Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PIC Handbook

PIC Handbook

Published by valairat s, 2022-01-05 06:53:47

Description: PIC Handbook

Search

Read the Text Version

By Safety Management Division Revision B: January 2022 PIC Handbook Your Guide to work in MRT System Introduction การทำงานในระบบรถไฟฟา MRT ประกอบดวยงานหลากหลายประเภท และมีขั้นตอนการทำงานและขอจำกัดที่แตกตางกันไป เอกสารฉบับนี้ เปน การแนะนำ ขน้ั ตอนการเขา ทำงานอยา งปลอดภยั และประเภทของงานตา งๆ รวมถึงขอควรระวังเบื้องตน หากตองการศึกษาขอมูลเพิ่มเติม สามารถ ศึกษาเพ่มิ เติมจากเอกสารอา งอิง ตามทีไ่ ดร ะบไุ วด านหลังของเอกสารฉบับน้ี

หัวหนาคณะทำงาน : Person in Charge เปนบุคคลที่มคี ุณสมบัติเฉพาะดา นและมหี นา ที่ รับผดิ ชอบเกย่ี วกับคณุ ภาพของงาน การทำงานทป่ี ลอดภยั ของกลมุ งานทร่ี ับผิดชอบ และการดูแลระบบอปุ กรณต า งๆ ใหอ ยูในสภาพปกติ ตลอดการปฏบิ ัตงิ าน หนาที่ความรับผิดชอบ 1. ทำความเขาใจในขอบเขตการทำงานและตองม่นั ใจวา ผปู ฏิบัตงิ านในกลุม งานเขา ใจตรงกนั 2. ควบคุมการทำงานของกลมุ งานท่หี นา งานตลอดเวลา 3. ประสานงานกับเจา ของพืน้ ท่ี ECO และ PIC ของกลมุ งานอน่ื ที่เกีย่ วเนอื่ งกนั 4. ปฏิบัติงานรว มกบั APOSTLE ในพน้ื ทอ่ี นุมตั ิปด ทาง 5. ยืนยันสถานะของอปุ กรณ / ระบบทเ่ี กี่ยวขอ งในระหวางและหลงั การปฏิบัติงาน 6. ประสานงานกบั ผคู วบคมุ การทดสอบใหเ ปนไปตามข้ันตอนการทดสอบท่ไี ดร บั อนมุ ัติ 7. รบั ผดิ ชอบงาน เพือ่ ใหเ กดิ ความปลอดภัยและความถูกตอ งทางดานเทคนิค 14 วางแผน การทำงาน ตรวจสอบความถกู ตอง เตร�ยมพรอม Work Permit รายงานตัวกบั ปฏิบัติงานตามข้นั ตอน ของเอกสารปฏบิ ตั ิงาน ทีมงานกอ นเร่�ม PIC เจา ของพื้นท่ี และประเภทของงาน ปฏบิ ัตงิ าน + เอกสารประกอบ ใชงานอุปกรณ PPE ตามประเภทของงาน ตรวจสอบ ปฏบิ ตั ิงานดว ย ความเร�ยบรอ ย ความระมดั ระวัง ของพืน้ ที่ และคุณภาพงาน สงคืนพนื้ ที่ 01

4 STEPS FOR PIC 01 วางแผนการทำงาน • ศกึ ษาพน้ื ทก่ี ารทำงาน และขอบเขตการปฏิบัตงิ าน อันตรายท่ีอาจเกดิ ข้�น และมาตรการปองกัน • ทบทวนระเบียบปฏิบัตงิ านท่เี ก่ียวขอ ง • ตรวจสอบระบบที่เกย่ี วขอ งกันทอ่ี าจกอใหเ กิด False alarm หรอ� ผลกระทบ • จัดเตร�ยมกำลงั คน อุปกรณในการทำงาน และ PPE 02 ตรวจสอบความถกู ตอ ง กอ นเขา ทำงาน • ความถูกตอ งของ WP ใหสอดคลองกบั พ้นื ท่ี และขอบเขตการปฏบิ ตั งิ าน • เอกสาร เชน WI Checklist เอกสารการตดั ระบบ Switching Sequence • สภาพรา งกาย และการแตง กายของทมี งาน • ความพรอมและความครบถวนของอปุ กรณป องกนั อันตราย • การสอบเทียบเคร่�องมือวดั ท่ีใชในการปฏิบัติงาน • ตรวจสอบความปลอดภยั พื้นทท่ี ำงาน ตามเอกสาร ALL-SQP-FM-036 03 ช�แ้ จงทีมงานกอ นเรม�่ ปฏบิ ตั งิ าน • ช้แ� จงความปลอดภัยทีมงานกอนเรม่� ปฏบิ ตั ิงาน ไดแก อนั ตรายจากการปฏิบตั ิงานและการปองกนั ขอบเขตพนื้ ท่ปี ฏบิ ตั ิงาน เสน ทางอพยพ จด� รวมพล • ช้�แจงขน้ั ตอนการปฏิบัตงิ าน / Method statement ใหทีมงานรับทราบ 04 กำกับดูแลการปฏิบัตงิ าน • แจงเจา ของระบบและเจา ของพน้ื ทีท่ ่ีไดร ับผลกระทบจากการปฏบิ ัติงาน • ตรวจสอบและควบคุมการปฏบิ ัตงิ านของทมี งานตลอดเวลา • ควบคมุ คณุ ภาพงาน • ตรวจสอบพน้ื ท่ี ไมใ หว างสง่ิ ของกดี ขวางทางอพยพ หรอ� อปุ กรณค วามปลอดภยั • หากตองจัดเก็บสิง่ ของในพนื้ ทต่ี องไดร ับอนญุ าต และแจงเจาของพนื้ ที่ • ตรวจสอบพ้นื ทีห่ ลังปฏิบัติงานใหอ ยูในสภาพทปี่ ลอดภยั 02

General Work “ งานที่ไมเขาขายงานวศ� วกรรมและซอมบำรงุ งานทไี่ มกระทบหรอ� เกย่ี วของกบั อุปกรณร ะบบ ความปลอดภยั หรอ� อุปกรณก ารเดินรถ ไมรวมถงึ งานประจำวนั ตามว�ธ�การทำงานปกติหรอ� สัญญาวาจา งงาน งานตรวจสอบดวยสายตา (visual inspection) งานทั่วไปมีลักษณะดงั ตอไปน้ี ” 01. เปนการทำงานทวั่ ไป ไมม กี ารเปลย่ี นแปลงโครงสรา งของพ้นื ที่ 02. การจดั กิจกรรม ภายในพ้ืนที่ระบบรถไฟฟา รวมถงึ งานขนยา ย รอ้� ถอน ตวั อยางงานทวั่ ไป • งานตรวจสุขภาพประจำป • งานวดั เคร่อ� งแบบพนักงาน • งานขนสงและตดิ ต้ังรอ�้ ถอน อปุ กรณสำหรบั การจดั กจิ กรรม • งานเขา ตรวจสอบหรอ� ซอมแซมเครอ่� งมอื อุปกรณท ่ีใชป ระจำวนั ของผรู บั เหมา • งานสำรวจพ้ืนท่จี ากหนว ยงานภายในและภายนอก เชน การสำรวจพื้นท่ีเช�งพาณชิ ย • งานจดั กิจกรรมตา งๆ • งานอืน่ ๆ ทไ่ี มเ ขา ขา ยงานดา นวศ� วกรรมและซอมบำรุง 03. การย่นื ขอใบอนญุ าตทำงานท่ัวไป • ย่ืนขออนญุ าตทำงานผานระบบ Portal K2 กอ นเวลา 10.00 น.ของแตละวัน • แนบเอกสารประกอบการอนุมตั ิใหครบถวนตามประเภทงาน • การอนุมตั ิ เปนไปตามสายงานและผูอนุมตั ติ ามพน้ื ทีท่ ำงาน 04. งานทีจ่ ำเปนตองแนบ PHA/Work Permit • งานทมี่ ีการใชไฟฟา ของสถานีเกนิ 2000 วัตต • งานทีม่ ีการปรบั ปรุงสภาพพ้นื ท่ี ตองมีการพิจารณาความเสย่ี งและมีผลกระทบกับการใหบร�การ 03

งานดานวศ� วกรรม และงานอนุมัตปิ ด ทาง Work Permit Track Possession งานซอ มบำรงุ งานเปลย่ี นแปลง งานแกไข งานตดิ ตง้ั ผปู ฏิบตั งิ านบรเ� วณพ้นื ที่ใกลเคียง หรอ� ในเขตพกิ ดั และงานทดสอบหรอ� ฝก อบรมระบบอปุ กรณต า งๆ ความปลอดภัย ตอ งไดรบั อนมุ ตั ิการเขา พื้นที่จาก ทด่ี ูแลรับผิดชอบโดย EMG LCO หร�อ DCO และตองขออนมุ ตั ิปดทาง • การขอเอกสารเขาปฏิบัติงาน • การขอเอกสารเขา ปฏิบัตงิ าน 01. กรอกขอมลู ใหครบถวนถูกตองผา น : 01. วางแผนการขอเอกสาร TP ลว งหนา 4 สปั ดาห และเขา รว มประชุม TP ประจำสัปดาห SAP สำหรับผูรบั เหมาซอมบำรงุ Portal K2 สำหรับผรู ับเหมาท่ัวไป / 02. กรอกขอมลู ใหครบถวนถกู ตอ งผานระบบ การทำงานท่ัวไป สายสนี ้ำเงน� เชน การฝก อบรม อิเลก็ ทรอนิกส (SAP / Portal K2 /แบบฟอรม แบบฟอรม Work Permit Application Form Track Possession Application Form) สำหรับการงานท่วั ไป สายสีมวง สง เอกสารไปทเ่ีจา หนา ทว่ี างแผนกอ นเวลา 12.00 น. วนั พธุ กอนหนาสัปดาหท ีต่ องการทำงาน 02. หากเปนการทำงานพเิ ศษ ตอ งใหข อ มลู เพิ่มเติม และมาตรการปอ งกนั ท่ีเกย่ี วขอ งตามลักษณะ การทำงาน งานซอมบำรุงทีต่ อ งแจงเร่�มและเสร็จงาน กบั ECO/MCO “ ผขู ออนุญาตเขาทำงานตอ งระบขุ อความ “แจง ECO หร�อ MCO กอ นและหลงั ปฏบิ ัตงิ าน” ในใบขออนญุ าตทำงาน (ALL-MPP-FM-003) โดยระบุในชอง Equipment/ Train / Vehicle /service to be used or requested: และ PIC ตอ งแจง ECO หรอ� MCO กอ นและหลังปฏิบัตงิ าน โดยหลักเกณฑในการพิจารณาแจงเรม�่ และเสร็จงานกบั ECO/MCO มีดงั น้ี ” งานท่ีอาจทำใหม ีผลตอความปลอดภยั ของผูโดยสาร ระบบความปลอดภยั ระบบปองกันอัคคีภัยทำงานไมปกติ งานทีม่ ี Point และสงสถานะแสดงบนระบบ SCADA ท่ี ECO ตรวจสอบได งานทมี่ ี Point และสงสถานะแสดงบนระบบ SCADA ที่ MCO ตรวจสอบได งานแกไข Alarm ท่ีมีการแจง เตอื นคา งอยบู นระบบ SCADA งานที่ลดประสทิ ธ�ภาพของระบบส่อื สาร งานท่ีกระทบกับระบบไฟฟากำลงั และระบบไฟฟาแรงต่ำ งานท่ีกระทบตอ การใหบ รก� ารเดินรถ งาน Corrective Maintenance: CM ที่มีการออกใบแจงซอ ม (Notification) โดย ECO หร�อ MCO 04

งานพเิ ศษ (Special Work) Confined Space พื้นที่อับอากาศ คือ ที่ซ�่งมีทางเขาออกจำกัด และไมไดออกแบบ ไวส ำหรบั เปน สถานท่ีทำงานอยา งตอเนื่องเปน ประจำ และมสี ภาพ อนั ตรายหรอ� มบี รรยากาศ อนั ตราย ทอ่ี บั อากาศในระบบรถไฟฟา ไดแก บอ หลุม ชอง Service ตาง ๆ พื้นที่ใตชั้นชานชาลา ถงั นำ้ มนั ถังหมกั ถงั ทอ ภาชนะหรอ� ส่ิงอนื่ ท่ีมีลักษณะคลายกัน การทำงานในที่อับอากาศตองมี ผูอนุญาต, ผูควบคุมงาน, ผูปฏิบัตงิ าน และผชู วยเหลอื ครบถวนตามท่กี ฎหมายกำหนด ผูปฏบิ ตั งิ านตองผา นการฝกอบรมและมีคุณสมบตั เิ ฉพาะดาน ตามที่กำหนด และฝกอบรมทบทวนการปฏิบัติงานในที่ อบั อากาศทกุ 5 ป PIC ตรวจสอบความพรอมผูปฏิบัติงานวาไมไ ดเปนโรคหัวใจ โรคลมชัก โรคทเี่ กี่ยวกับระบบทางเดนิ หายใจ ใบอนญุ าตการทำงานในพ้ืนทอี่ ับอากาศ (ALL-SQP-FM-067) มรี ะยะเวลาทำงานไมเ กินหรอ� เทากบั 6 ช่ัวโมง/ครง้ั PIC ตองควบคมุ ดแู ลใหผ ปู ฏิบตั ิงานใชเ คร�อ่ งปอ งกันอันตราย รวมถึง PPE และตรวจสอบอุปกรณใหอ ยูในสภาพพรอ มใชงาน PIC ตองชแ้� จงหนา ท่ีของแตละตำแหนงงานใหชดั เจน พรอ มทั้ง ปฏบิ ตั ิตามมาตรการทรี่ ะบใุ นใบขออนญุ าตทำงานในที่อับอากาศ ใหครบถว น ในกรณที ม่ี เี หตทุ อ่ี าจเกนิ อนั ตราย PIC ตอ งสง่ั ใหห ยดุ การปฏบิ ตั งิ าน ไวช วั่ คราว หรอ� ใหย กเลิกการปฏิบัตงิ าน หากจำเปน 19.5%  23.5% 05

งานพิเศษ (Special Work) 02 งานที่มีการใชเคร่อ� งมอื อุปกรณ เคร่อ� งจกั รกล ทีอ่ าจกอใหเกดิ ความรอ น ประกายไฟ หรอ� เปลวไฟ เชน งานเชอ่� ม งานเจย� ร งานขดั Hot Work งานตัด งานบัดกร� งานหลอมโลหะ งานเผาโลหะ งานเจาะโลหะ (ไมร วมเจาะไม คอนกรต� หร�อวัสดุฉนวนอ่ืน ๆ และงานเจ�ยราง โดยรถเจ�ยราง) เปนตน เตร�ยมความพรอ มของผปู ฏบิ ัติงาน ตรวจสอบเครอ�่ งมอื อปุ กรณ ตรวจสอบความพรอ มใชง านของอุปกรณ PPE เพ่อื ปอ งกนั การเกดิ เหตเุ พลิงไหม กอนเร�ม่ ปฏบิ ัติงาน PIC ตรวจสอบความปลอดภยั ของพื้นที่ รวมถึงบนั ทึก ขอมลู การตรวจสอบใน ใบตรวจสอบการปฏิบัตงิ าน ทก่ี อ ใหเ กดิ ความรอ นหร�อประกายไฟ (ALL-SQP-FM-123) ตรวจสอบการถา ยเทอากาศและแสงสวางในพน้ื ท่ีทำงาน ยายวัสดทุ ่ีติดไฟงา ยออกไปใหห างจากจด� ทจี่ ะทำงาน อยางนอย 5 เมตร หากยายไมไ ด ใหใชผากนั ไฟคลุมหร�อปดใหม ิดชด� การปฏบิ ตั งิ านใกลก บั หวั Sprinkler หรอ� อปุ กรณต รวจจบั ความรอ น หร�อควนั ใหป ระสานงานระบบ FDA-FPS-L&E เพอ่ื สนบั สนุนให Disable ระบบฉีดน้ำดบั เพลิง หรอ� ระบบแจง เตอื นอคั คภี ัย หรอ� นำวสั ดสุ ำหรบั ครอบ Sprinkler หรอ� Smoke Detector มาครอบ เพือ่ ปอ งกนั ระบบฉีดน้ำดบั เพลิง หรอ� ระบบแจงเตอื นอัคคภี ัย ทำงานโดยไมตง้ั ใจ และแจงใหเ จาของพนื้ ท่ีทราบ ตองตรวจสอบและจัดเตรย� มถงั ดบั เพลงิ อยางนอ ย 1 ถัง พจิ ารณาจำนวนใหเ หมาะสมกับพื้นที่ทำงาน กรณีเกดิ อุบัตเิ หตุจากการปฏิบัติงาน สงผลใหเกิด ความเสียหายตอช�ว�ตและทรพั ยส นิ ใหหยุดปฏบิ ตั งิ านทนั ที เฝาระวังและตรวจสอบพ้ืนท่หี ลังปฏบิ ตั งิ านแลวเสร็จ 30 นาที 06

งานพิเศษ (Special Work) 03 การทำงานในพน้ื ทท่ี ส่ี งู จากพน้ื ดนิ หรอ� จากพน้ื อาคารตง้ั แต 2 เมตร ขน�้ ไป เปนบร�เวณทอี่ าจพลดั ตกและไดร บั บาดเจ็บ เชน บนหลังคา Work at Height ขอบอาคาร บนเสาสงู โดดเดย่ี ว งานโรยตวั จากอาคาร แนวลาดชนั พน้ื ทป่ี ฏบิ ตั งิ านอยใู กลก บั หลมุ หรอ� บอ ทม่ี คี วามลกึ มากกวา 2 เมตร ใช Checklist การปฏิบตั งิ านบนที่สงู ตรวจสอบความปลอดภัย กอนเร�ม่ ปฏิบัตงิ าน (ALL-SQP-FM-072) ตรวจสอบนง่ั รา น ตามแบบฟอรมใบตรวจสอบสภาพและ ความปลอดภยั นัง่ ราน (ALL-SQP-FM-072) ปด ก้ันพ้ืนทีป่ ฏบิ ตั งิ านเพ่ือปองกันผูไมเก่ยี วของเขาไปในพน้ื ท่ี ตรวจสอบสภาพพื้นที่ ความมั่นคงแข็งแรงของอุปกรณ ตำแหนง การติดต้ังบันไดหรอ� นั่งรา น จดั หากระเปา สำหรับใสวัสดุอปุ กรณและเคร�่องมอื ตางๆ เมอื่ มี การปนข�้น - ลงบนั ได เพือ่ ความสะดวกและปองกนั อุปกรณ รวงหลนใสผปู ฏิบัตงิ าน หรอ� บคุ คลทอี่ ยูดานลาง ตรวจสอบนงั่ รา นกอนอนญุ าตใหป ฏบิ ัตงิ าน และตรวจสอบใหม ทกุ ครงั้ หากมกี ารเคล่อื นยา ยหร�อประกอบใหม หากปฏิบตั ิงานในพน้ื ที่นอกอาคาร ตองไมป ฏบิ ัตงิ านในขณะที่ มีลมพายุ ฝนฟาคะนอง ควบคุมดูแลใหผูปฏบิ ตั งิ านแตงกายใหร ดั กุม และสวมใสอ ปุ กรณ PPE ทเ่ีหมาะสม ถา พบวา ผปู ฏบิ ตั งิ านไมส วมอปุ กรณ PPE ใหห ยดุ งานทนั ที การต้งั นง่ั รา นบนบันไดเลอ่ื นใหระบุขน้ั ตอนการทำงานหร�อ แสดงเอกสาร Method Statement และตอ งไดร ับการทบทวน ตรวจสอบ และอนญุ าต จากระบบตรวจจับอัคคภี ยั / ระบบปองกนั อัคคีภัยและระบบลฟิ ตแ ละบันไดเลอ่ื น 07

งานพเิ ศษ (Special Work) 04 การปฏิบตั ิงานทเ่ี กย่ี วของกับไฟฟาแรงสูง คอื การปฏบิ ตั งิ านทเ่ี กย่ี วขอ งกบั แรงดนั ไฟฟา มากกวา 1,000 โวลต High Voltage Electric Work กรณตี อ งทำงานในบร�เวณทมี่ รี ะยะหางจากสายไฟฟา หร�ออปุ กรณไฟฟา แรงสูงและมีการเคลื่อนที่ของผูปฏิบัติงานหร�อสวนของวัสดุ อุปกรณ เคร�่องมือตองอยูหางจากสายไฟฟาหร�ออุปกรณไฟฟาแรงสูงนั้นๆ ไมน อ ยกวา 60 ซม. และแจง ระบบไฟฟา กำลงั และระบบควบคมุ เกบ็ ขอ มลู (PSY) เพื่อประสานงานการไฟฟา นครหลวงกอ นปฏิบตั งิ าน กรณีปฏบิ ตั งิ านในเขตพิกดั ความปลอดภยั จะตอ งให APOSTLE ขออนุมัติ ปด ทางใหม ขี อบเขตครอบคลมุ พน้ื ทท่ี อ่ี าจไดร บั ผลกระทบจากการปฏบิ ตั งิ าน แจงรายละเอยี ดอุปกรณท ่จี ะตดั ระบบ ขอจำกดั และผลกระทบใหเจา ของ พื้นทที่ ราบ กรณีอปุ กรณท ซ่ี อ มบำรงุ มีผลกระทบกบั ระบบไฟฟากำลงั และระบบไฟฟา แรงตำ่ หรอ� แสดงสถานะ Alarm ไปยงั ระบบ SCADA ตองแจง ให ECO หรอ� MCO ทราบกอ นเร่�มงาน แจง จำนวนแมก ญุ แจ และ Tag ท่ใี ชในงานซอ มบำรงุ ใหเ จา ของพน้ื ทร่ี บั ทราบ กอนปฏิบัตงิ าน กรณที มี่ ีผูทำงานท่ีอุปกรณน น้ั อยูก อ นแลว (สังเกตจาก แมก ุญแจหรอ� Tag) ใหห ลกี เลีย่ งการทำงานซ้ำซอนกนั ตรวจสอบความพรอ มของอปุ กรณ PPE ใหเหมาะสมและอยูในสภาพ พรอมใชงาน และควรเลือกใหเ หมาะสมกับแรงดนั ไฟฟาท่ีปฏบิ ตั งิ านน้ัน ตรวจสอบความพรอ มของผูปฏบิ ตั ิงานตามใบตรวจสอบความปลอดภัย พน้ื ทีก่ อ น-หลงั ปฏิบัตงิ าน (ALL-SQP-FM-036) ตดิ ตอ ECO เพ่อื ทำ Switching ตัดกระแสไฟฟา /คนื ระบบทำ Lockout/ Tagout และปลดเม่อื ปฏบิ ตั ิงานแลวเสร็จ 08

งานในเขตพิกัดความปลอดภัย 05 งานทต่ี องเขาไปทำในเขตพกิ ัดความปลอดภยั หร�ออยูในพ้ืนท่ี ใกลเคยี งกับทางว่�งในเสน ทางหลกั และทางว่ง� ในศูนยซอ มบำรงุ Clearance รวมถึงพื้นท่ีในโรงลา งรถไฟ ตอ งขออนุมตั ปิ ดทาง Gauge Work การทำงานอยูใกลเ คยี งเขตพกิ ัดความปลอดภัย ตอ งประเมินความปลอดภยั หรอ� อนั ตราย กอนเขาทำงานหากมีโอกาส ที่วัสดุ/อุปกรณ สามารถยื่น ตกหลน หร�อ ลมเขาไปใน เขตพกิ ัดความปลอดภัยได จะตองตอ งขออนมุ ัติปด ทาง ถา ไมม โี อกาส ทว่ี สั ด/ุ อปุ กรณ ยน่ื เขา ไปในเขตพกิ ดั ความปลอดภยั สามารถขอเปน Work permit ได โดยจะตอ งสวมใสเ สอ้ื นริ ภยั สะทอ นแสงตลอดเวลา เมอ่ื ตอ งทำงานใกลห รอ� ในเขตพกิ ดั ความปลอดภยั รวมท้ังทางว่�งในเสน ทางหลกั และศูนยซอมบำรุง ตามท่ี Rule Book กำหนดไว การเดินผา น Clearance Gauge เพอื่ เขา ไป ตวั อยา งงานทต่ี อ งขออนมุ ตั ปิ ด ทาง ปฏิบตั งิ านในหอ งควบคุมตา งๆ งานที่ตอ งเขาไปในโรงลา งรถไฟ หรอ� พืน้ ท่ีใกลเ คียง กอ นเขาพื้นท่ี Clearance Gauge ที่ไมม ี APOSTLE ครอบครอง ตองแจง LCO/DCO ทกุ ครง้ั งานทสี่ งผลกระทบดานการรกั ษาความปลอดภยั และ/หร�อการควบคุมระบบอาณตั ิสัญญาณ ในกรณที ่ี Clearance Gauge มี APOSTLE ครอบครอง ตอ งไดร บั อนญุ าตจาก APOSTLE ผรู บั ผดิ ชอบพน้ื ทก่ี อ น งานทีท่ ำใหทางว�ง่ ไมป ลอดภยั ตอการเดินรถ งานที่ใชรถซอ มบำรงุ เพอื่ สนบั สนนุ งานว�ศวกรรม การใชทางเดินซอ มบำรงุ ใน Back of House ตดิ กับ และซอ มบำรุง ทางวง่� ตอ งไดรับอนญุ าตจาก LCO งานทตี่ อ งตดั การทำงานของแหลงจา ยกระแสไฟฟา ขับเคล่อื นใน Mainline ชว งเปด ใหบ รก� าร งานท่ีตองเปดการทำงานของแหลง จา ยกระแสไฟฟา ขับเคลอ่ื นใน Mainline ชว งปดใหบ รก� าร การปฏิบัติงานบนที่สูง ไฟฟาแรงสูง ที่อับอากาศ งานที่กอนใหเกิดความรอนและประกายไฟ เปด-ปดฝาเพดาน ในเขตพกิ ัดความปลอดภัย APOSTLE และ PIC ตอ งไมเปน บุคคลเดียวกนั PIC จ�งตองปฏิบตั งิ านรวมกับ APOSTLE โดย PIC มีหนา ท่ีควบคุมคุณภาพงาน สวน APOSTLE ควบคุมความปลอดภัยในพ้ืนทีอ่ นมุ ัตปิ ดทาง 09

งานในเขตพิกดั ความปลอดภัย หนา ทรี่ ับผิดชอบของ PIC [Clearance Gauge Work (ตอ)] PIC มีหนา ท่ีรบั ผิดชอบคุณภาพของงาน เชน เทคนิคการซอ มบำรงุ การทดสอบ การตรวจสอบ หรอ� การฝกอบรม ภายใตก ารอนุมัติ ปดทาง รวมถงึ ข้ันตอนการทำงานทีป่ ลอดภยั ระหวางการทำงาน ของกลุมงานท่รี ับผิดชอบ และ การดแู ลอปุ กรณระบบตา งๆ ใหอ ยู สภาพปกติตลอดการทำงาน กรณีใชรถซอ มบำรงุ PIC ตอ งใช แบบฟอรมตรวจสอบความ ปลอดภยั ในการโดยสารรถซอ มบำรุง (ALL-SQP-FM-005) เพอื่ ตรวจสอบความปลอดภยั กอ นเคลอ่ื นรถ (กลมุ งานเดียว) PIC และผูปฏบิ ตั งิ านทกุ คน ตอ งเขารับการช้�แจง ความปลอดภัยจาก APOSTLE ตามขอกำหนดเร่�องความปลอดภัย ในพ้นื ท่อี นุมตั ปิ ดทาง (สองกลมุ งานข้�นไปใน TP เดียวกนั ) ตอ งมี PIC ประจำกลุม เพอื่ ปา ย P1 ควบคุมการปฏิบัตงิ าน โดยอยูภายใตก ารดแู ลของ APOSTLE (อนุมตั ิปด ทางหลายกลุมงาน) PIC ตองเปน ผนู ำชแ�้ จงความปลอดภยั โดย PIC ตองแนใจวา สมาชก� ของกลมุ งานมีความรคู วามสามารถ และสภาพรา งกายพรอมสำหรับการปฏิบตั ิงาน 7 ขนั้ ตอนเพอื่ ความปลอดภัยสำหรบั ทำงานใน Clearance Gauge 01 ผปู ฏบิ ตั งิ านไดปฏบิ ตั ิตามคำช้แ� จงความปลอดภยั จาก APOSTLE 02 มกี ารวัดกระแสไฟฟา ของรางทีส่ ามดว ย Voltage Tester และติดต้งั SCD ใหครอบคลมุ พืน้ ที่ปฏิบตั ิงานตามคำสง่ั จาก APOSTLE 03 มกี ารตดิ ตัง้ ปา ย P1 อยา งถกู ตองและครอบคลมุ พื้นท่ปี ฏบิ ัติงาน 04 มกี ารใช Checklist ตรวจสอบความปลอดภัยพ้ืนท่ีกอ น-หลงั ปฏิบัตงิ าน 05 หา มบุคคลใดออกจากพนื้ ทปี่ ฏิบตั ิงานโดยไมไ ดร บั อนุญาตจาก PIC และหา มบคุ คลใดออกจากพน้ื ทีอ่ นมุ ตั ิปดทาง โดยไมไ ดร บั อนุญาตจาก APOSTLE 06 เม่ือเสร็จสน้ิ การปฏิบัตงิ านแลว ระบบหรอ� อปุ กรณท อี่ ยูภ ายใตค วามรบั ผดิ ชอบของ PIC ตองอยูในสภาพปกติ ปลอดภัยตอการใชงานและพรอมสำหรบั การใหบ รก� ารเดนิ รถ หากมีขอจำกัดหรอ� สง่ิ ผดิ ปกติใดๆ ตองแจงให APOSTLE ทราบทันที 07 เมอ่ื ไดร ับอนญุ าตใหอ อกจากพื้นท่อี นมุ ัติปดทางและเขตพกิ ัดความปลอดภัย PIC และกลมุ งานจะตองไมกลบั เขาไป 10ในพน้ื ท่ีเขตพิกัดความปลอดภัยอกี หากตองการกลบั เขา พน้ื ท่ีอกี ครัง้ ตอ งขออนุมัติปดทางฉกุ เฉนิ หร�อนอกวาระ

งานอน่ื ๆ 06 ในระบบรถไฟฟา MRT มฝี า หลายประเภท ซง่� มวี ธ� ก� ารปฏบิ ตั แิ ละอปุ กรณ แตกตา งกนั ไปตามประเภทของฝา เพดาน ดังน้ัน PIC ตอ งผา นการฝก Ceiling Work อบรมวช� าการเปด -ปด ฝา เพดานภายในพน้ื ทส่ี ถานี (BL-PPL) เพอ่ื ปอ งกนั อันตราย และความเสียหายตอทรัพยสิน และตัวผูปฏิบัติงานรวมถึง ผูใชบร�การ กอ นเร�่มปฏบิ ัตงิ านใหม กี ารตรวจสอบโครงฝา และแผนฝา เพดาน และบันทึกลงในแบบฟอรม ใบบนั ทึกการเปด -ปด ฝาเพดาน 1) สวมใสรองเทานิรภยั ที่มีคุณสมบตั เิ ปนฉนวน 2) สวมใสหมวกนิรภยั 3) สวมใสถ งุ มือผา ขณะปฏิบัตหิ นาท่ี 4) ปดก้ันพน้ื ที่ 5) กรณีตดิ ตงั้ นง่ั ราน ตรวจสอบความแขง็ แรงของนง่ั ราน และสวมใส Full Body Harness 6) กรณีใชบันได ตอ งมีคนคอยประคองบันไดอยูดา นลา งทกุ คร้งั 7) เม่อื ปฏบิ ตั งิ านแลวเสร็จ ตอ งตรวจสอบการเปด-ปดฝา ของ ทีมงานเพือ่ ใหมน่ั ใจวาปด ฝา กลบั คนื แนนสนทิ ไมห ลนและ บันทกึ การตรวจสอบในแบบฟอรม ALL-CAP-FM-063 ทุกครั้ง 8) ตรวจสอบความเร�ยบรอ ยของพืน้ ที่ 11

งานอืน่ ๆ Plenum ในภาวะปกตพิ ัดลมจะไมท ำงาน แตในภาวะฉกุ เฉนิ อุปกรณจะทำงาน TVS/UPE อตั โนมัติ แรงลมทีเ่ กิดจากการทำงานของพัดลมอาจทำใหผ ูปฏิบัติ งานไดร บั บาดเจ็บ วสั ดุ อปุ กรณเสียหายจากการถูกลมดูด เปา 01 กระแทก แจง ECO กอนเขา 02 03 04 ปฏบิ ัติงานในหอง Plenum เปล่ียน Mode TVS ทำ Lock out / เม่อื ปฏิบัติงานแลว เสรจ็ เปน Local Tag out ตอ งปรับ Mode TVS เปน Remote ตามเดิม Formal Testing ทำความเขาใจขอบเขตพนื้ ทปี่ ฏบิ ัตงิ าน Scope การปฏิบตั ิงานกับทีมงานและ Test supervisor เปด WP กบั เจาของพื้นที่เพ่อื ปฏิบัติงาน ควบคุมการปฏิบัติงานของ Test supervisor และทมี งานใหอ ยภู ายใตความปลอดภยั ประสานงานกับ APOSTLE เร่�องการเปลีย่ นระดับการตัดกระแสไฟฟาขับเคลอื่ นเพ่ือการทดสอบ ตรวจสอบให Test supervisor คนื ระบบทีท่ ำการทดสอบใหค รบถว น ตรวจสอบให Test supervisor ยนื ยนั การทำงานของระบบทท่ี ดสอบกลบั สสู ถานะปกติ สามารถให บร�การเดนิ รถได กรณที ำ Formal testing ในเขตพิกดั ความปลอดภยั PIC ตองใช Track possession checklist กอนเขา และกอ นคืนพ้นื ทอ่ี นมุ ตั ปิ ดทาง แลว จง� ให APOSTLE ตรวจสอบอีกคร้ัง ยนื ยันการนำคนและอปุ กรณออกจากพืน้ ท่ี พน้ื ที่ปลอดภยั ตอ การเดนิ รถให APOSTLE รับทราบ 12

การยกเลกิ เอกสาร Work Permit/Track Possession 01 02 03 สามารถยกเลกิ WP / TP การแกไข WP & TP เมอ่ื ไดร บั การขอยกเลิก TP ตองมี ที่ไดรบั อนุมตั โิ ดยแจง ยกเลกิ อนมุ ตั เิ รย� บรอ ยจะไมส ามารถ หนังสอื ชแ�้ จงการยกเลิกจาก กับเจาหนา ที่วางแผนกอน เปลี่ยนแปลงหร�อแกไขได หนวยงานผูข อดวยเหตผุ ล เวลา12.00 น. ของวนั ทำงาน หากตอ งการเปลี่ยนแปลง ท่ีสมควร หากเหตผุ ลการขอ ยกเลิกไมส มควร User ตองขอเอกสารขอ เขาทำงานฉบบั ใหมเ ทาน้นั หนว ยงานรวมทงั้ APOSTLE อาจไมไ ดร บั พิจารณาให เขา ทำงานในระบบรถไฟฟาตอ ไป การเปลี่ยน PIC การเปลย่ี น PIC ใน WP สามารถเปลีย่ นไดโดยแจงไปยงั เจา หนา ที่วางแผน โดยตอ งแจง เปลยี่ น ลวงหนา 3 วันทำการกอนเวลา 12.00 น. PIC ท่ีมาปฏบิ ัติหนาท่ีแทนจะตองรับทราบรายละเอียดและขอจำกัดของการขออนุมตั ปิ ดทาง กอ นเรม่� ทำงานทกุ ครั้ง การเปลีย่ น PIC ในกรณีเรงดว น ใหแ จงเปลีย่ นมายงั เจาหนา ที่วางแผนกอ นเวลา 12.00 น. ทง้ั นี้ เจา ของพืน้ ทีม่ อี ำนาจในการอนุญาต หร�อปฏิเสธใหเปลยี่ น PIC โดยพิจารณาความจำเปน และคณุ สมบตั ิของ PIC ทเี่ ขา ปฏบิ ตั งิ านแทน ตอ งไดรับความยินยอมจาก APOSTLE ท่ีมชี �่ออยูในใบ TP และ APOSTLE ตอ งแจง ให LCO/DCO ทราบ ทั้งนี้ LCO/DCO มีอำนาจในการอนญุ าต หรอ� ปฏเิ สธใหเ ปลยี่ น PIC โดยจะพจิ ารณาถึงความจำเปน และตรวจสอบคุณสมบัตขิ อง PIC ทีเ่ ขาปฏบิ ตั งิ านทดแทนตรงกบั ทรี่ ะบไุ วในเอกสาร 13

การเขา ปฏบิ ตั งิ านในพน้ื ที่ 01 02 PIC ตอ งช้�แจงคณะทำงาน รายงานตัวตอ เจาของพื้นที่ แจงขอจำกัดหรอ� Alarm 1) ความปลอดภยั และอันตราย พรอ มเอกสารการเขาทำงาน ทอี่ าจเกิดขน�้ ให Landlord จากการทำงานในพื้นที่ และว�ธ�ปองกนั รับทราบ 2) ลกั ษณะทางการกายภาพของ แลกบัตรสำหรบั ทมี งาน แจง ECO ถึงงานที่อาจจะ พืน้ ทเี่ ขา ทำงาน เชน ตำแหนงทางเขา ทีไ่ มม ีบตั รอนุญาตบุคคล แสดง Alarm ท่ี SCADA ออกของสถานี ทางหนีไฟ หองน้ำ เขาพ้นื ทค่ี วบคุม จ�ดรวมพล เปนตน 05 04 03 กรณีเขาทำงานท่ี OCC เนนย้ำทีมงานใหระมัดระวัง ตรวจสอบสภาพความพรอ ม จะตอ งแจงเขา พืน้ ที่กับ CSO ขณะปฏบิ ตั งิ าน หา มยงุ เกย่ี วกบั ของทมี งาน หากพบวา ทีมงาน นำกุญแจหรอ� บตั รเปดประตู อุปกรณ หร�อโครงสรางที่ มสี ภาพไมพรอ มปฏบิ ตั งิ าน หอ งอปุ กรณตา งๆ ไปใหครบถว น ไมเกยี่ วของกบั กจิ กรรมหรอ� เชน เคร�่องแตงกายไมถ ูกตอ ง การทำงานของทีมงานอื่น อุปกรณ PPE ไมครบถวน 08 รวมถึงขอ กำหนดดานความ เจ็บปว ย หามใหเขาทำงานในพืน้ ที่ การจดั เกบ็ ของชว่ั คราวในพน้ื ท่ี ปลอดภยั ท่เี ก่ยี วขอ ง ตอ งอยูในสภาพเร�ยบรอ ย ไมก ีดขวางเสน ทางสญั จร 06 07 หร�ออพยพ หร�ออุปกรณ ความปลอดภัย ตรวจสอบความเร�ยบรอยของพื้นท่ี ตรวจสอบสภาพการจดั วาง หรอ� อปุ กรณ กอนเร�่มปฏิบัติงาน วสั ดุ อปุ กรณต างๆ รวมถงึ ในกรณีทีต่ รวจพบความผิดปกติ ความสะอาด กอ นเรม่� และตลอด หรอ� ความเสยี หาย ตอ งแจง ระยะเวลาการทำงาน และดแู ล เจา ของพืน้ ทีท่ ราบทันที จนการทำงานเสร็จส้ิน และจดั เกบ็ อุปกรณใหเ รย� บรอยทุกวัน 11 10 09 กอนออกจากพ้ืนทท่ี ำงาน หลงั จากเสร็จสนิ้ การทำงาน หากตอ งหยดุ ปฏบิ ตั งิ านชว่ั คราว PIC ตอ งลงลายมอื ชอ่� วนั และเวลา PIC ตอ งทำการตรวจสอบใหแ นใจวา ตอ งมกี ารจดั การงานทย่ี งั ไมเ สรจ็ เสรจ็ สนิ้ การทำงาน ในสมุดบันทกึ อปุ กรณ และทีมงานท่เี ก่ยี วของ เพ่ือไมใหส งผลกระทบตอการ การเขา ทำงาน/สมุดบนั ทึก ออกจากพื้นที่เร�ยบรอยแลว ใหบ รก� ารและแจง สถานะให การเขา ออกพ้นื ท่ี พรอมทงั้ และพน้ื ทอ่ี ยใู นสภาพพรอ มใหบ รก� าร เจาของพ้ืนที่ทราบ แจง ขอ จำกัด ตามปกติ 14

คณุ สมบตั ขิ อง PIC อายุ 20-60 ป เปน พนกั งาน BEM, พนกั งานผูรับเหมา ผูรับเหมาชว ง และผรู บั สิทธ� ผปู ระกอบการ ไมมีประวตั อิ าชญากรรมรายแรง ตอ งเปน ผูท่ีมีคณุ สมบัติเฉพาะดาน (Qualified Person) โดยมี คณุ สมบตั ิตามประเภทของงาน มีใบรบั รองแพทยส ุขภาพแขง็ แรง ไมมีโรคประจำตวั ดังน้ี วณั โรค และโรคติดตอรายแรง โรคหัวใจ โรคลมชัก โรคท่ที ำใหห มดสติแบบเฉยี บพลนั และความผิดปกติ ในการไดยินในระดบั ท่สี ูญเสียการไดยนิ แบบถาวรสำหรับงานในทสี่ งู อบั อากาศ และพ้นื ทีเ่ ขตพกิ ัดความปลอดภยั ความผดิ ปกติทางสายตา ตอ งแกไขโดยการสวมแวนสายตา หรอ� ใสคอนแทคเลนส และสำหรบั งานในพน้ื ทีเ่ ขตพิกัดความปลอดภัย ตองไมเปนตาบอดสี โรคท่ีเกย่ี วของกบั ทางเดินหายใจ สำหรบั งานในทอี่ บั อากาศ 15

การฝกอบรม พนกั งาน BEM หลกั สูตร การปฏบิ ตั ิการเดินรถไฟฟา เบือ้ งตน หลกั สูตร กฎระเบยี บขอ บงั คับวา ดว ยการเดนิ รถ หลักสูตร ความปลอดภัย อาช�วอนามยั และสภาพแวดลอม ในการทำงาน ผรู ับเหมา /ผรู ับสิทธ์� /ผปู ระกอบการ หลักสตู ร PIC การฝก อบรมเพิม่ เติมสำหรับงานพเิ ศษ Speacial Work หลกั สตู ร Clearance gauge หลักสตู ร APOSTLE และ Rulebook เรอ�่ ง การจัดการอนุมตั ปิ ด ทาง Confined Space หลกั สูตรผูควบคุมงานในที่อบั อากาศ Hot Work Work at Height หลกั สูตร Fire Fighting และรับทราบเอกสารระเบยี บปฏบิ ัตงิ าน เรอ�่ ง การทำงานท่ีกอใหเกดิ ความรอ นหร�อประกายไฟ สายนิรภยั และความปลอดภยั การทำงานในทส่ี งู Scaffold กรณีมีการติดตง้ั น่งั ราน ตอ งผานการอบรม การใชนง่ั ราน High Voltage Electrical Work ปฏบิ ตั ิการชว ยฟน คืนชพ� CPR และแสดงวฒุ ิการศกึ ษาขั้นต่ำ ปวส. Ceiling Work สาขาไฟฟา กำลงั ข้นั ตอนการปฏิบัตงิ าน เปด-ปด ฝา เพดานในพนื้ ที่ระบบรถไฟฟา 16

ขั้นตอนการขอบัตรอนญุ าตฯ กรอกขอมูล รายละเอียด 02 บัตรอนุญาตฯ จะมผี ลใชง านได ในระบบ ABaC พรอ มแนบ ตองมีสภาพสมบูรณ สามารถ เอกสาร ใหครบถว น รออนมุ ตั ิ ตรวจสอบเลขพน้ื ท่คี วบคุม และลายมอื ช่�อผูมอี ำนาจลงนาม ทถี่ ูกตอง หากเอกสารถกู ตอ ง และมี 01 03คุณสมบัติครบถวนจะไดรบั การแจง สถานะอนุมัติผา นอีเมล และจดั สง บัตร ผา นผปู ระสานงาน หร�อผรู อ งขอ เอกสารประกอบการขอบตั รอนญุ าตฯ สำเนาบัตรทีม่ ีรูปถายท่ีราชการออกให ผลการตรวจสอบประวตั ิอาชญากรรม ใบรบั รองแพทย หร�อผลการตรวจสขุ ภาพประจำป หร�อหนังสอื รบั รองจากบรษ� ทั ตนสงั กดั วาไมเปน โรคตดิ ตอ รา ยแรง รปู ถา ยดิจต� อล เอกสารหลักฐานแสดงผลการฝก อบรม 17

ขอควรระวงั สำหรบั การปฏิบตั ิงาน การจัดการเหตกุ ารณ ตองหยดุ ปฏบิ ตั งิ านเมือ่ พบเหตุการณผดิ ปกติ ตอ งรายงานเหตุการณท่เี กดิ ข�น้ กบั เจาของพืน้ ทีท่ ันที ซง่� เหตกุ ารณนัน้ อาจกลายเปน เหตุฉกุ เฉนิ ในพื้นที่ หร�ออาจมผี ลกระทบตอการดำเนนิ การของบร�ษทั ฯ PIC และทีมงานตอ งปฏิบัตติ ามคำแนะนำของเจาของพ้นื ท่ีในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉนิ PIC ตอ งทราบเสน ทางอพยพฉกุ เฉนิ ในพื้นทป่ี ฏบิ ัติงาน รวมถึงจด� รวมพลเมอื่ เกิดเหตฉุ กุ เฉนิ สามารถนำทมี งานอพยพไปยังพืน้ ท่ีปลอดภัย เมื่อมีผูบ าดเจบ็ หรอ� ทรพั ยสนิ เสียหายภายในระบบรถไฟฟา ตองแจง เจา ของพน้ื ทีท่ ราบ 01 การขนสง เคล่อื นยา ย การใชล ฟิ ต 02 ใชแ บบฟอรม แสดงรายละเอยี ดการใชลิฟตเ พ่อื นำ้ หนกั ของวัสดอุ ุปกรณท ่ีขน ตอ งมีน้ำหนัก ขนวสั ดอุ ปุ กรณ (ALL-SFP-FM-001) แนบพรอ มกบั ไมเ กนิ พิกดั บรรทุกของลิฟต WP/TP /General Work โดยระบกุ ารใชลิฟต ในเอกสารใบขออนญุ าตฯ ใหครบถวน 03 04 ระหวา งการใชล ิฟตต องมเี จาหนาทีข่ องบรษ� ทั PIC ตองตรวจสอบสภาพภายในและภายนอกลฟิ ต ผรู บั เหมาหลกั อยา งนอ ย 1 คน ประจำหนา ลิฟต ทงั้ กอนและหลงั การใชง าน เพื่อยืนยันสภาพความ ระดบั ถนนตลอดเวลา พรอ มใชง านกบั หัวหนา สถานี 05 06 PIC หร�อผูที่ไดรบั มอบหมาย ตองควบคุมการ หลังเสรจ็ สนิ้ การขนวสั ดุอุปกรณ ตองเกบ็ เศษ ใชลฟิ ตอ ยา งตอเนอื่ ง หากพบปญหาระหวาง วสั ดุตกคา ง และตรวจสอบความสะอาดในลฟิ ต การใชงานลิฟต ตองแจง ใหห ัวหนา สถานที ราบ ใหพ รอมใชงานทุกครง้ั 07 หากพบความเสียหายหลังการใชงาน หรอ� พบวา ความไมป ลอดภัย หวั หนาสถานสี ามารถระงับการ ใชล ฟิ ตไดทันที และ PIC ของบรษ� ทั ที่ใชล ฟิ ตล า สดุ ตองรวมตรวจสอบความเสียหายทีเ่ กิดข้�น 18

อปุ กรณคุมครองความปลอดภัยสว นบคุ คล (PPE) PIC Must Do : ตองจัดเตรย� ม PPE ตามมาตรฐานท่ีกำหนดใหกบั ทมี งานทีเ่ ขาปฏิบตั งิ านตามความเหมาะสม ตอ งจดั ใหม ี PPE สำหรบั งานเฉพาะ และมนั่ ใจวาทีมงานผานการอบรมการใชอ ุปกรณน้นั กอ นการใชง าน PPE ตองอยูในสภาพสมบูรณต ลอดการใชง าน หากตรวจพบความบกพรอ งหร�อชำรุดของ PPE ในขณะปฏิบตั งิ าน ใหยกเลิกการปฏิบตั ิงานนน้ั จนกวาไดร ับการแกไขเปลี่ยนแปลงใหเหมาะสม อุปกรณป องกันศรี ษะ อปุ กรณป อ งกันหู มีอุปกรณหรอ� เคร�อ่ งจกั ร โลหะตางๆ ใชเ คร�่องมอื ลม ทีอ่ าจตกหลนใสศ รี ษะของผปู ฏบิ ตั ิงาน เขาใกลเ ครอ่� งจกั รท่มี เี สยี งดัง การทำงานใกลกับปน จ่นั หรอ� รอกยกของ ขณะอยูในหอ งท่ีมีเคร�่องจกั รตา งๆ การทำงานในบร�เวณกอ สราง ขณะอยูใกลเ คร�่องจกั รทเ่ี ก่ียวกบั การตัด บรเ� วณที่มปี ายระบใุ หใช บร�เวณทม่ี ีปา ยระบุใหใช อุปกรณป อ งกนั ดวงตา อปุ กรณป องกนั มอื และนว้ิ มือ ทำงานกับสารเคมี การทำงานเกี่ยวของกบั สารเคมี งานเชอ�่ มตอ โลหะหรอ� ตดั ช้�นงาน การหยบิ จบั กระจก เหล็ก หรอ� คอนกร�ต ปองกันวัสดุ ท่ีอาจจะปลวิ ไปในอากาศ การทำงานกบั เคร่อ� งมือที่มีความส่นั สะเทอื น บรเ� วณที่มปี ายระบุใหใช การทำงานเกยี่ วกบั ไฟฟา เคร�่องจักร ปน จน่ั การเช่�อมหร�อตดั ชน้� งาน อปุ กรณปองกนั เทา และขา อปุ กรณป องกนั ลำตัว การปนข�น้ – ลงบนั ได การทำงานในทอ ระบายของเสีย ปองกนั การกระเด็นหกรดของสารเคมี งานขนยา ยวัสดโุ ดยใชก ำลังแขน – ขา การทำงานในท่มี คี วามรอนสงู /สะเกด็ ลกู ไฟ การเขา ไปในบรเ� วณท่มี กี ารกอ สราง โดยใสชดุ คลมุ ใหเ หมาะสมกบั ประเภทของงาน บรเ� วณที่มีปายระบุใหใช อุปกรณป อ งกันระบบการหายใจ และเคร�่องชวยหายใจ งานในพื้นทอี่ ับอากาศ บรเ� วณท่มี ีปา ยระบใุ หใช 19

การลอ คและการแขวนปา ยหามใชอปุ กรณ LogOut งานท่ีตอ งทำ Lockout/Tagout คือ งานซอ มบำรุงทม่ี ีการตัดกระแสไฟฟา หร�องานทมี่ กี ารหยดุ การทำงานของเครอ�่ งจักร วาลว หรอ� สว�ตชเปด-ปด TagOut อปุ กรณ รวมทัง้ อปุ กรณค วามดนั ผูมีสิทธ์�ในการใสและปลดแมกุญแจ ตดิ และปลดปา ยหา มใชอปุ กรณ คือ PIC ท่ีมชี �อ่ ในเอกสารอนญุ าตทำงานเทานน้ั ตดิ Tag โดยกรอกขอ มลู แจง จำนวนแมกญุ แจ / Tag หลกี เลี่ยงการทำงานซ้ำซอน ใหค รบทกุ สว น ใหเ จาของพ้ืนทีท่ ราบ หา มปลดล็อคแมก ุญแจ กอ นปฏิบตั งิ าน /Tag ทีต่ ดิ อยู โดยเดด็ ขาด หากปฏิบัตงิ านไมเสรจ็ ภายใน PIC ทป่ี ฏบิ ตั งิ านกลมุ หลงั 24 ชว่ั โมง ให PIC แจง วศ� วกรระบบ ตอ งประสานงานกับ PIC กลุมที่ และดำเนินการตามข้นั ตอน ปฏบิ ตั ิงานกอ นตามหมายเลข เรอ่� ง การตดั การใชง านของระบบ โทรศัพททรี่ ะบุไวใน Tag หรอ� อปุ กรณเ ปน เพอ่ื แจง รายละเอยี ด การชวั่ คราว การทำงาน เมื่อปฏิบตั งิ านซอ มบำรงุ ที่ PIC ทมี่ ชี ่อ� ในเอกสารอนญุ าต มผี ลกระทบกบั ระบบ PSY/LVS เขาทำงานเทาน้นั ทสี่ ามารถ ตองแจง ECO ทราบ ปลดลอคแมกญุ แจ / Tag ได หากติดตอไมไ ด PIC สามารถปลดลอ ค ใหประสานไปยงั แมกุญแจ / Tag ช่วั คราว เจา ของระบบหรอ� CE เพ่ือทดสอบอปุ กรณ แตต องไมม ีคนหร�อ เม่อื ปลดลอคแมกญุ แจ / Tag เรย� บรอ ยแลว หัวหนา ชางเทคนิค ตองแจง PIC ผทู ม่ี ชี ่อ� บน Tag รวมถึง อปุ กรณอ ยใู นพน้ื ท่ี CLEAR ผูป ฏบิ ตั ิงานหร�อผูท่ีอยูในพนื้ ทที่ ราบวา แมกญุ แจ/ Tag ไดถูกปลดออกแลว 20

การปอ งกนั อัคคภี ัย การจัดเกบ็ วัตถุไวไฟในบร�เวณ หา มนำวัตถไุ วไฟเขา มาภายในสถานี ศนู ยซอมบำรงุ และอาคารบรห� าร ยกเวน เพือ่ การปฏิบตั งิ านและตอง ตอ งไดร ับอนุญาตจากเจา ของพื้นที่ ขออนญุ าตทำงานใหถ กู ตอ ง พรอ มทงั้ จัดทำมาตรการปอ งกัน การใชถังดบั เพลิง ใหใชใหถ ูกตอ ง หา มสบู บุหร่�ในพน้ื ทขี่ องระบบ เหมาะสมกับชนดิ ของไฟ รถไฟฟา ยกเวน ในพื้นที่ทจี่ ัดไว และหามนำไปใชผ ดิ วตั ถุประสงค ซ่�งกอนทง้ิ กน บหุ ร�่ตอ งแนใจ รักษาความสะอาดเร�ยบรอยภาย วาไดด บั ไฟเร�ยบรอย ในสถานทป่ี ฏิบตั ิงาน ไมท ิ้งขยะ ตองมกี ารบำรงุ รักษาอปุ กรณไฟฟา หร�อสะสมวัสดอุ ันอาจจะเปนเช้อ� เพลงิ ภายในสถานทท่ี ำงานอยา งสม่ำเสมอ และกอ ใหเกดิ การลกุ ไหม เพื่อปอ งกนั ความเส่ียงตอ การเกิด เพลงิ ไหม วัสดขุ องอุปกรณท ่ีติดตงั้ ในสถานี หา มเคลอ่ื นยายเครอ่� งดับเพลิง ตอ งเปน ชนิดไมต ดิ ไฟ หร�อ จากจ�ดตดิ ตง้ั ในกรณที ่ไี มจ ำเปน ติดไฟชา และไมก อใหเกดิ กาซพิษ การตรวจ สิง่ มึนเมา ยา และสารเสพตดิ การจดั เกบ็ อุปกรณส ำหรบั งานซอ มบำรุง ภายในสถานีรถไฟฟา หา มใชย าเสพตดิ หรอ� สง่ิ มนึ เมาในระหวา งการปฏบิ ตั ิ PIC ตอ งตรวจสอบสภาพพน้ื ท่ีสำหรบั จดั เก็บ หนา ทหี่ ร�อนอกเวลาปฏบิ ตั ิงาน ซ�่งจะสงผลกระทบ อปุ กรณใหเ รย� บรอ ย รวมถงึ ควบคมุ และตรวจ ตอ ความสามารถในการปฏิบัติงาน หากฝาฝนจะ สอบอปุ กรณท ่นี ำมาจดั เกบ็ ในพืน้ ที่ใหตรงตาม ไดรบั โทษตามกฎ ระเบยี บของบรษ� ัทฯ ขอ กำหนด กรณที ีผ่ ูปฏิบัติงานไดรบั คำส่งั จากแพทยให การจัดเก็บวสั ดุอุปกรณสำหรับงานซอ มบำรุง ใชยาประเภทซง่� อาจสง ผลกระทบตอความ ตอ งจดั เกบ็ ภายในพน้ื ทท่ี ก่ี ำหนด และแจง จำนวน สามารถในการปฏบิ ตั ิงาน ใหแ จง ตอผูควบ อุปกรณร วมถึงระยะเวลาทีจ่ ดั เก็บใหชัดเจน คุมงานทันที โดยใชงานแบบฟอรม ใบแสดงรายละเอยี ดวัสดุ อปุ กรณท จ่ี ดั เกบ็ ในสถานเี พอ่ื ใชส ำหรบั งานซอ ม บำรุง (BLL-CAP-FM-156) แนบพรอมกับ WP /TP หรอ� General Work 21

การจัดการสารเคมอี ันตราย/ขยะอันตราย สารเคมีอนั ตราย วัตถุอนั ตราย สารเคมีไวไฟที่นำมาใช ตอ งสง ขอ มลู ความปลอดภัยของสารเคมี (SDS) ให ฝายบร�หารความปลอดภยั (SMD) เพ่ือขออนุมัตนิ ำมาใชในปฏบิ ัตงิ านครัง้ แรก กอนใชงานตองแจงเจา ของพนื้ ที่ และตอ งระบุปร�มาณ การนำสารเคมีเขามาใชท ุกครั้ง กรณีเปนสารเคมอี นั ตรายตามกฎหมาย ไมอ นญุ าต ใหจ ดั เกบ็ ในสถานหี รอ� บร�เวณพ้ืนท่ีทำงาน หากจำเปน ตองไดร บั อนมุ ตั จิ ากเจา ของพนื้ ท่ี พรอมทง้ั ระบปุ ร�มาณ และสถานทจี่ ัดเกบ็ ใหชัดเจน รวบรวมขยะที่ปนเปอนสารเคมี/ขยะอนั ตราย เชน เศษผา หร�อวัสดทุ ีเ่ ปอนคราบนำ้ มนั จารบหี ร�อของเหลว ทต่ี ดิ ไฟ ใหน ำกลบั มาทง้ิ ทโ่ี รงเกบ็ ขยะอนั ตรายทศ่ี นู ยซ อ มฯ Method Statement Method Statement จดั ทำในกรณที ก่ี ารปฏิบัติงานนัน้ ไมมขี นั้ ตอนหรอ� ขอกำหนดระบไุ วในเอกสารอื่น เชน คำส่งั ปฏบิ ัตงิ าน หร�อ ระเบยี บปฏบิ ตั งิ าน Method statement ประกอบดว ย 1) ขอบเขตการปฏบิ ัตงิ าน : ปฏิบตั งิ านอะไร พื้นท่ีใดบา ง 2) เคร่อ� งมอื และอุปกรณท ่ีใชในการปฏิบัติงาน : เครอ่� งมือ / อุปกรณท ี่ใชในการปฏบิ ตั งิ าน 3) ว�ธก� ารปฏิบตั งิ าน : ระบุวธ� ป� ฏบิ ัตงิ านโดยละเอียด 4) การประเมนิ ความเสยี่ ง : ประเมนิ ความเสี่ยงงานทจ่ี ะปฏบิ ตั ิพรอ มมาตรการลดและควบคมุ ความเสี่ยง 5) หลงั จากจัดทำ Method Statement แลว เสรจ็ ใหผจู ดั ทำลงนามและสงใหหวั หนา งาน หรอ� ผบู รห� าร สัญญาลงนาม ขั้นตอนทีต่ อ งปฏิบตั ิ กอ นเรม่� งาน-ขณะปฏบิ ัติงาน-หลังปฏบิ ตั งิ าน 1) กอนเร่�มงาน : ระบุการปฏิบัติกอนเร่�มงานจะตอ งดำเนินการอยางไร เชน สำรวจพน้ื ทปี่ ฏิบัตงิ านและ วางแผนงานใหเ หมาะสมจดั เตรย� มเอกสารทเ่ี กย่ี วขอ ง จดั เตรย� มและตรวจสอบอปุ กรณ ตดิ ตอ เจา ของพน้ื ท่ี 2) ขณะปฏบิ ัติงาน : ระบุการปฏบิ ตั ิระหวา งทมี่ ีการปฏบิ ตั งิ าน เชน PIC ควบคมุ การปฏิบตั ิงานในพ้นื ที่ ตรวจสอบใหผปู ฏบิ ัตงิ านใส PPE ตลอดเวลา 3) หลงั ปฏบิ ตั งิ าน : ระบกุ ารปฏบิ ตั หิ ลงั จากปฏบิ ตั งิ านแลว เสรจ็ ตรวจสอบพน้ื ท่ี จดั เกบ็ อปุ กรณใหเ รย� บรอ ย 22

เอกสารอางอิง ระเบียบปฏิบัติงาน เร�่อง การจัดการการอนุมัติปดทาง ระเบยี บปฏบิ ัตงิ าน เร่�อง การขอเอกสารเพอื่ การปฏบิ ตั งิ านในพ้นื ที่ ระบบรถไฟฟามหานคร ระเบียบปฏิบัติงาน เร�่อง การรายงานเหตุการณ ระเบียบปฏิบัติงาน เร�่อง บัตรอนุญาตบุคคลเขาพื้นที่ควบคุม ระเบียบปฏิบัติงาน เร�่อง สิ่งมึนเมา ยา และสารเสพติด ระเบียบปฏิบัติงาน เร�่อง การจัดการเหตุการณ ระเบียบปฏิบัติงาน เร�่อง การจัดการสารเคมีและวัตถุอันตราย ระเบียบปฏิบัติงาน เร�่อง การปฏิบัติเมื่อพบสิ่งของในเขตพิกัดความปลอดภัย ระเบียบปฏิบัติงาน เร�่อง ผูมีคุณสมบัติเฉพาะดาน ระเบียบปฏิบตั งิ าน เร�อ่ ง การจดั เก็บอปุ กรณสำหรับงานซอมบำรุงภายในสถานรี ถไฟฟา ระเบียบปฏิบัติงาน เร�่อง งานพิเศษ ระเบียบปฏิบัติงาน เร�่อง การตัดการใชงานของระบบหร�ออุปกรณเปนการชั่วคราว ระเบียบปฏิบัติงาน เร�่อง การล็อคและการแขวนปายหามใชอุปกรณ เอกสารสนับสนุน เร�่อง กฎ ระเบียบขอบังคับวาดวยการเดินรถ เอกสารสนับสนุน เร�่อง มาตรฐานอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล เอกสารสนับสนุน เร�่อง ขอปฏิบัติสำหรับการใชลิฟตเพื่อขนวัสดุอุปกรณ คำสั่งปฏิบัติงาน เร�่อง การเปด ปดฝาเพดาน ในพื้นที่ระบบรถไฟฟา เอกสารฝกอบรมว�ชา PIC 23


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook