท่ีมคี วามกระตือรอื รน้ ในการเสาะแสวงหาความรู้ (A) สาระสำคัญ การวางแผนและออกแบบงานก่อนลงมือเขียนโปรแกรมจะช่วยให้เกิดความเข้าใจในเป้าหมายการ ทำงานได้ชัดเจนขึ้น บล็อกคำสั่ง when...key pressed อยู่ในกลุ่มบล็อก Events ใช้สำหรับตรวจสอบเหตุการณ์ว่ามีการ กดแป้นพิมพ์หรือไม่และโปรแกรมจะทำตามคำสั่งถัดไปหากมีการกดแป้นพิมพ์ที่ระบุไว้ เช่นแป้นspace bar แปน้ ลกู ศรซา้ ย แป้นลกู ศรขวา การคัดลอกสคริปต์หรือบล็อกคำส่ังทำได้โดยคลิกขวาแล้วเลือกคำส่ัง Duplicate นอกจากนี้อาจ คัดลอกโดยคลิกที่ สคริปต์ หรอื บลอ็ กคำสงั่ นน้ั แล้วลากไปวางที่ชอื่ ตวั ละครทต่ี อ้ งการคดั ลอก ตวั ละคร 1 ตัวสามารถมีสครปิ ต์ได้มากกว่า 1 สคริปต์ เพอื่ ใช้แบง่ สว่ นการทำงานให้ชัดเจนและเข้าใจ งา่ ยขน้ึ บล็อกคำส่งั next costumeใชแ้ สดงชดุ ตัวละครถดั ไป บล็อกคำสงั่ pick random อยู่ในกลมุ่ operator ใช้สำหรบั สมุ่ ค่าโดยการระบุเปน็ ช่วง
42 กลุ่มบล็อก operator มีคำสงั่ ท่ีใช้เปรยี บเทียบค่าหรอื ตรวจสอบเงือ่ นไขเชน่ คำสั่งand (และ) คำสั่ง or (หรือ) ใช้สำหรบั ตรวจสอบเง่ือนไข 2 เงื่อนไขโดยจะให้ค่าเป็นจริงก็ต่อเมอ่ื เงอื่ นไขใดเงอื่ นไขหนึ่งเป็นจริงหรือ ทงั้ สองเง่ือนไขเปน็ จริง คำส่ัง if else ใช้ตรวจสอบเงอ่ื นไขโดยทางการขายเป็นจริงโปรแกรมจะทำตามคำส่ังที่อยู่ถดั ไปแต่ถ้า เงื่อนไขเปน็ เท็จโปรแกรมจะทำตามคำสงั่ ทอ่ี ยตู่ ่อจาก else การกดแป้นพิมพซ์ ำ้ ๆอาจทำให้คยี ์บอร์ดชำรุดจงึ ควรใช้งานอย่างระมัดระวงั และดแู ลรกั ษาให้ใช้งานได้ นาน ไมค่ วรใช้คอมพิวเตอรน์ านเกินไปควรแบง่ เวลาไปว่ิงเล่นกบั เพ่อื นหรอื ทำกิจกรรมอืน่ ๆ สาระการเรยี นรู้ การแกป้ ญั หาอย่างเป็นข้นั ตอนจะช่วยใหแ้ ก้ปัญหาได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ การใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะเป็นการนำกฎเกณฑ์ หรือเง่ือนไขที่ครอบคลุมทุกกรณีมาใช้พิจารณา ในการ แกป้ ญั หา การพิจารณากระบวนการทำงานท่ีมีการทำงานแบบวนซ้ำ หรือเง่ือนไขเป็นวิธีการท่ีจะช่วยให้การ ออกแบบวธิ กี ารแกป้ ัญหาเปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ การออกแบบโปรแกรมสามารถทำไดโ้ ดยเขยี น เป็นขอ้ ความ หรือผงั งาน การออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มกี ารใชต้ วั แปร การวนซ้ำ การตรวจสอบเงื่อนไข หากมีข้อผิดพลาดให้ตรวจสอบการทำงาน ทีละคำสั่ง เม่ือพบจุดท่ีทำให้ผลลัพธ์ไม่ถูกต้อง ให้ทำการ แก้ไขจนกว่าจะได้ผลลพั ธ์ทถ่ี กู ตอ้ ง การฝึกตรวจหาข้อผิดพลาดจากโปรแกรมของผู้อื่นจะช่วยพัฒนาทักษะการหาสาเหตุของปัญหาได้ดี ย่งิ ขนึ้ ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 1. การสรา้ งสรรค์ 2. การคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ 3. การแก้ปญั หา 4. ความรว่ มมือ 5. การส่ือสาร 6. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร ชนิ้ งานหรือภาระงาน (หลักฐาน รอ่ งรอยแสดงความรู)้ ใบงานบลอ็ กคำสงั่ การเขียนโปรแกรม Scratch
43 การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชั่วโมงท่ี 1-2 ขั้นท่ี 1 สร้างความสนใจ (engagement) 1. ครนู ำเข้าสบู่ ทเรยี นโดยการทบทวนโปรแกรม Scratch เก่ยี วกบั บลอ็ กคำสัง่ ตา่ งๆ โดยถามคำถาม ตอ่ ไปนี้ - นกั เรียนรจู้ กั บล็อกคำสง่ั ใดในโปรแกรม Scratch บ้าง (นกั เรียนตอบตามประสบการณ)์ - บลอ็ กคำสัง่ ต่างๆใชท้ ำอะไร (นักเรยี นตอบตามประสบการณ)์ 2. ครูนำเขา้ สู่กจิ กรรมต่อไป ขน้ั ที่ 2 สำรวจและคน้ หา (exploration) 1. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 4-5 กลุ่ม ให้นักเรียนอ่านการ์ตูนในหนังสือเรียนเร่ืองค้างคาวกิน กลว้ ย โดยครูฝกึ ทักษะการอ่านตามวธิ ีการอา่ นที่เหมาะสมกบั ความสามารถของนักเรยี น 2. ครูถามคำถามเพื่อสำรวจและค้นหา ผลการเรียนรู้จากการอ่านการ์ตูน กับประสบการณ์ของ นกั เรียน • จากเร่อื งนักเรียนรู้จกั บล็อกคำสั่งใดบา้ ง • จากเรอ่ื งแต่ละบลอ็ กคำส่งั ใช้ทำอะไร ขั้นท่ี 3 อธิบายและลงข้อสรปุ (explanation) 1. ครูใหน้ กั เรียนในกลมุ่ ชว่ ยกันพิจารณาเง่อื นไขตอ่ ไปน้ี ในช่องพจิ ารณาเงอื่ นไข และชอ่ งผลลพั ธ์
44 2. ครูยกตวั อยา่ งการพจิ ารณา สครปิ ต์ 3. ใหน้ ักเรียนพิจารณาสคริปต์ต่อไปน้ี พรอ้ มทง้ั เตรยี มพรอ้ มนพเสนอคำตอบของกลมุ่ ตนเอง 4. ครเู ป็นทปี่ รกึ ษาในกจิ กรรม ขั้นท่ี 4 ขยายความรู้ (elaboration) 1. ใหน้ ักเรยี นในกลุ่มร่วมกนั สรปุ ความรเู้ กย่ี วบลอ็ กคำสั่งตา่ งๆ และทำใบงานบล็อกคำสั่ง เพอ่ื ขยาย ความรู้เกีย่ วกับการใชบ้ ล็อกคำสง่ั 2. ครเู ป็นทปี่ รกึ ษาในการดำเนินกจิ กรรม ข้นั ท่ี 5 ประเมิน (evaluation) ครูประเมินการเรียนรู้ของนกั เรยี น ดังนี้ สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นขณะทำงานร่วมกัน สังเกต
45 การตอบคำถามของนักเรียนในช้ันเรยี น การทำกิจกรรมกลุ่ม การใช้งานโปรแกรม Scratch ใบงานบล็อกคำสั่ง และประเมินทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 โดยใชแ้ บบประเมนิ ตามสภาพจรงิ ส่ือ/แหล่งการเรยี นรู้ ใบงานบลอ็ กคำสง่ั แบบประเมนิ การเรียนรู้ เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบประเมิน - ใบงานบล็อกคำสัง่ ตวั ชวี้ ดั ระดับคะแนน การจัดทำ 3 21 - ใบงานบล็อกคำส่งั จัดทำอย่างเปน็ ระบบ ชดั เจน จัดทำอย่างเป็นระบบ ชัดเจน จัดทำอยา่ งเป็นระบบ ถกู ตอ้ ง ครอบคลมุ และมีการ ถูกต้อง ครอบคลุม ชดั เจน ถูกตอ้ ง แตย่ ังไม่ เช่อื มโยงใหเ้ หน็ เป็นภาพรวม สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ครอบคลมุ สอดคล้องกับวตั ถปุ ระสงค์
46 ขอ้ เสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ท่ไี ด้รับมอบหมาย .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ .................................................................. (.................................................................) ตำแหนง่ ................................................ วันท่.ี ......เดือน........................พ.ศ. .......... บันทึกหลงั สอน ผลการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. นกั เรยี นเกดิ ทักษะใดบา้ ง ทำเคร่ืองหมาย ในชอ่ งว่างทต่ี รงกับสง่ิ ทที่ ำได้ การสงั เกต การวดั การใช้จำนวน การจำแนกประเภท การหาความสมั พันธร์ ะหวา่ ง สเปซกับสเปซ สเปซกับเวลา การจดั กระทำและการส่อื ความหมายข้อมูล การพยากรณ์ การลงความเห็นจากขอ้ มูล การต้งั สมมติฐาน การกำหนดนิยามเชิงปฏิบัตกิ าร การกำหนดและควบคุมตัวแปร การทดลอง การตคี วามหมายและลงขอ้ สรปุ การสร้างแบบจำลอง นักเรยี นเกดิ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ใดบา้ ง ทำเคร่อื งหมาย ในช่องว่างทีต่ รงกับทกั ษะทเี่ กิด การสร้างสรรค์ การคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ การแก้ปัญหา การสือ่ สาร ความรว่ มมอื การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร ปัญหาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ.................................................................. (.................................................................) ตำแหน่ง ................................................ วนั ท.ี่ ......เดือน........................พ.ศ. ..........
47 บทท่ี 5 ค้างคาวกินกล้วย วิชาวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ว16101 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 8 เขยี นโปรแกรมเพอ่ื สมุ่ คา่ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 เวลา 2 ช่วั โมง ผู้สอน ............................................................................... มาตรฐาน มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคดิ เชงิ คำนวณในการแก้ปัญหาทพี่ บในชีวติ จริงอยา่ งเป็นขั้นตอนและเป็น ระบบใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปญั หาไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ร้เู ท่าทัน และมจี รยิ ธรรม ตวั ชี้วัด ว 4.2ป.6/1 ใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะในการอธิบายและออกแบบวิธีการแก้ปัญหาทพ่ี บในชวี ิตประจำวัน ว 4.2ป.6/2 ออกแบบและเขยี นโปรแกรมอยา่ งงา่ ย เพอ่ื แก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ตรวจหาข้อผิดพลาด ของโปรแกรมและแกไ้ ข จุดประสงคก์ ารเรียนรู้สู่ตวั ช้วี ดั 1. สามารถออกแบบและเขยี นโปรแกรมอยา่ งง่าย เพอื่ แกป้ ัญหาในชวี ติ ประจำวันได้ (P) 2. มีความร้เู กย่ี วกับการออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างงา่ ย เพ่ือแกป้ ญั หาในชวี ติ ประจำวนั (K) 3. เปน็ คนช่างสงั เกต ชา่ งคดิ ชา่ งสงสัย และเปน็ ผู้ทม่ี ีความกระตอื รือรน้ ในการเสาะแสวงหาความรู้ (A) สาระสำคญั การวางแผนและออกแบบงานก่อนลงมือเขียนโปรแกรมจะช่วยให้เกิดความเข้าใจในเป้าหมายการ ทำงานไดช้ ดั เจนข้ึน บล็อกคำส่ัง when...key pressed อยู่ในกลุ่มบล็อก Events ใช้สำหรับตรวจสอบเหตุการณ์ว่ามีการ กดแป้นพิมพ์หรือไม่และโปรแกรมจะทำตามคำสั่งถัดไปหากมีการกดแป้นพิมพ์ที่ระบุไว้ เช่นแป้นspace bar แปน้ ลูกศรซา้ ย แปน้ ลูกศรขวา การคัดลอกสคริปต์หรือบล็อกคำส่ังทำได้โดยคลิกขวาแล้วเลือกคำสั่ง Duplicate นอกจากน้ีอาจ คัดลอกโดยคลิกท่ี สครปิ ต์ หรือบลอ็ กคำสั่งน้นั แลว้ ลากไปวางทชี่ อื่ ตวั ละครท่ีต้องการคัดลอก ตัวละคร 1 ตัวสามารถมีสคริปต์ได้มากกว่า 1 สคริปต์ เพื่อใช้แบง่ สว่ นการทำงานให้ชัดเจนและเข้าใจ ง่ายขน้ึ บล็อกคำสง่ั next costumeใชแ้ สดงชุดตัวละครถัดไป บลอ็ กคำสัง่ pick random อยู่ในกลุ่ม operator ใช้สำหรบั สมุ่ คา่ โดยการระบุเป็นชว่ ง
48 กล่มุ บลอ็ ก operator มีคำสงั่ ทใี่ ช้เปรียบเทียบค่าหรือตรวจสอบเง่อื นไขเช่นคำสั่งand (และ) คำส่ัง or (หรือ) ใช้สำหรับตรวจสอบเงอ่ื นไข 2 เง่อื นไขโดยจะให้ค่าเปน็ จริงก็ต่อเมอื่ เง่ือนไขใดเง่ือนไขหนึ่งเปน็ จริงหรือ ทง้ั สองเงื่อนไขเป็นจริง คำส่ัง if else ใช้ตรวจสอบเงอื่ นไขโดยทางการขายเป็นจริงโปรแกรมจะทำตามคำสั่งที่อยู่ถัดไปแต่ถ้า เงอ่ื นไขเป็นเท็จโปรแกรมจะทำตามคำสัง่ ทอ่ี ยตู่ ่อจาก else การกดแป้นพิมพซ์ ้ำๆอาจทำใหค้ ีย์บอรด์ ชำรุดจงึ ควรใช้งานอย่างระมัดระวังและดแู ลรกั ษาใหใ้ ช้งานได้ นาน ไมค่ วรใช้คอมพวิ เตอรน์ านเกนิ ไปควรแบง่ เวลาไปว่งิ เล่นกับเพื่อนหรือทำกิจกรรมอ่นื ๆ สาระการเรยี นรู้ การแกป้ ญั หาอย่างเป็นขั้นตอนจะช่วยใหแ้ ก้ปญั หาได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ การใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะเป็นการนำกฎเกณฑ์ หรือเง่ือนไขที่ครอบคลุมทุกกรณีมาใช้พิจารณา ในการ แก้ปญั หา การพิจารณากระบวนการทำงานท่ีมีการทำงานแบบวนซ้ำ หรือเง่ือนไขเป็นวิธีการท่ีจะช่วยให้การ ออกแบบวธิ ีการแก้ปัญหาเป็นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ การออกแบบโปรแกรมสามารถทำได้โดยเขียน เป็นข้อความ หรือผงั งาน การออกแบบและเขียนโปรแกรมทีม่ ีการใชต้ วั แปร การวนซำ้ การตรวจสอบเงื่อนไข หากมีข้อผิดพลาดให้ตรวจสอบการทำงาน ทีละคำส่ัง เม่ือพบจุดท่ีทำให้ผลลัพธ์ไม่ถูกต้อง ให้ทำการ แก้ไขจนกว่าจะได้ผลลัพธท์ ถี่ กู ต้อง การฝึกตรวจหาข้อผิดพลาดจากโปรแกรมของผู้อื่นจะช่วยพัฒนาทักษะการหาสาเหตุของปัญหาได้ดี ย่ิงข้นึ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 1. การสรา้ งสรรค์ 2. การคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ 3. การแก้ปัญหา 4. ความรว่ มมอื 5. การส่ือสาร 6. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร ชิ้นงานหรอื ภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้) การเขยี นโปรแกรม Scratch การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
Search