Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore content_ebook

content_ebook

Published by issarapap.wi, 2020-02-06 22:39:37

Description: content_ebook

Keywords: computer

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 1 ความรเู้ กี่ยวกับคอมพิวเตอร์ และโทรคมนาคม รายวิชา เทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื การจดั การอาชีพ รหสั วิชา 3001-2001

2 เน้อื หาการเรียนรู้ เรอ่ื ง หน้า ความหมายของคอมพวิ เตอร์ 3 ประเภทของคอมพิวเตอร์ 4 อุปกรณโ์ ทรคมนาคม (Telecommunications) 13 องคป์ ระกอบของระบบโทรคมนาคม 14 หนา้ ท่ขี องระบบโทรคมนาคม 15 ประเภทของสัญญาณในระบบโทรคมนาคม 16

3 ความหมายของคอมพิวเตอร์ คอมพวิ เตอร์ (Computer) หมายถงึ การนับ หรอื การคำนวณ โดยพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ไดใ้ หค้ วามหมายของคอมพวิ เตอร์ไวว้ ่า “เครือ่ งอเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ บบอตั โิ นมตั ิ ทำหนา้ ที่ เสมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อน โดยวิธีทาง คณิตศาสตร์” คอมพิวเตอร์จึงเป็นเคร่ืองจักรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกสร้างขึน้ เพื่อใช้ทำงานแทนมนุษย์ในดา้ นการ คดิ คำนวณ และสามารถจำข้อมูล ทง้ั ตวั เลขและตวั อักษรไดเ้ พื่อการเรียกใช้งานในครงั้ ต่อไป นอกจากนี้ ยังสามารถ จำข้อมูลกับสัญลักษณไ์ ด้ดด้วยความเร็วสูง โดยปฏิบัตติ ามข้ันตอนของโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ทั้งนี้ คอมพิวเตอร์ ยงั มคี วามสามารถอกี หลายอย่าง เชน่ การเปรยี บเทียบทางตรรกศาสตร์ การรบั สง่ ข้อมลู การจัดเก็บข้อมูลตัวเครื่อง และสามารถประมวลจากข้อมูลต่าง ๆ ได้ ทั้งนี้ มีความต้องการที่จะเรียกเครื่องคอมพิวเตอร์ว่า “เครือ่ งสมองกล” แต่ไม่เป็นท่ีนยิ ม จึงเรยี กทบั ศัพทว์ า่ “เครอื่ งคอมพิวเตอร์”

4 ประเภทของคอมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอร์มีอยู่หลายประเภทด้วยกัน แต่เมื่อพิจารณาตามขนาดแล้ว จะสามารถจัดแบ่ง ประเภทของคอมพิวเตอรอ์ อกเปน็ 6 ประเภทด้วยกนั คอื 1. ซเู ปอรค์ อมพิวเตอร์ (Supercomputer) คุณลักษณะ : เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ๋ที่สุดและมีขีดความสามารถสูงที่สุด ภายใน ประกอบไปด้วยหน่วยประมวลผลกลาง หรือซีพียู (CPU : Central Processing Unit) นับพัน ตวั ท่ีสามารถคำนวณดว้ ยความเร็วกวา่ หลายลา้ นล้านคำส่งั ต่อวนิ าที จดั เปน็ คอมพิวเตอร์ที่มีราคาแพง ท่สี ดุ และเร็วทสี่ ุดตามความหมายของคำว่า “ซูเปอร์” (Super) น่ันเอง ประเภทของงาน : เหมาะกับงานประมวลผลข้อมูลที่มีปริมาณมหาศาล เช่น การวิจัยทางด้าน วิทยาศาสตร์ การค้นคว้าทางด้านอากาศยานและอาวุธยุโทปกรณ์ การสำรวจสำมะโนประชากร งาน พยากรณ์อากาศ การออกแบบอากาศยาน การสร้างแบบจำลองระดับโมเลกุล การวิจัยนิวเคลียร์ และ การทำลายรหัสลับ

5 2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) คุณสมบัติ : เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขีดความสามารถรองจากซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ปัจจุบัน เมนเฟรมคอมพิวเตอร์มีขนาดใหญร่ องมาจากซเู ปอร์คอมพิวเตอร์ สามารถประมวลข้อมลู ไดถ้ ึง 10 ลา้ น คำสง่ั ภายใน 1 วนิ าที ประเภทของงาน : คอมพิวเตอร์แบบเมนเฟรมเหมาะสำหรับใช้งานในองค์กรขนาดใหญ่ เช่น ธนาคาร โรงงานอุตสาหกรรม สายการบิน บริษัทประกันภัย มหาวิทยาลัย และหน่วยงานที่มีขนาด ใหญ่ คอมพิวเตอร์แบบนี้จะมีพลังควาสามารถในการประมวลผลธุรกรรมนับล้านรายการ โดยใช้ ระยะเวลาอันสั้นผู้ใช้ต้องการเชื่อมโยงและเข้าถึงเครื่องเมนเฟรม จะต้องใช้งานผ่านเครื่องเทอร์มินัล (Terminal) ซึ่งมีเพียงจอภาพและคีย์บอร์ด โดยใช้สำหรับป้อนข้อมูลและแสดงผลลัพธ์ได้เท่าน้ัน เนือ่ งจากตวั เทอร์มนิ ัลไมม่ ีหน่วยประมวลผลในตัวจึงตอ้ งใช้ทรัพยากรทุกอย่างบนเคร่อื งเมนเฟรมท้ังสิ้น เช่น ซีพียู หน่วยความจำ และหน่วยจัดเก็บข้อมูลซึ่งเรียกรูปแบบการทำงานนี้ว่า การประมวลผล แบบรวมศูนย์ (Centralized Data Processing) ทั้งนี้ ถ้าเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ทำงานผ่าน เครอ่ื งเทอร์มนิ ลั จะสามารถประมวลผลดว้ ยความเรว็ กวา่ พนั ล้านคำสั่งตอ่ วินาที

6 3. มนิ คิ อมพวิ เตอร์ (Minicomputer) คุณลักษณะ : เปน็ คอมพิวเตอรข์ นาดกลาง ซง่ึ มีขนาดเลก็ รองลงมาจากเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มีประสิทธิภาพในการทำงนจะด้อยกว่าเครื่องเมนเฟรม เนื่องจากความจขุ องหนว่ ยความจำมีขนาดน้อย กว่า และสามารถประมวลผลขอ้ มลู ไดเ้ พียง 1 ลา้ นคำสั่งภายใน 1 วินาที ประเภทของงาน : เหมาะกบั ธุรกจิ ขนาดกลาง เชน่ โรงพยาบาล โรงแรม หา้ งสรรพสินค้า เป็น ต้น

7 4. เวริ ์กสเตชน่ั (Workstation) คุณลักษณะ : คอมพิวเตอร์แบบเวิร์กสเตชั่น หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า สถานีงานวิศวกรรม (Engineering Workstation) ถูกนำมาใช้ตั้งแต่ช่วงต้นปี พ.ศ. 1980 เป็นต้นมา เป็นเครื่อง คอมพิวเตอร์ทม่ี รี ปู แบบภายนอกคล้ายกับเครอื่ งพีซีทัว่ ไป แต่มีราคาแพงกว่าและมขี ีดความสามารถสูง กว่ามาก ประเภทของงาน : ปกติคอมพิวเตอร์แบบเวิร์กสเตชั่นหรือสถานีงานวิศวกรรม มันถูกใช้งาน ทางด้านวิทยาศาสตร์ งานดา้ นการแพทย์ งานคำนวณทางคณติ ศาสตรแ์ ละวิศวกรรมท่มี ีความซบั ซ้อน รวมถงึ การนำมาใช้เปน็ คอมพิวเตอร์ช่วยงานออกแบบ และคอมพิวเตอร์ช่วยในการผลติ (Computer- Aided Design/Computer-Aided Manufacturing : CAD/CAM) ผูใ้ ชง้ านสว่ นใหญจ่ ะเปน็ วศิ วกร นกั สิทยาศาสตร์ สถาปนกิ และนักออกแบบ มจี ดุ เด่นของงาน คือ เรื่องกราฟิก การสร้างรูปภาพและการทำภาพเคลื่อนไหว การสร้างกราฟิกแบบอนิเมชั่นสามมิติ การเชื่อมโยงสถานีงานวิศวกรรมรวมกันเป็นเครือข่าย ทำให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลและใช้งาน รว่ มกนั อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

8 5. ไมโครคอมพวิ เตอร์ (Microcomputer) คุณลักษณะ : ไมโครคอมพิวเตอร์ มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า เครื่องพีซี (Personal Computers : PC) จัดเป็นคอมพิวเตอร์ประเภทหนึ่งที่ได้รับความนิยมสูงที่สุดในกลุ่ม เนื่องจากมี ราคาไม่แพง และมีประสิทธิภาพสูง เหมาะสำหรับงานเฉพาะบุคคลหรือหน่วยงานขนาดเล็ก สามารถ นำมาประยุกต์ใช้งานได้ทั้งแบบ Stand Alone (ใช้งานแบบเดี่ยว ๆ ไม่เชื่อมต่อเข้ากับเครือข่าย) หรอื นำมาใชเ้ พือ่ เช่ือมต่อเพอื่ เขา้ กับระบบเครือข่ายทอ้ งถิ่น ประเภทของงาน : เหมาะกับงานธุรกิจขนาดเล็ก และนิยมนำมาใช้งานที่บ้านหรือสำนักงาน เนอื่ งจากราคาถกู และสามารถใชไ้ ดเ้ พียง 1 คนตอ่ 1 เครื่องเท่านน้ั ไมโครคอมพวิ เตอร์มหี ลายประเภท ซ่ึงพอจะสรปุ ได้ดังนี้ 1) คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ หรือ เดสก์ท็อปพีซี (Desktop PC) เป็นเครื่องพีซีท่ี ได้รับการออกแบบมาเพื่อใช้บนโต๊ะ โดยทั่วไปจะมีขนาดใหญ่กว่าและมีประสิทธิภาพมากกว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลชนิดอื่น ๆ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ ประกอบด้วยชิ้นส่วนที่แยกออกจา กัน ส่วนประกอบหลักที่เรียกว่า หน่วยระบบ มักจะเป็นเครื่องทรงสี่เหลี่ยม ที่เรียกว่า เคส (Case) ซึ่งวางอยู่บนหรือใต้โต๊ะส่วนประกอบอื่น ๆ เช่น จอภาพ เมาส์ และแป้นพิมพ์ จะเชื่อมต่อกับหน่วย ระบบ

9 2) คอมพิวเตอร์โนต๊ บุ๊คหรอื แล็ปทอ็ ป (Notebook/Laptop) คอมพวิ เตอร์ แล็ปท็อป เป็นพีซีแบบเคลื่อนที่ได้ มีน้ำหนักเบาและมีหน้าจอที่บาง หรือมักจะเรียกกันว่า คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค เพราะมีขนาดเล็ก แล็ปท็อปสามารถทำงานได้โดยใช้แบตเตอรี่ ซึ่งสามารถนำ แล็ปท็อปไปได้ทุกที่ อย่างไรก็ตาม แล็ปท็อปจะไม่เหมือนคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ เนื่องจากจะรวม CPU หน้าจอ และแป้นพิมพไ์ ว้ในตวั เครอื่ งเดยี วกนั หนา้ จอจะพบั ลงบนแป้นพิมพ์เมอื่ ไมไ่ ดใ้ ช้งาน นอกจากนแ้ี ลว้ คอมพิวเตอรโ์ น้ตบุค๊ ยังมอี ีก 2 รูปแบบ ซง่ึ ปัจจุบันไม่ค่อยมใี ชก้ นั แล้ว คอื 2.1 อัลตรา้ บกุ๊ (Ultrabook) เป็นโนต้ บุ๊คทเี่ น้นความบางและน้ำหนักเบา มีจอภาพ ขนาดใหญ่ตั้งแต่ 13-17 นิ้ว สำหรับความบางของตัวเครื่องจะบางน้อยกว่า 21 มม. ลงไป และมี แบตเตอร่ที ่สี ามารถใชง้ านไดย้ าวนานหลายชั่วโมง 2.2 เน็ตบุ๊ก (Netbook) มีหน้าจอขนาดเล็กกว่าคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค คือขนาด ประมาณ 8.9-11.6 นิ้ว มีความหนาประมาณ 1 นิ้ว น้ำหนักเบาราคาถูกกว่าคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก เหมาะสำหรับการใชอ้ นิ เทอร์เนต็ มากกวา่ การใชโ้ ปรแกรมในการปฏบิ ตั งิ านหรือเลม่ เกมต่าง ๆ

10 3) แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ (Tablet Computer) แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ คือ คอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ที่รวมคุณลักษณะของแล็ปท็อปและคอมพิวเตอร์มือถือเข้าด้วยกัน แท็บเล็ต คอมพวิ เตอร์เหมือนกบั แล็ปท็อป คือ มปี ระสทิ ธิภาพมากและมหี นา้ จอในตัวเหมอื นกับคอมพิวเตอร์มือ ถือตรงให้สามารถเขียนบันทึกหรือวาดภาพบนหน้าจอ โดยทั่วไปใช้ปากกาแท็บเล็ต แทนที่จะเป็นส ไตลัส นอกจากนี้ ยังสามารถแลปงลายมือให้เป็นข้อความแบบพิมพ์ได้ แท็บเล็ตพีซีบางเครื่องเป็น แบบ “พับ” โดยมหี น้าจอทีห่ มนุ ได้และเปิดเพ่อื ใหเ้ หน็ แปน้ พิมพ์ทอี่ ยู่ดา้ นล่างได้ แทบ็ เลต็ คอมพวิ เตอร์ สามารถแบ่งได้ 3 รปู แบบ คอื 3.1 Convertible Tablet มีโครงสร้างเดียวกับคอมพิวเตอร์แบบโน้ตบุ๊ค แต่ตัว จอภาพสามารถหมุนแล้วซับซ้อนบนคยี ์บอร์ด หรือสามารถทจี่ ะแยกส่วนได้

11 3.2 State Tablet เป็นแท็บเล็ตที่มีเพียงแค่หน้าจอคล้ายกับกระดานชนวน จะมีคีย์บอร์ดในตวั แต่บางยี่ห้อสามารถใช้ปากกา (สไตลัส) เป็นอุปกรณ์อินพุต แทนคีย์บอร์ด เชน่ Samsung Galaxy Note 3.3 อุปกรณ์พกพา (Personal Digital Assistant : PDA) เป็น อุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็กที่สามารถเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายและดินเทอร์เน็ตได้ รวมไป ถึงความสามารถของการเพ่ิมเตมิ แอพพลเิ คชน่ั (Application) เพอื่ ใหใ้ ช้งานได้ด้านอื่น ๆ ได้ แต่ปจั จุบันได้เลิกใชแ้ ล้ว แตม่ เี ครอ่ื งทท่ี ันสมยั มากยงิ่ ข้ึน เรียกวา่ แฟบเล็ต (Phablet) ท่ีมี ลกั ษณะเป็นมือถอื กับแทบ็ เลต็ และสามารถที่จะใช้อนิ เทอร์เนต็ ได้

12 6. ไมโครคอนโทรลเลอร์ (Microcontrollers) เป็นคอมพิวเตอร์แบบฝังตัว (Embedded Computer) คือ ไมโครโปรเซสเซอร์ที่ออกแบบมาเป็น พิเศษ มีขนาดเล็ก ป้อนโปรแกรมเพื่อใช้งานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะซึง่ สามารถสังเกตได้จากอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าทั่วไปในปัจจุบัน มักจะมีชิ้นส่วนหรือโปรแกรมนี้แทบทั้งสิ้น เช่น โทรทัศน์สมาร์ททีวี เครื่อง ไมโครเวฟ เคร่อื งซกั ผ้า เป็นต้น

13 อปุ กรณโ์ ทรคมนาคม (Telecommunications) อุปกรณ์โทรคมนาคม (Telecommunications) เป็นเครื่องมือในการส่งสารสนเทศใน รปู แบบของตัวอักษรภาพและเสียง โดยใชค้ ลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟ้าหรือการติดต่อส่ือสารจากท่ีหน่ึงไปยังอีก ที่หนึ่งโดยใช้พลังงานไฟฟ้าให้ไหลไปตามสายเคเบิลทองแดง เคเบิลเส้นใยแสง หรือโดยอาศัยคล่ืน แม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งสัญญาณไปในบรรยากาศ เช่น การส่งวิทยุ โทรทัศน์ การส่งคลื่นไมโครเวฟ และการส่งสัญญาณผ่านดาวเทียม โดยจุดที่ส่งข่าวสารกับจุดรับจะอยู่ห่างไกลกัน และข่าวสารที่จะส่ง เฉพาะเจาะจงผู้รับคนใดคนหนึ่งหรอื สง่ ให้ผู้รบั ทว่ั ไปกไ็ ด้ อุปกรณ์โทรคมนาคมเป็นการใช้สื่ออุปกรณ์รับไฟฟ้าต่าง ๆ เช่น คอมพิวเตอร์ วิทยุ โทรทัศน์ โทรศัพท์ โทรสาร และโทรพิมพ์ เพื่อการสื่อสารในระยะไกล โดยอุปกรณ์เหล่านี้จะแปลก ข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ เช่น เสียงและภาพไปเป็นสญั ญาณไฟฟ้า สัญญาณเหล่านี้จะถูกส่งตอ่ ไปโดย ส่อื เชน่ สายโทรศัพท์ หรอื คลน่ื วทิ ยุเมื่อสญั ญาณไปถึงจุดปลายทาง อปุ กรณ์ด้านผู้รบั จะรับและแปลง กลับสัญญาณไฟฟ้าเหล่าน้ีให้เป็นข้อมูลที่สามารถเขา้ ใจได้ เช่น เป็นเสียงทางโทรศัพท์ หรือภาพบน จอโทรศัพท์ หรือข้อความและภาพบนจอคอมพิวเตอร์ โทรคมนาคมจะช่วยให้บุคคลสามารถ ติดต่อส่ือสารกนั ได้ ไม่วา่ จะอยทู่ ่ใี ด ๆ ในโลกในรูปแบบของขา่ วสาร ความรู้และความบันเทงิ

14 องค์ประกอบของระบบโทรคมนาคม ระบบโทรคมนาคม (Telecommunications Systems) คือ ระบบท่ปี ระกอบด้วยฮาร์ดแวร์ และซอฟตแ์ วรจ์ ำนวนหนึง่ ที่สามารถทำงานร่วมกนั และถกู จัดไว้สำหรับการสือ่ สารข้อมลู จากสถานที่แห่ง หนึ่งไปยังสถานที่อีกแห่งหนึ่งซึ่งสามารถถ่ายทอดข้อความ ภาพกราฟิก เสียงสนทนา และวีดิทัศน์ได้ มรี ายละเอยี ดของโครงสรา้ งส่วนประกอบดังนี้ 1. เครื่องคอมพิวเตอร์หรือเครื่องมือเปลี่ยนปริมาณใดให้เป็นไฟฟ้า (Transducer) เชน่ โทรศพั ท์ หรอื ไมโครโฟน 2. เครอ่ื งเทอรม์ นิ ัลสำหรบั การรับข้อมลู หรือแสดงผลขอ้ มลู เชน่ เครอ่ื งคอมพวิ เตอรห์ รือ โทรศพั ท์ 3. อุปกรณป์ ระมวลผลการสอ่ื สาร (Transmitter) ทำหน้าทแ่ี ปรรปู สัญญาณไฟฟ้าให้ เหมาะสมกับช่องสัญญาณ เช่น โมเด็ม (Modem) มัลติเพล็กเซอร์ (Multiplexer) แอมพลิไฟเออร์ (Amplifier) ดำเนินการไดท้ งั้ รับและส่งข้อมลู 4. ชอ่ งทางสื่อสาร (Transmission Chanel) หมายถึง การเชอ่ื มต่อรปู แบบใด ๆ เช่น สายโทรศัพท์ใยแกว้ นำแสง สายโคแอกเชยี ล หรอื แม้แตก่ ารส่อื สารแบบไร้สาย 5. ซอฟต์แวร์การสื่อสาร ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมกิจกรรมการรับส่งข้ออมูลและอำนวยความ สะดวกในการส่ือสาร

15 หนา้ ทข่ี องระบบโทรคมนาคม ระบบโทรคมนาคม ทำหน้าที่ในการส่งและรับข้อมูลระหว่างจุดสองจุด ได้แก่ ผู้ส่งข่าวสาร (Sender) และผู้รับข่าวสาร (Receiver) จะดำเนินการจัดการลำเลียงข้อมลผ่านเส้นทางที่มี ประสิทธิภาพที่สุด จัดการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่จะส่งและรับเข้ามา สามารถปรับเปลี่ยน รูปแบบของข้อมลู ให้ทั้งสองฝ่ายสามารถเขา้ ใจกันไดต้ รงกนั ซ่ึงที่กลา่ วมานี้สว่ นใหญใ่ ชเ่ ป็นคอมพิวเตอร์ เปน็ ตัวจัดการ ในระบบโทรคมนาคมส่วนใหญใ่ ชอ้ ปุ กรณใ์ นการรับสง่ ขอ้ มลู ข่าวสารตั้งชนิด ต่างยีห่ ้อกัน แต่สามารถแลกเปลีย่ นขอ้ มูลระหวา่ งกันไดเ้ พราะใชช้ ดุ คำส่งั มาตรฐานชดุ เดยี วกัน กฎเกณฑ์มาตรฐาน ในการสื่อสารนี้เราเรียกว่า “โปรโตคอล (Protocol)” อุปกรณ์แต่ละชนิดในเครือขา่ ยเดียวกันต้องใช้ โปรโตคอลอยา่ งเดยี วกนั จงึ จะสามารถสอ่ื สารถงึ กนั และกนั ได้ หนา้ ทพ่ี น้ื ฐานของโปรโตคอล คอื การทำความรูจ้ ักกับอปุ กรณ์อื่นท่อี ยูใ่ นเสน้ ทางการถ่ายโอน ขอ้ มลู การตกลงเง่ือนไชในการรบั ส่งขอ้ มูล การตรวจสอบความถกู ต้องของข้อมลู การแก้ไชปัญหาข้อมูล ที่เกดิ การผิดพลาดในขณะท่ีสง่ ออกไปและการแกไ้ ขปัญหาการส่อื สารขดั ข้องทอ่ี าจเกิดข้นึ โปรโตคอลท่ี รู้จักกันมาก ได้แก่ โปรโตคอลในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น Internet Protocol; TCP/IP, IP Address ทใ่ี ชก้ นั อยทู่ ุกวันนี้ Sender Protocol Receiver

16 ประเภทของสญั ญาณในระบบโทรคมนาคม ข้อมูลอาจจะเป็นข้อความเสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งไม่สามารถส่งไปในระยะทางไกลด้วยความเร็วสูง ดงั นนั้ ข้อมูลจะต้องถูกแปลงเป็นสัญญาณไฟฟา้ ทีเ่ รียกวา่ สญั ญาณข้อมูล (Data Signal) ทำให้สามารถส่งผ่าน สอื่ ไปไดใ้ นระยะทางไกลด้วยความเร็วสูง ขอ้ มลู จะถูกแปลงเป็นสญั ญาณขอ้ มูลได้ 2 ประเภท ดงั นี้ สัญญาณแอนะล็อก (Analog Signal) หมายถึง สัญญาณข้อมูลแบบต่อเนื่อง (Continuous Data) มีขนาดของสัญญาณไม่คงที่ การเปลี่ยนแปลงสัญญาณแบบค่อยเป็นค่อยไป มีลักษณะ เป็นเส้นโค้งต่อเนื่องกันไป โดยการส่งสัญญาณแบบแอนะล็อกจะถูกรบกวนให้มีการแปลความหมายผิดพลาดได้ ง่าย เช่น สญั ญาณเสยี งในสายโทรศัพท์ สัญญาณดิจิตอล (Digital Signal) หมายถึง สัญญาณที่เกี่ยวกับข้อมูลแบบไม่ ตอ่ เนื่อง (Discrete Data) ทม่ี ขี นาดแน่นอน ซ่งึ ขนาดดงั กล่าวอาจกระโดดไปมาระหว่างคา่ สองคา่ คอื สญั ญาณ ระดับสูงสุดและสัญญาณระดับต่ำสุดซึ่งสัญญาณดิจิทัลนี้เป็นสัญญาณที่คอมพิวเตอร์ใช้ในการทำงานและ ติดตอ่ ส่อื สารกัน

17 สรุป การแบ่งประเภทของคอมพิวเตอรใ์ นปัจจุบันมหี ลายประเภทด้วยกัน เน่ืองจากได้มีการพัฒนารูปแบบของ คอมพิวเตอรอ์ อกมากมาย และแตล่ ะแบบกม็ ีความสามารถใกลเ้ คียงกัน แตล่ ะบรษิ ทั ได้พยายามที่จะพัฒนาเพ่ิมขึ้น ในแต่ละรุ่น ผู้ใช้ต้องคอยติดตามข้อมูลในการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพราะไม่ทราบว่าจะหยุดการพัฒนาเมื่อไหร่ บริษทั ที่หยุดพฒั นากจ็ ะค่อย ๆ สูญหายไปจากการแข่งขัน สว่ นอุปกรณโ์ ทรคมนาคมเปน็ เครอ่ื งมือในการส่งสารสนเทศในรปู แบบของตัวอักษร ภาพและเสียง โดยใช้ คลื่นแม่เหลก็ ไฟฟา้ หรือการติดต่อส่ือสารท่หี นึ่งไปยังอกี ทห่ี นงึ่ โดยใช้พลังงานไฟฟ้า ท้งั นี้ ระบบโทรคมนาคมจะทำ หน้าที่เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ เช่น คอมพิวเตอร์ วิทยุ โทรทัศน์ โทรศัพท์ โทรสาร และโทรพิมพ์ เพื่อการ สื่อสารสารสนเทศในระยะไกล โดยอปุ กรณ์เหล่านจี้ ะแจ้งแหลง่ ขอ้ มลู รปู แบบต่าง ๆ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook