Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปเนื้อหา อช31001พัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง

สรุปเนื้อหา อช31001พัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง

Published by jonggonnee2517, 2021-07-11 02:22:43

Description: สรุปเนื้อหา อช31001พัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง

Search

Read the Text Version



ข เอกสารสรุปเนื้อหาทต่ี องรู รายวิชา พัฒนาอาชีพใหมคี วามมนั่ คง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รหัส อช31003 หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 สาํ นกั งานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย สํานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ หา มจาํ หนาย หนงั สอื เรยี นน้จี ัดพมิ พด วยเงินงบประมาณแผนดินเพ่ือการศกึ ษาตลอดชีวติ สาํ หรับประชาชน ลขิ สทิ ธิ์เปน ของสํานักงาน กศน.สํานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ



ง สารบญั หนา คํานาํ สารบัญ คําแนะนาํ การใชเ อกสารสรปุ เน้อื หาทตี่ อ งรู บทที่ 1 ศักยภาพธุรกิจเพ่อื ความมั่นคงในอาชพี 1 เรื่องท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญและความจาํ เปนของการพฒั นาอาชีพ เพือ่ ความมัน่ คง 1 เรอ่ื งที่ 2 ความจําเปนของการวิเคราะหศ กั ยภาพธุรกิจ 2 เรอ่ื งที่ 3 การวเิ คราะหต าํ แหนง ธุรกิจ 4 เร่ืองที่ 4 การวิเคราะหศักยภาพธุรกิจตามศักยภาพท้งั 5 ดาน 6 แบบฝก หดั 9 บทที่ 2 การจดั ทําแผนการพฒั นาการตลาดเพอ่ื ความมน่ั คงในอาชีพ 12 เรือ่ งท่ี 1 การกําหนดทศิ ทางการตลาด เปาหมาย กลยุทธในการขยายอาชีพ 12 เรอ่ื งท่ี 2 การวิเคราะหก ลยุทธสูเปาหมาย 16 เร่อื งท่ี 3 การกําหนดกิจกรรมและแผนการพฒั นาการตลาด 17 แบบฝกหดั ท่ี 1 19 แบบฝกหัดที่ 2 21 บทท่ี 3 การจดั ทําแผนพฒั นาการผลติ หรอื การบริการเพอื่ ความมัน่ คงในอาชพี 23 เรื่องท่ี 1 การกําหนดคณุ ภาพผลผลิตหรือการบรกิ าร 23 เร่อื งท่ี 2 การวิเคราะหท นุ ปจจัยการผลติ หรอื การบรกิ าร 24 เรอ่ื งท่ี 3 การกาํ หนดเปา หมายการผลิตหรอื การบริการ 25 เรอ่ื งที่ 4 การกําหนดแผนกิจกรรมการผลิตหรือการบริการ 26 เร่อื งที่ 5 การพฒั นาระบบการผลติ หรือการบริการ 27 แบบฝกหดั 28

สารบญั (ตอ ) จ บทท่ี 4 การพฒั นาธรุ กจิ เชงิ รกุ เพอื่ ความมน่ั คงในอาชพี หนา เร่ืองท่ี 1 ความจาํ เปนและคณุ คาของธรุ กิจเชิงรุก 31 เร่อื งที่ 2 การแทรกความนิยมเขาสคู วามตองการของผบู ริโภค 31 เรอ่ื งท่ี 3 การสรางรปู ลักษณคณุ ภาพสินคาใหม 31 เรอ่ื งที่ 4 การพัฒนาอาชพี ใหมีความม่นั คง 32 แบบฝก หดั 33 36 บทท่ี 5 โครงการพฒั นาอาชพี ใหมคี วามม่ันคง 39 เรื่องท่ี 1 การวิเคราะหค วามเปนไปไดของแผนการตลาด การผลิตหรอื การบริการ 39 เรอ่ื งท่ี 2 การเขียนโครงการพัฒนาอาชีพ 39 เร่ืองท่ี 3 การตรวจสอบความเปนไปไดข องโครงการพฒั นาอาชีพ 40 เรื่องท่ี 4 การปรับปรุงโครงการพัฒนาอาชีพ 41 แบบฝกหัดที่ 1 42 แบบฝกหัดที่ 2 45 48 เฉลยแบบฝก หดั 50 บรรณานกุ รม 51 คณะผจู ดั ทํา

ฉ คําแนะนําการใชเ อกสารสรุปเน้อื หาท่ีตองรู หนงั สือสรุปเนื้อหาท่ีตองรูห นงั สือเรียนรายวิชา พัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคงเลมนี้ เปนการสรุปเน้ือหาจากหนังสือเรียนรายวิชาบังคับ สาระการประกอบอาชีพ รายวิชาพัฒนา อาชีพใหมคี วามมน่ั คง อช31003 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) เพอื่ ให นกั ศกึ ษา ได เ รี ย นรู แ ล ะ ทํ า ค ว า ม เ ข า ใ จ ใ น เ นื้ อ ห า ส า ร ะ ขอ ง ร า ย วิ ช า พั ฒ น า อ า ชี พ ใ ห มี ค ว า ม ม่ั น ค ง อช31003 ทสี่ ําคัญ ๆ ไดส ะดวกและสามารถเขาใจยิง่ ขึ้น ในการศึกษาหนังสอื สรุปเนื้อหาที่ตองรู หนงั สอื เรียนรายวิชา พัฒนาอาชพี ใหมคี วามมัน่ คงเลมน้ี นกั ศึกษาควรปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ 1. ศึกษาหนังสือเรียนรายวิชา พัฒนาอาชีพใหมีความม่ันคง อช31003 สาระการ ประกอบอาชีพ หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายใหเ ขา ใจกอน 2. ศึกษาเนื้อหาสาระของหนังสือสรุปเนื้อหาท่ีตองรูหนังสือเรียนรายวิชาพัฒนา อาชีพใหมีความม่ันคง อช31003 ใหเขา ใจอยา งถอ งแท พรอมท้ังทําแบบฝกหัดทายบททีละบท และตรวจคาํ ตอบจากเฉลยแบบฝกหัดทา ยเลม ใหครบ 5 บท 3. หากนักศึกษาตองการศึกษารายละเอียดเนื้อหาสาระ รายวิชาพัฒนาอาชีพใหมี ความม่ันคง อช31003 เพ่ิมเติม สามารถศึกษาคนควาไดจากส่ืออ่ืน ๆ ในหองสมุดประชาชน อนิ เทอรเ นต็ หรือครผู สู อน





1 บทท่ี 1 ศักยภาพธรุ กจิ เพ่ือความมน่ั คงในอาชีพ เรือ่ งท่ี 1 ความหมาย ความสําคญั และความจาํ เปน ของการพฒั นาอาชีพเพอ่ื ความมัน่ คง 1.1 ความหมายของการพัฒนาอาชพี การพัฒนาอาชีพ หมายถึง การประกอบอาชีพท่ีมีการพัฒนาสินคาหรือ ผลิตภัณฑใหตรงกับความตองการของลูกคาอยูตลอดเวลา มีสวนครองตลาดไดตามความ ตองการของผูผลิต และเกิดความมั่นคงในอาชีพ เปนกระบวนการสงเสริมพัฒนาใหบุคคลมี ศักยภาพในการทําธุรกิจใหมีความกาวหนาในอาชีพ โดยมีแนวทางการวิเคราะหปจจัยสําคัญ ท่ีใชใ นการพัฒนาศักยภาพธรุ กจิ เพื่อความมัน่ คงในอาชพี เชน อาชีพและทิศทางของอาชีพที่จะ ทํานโยบายการพัฒนาอาชีพ การวางแผนการพัฒนาอาชีพ กลยุทธการพัฒนาอาชีพ การประเมิน และการพัฒนาอาชีพ 1.2 ความสําคัญและความจําเปน ของการพัฒนาอาชพี ในการพัฒนาอาชีพ ทุกสายอาชีพสามารถพัฒนาไดหมด มีความกาวหนาได ทุกแหงแนวทางการพัฒนาอาชีพมีหลักพื้นฐานท่ัวไปท่ีคนประกอบอาชีพน้ัน ๆ ควรจะรูและ ปฏิบัติ คือ ตองรูจักอาชีพของตนเองใหดีพอ รูทิศทางของอาชีพของตน รูโลกท่ีเปล่ียนแปลง ตลอดเวลา วางแผนชีวิตและการทํางาน กําหนดนโยบายการพัฒนาอาชีพของตนเอง ต้ังเปาหมายแบงระยะใหเห็นเปนรูปธรรม วางกลยุทธพัฒนาอาชีพ ลงมือปฏิบัติ ประเมินผล ปรับปรุง และพัฒนา การพฒั นาอาชีพมีความสาํ คญั และความจาํ เปน ดังนี้ 1) ชว ยใหมสี ินคา ทด่ี ตี รงตามความตองการของผูบ รโิ ภค 2) ชวยใหผูผลิตไดมีการคิดคนผลติ ภัณฑห รอื สินคาไดต ลอดเวลา 3) ชวยใหม กี ารนาํ นวตั กรรมและเทคโนโลยเี ขามาใชในกระบวนการผลิตทําให สินคา มีคณุ ภาพขน้ึ 4) ชว ยใหเศรษฐกจิ ชุมชนและเศรษฐกจิ ของประเทศดขี ้ึน 5) ชว ยใหบคุ คลมีความสามารถจะประกอบอาชีพตอไป ทําใหเกิดความมั่นคง ในอาชพี ของตนเอง และกา วสคู วามกา วหนาในอาชีพทป่ี ระกอบอยตู อไป

2 6) ชว ยใหกิจการของตนมีความม่ันคง สามารถดึงบุคคล ท่ีมีความสามารถสูง เขา มาทํางานบุคคล ท่ีมีความสามารถมักจะพิจารณาเลือกทํางานกับกิจการท่ีตนเห็นวามั่นคง ซงึ่ ใหความสาํ คัญตออนาคตและความกาวหนา ของบุคคล 7) ชวยสรางภาพลักษณที่ดี กิจการท่ีใหความสําคัญ และความสนใจแก อนาคตและความกาวหนาของบุคคล ยอมจะทําใหทั้งบุคคลภายในและบุคคลภายนอกมี ความรูสกึ ทดี่ ี ซ่ึงจะชวยสงเสรมิ ภาพลักษณแ ละช่ือเสยี งใหก ิจการเปนอยางดี 8) ชวยใหบุคคลมีการพัฒนาตนเองและลดความลาสมัย เพราะจําเปนตอง เพิ่มพูนความรูและความสามารถกอนท่ีจะกาวข้ึนสูตําแหนงอื่น ๆ สําหรับผูที่ประกอบอาชีพ สวนตัว ก็จะเพม่ิ ทางเลอื กในการประกอบอาชีพขนึ้ ลดความเบื่อหนายจาํ เจของอาชพี และยงั เพิ่ม ทักษะเทคโนโลยีในการประกอบอาชพี ขึ้นอีกดว ย เรื่องท่ี 2 ความจําเปน ของการวิเคราะหศักยภาพธุรกิจ 2.1 ศักยภาพของธุรกิจ หมายถึง ธุรกิจที่ทุกบุคคลมีความสามารถพัฒนาสินคา นั้น ๆ ใหอ ยใู นตลาดไดอ ยางมั่นคง 2.2 การวิเคราะห หมายถึง การแยกแยะสิ่งท่ีจะพิจารณาออกเปนสวนยอยที่มี ความสมั พนั ธกัน รวมท้ัง การสืบคนความสมั พนั ธข องสว นตา ง ๆ เพื่อดูวาสว นประกอบปลีกยอย น้นั สามารเขากันไดห รอื ไม ซ่งึ จะชว ยใหเกิดความเขาใจตอส่งิ หนงึ่ สง่ิ ใดอยางแทจ รงิ 2.3 การวิเคราะหศกั ยภาพธรุ กิจ หมายถึง การแยกแยะความสามารถหรือความ พรอมองคประกอบของธุรกิจ ไดแก ทุน บุคลากร วัสดุอุปกรณ และการจัดการ เพ่ือให ผูประกอบการมีความเขาใจในแตละสวนของธุรกิจอันจะนําไปสูการพัฒนาอาชีพใหมีความ เขมแข็ง

3 2.4 โครงสรา งศกั ยภาพการขยายอาชพี สูค วามม่นั คง ดังน้ี  ตรงกัน   สัมพนั ธกนั การจัดองคป ระกอบ = การขยายอาชีพ ปจ จัยนําเขา เพอื่ การขยายอาชพี พฒั นาอาชพี ศักยภาพ ความมน่ั คงของ การขยายอาชีพ -ทุน -การจัดการลดความเส่ยี ง -บคุ ลากร ผลผลติ -วัสดอุ ปุ กรณ -ขอ ตกลง/มาตรฐาน -การจัดการ พัฒนาอาชพี 2.5 ความจําเปน ทที่ ําใหตอ งมกี ารวิเคราะหศ ักยภาพธรุ กจิ 1) เพอ่ื ทําใหเห็นทศิ ทางของธุรกิจในเชิงกลยุทธ 2) เพือ่ ใหม ีแนวทางในการดาํ เนนิ งานอยางรอบคอบ ปลอดภยั จากการขาดทนุ 3) เพอ่ื ใหล ดความเสีย่ งในการดาํ เนนิ ธุรกจิ 4) เพ่ือเปนการช้ีแนวทางดานธุรกิจใหแกบุคคลหรือองคกร ท่ีจะทําการ สนบั สนนุ เงนิ ทนุ ในการกยู มื หรือผูรวมลงทุน 5) เพ่อื ศึกษาความเปนไปไดข องการพัฒนาธุรกิจของผูประกอบการ 6) เพื่อใหสามารถขยายตลาดไดก วา งขวางกวา เดมิ 7) เพื่อสรางความมนั่ ใจใหก ับลูกคาเห็นศกั ยภาพซงึ่ จะนําไปสูการบริโภคอยาง ตอ เนอ่ื ง 2.6 การวเิ คราะหธ รุ กิจและโครงการ 1) การวเิ คราะหป จ จัยภายนอก เปน ปจ จัยทไี่ มสามารถควบคมุ ได ไดจ ากการประเมินสภาพแวดลอมในการ ดําเนินธรุ กิจ

4 ซ่งึ ผปู ระกอบการจะตอ งเขาใจสถานการณป จจุบันและแนวโนมในอนาคต ท้ังท่ีเปนโอกาสและ อปุ สรรคของธุรกิจ/โครงการ ปจจัยภายนอกท่ีผูประกอบการควรใหความสนใจ มี 5 ประการ หลกั ๆ ดงั นี้ (1) กลุมผูซื้อหรือลูกคา กลุมเปาหมาย (2) คานยิ มทางวฒั นธรรมและสงั คม (3) ความกา วหนา ทางดา นเทคโนโลยี (4) สถานการณและการเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกจิ (5) สถานการณและแนวโนมการเปล่ียนแปลงกฎ ระเบียบ กลุมผูผลิต/ จาํ หนา ยวตั ถุดิบและเครือขายธุรกิจ 2) การวเิ คราะหปจจัยภายใน เปน ปจจยั ท่สี ามารถควบคุมได ถือเปนการตรวจสอบความสามารถ ความ พรอม จุดออ นและจุดแข็งของธุรกิจ/โครงการ แบง เปนขั้นตอนหลัก ๆ ดังน้ี (1) กาํ หนดประเดน็ ทมี่ อี ทิ ธิพลตอความสามารถ ประสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธิผล ตอโครงการ (2) วเิ คราะหจดั กลมุ ของประเด็นตา ง ๆ เชน จุดแขง็ จดุ ออ น (3) ประเมินความสําคัญของแตละประเด็น เพื่อเปนแนวทางในการ จัดสรรทรัพยากร (เงิน คน ของ) เพ่อื เสริมจดุ แขง็ และลดจุดออ น (4) วิเคราะหการแขงขัน เร่ืองท่ี 3 การวิเคราะหตําแหนงธรุ กิจ 3.1 ความหมายของการวิเคราะหง านทางธุรกิจ การวเิ คราะหง านทางธุรกิจ หมายถึง กระบวนการในการเก็บรวบรวมขอมูล เกี่ยวกับงานในแงลักษณะหนาท่ี ความรับผิดชอบ และขอมูลเกี่ยวกับคนในแงความรู ความสามารถ ทกั ษะ องคป ระกอบ และขอมูลตา ง ๆ ทไ่ี ดจ ากการวิเคราะหง านนั้น การเขาสูอาชีพเมอื่ ดาํ เนินธรุ กิจไปจนประสบผลสําเร็จ มักจะถูกจับตามองทํา ตามกันมาก สว นแบง การตลาดจึงมขี นาดเลก็ ลงโดยลําดับ จนถึงวันหนึ่งจะเกิดวิกฤติจึงมีความ จําเปนท่ีจะตองพัฒนาหรือขยายขอบขายอาชีพออกไปหรือเรียนรูทําในส่ิงท่ีคนอื่นทําไมได

5 เพ่ือใหอยูไดอยางมั่นคงย่ังยืน การพัฒนาหรือขยายอาชีพ จะตองวิเคราะหและประเมิน ศักยภาพของธรุ กจิ วาอยูในตาํ แหนงธรุ กิจระดับใด 3.2 การวเิ คราะหตาํ แหนง ธรุ กิจระยะตา ง ๆ 1) ระยะเริม่ ตน เปนระยะเร่ิมตนของการทําธุรกิจ จึงตองมีการพัฒนาให ธุรกจิ อยไู ด เปน ระยะ ท่ผี ปู ระกอบการจะตอ งประชาสมั พันธส นิ คาและบรกิ ารใหลูกคา รจู กั ระยะนอี้ ยูในตาํ แหนงธุรกจิ ทผ่ี ูบริโภคยงั ไมรูจัก เมื่อเร่ิมธุรกิจหรือประดิษฐ สินคาใหม ๆ สวนประกอบหลักท่ีจะชวยทําใหธุรกิจมีชื่อเสียงข้ึน ควรพิจารณาคําถามจากสิ่ง เหลานี้ คือ สินคามีความจําเพาะโดดเดนหรือไม ถามีคืออะไร สามารถพิสูจนไดหรือไม หรือ สินคา ของทานเหนือคแู ขง อยา งไร 2) ระยะสรางตัว เปนระยะที่ธุรกิจเติบโตมาดวยดี มักจะมีคนจับตามอง พรอมคาํ ถาม ระยะน้ีอยูในตําแหนงธุรกิจที่ตองเนนหนักในการเจาะตลาด เปนระยะ ท่สี มควรเนน หนกั ในเรื่องของประชาสัมพันธ ดวยเหตุผล คือ เพื่อใหสินคาเปนท่ีรูจักของตลาด เพือ่ เพ่ิมปรมิ าณสวนแบงการตลาดใหไดมากท่ีสุด ตองคํานึงถึงคุณคาของสินคาและราคาไมสูง เกินจําเปน พยายามหาคุณคาพิเศษในตัวสินคาและสรางความเขาใจใหตลาดรับรูโดยเร็ว สงเสรมิ บริการหลังการขาย ใหเ ปนท่ีพึงพอใจของลูกคา 3) ระยะทรงตัว เปนระยะที่ธุรกิจอยูนิ่ง ไมมีการขยายตลาด ไมมีการ พฒั นา สืบเนือ่ งมาจากระยะที่ 3 ทม่ี ีผูประกอบการอื่น ๆ ทําตาม จึงทําใหมีสวนแบงของตลาด ระยะนีอ้ ยูในตําแหนงท่ีสินคาเขาสูตลาดและสรางฐานผูบริโภค เปนระยะ ท่สี วนแบงการตลาดเกดิ ความอ่ิมตัว ควรพิจารณาในเรื่องตอไปน้ี คือ รักษาคุณภาพของสินคา ใหเสมอตนเสมอปลายไมตกตํ่ากวา เดมิ ตองกระตุนใหตลาดจดจําสินคาของเราในแงบวกอยาง ตอ เนอ่ื ง ไมม พี ฤติกรรมฉวยโอกาสเมื่อสนิ คา ทรงตัวอยใู นตลาด 4) ระยะตกตา่ํ หรือสูงขึน้ เปนระยะท่ีถาไมมีการพัฒนาธุรกิจก็จะอยูในขา ลง ถา มกี ารพฒั นาธรุ กจิ จากระยะทรงตวั ก็จะทําใหธ รุ กิจอยใู นขาขึน้ ระยะน้ีอยูในตําแหนงท่ีธุรกิจติดตลาด สรางรายไดเปนกอบเปนกํา หรือ เกิดความตกตํ่าทางการตลาด หากตกตํ่าควรปรับแผนกลยุทธทั้งกระบวนการผลิตและ

6 การตลาด กําหนดนโยบายขององคกรใหสอดคลอง สรางความเช่ือถือในธุรกิจอยางสูงสุด พยายามพิสูจนค วามมคี ณุ ธรรมในตวั สนิ คา ท่ตี อ งสามารถนาํ ไปชว ยใชในการโฆษณาใหได เร่ืองที่ 4 การวิเคราะหศ ักยภาพธุรกจิ ตามศกั ยภาพทัง้ 5 ดาน การดําเนินธุรกิจหรือประกอบอาชีพใด ๆ ใหบรรลุผลสําเร็จนั้น ขึ้นอยูกับการ วิเคราะหศักยภาพดานตาง ๆ ท่ีเก่ยี วขอ งกบั กลุมอาชพี อยางมปี ระสิทธิภาพ ดงั น้ี 4.1 กลุมอาชีพ 5 กลุม กลุมอาชีพ แบง ไดเปน 5 กลุม ใหญ ๆ ดังนี้ 1) ก ลุ ม อ า ชี พ เ ก ษ ต ร ก ร ร ม ศั ก ย ภ า พ ท่ี ต อ ง วิ เ ค ร า ะ ห ไ ด แ ก ทรัพยากรธรรมชาติ ลักษณะภูมอิ ากาศ ลกั ษณะภูมิประเทศ ทรพั ยากรมนษุ ย 2) ก ลุ ม อ า ชี พ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ศั ก ย ภ า พ ที่ ต อ ง วิ เ ค ร า ะ ห ไ ด แ ก ทรัพยากรธรรมชาติ ท่ีตองอยูใกลแหลงวัตถุดิบ ลักษณะภูมิประเทศ เพื่อสะดวกในการขนสง ถาเปนแหลง ทองเท่ยี วตอ งคาํ นึงถึงสภาพภูมอิ ากาศ ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวิถีชีวติ 3) ก ลุ มอ าชี พ พ าณิ ชย ก ร รม ศั ก ยภ าพ ท่ีต อง วิเ คร าะ ห ได แ ก ทรพั ยากรธรรมชาติ ลกั ษณะภมู ิอากาศ ลกั ษณะภูมิประเทศ และทําเลทีต่ ้งั 4) กลมุ อาชีพความคดิ สรางสรรค ศกั ยภาพท่ีจําเปนมาก ไดแก ศักยภาพ ของทรัพยากรมนุษยท่ตี อ งใชความคิดสรางสรรคผ ลิตงานใหม ๆ 5) กลมุ อาชีพอาํ นวยการและอาชีพเฉพาะทาง ศักยภาพท่ีตองวิเคราะห ไดแก ทรพั ยากรธรรมชาติ ลักษณะภมู อิ ากาศ ลักษณะภูมิประเทศ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถชี วี ิต และทรพั ยากรมนษุ ย 4.2 ศกั ยภาพ 5 ดา น การท่ีจะตัดสินใจดําเนินธุรกิจหรือดําเนินการสิ่งใดส่ิงหนึ่ง มีวิธีการ ท่ีหลากหลาย เชน การใชกระบวนการคิดเปน การทําวิจัย การทดลองนํารอง นอกจากนี้ยังมี วิธีการวิเคราะหศ ักยภาพทัง้ 5 ดา น ดังน้ี 1) ศักยภาพของทรพั ยากรธรรมชาติในแตล ะพื้นท่ี ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง ส่ิงที่เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ ซ่ึงมนุษย สามารถนําไปใชใ หเกดิ ประโยชนต อชีวติ ประจาํ วัน และการประกอบอาชพี ทรัพยากรธรรมชาติ

7 ไดแก ปาไม แมนํ้า ลําคลอง อากาศ แรธาตุตาง ๆ การประกอบอาชีพตองพิจารณาวา ทรัพยากรที่จะตองนํามาใชในการประกอบอาชีพในพ้ืนท่ีมีหรือไม มีเพียงพอหรือไม เชน ตดั สินใจจะประกอบอาชีพจกั สานตะกราจากไมไ ผ แตใ นพืน้ ทไ่ี มม ีตนไผ ตอ งพจิ ารณาแลววาจะ ประกอบอาชพี นไ้ี ดห รือไม ถา ตอ งการประกอบอาชพี จรงิ ๆ เนอ่ื งจากตลาดมคี วามตองการมาก ก็ตองตดิ ตอ ไปวาจะคมุ คากับคา ขนสงหรอื ไม 2) ศกั ยภาพของพ้ืนทตี่ ามลักษณะภมู ิอากาศ ลักษณะภูมิอากาศ หมายถึง ลักษณะอากาศประจําถิ่นในชวงระยะเวลา หนึ่ง ซึ่งมีอิทธิพลตอการประกอบอาชีพในแตละพ้ืนที่ที่มีสภาพอากาศที่แตกตางกัน เชน ประเทศไทยภาคกลางมีอากาศรอน ภาคใตมีฝนตกเปนเวลานาน ภาคเหนือมีอากาศเย็น โดยเฉพาะอาชพี เกษตรกรรมข้ึนอยูกับสภาพภูมิอากาศเปนสวนใหญ เปนตนวา การปลูกล้ินจ่ี ลําไย ตองการอากาศเย็นจึงจะออกผลได แกวมังกรตองการอากาศรอน ดังนั้น การปลูกพืช จาํ เปน ตอ งพจิ ารณาสภาพภมู อิ ากาศดว ยวา เหมาะสมกบั ชนดิ ของพืชน้นั ๆ หรือไม 3) ศักยภาพของภูมปิ ระเทศและทาํ เลท่ีตั้งของแตละพน้ื ท่ี ภูมิประเทศ หมายถงึ ลกั ษณะทางกายภาพของแผนดิน ความสูงต่ํา ท่ีราบ ลุม ท่ีราบสูง ภูเขา แมน้ํา ทะเล เปนตน สภาพภูมิประเทศและทําเลที่ต้ังของแตละพ้ืนที่จะ แตกตา งกัน ซึง่ จะมีผลตอ การประกอบอาชพี ตา ง ๆ เปน ตนวา กลมุ อาชพี เกษตรกรรมข้ึนอยูกับ สภาพภมู ิประเทศ เชน อาชีพทํานา สามารถทํานาไดทั้งในท่ีราบลุมท่ีเราเห็นอยูทั่วไป แตในท่ี ราบสูงหรอื บนภเู ขาก็ทํานาไดโ ดยไมใ ชน ํา้ ขนึ้ อยูกบั การใชพ ันธุขาว กลุมอาชพี อุตสาหกรรม ภูมิประเทศและทําเลท่ีต้ังในการประกอบอาชีพอุตสาหกรรมที่ดี ควรใกลแหลงวัตถุดิบ การคมนาคมสะดวกตอการขนสงสินคา หรือถาเปนอาชีพอุตสาหกรรมการทองเที่ยวตองมี ลักษณะภมู ิประเทศท่ีดงึ ดูดนกั ทอ งเทย่ี วได 4) ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณแี ละวถิ ชี ีวิตของแตล ะพ้ืนที่ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี หมายถงึ ความเชื่อ การกระทําท่ีมีการปฏิบัติ สบื เนื่องกันมาเปนเอกลักษณและมีความสําคัญตอสังคม ในแตละพ้ืนท่ีท้ังในประเทศไทยและ ตางประเทศ มีศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตที่แตกตางกัน ดังนั้น แตละพ้ืนที่สามารถ นําเอาสิ่งเหลานม้ี าใชเ ปนอาชพี ได เชน เปนสถานท่ีทองเที่ยวเขาชมศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี พน้ื บาน หรือพาชมวิถีชีวิต ซ่ึงจะมีอาชีพอื่น ๆ เกิดตามมา เชน การขายของท่ีระลึก การนวด

8 แผนไทย การขายอาหาร ผูประกอบการตองพิจารณาวา ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวิถี ชวี ติ ในพื้นท่ีมคี วามโดดเดน สามารถนํามาใชป ระกอบอาชพี ไดห รอื ไม 5) ศักยภาพของทรัพยากรมนษุ ยใ นแตล ะพนื้ ที่ ทรพั ยากรมนษุ ยใ นแตล ะพืน้ ที่ หมายถึง ความรู ความสามารถของมนุษย ท่ีเปน ภูมิปญญา ท้งั ในอดีตและปจจบุ นั ตา งกัน ในแตล ะทองถน่ิ มีความถนัดและความชํานาญใน การบาํ รุงรักษา การเกบ็ เกี่ยว และจัดจําหนา ยทไี่ มเ หมอื นกันสงผลใหผลผลิตและรายไดตางกัน ดังน้ัน ทรัพยากรมนุษยในแตละพื้นที่จะมีผลตอการประกอบอาชีพท่ีตองนํามาพิจารณาวา ในพนื้ ท่มี ภี ูมิปญ ญาทจ่ี ะเรียนรูใชเ ปน ความรหู รอื นําไปประยุกตใชใ นการประกอบอาชีพไดหรือไม เชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีภูมิปญญาทํามีดอรัญญิก ทําปลาตะเพียนจากใบลาน งานหลอ ทองเหลือง เปนตน

9 แบบฝก หัด จงเลอื กคาํ ตอบท่ีถูกตองทส่ี ุดในแตละขอ จากคาํ ถามตอ ไปนี้ 1. ขอ ใดเปนความหมายของการพัฒนาอาชพี ในสถานประกอบการ ก. เซเวน อเี ลฟเวน ลดความเสีย่ งในการดําเนินธรุ กิจโดยไมข ยายสนิ คา ข. เซเวน อเี ลฟเวน พัฒนาส่ิงแวดลอ มภายในและภายนอกใหดูดนี าอยู ค. เซเวน อเี ลฟเวน ลดอัตรากาํ ลงั การผลิตสินคา ลงเนอื่ งจากเศรษฐกจิ ตกตาํ่ ง. เซเวน อเี ลฟเวน พฒั นาสนิ คาตรงกบั ความตองการของลูกคา อยูต ลอดเวลา 2. ขอ ใดเปนความสาํ คัญและความจําเปนของการพฒั นาอาชพี ใหมคี วามมั่นคง ก. โลตัส มีการประชาสมั พนั ธนอยลง เพราะสินคาทกุ ตัวตดิ ตลาดแลว ข. โลตสั มกี ารปรบั ราคาสินคาขนึ้ เน่ืองจากประสบปญ หาทางดานเศรษฐกิจ ค. โลตสั มกี ารนํานวัตกรรมและเทคโนโลยีเขา มาใชในกระบวนการผลิตใหสินคามี คณุ ภาพขน้ึ ง. โลตสั มกี ารลดสวนแบง การตลาดนอ ยลง เพราะตองคาํ นึงถงึ คุณคาของสินคาและ ราคาไมส ูงเกินไป 3. ขอ ใดมีลกั ษณะการวเิ คราะหคลา ยกบั การวเิ คราะหศักยภาพธรุ กจิ ก. การวิเคราะหขอมูลทางสถิติ ข. การวเิ คราะหความแปรปรวน ค. การวิเคราะหค ุณภาพการศึกษา ง. การวิเคราะหความสมั พนั ธเชงิ ฟงกช นั 4. เหตผุ ลขอ ใดผปู ระกอบอาชพี จงึ ตอ งทาํ การวเิ คราะหศกั ยภาพธรุ กิจกอนดําเนินการ ก. เพอื่ ลดการวางงานของบุคลากร ข. เพื่อสรา งภาพลกั ษณที่ดีขององคก ร ค. เพ่ือลดความเสีย่ งในการดาํ เนินธุรกิจ ง. เพอ่ื ความกา วหนาในอาชพี ของบคุ ลากร

10 5. หากตองการเปดรา นขายสมตําสาขาที่ 2 จะตองดําเนินการตามขั้นตอนใดจึงจะเหมาะสมท่สี ดุ ก. จดั หาทาํ เลที่ตั้ง เตรยี มวสั ดอุ ปุ กรณ ศกึ ษาเมนใู หม ๆ เปดบริการลกู คา ข. จัดหาทาํ เลท่ีต้ัง เปด บริการลกู คา เตรยี มวัสดุอปุ กรณ ศึกษาเมนูใหม ๆ ค. จัดหาทาํ เลทต่ี งั้ ศกึ ษากลุมเปา หมายของลูกคา เตรยี มวสั ดอุ ปุ กรณใ หม ๆ ง. จัดหาทําเลท่ตี ้ัง เตรยี มวสั ดุอุปกรณ บริการรบั -สง ลูกคา จัดเตรยี มเมนใู หม ๆ 6. เพราะเหตใุ ดกลมุ ผูซอ้ื จึงเปน ปจจัยหนึ่งที่ผปู ระกอบการใหค วามสาํ คญั มาก ก. เพราะเปน ปจ จัยภายในท่ีสามารถควบคมุ ได ข. เพราะเปน ปจ จัยภายนอกที่สามารถควบคุมได ค. เพราะเปน ปจจัยภายในทีไ่ มส ามารถควบคุมได ง. เพราะเปน ปจ จัยภายนอกท่ีไมส ามารถควบคุมได 7. การดาํ เนนิ ธรุ กจิ ในระยะใด ทตี่ อ งประชาสัมพันธ หาเอกลักษณใ นตัวสินคา มีบริการหลงั การ ขายเพ่ือใหลูกคา เกิดความพงึ พอใจมากที่สุด ก. ระยะเร่ิมตน ข. ระยะทรงตวั ค. ระยะสรางตวั ง. ระยะตกต่าํ หรอื สูงขึ้น 8. การดาํ เนินธุรกิจในระยะใด ท่ีสว นแบง การตลาดเกดิ ความอม่ิ ตวั ซึง่ ผูประกอบการจะตอง รักษาคณุ ภาพของสินคาไมใ หต กต่ําไปกวาเดมิ ก. ระยะเรม่ิ ตน ข. ระยะทรงตวั ค. ระยะสรา งตัว ง. ระยะตกตา่ํ หรือสงู ขน้ึ 9. ในการวางแผนปลูกมะละกอเปน อาชพี ควรจะวิเคราะหศักยภาพในดา นใด ก. ทรัพยากรธรรมชาติ ภมู อิ ากาศ ภมู ิประเทศ ข. ทรัพยากรธรรมชาติ ภูมอิ ากาศ ศลิ ปะ วฒั นธรรม ค. ทรพั ยากรธรรมชาติ ภมู ปิ ระเทศ ศิลปะ วฒั นธรรม ง. ทรัพยากรธรรมชาติ ภมู ปิ ระเทศ ประเพณีและวิถีชีวิต

11 10.จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยามีการประกอบอาชีพทาํ มีดอรัญญกิ เปนเพราะมศี กั ยภาพในดา นใด ก. ภมู ปิ ระเทศ ข. ทรัพยากรมนษุ ย ค. ศิลปะ วฒั นธรรม ง. ทรัพยากรธรรมชาติ

12 บทท่ี 2 การจัดทาํ แผนการพฒั นาการตลาดเพื่อความมนั่ คงในอาชีพ เร่อื งที่ 1 การกําหนดทศิ ทางการตลาด เปา หมาย กลยทุ ธใ นการขยายอาชพี 1.1 ความคดิ รวบยอด การทําธุรกิจตองมีทิศทางใหมองเห็นผลสําเร็จ ภาระงานที่จะตองทําและ กลยุทธสูค วามสาํ เรจ็ ใชเปนความคดิ สกู ารปฏิบตั ิจรงิ จะทาํ ใหเราวางธรุ กจิ อยใู นความพอดีอยาง มีภูมิคมุ กนั วสิ ยั ทัศน คอื เปา หมายทมี่ ีลกั ษณะกวางๆ เปน ความตองการในอนาคต โดยมไิ ดกาํ หนดวธิ ีการไวเปน ขอความทัว่ ไป ซึ่งกาํ หนดทศิ ทางของภารกิจ เปนความมุงหมายใน สถานภาพที่เราจะไปเปน หรือเราไปอยู ณ วันหน่ึงในอนาคตที่องคกรมุงหมาย มุงหวังหรือ ประสงคจ ะเปนหรือจะมใี นอนาคต พันธกิจ คือ ความมุงหมายพื้นฐานในการจัดต้ังขององคกร ที่จะดําเนินการ ในระยะยาว หรือเปน ขอบเขตในการดําเนินงาน ขององคกรหรือบริษัทก็ได ดังน้ัน พันธกิจจะ บงบอกวาธุรกิจขององคกรคืออะไร อะไรคือสิ่งท่ีองคกรตองการจะเปน และบางครั้งอาจจะ แสดง สิ่งที่องคก รกําลังใหบริการแกล ูกคา อยูท้งั ผลติ ภณั ฑแ ละบริการ กลยุทธ คือ แนวทางในการดําเนินงานที่ทําใหองคกรประสบความสําเร็จ บรรลุเปาหมาย ขั้นตอนการดาํ เนนิ งาน 1. ทิศทางธรุ กจิ 2. เปาหมาย 3. แผน วิสัยทศั น กลยทุ ธ แผนกลยทุ ธ พนั ธกิจ

13 จากแผนภูมิ ทําใหมองเห็นวาการกําหนดทิศทาง กลยุทธ การขยายอาชีพ ประกอบดว ย 1) การคิดเขียนทิศทางธุรกิจ ประกอบดวยวิสัยทัศนท่ีตองการใหเกิดอยางมี ความพอดี และพนั ธกิจ สาํ คัญท่จี ะนาํ ไปสูความสาํ เร็จ 2) การคิดเขียนกลยุทธหรือวิธีการสรางความสําเร็จตามพันธกิจ ซ่ึงจะมี เปา หมายอยางชดั เจน 3) การคิดเขียนแผนกลยุทธดวยการนําเปาหมายกลยุทธมาวิเคราะห ใหมองเห็นตัวบงชี้ความสําเร็จ ปจจัยนําเขาที่สําคัญ และกิจกรรมท่ีจําเปนตองทําเปนแผน ทิศทางไปสูความสาํ เร็จของการดาํ เนนิ ธรุ กจิ 1.2 รายละเอยี ดการดําเนินงาน 1.2.1 การกาํ หนดทศิ ทางการตลาด การกําหนดทิศทางการตลาด ประกอบดวยองคประกอบ 3 สวน คือ ผูผลิต สินคาหรือการบริการ และผูบริโภคหรือผูรับบริการ การกําหนดทิศทางการตลาดเปน การวางแผนอนาคตของการขยายตลาดใหมีความพอดี จะตองกําหนดใหไดวาในชวงระยะ ขางหนาควรจะไปถึงไหน อยางไร ซ่ึงประกอบดวย ขอความวิสัยทัศนวาจะไปถึงไหน และ ขอความพนั ธกิจวาจะไปอยา งไร โดยมวี ธิ ีการคิดและเขยี นดงั น้ี 1) การเขียนขอความวสิ ยั ทัศน การขยายตลาด มีลักษณะโครงสรางการ เขียนที่ประกอบดวย ชวงระยะเวลาท่ีเราไปสุดทางของการขยายตลาดในชวงนี้จะเปน ระยะเวลากปี่  พ.ศ.อะไร ความคดิ เปา หมาย ลักษณะความสําเร็จที่เราจะไปถึงอยางมีความพอดี และทาทายความสามารถของเราคืออะไร สรุปไดวา การกําหนด วิสัยทัศนเปนการกําหนดให มองเห็นทศิ ทางของธรุ กิจทเี่ ราจะตองฝาฟนอุปสรรคตางๆ ไปใหถึงได ตัวอยางขอความวิสัยทัศน “พ.ศ. 2551 ไรทนเหนอื่ ยผลติ ผกั สดผลไมเกษตรอินทรียเขาสูตลาดคุณภาพประเทศสิงคโปร” 2) การเขยี นพันธกจิ เปนการดําเนนิ การตอ เนือ่ งจากการกําหนดวิสัยทัศน วาเราจะตองมีภารกิจที่สําคัญ อะไรบาง ที่เราทําใหการขยายตลาดบรรลุผลสําเร็จไดตาม วสิ ยั ทัศน โดยมีแนวทางการคิดและเขียน ดงั น้ี (1) การวิเคราะหวา หากจะใหเกิดความสําเร็จตามวิสัยทัศน จะตอง มีพันธกิจอะไรบาง ในทางธุรกิจมีภาระที่สําคัญ 4 ประการ ที่นํามาเขียนพันธกิจนําไปสู ความสําเร็จ คือ

14 (ก) ภารกจิ ดา นทุนดาํ เนนิ การ (ข) ภารกจิ ดา นลกู คา (ค) ภารกจิ ดา นผลผลิต (ง) ภารกิจดานการเรียนรพู ฒั นาตนเองและองคก ร (2) โครงสรางการเขียนพนั ธกจิ มอี งคป ระกอบรว ม 3 ดาน คือ (ก)ทาํ อะไร (บอกภาระสาํ คัญท่กี ระทบตอ ความสําเรจ็ ) (ข)ทําไมตองทาํ (บอกเหตุผลหรือจดุ ประสงค) (ค)ทําอยางไร (บอกวิธีดําเนินการท่ีสําคัญ และสงผลตอ ความสําเรจ็ จริง) สรุปไดวาการกําหนดทิศทางการตลาด จะทําใหการขยายอาชีพใหเกิดความพอดี เปนไปตามศักยภาพของผูประกอบอาชีพ แตการกําหนดทิศทางขยายตลาดนั้นตองมองเห็น ทิศทางที่จะไปถึงและรูวามีภารกิจอะไรบาง ตองทําอยางไรใหมองเห็นรูปธรรมของการขยาย ตลาดทีก่ า วออกไปขา งหนา 1.2.2 การกําหนดเปา หมายการตลาด เปา หมายทางการตลาด คือ การกาํ หนดกลยทุ ธท างการตลาด เพือ่ คัดเลอื กกลุมลูกคา ทเี่ ปนเปาหมาย โดยตอ งคาํ นงึ ถึงปจจยั สาํ คญั คอื สวนผสมทางการตลาด ผทู ่ี คาดหวงั วาจะเปนลูกคา ในอนาคต เปา หมายของกจิ การสภาพแวดลอมทางการตลาดท่คี วบคุม ไมไดและการมีสวนแบงในการตลาด การกาํ หนดเปาหมายการตลาด คอื การกําหนดทศิ ทางการผลติ สนิ คา หรือ งานบรกิ าร การกําหนดเปาหมายทม่ี ีความเปนไปได เปาหมายการตลาดเพ่ือการขยายตลาด คือ การบอกใหทราบวา สถาน ประกอบการหรือผผู ลติ นั้น สามารถทาํ อะไรไดภ ายในระยะเวลาเทาใด ซ่ึงอาจจะกําหนดไวเปน ระยะส้ัน หรือระยะยาว 3 ป หรือ 5 ปก็ได การกําหนดเปาหมายของการตลาดตองมีความ ชัดเจนสามารถวัดและประเมินผลได การกําหนดเปาหมายหากสามารถกําหนดเปนจํานวน ตัวเลขไดก็จะยิ่งดี เพราะทําใหมีความชัดเจนจะชวยใหการวางแผนมีคุณภาพยิ่งขึ้น และจะ สง ผลในทางปฏบิ ตั ไิ ดดยี ่งิ ข้ึน

15 หลักในการกําหนดเปาหมายทางการตลาด มีดังน้ี 1) เปาหมายทก่ี ําหนดตองมคี วามเปน ไปได 2) มีความชดั เจน 3) การกําหนดเปาหมายตอ งมีความละเอยี ดเพยี งพอ สรปุ ไดว าการกําหนดเปาหมายทางการตลาด หมายถึง การวิเคราะหถึง ความตองการในสนิ คา ที่สถานประกอบการตองการนาํ เสนอสินคาและบริการนั้น ๆ เขาสูตลาด โดยตอ งกําหนดจากแผนกลยทุ ธข ององคกร ลกู คา ถอื เปน ขน้ั ตอนแรกของการวางแผนการตลาด การวเิ คราะหล กู คา จึงนํามาสูแ นวทางในการกําหนดเปาหมายการตลาด ซ่ึงมีขอมูลที่ไดจากการ วิเคราะหกลยุทธ ที่ควรนํามากําหนดเปา หมายการตลาด ดงั น้ี 1) โครงสรางการตดั สินใจของลกู คา 2) ความตองการของลูกคา 3) สภาพการแขง ขนั 4) ความสามารถในการขายหรือการเจาะตลาด 5) แนวโนมความเปล่ยี นแปลงของตลาด และปจจัยท่ีมีผลตอการเปล่ียนแปลง ความตอ งการ ของลูกคา 1.2.3 การกาํ หนดกลยุทธสเู ปาหมาย กลยุทธ เปน การหาวธิ กี ารทีจ่ ะทาํ ใหล กู คา ท่มี ีอยกู อ นแลวเพ่มิ จํานวนซื้อ ใหม ากกวา เดิม โดยการวเิ คราะหปจ จัยตาง ๆ ทเี่ ก่ียวขอ งกบั การขายสินคาใหกลุมเปาหมายท่ีมี ศักยภาพในการซื้อมาใชเปนบรรทัดฐานในการกําหนดวิธีการเพิ่มปริมาณลูกคาหรือเพิ่ม ยอดขาย การกําหนดกลยุทธ ตองสอดคลองกับเปาหมายการตลาด เปนการ พฒั นาแผนระยะยาวบนพ้ืนฐานของโอกาสและอุปสรรคภายใน สภาพแวดลอมภายนอก จุดแข็งและจดุ ออนภายใน ผลจากการกําหนดกลยุทธจะทําใหธุรกิจเจริญเติบโตอยางตอเน่ือง อันมียอดขายทีส่ งู ขึ้น ตน ทนุ ตอ หนวยลดลง กาํ ไรเพม่ิ มากขน้ึ การท่ีจะขยายการตลาดใหบรรลุตามวิสัยทัศน ตองมีแนวทางปฏิบัติสู ความสาํ เรจ็ คือการกาํ หนดกลยุทธจ ากภารกจิ ทีจ่ ะทาํ ทง้ั 4 ดาน คือ 1) ทุนดําเนนิ การ 2) ภารกจิ ดานลกู คา

16 3) ภารกจิ ดา นผลผลิต 4) ภารกจิ ดานการเรียนรูพ ฒั นาตนเองและองคก ร การกําหนดกลยุทธเพื่อใหการขยายตลาดสูความสําเร็จจึงกําหนดกล ยทุ ธจากภารกิจทจ่ี ะทาํ ท้ัง 4 ดา นตามแนวคดิ ดงั นี้ 1) คิดพิจารณาวากิจกรรมใดเปนกิจกรรมท่ียุงยากและเปนแกนหลัก สําคญั ของความสาํ เรจ็ ในภารกจิ นี้ จะตอ งใชเทคนิควธิ ีอะไรเขา มาเปนกลยทุ ธใ นการทาํ งาน 2) สรุป ระบุกลยุทธ และเปาหมายกลยุทธดวยการนําผลการวิเคราะห กําหนดเทคนิควิธีการ มาเปน กลยทุ ธ และนาํ ขอ ความสวนทบี่ อกวาทําอะไรมาเปน เปาหมาย กลยทุ ธ เร่อื งที่ 2 การวิเคราะหก ลยทุ ธส เู ปา หมาย การวิเคราะหก ลยุทธ โดยใช SWOT Analysis เปนการวเิ คราะหสํารวจสภาพของ องคก ร เพ่ือนํามาสังเคราะหวาองคกรมีปจจัยภายในและภายนอกใดที่มีผลตอการดําเนินงาน ขององคกร ปจจัยภายใน คือ ส่ิงท่ีเราควบคุมไว ไดแก จุดออน จุดแข็ง ปจจัยภายนอก คือ สิ่งที่เราควบคุมไมได ไดแก อุปสรรคและโอกาส ความเปนไปไดทางการเงิน ทางการตลาด ทางการผลติ และทางเทคโนโลยี แนวทางในการกําหนดกลยุทธ คือ ลงทุนต่ําที่สุด มีความเปนไปไดทางการเงิน ทําในสง่ิ ทที่ ําไดดี มคี วามเปน ไปไดใ นการผลิต ทําจํานวนนอย แลวคอย ๆ เพ่ิมไปสูจํานวนมาก และเปน ธุรกจิ ทีส่ ามารถทาํ ไดใ นระยะยาว ซ่ึงมีความเปนไปไดทางการตลาด ดูความสามารถใน การแขงขนั อาจพิจารณาจากอะไรท่ีเราทําไดด ที ส่ี ดุ เม่อื เทียบกบั ผอู ื่น และมองจดุ เดนทีเ่ รามี การวิเคราะหกลยุทธโดยใชเปนแผนภาพรวมของการขยายตลาด เปนเคร่ืองมือ ควบคุมภาพรวมของการจัดการขยายตลาดที่ประกอบดวยเหตุผลท่ีจะทําใหการขยายอาชีพ สาํ เร็จกบั องคประกอบดานการควบคุมเชิงกลยุทธ บรรจุเงื่อนไขสูความสําเร็จไวสําหรับจัดทํา แผนปฏบิ ตั ิการ และควบคมุ ภาพรวมของการดําเนินงาน ซ่ึงมาจากองคประกอบ ดงั นี้ 2.1 องคประกอบดา นเหตุผลสคู วามสาํ เร็จของการขยายตลาด ประกอบดวย 1) ดานการลงทุน 2) ดา นลกู คา 3) ดานผลผลติ 4) ดานการเรยี นรูพัฒนาตนเอง

17 2.2 องคประกอบดา นการควบคุมเชงิ กลยทุ ธ ประกอบดว ย 1) เปา หมายกลยุทธ 2) ตวั บง ชค้ี วามสําเร็จ 3) ปจจยั นําเขา ดําเนินงาน 4) กจิ กรรม/โครงการทต่ี อ งทํา การเขียนแผนกลยุทธทั้งหมดจะตองบรรจุอยูในเอกสารหนาเดียว เพื่อใหมองเห็น ความสัมพันธรวมขององคประกอบ จะทําใหมองเห็นสาระสําคัญท่ีเปนเหตุเปนผลตอ ความสําเรจ็ ของการขยายอาชพี เรื่องที่ 3 การกาํ หนดกิจกรรมและแผนการพฒั นาการตลาด 3.1 การกาํ หนดกิจกรรมเพ่อื พัฒนาการตลาด การตลาด เปนกิจกรรมทางการตลาด ท่ีเรมิ่ ตั้งแตก ารวางแผนไปสูการตลาดมี ลักษณะท่ีเหมาะสมและสอดคลองกับความตองการของลูกคา องคประกอบของตลาด ประกอบดวย ผลิตภัณฑ ราคา และการจําหนาย การตลาดมีความสําคัญมีผลตอการบรรลุ เปา หมายสุดทา ยของการดําเนินธุรกิจ ธุรกิจตองเริ่มดวยการศึกษาความตองการที่แทจริงของ ลูกคา กลยุทธทางการตลาดน้ันมีอยูมาก แตเปนพ้ืนฐานที่สุดก็คือ การใช 4P คือ Product (สินคา) Price (ราคา) Place (สถานที่) Promotion (การสงเสริมการขาย) ใหนํามากําหนด เปน กิจกรรมที่ตอ งดําเนนิ การเพือ่ พฒั นาการตลาด ดังน้ี 1) กจิ กรรมดานสินคา ตอ งพัฒนาใหต รงกบั ความตอ งการของลูกคา 2) กิจกรรมดานราคา ผูผลิตก็ตอ งกําหนดราคาท่ีเหมาะสมกบั กาํ ลังซ้ือของผูบรโิ ภค และเหมาะสม กับคุณภาพของสินคา 3) กจิ กรรมดานสถานท่ี ตองคิดวา จะสงมอบสินคาใหกบั ผูบ ริโภคไดอยางไร หรือ ตองมกี ารปรับสถานท่ขี าย ทําเลท่ีตั้งขายสนิ คา 4) กิจกรรมดานการสงเสริมการขาย จะใชวิธีการใดที่ทําใหลูกคารูจักสินคา ของเรา

18 3.2 การวางแผนพฒั นาการตลาด การพัฒนาตลาด เปนกระบวนการพัฒนาตลาดของสินคาหรือบริการให ยอดขายคงอยูหรือมากข้ึนกวาเดิม การกําหนดกลยุทธที่มีความเปนไปไดแตละกลยุทธจะตอง กําหนดกิจกรรมและจดั ทาํ แผนพัฒนาการตลาด กระบวนการวางแผนพัฒนาการตลาด ที่ผูผลิต ตองนํากจิ กรรมตา ง ๆ มาวางแผนเพ่ือพัฒนาตลาด เพื่อนาํ ไปสูก ารปฏบิ ัติ มดี งั น้ี 1) กาํ หนดทศิ ทางการพฒั นา การตลาด วิสัยทัศน พันธกิจ 2) กาํ หนดเปาหมายการตลาด 3) กําหนดกลยุทธส เู ปา หมาย 4) วเิ คราะหก ลยุทธ 5) ดําเนินการ โดยการโฆษณา การประชาสัมพันธ การทําฐานขอมูลลูกคา การสง เสริมการขาย การกระจายสนิ คา ฯลฯ

19 แบบฝก หดั ท่ี 1 จงเลือกคําตอบที่ถูกตอ งท่สี ดุ ในแตละขอ จากคาํ ถามตอ ไปนี้ 1. การกาํ หนดทศิ ทางการตลาดควรมีวธิ กี ารอยา งไร ก. ตรวจสอบตลาดในเบ้อื งตน ข. มองความสําคญั ของลกู คาในอนาคต ค. แสวงหาตลาดท่ีมกี ลุมเปาหมายเฉพาะ ง. เปน ไปตามนโยบายของสถานประกอบการแตละแหง 2. ขอ ใดคอื สงิ่ ท่ีตอ งกําหนดในการวางแผนประกอบธรุ กิจเพอ่ื ใหผ ลลัพธเปนไปตามวสิ ัยทัศน ก. กาํ หนดพนั ธกิจ ข. กาํ หนดกลยุทธ ค. กาํ หนดเปา หมาย ง. กาํ หนดแผนปฏบิ ตั ิงาน 3. ขอใดคือการกาํ หนดทิศทางการผลติ สนิ คา โดยกําหนดเปาหมายท่ีมีความเปน ไปได ก. กําหนดปญหาของแผน ข. กําหนดเคาโครงของแผน ค. กําหนดขอบเขตของแผน ง. กําหนดเปาหมายการตลาด 4. แนวคิดในเร่อื งการใชท รพั ยากรเพอื่ การพฒั นาทยี่ ่ังยนื เปนผลจากสงิ่ ใด ก. การพฒั นาทเ่ี นนความเจริญทางวตั ถุ ข. การพัฒนาท่ขี าดประสิทธภิ าพของการพฒั นาความเจริญ ค. การพัฒนาทส่ี งผลตอทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ ม ง. ความเสอื่ มโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

20 5. การกาํ หนดกลยุทธสเู ปาหมายการตลาดทาํ ใหทราบถงึ อะไร ก. เกดิ ความชัดเจน ข. ทาํ ใหวัดและประเมินผลได ค. ทําใหการปฏบิ ัติเปนไปไดดียงิ่ ขึน้ ง. สถานประกอบการนนั้ สามารถทําอะไรไดภายในระยะเวลาใด 6. สมศรมี อี าชีพขายผลไมสงออก ไดว เิ คราะหส ํารวจสภาพขององคก ร เพอ่ื นาํ มาวางแผน การตลาด สมศรไี ดด ําเนินการในขั้นตอนใดในการวางแผนการพัฒนาการตลาด ก. กําหนดพนั ธกจิ ข. กาํ หนดวิสยั ทศั น ค. การวิเคราะหกลยุทธ ง. กาํ หนดกลุมลกู คา เปาหมาย 7. ผใู ดสามารถกาํ หนดกลยทุ ธสูเปา หมายการขยายตลาดไดเหมาะสมทส่ี ดุ ก. แดง ใชส ารเคมีเรงดอกไมใหโตเร็ว ข. ขาว ใชส ารฟอกขาวเพื่อใหถวั่ งอกขาวขายไดราคาดี ค. เหลอื ง เพ่ิมการสอนภาษาเขมรในโรงเรยี นสอนภาษาของตนเอง ง. เขียว เชา พื้นทขี่ ายเสือ้ ผา ในราคาแพง เพอ่ื ดึงดูดลูกคาท่ีมีรสนิยม 8. ขอ ใดไมใ ชก ระบวนการขน้ั ดาํ เนินการในการวางแผนพฒั นาการตลาดสูการปฏิบตั ิ ก. การประชาสัมพนั ธ ข. การจัดทาํ ฐานขอมูลลกู คา ค. การโฆษณา ประชาสมั พันธ ง. การกําหนดเปาหมายในการขาย 9. การกาํ หนดกจิ กรรมและแผนการพฒั นาการตลาดมคี วามจาํ เปน ตอการพฒั นาอาชพี อยา งไร ก. สามารถปฏิบัตงิ านไดต ามจุดมงุ หมาย ข. สามารถปฏิบัตงิ านไดต ามแผนทวี่ างไว ค. ชวยประหยดั ตน ทุนในการประกอบอาชีพ ง. ชวยใหการพฒั นาอาชพี ประสบความสําเรจ็ และมีประสทิ ธิภาพ

21 10. การตลาดมคี วามสาํ คญั ตอการบรรลเุ ปา หมายสดุ ทา ยของการดําเนินธุรกจิ ดังนั้นการทาํ ธรุ กิจตอ งเรมิ่ จากอะไร ก. กําหนดวธิ กี ารทําใหล กู คารูจักสินคา ข. ศึกษาความตอ งการทแ่ี ทจ รงิ ของลูกคา ค. กาํ หนดราคาทเี่ หมาะสมกบั กาํ ลงั ซื้อของผบู ริโภค ง. สรางสนิ คาหรือบริการทท่ี ําใหล กู คา เกิดความพอใจ แบบฝกหดั ที่ 2 คําชี้แจง ในการเขียนวิเคราะหก ลยุทธ โดยใช SWOT Analysis เปนการวิเคราะหส าํ รวจ สภาพขององคก ร เพือ่ นํามาสงั เคราะหวา องคกรมสี ภาพแวดลอมภายในและภายนอก ปจ จัยภายใน คอื ส่งิ ที่เราควบคุมไว ไดแกจ ดุ ออน จุดแข็ง ปจจัยภายนอก คอื สิง่ ที่ เราควบคมุ ไมไ ด ไดแก อปุ สรรคและโอกาส ใหผ เู รียนอธิบายความหมายของ จดุ ออน จดุ แข็ง อปุ สรรคและโอกาส จุดออ น หมายถึง .................................................................................................................................. ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... จดุ แขง็ หมายถึง .................................................................................................................................. ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

22 อุปสรรค หมายถงึ .................................................................................................................................. ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... โอกาส หมายถึง .................................................................................................................................. ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

23 บทที่ 3 การจัดทําแผนพัฒนาการผลติ หรอื การบริการเพอื่ ความม่นั คงในอาชีพ เรอ่ื งที่ 1 การกําหนดคณุ ภาพผลผลติ หรอื การบรกิ าร การพัฒนาการผลิตหรือการบริการ เกิดจากการกําหนดคุณภาพผลผลิตหรือการ บริการ วเิ คราะหทนุ ปจ จัย กําหนดเปา หมายและการกาํ หนดแผนกิจกรรมเปน การพฒั นาระบบ การผลติ หรอื การบรกิ าร 1.1 การกาํ หนดคุณภาพผลผลติ ความหมายของคุณภาพ ถูกกําหนดขึ้นตามการใชงานหรือตามความคาดหวัง ของผกู าํ หนด แบง เปน 2 ลักษณะ ดงั นี้ คณุ ภาพตามหนา ที่ หมายถึง ประสิทธิภาพการทํางาน ความเหมาะสมในการ ใชงาน ความทนทาน คณุ ภาพตามลกั ษณะภายนอก หมายถงึ รูปรา งสวยงาม สสี นั สดใส เรียบรอย เหมาะกบั การใชง าน โครงสรางแข็งแรง 1.2 ขน้ั ตอนการกาํ หนดคุณภาพ การกาํ หนดคุณภาพสนิ คาและบรกิ าร มขี นั้ ตอนดาํ เนินการ 3 ขน้ั ตอน ดังนี้ 1) การศึกษาความตองการของผูใชสินคาและบริการอยางกวางขวางและ ครอบคลุมผูซอื้ หรอื ผูใ ชบ ริการทีม่ ีความหลากหลาย 2) การออกแบบหรือการพัฒนาผลิตภัณฑใหสอดคลองกับความตองการท่ี ศึกษามา 3) จดั ระบบการผลติ และควบคุมระบบการผลิตใหไดผลผลิตที่มคี ณุ ภาพ 1.3 การกาํ หนดคุณภาพการบรกิ าร การบรกิ าร หมายถึง การใหความชว ยเหลือหรือการดําเนินการเพ่ือประโยชน ของผูอ่นื การบรกิ ารทีด่ ี ผรู ับบริการจะไดรบั ความประทบั ใจและช่ืนชมองคก ร คุณภาพของการบรกิ าร มปี จ จยั ทบ่ี งช้คี ณุ ภาพของการบริการ ดงั นี้ 1) สามารถจบั ตองได ควรสรา งหลกั ฐานใหเ หน็ ชัดเจนวา บริการนั้นมีคุณภาพ เชน อาคารสถานที่ วสั ดุอุปกรณ เครอ่ื งอํานวยความสะดวก และบคุ ลากร

24 2) นาเชื่อถือ ซึ่งเปนความถูกตองในการคิดคาบริการ เพื่อใหลูกคาเกิดความ เชือ่ ถือ 3) มีความรู ผูใหบริการที่มีคุณภาพตองเปนผูมีความรูในเรื่องน้ัน เพ่ือความ มัน่ ใจของลูกคา 4) มคี วามรบั ผิดชอบ ผูใหบริการจะตองรับผิดชอบตองานและคําสัญญาท่ีให ไวก บั ลูกคา 5) มีจติ ใจงาม ผใู หบ รกิ ารจะตองมคี วามกระตือรอื รนและเต็มใจชวยเหลือโดย ไมร ังเกยี จ เร่อื งท่ี 2 การวเิ คราะหทุนปจ จัยการผลติ หรือการบริการ การวิเคราะหทุน เปนปจจัยการผลิตท่ีมีความจําเปนตอการพัฒนาอาชีพ ที่จะ สง ผลตอ ความมนั่ คงของอาชพี ถา รูจักใชทุนอยางเหมาะสม ทุน หมายถึง เงินลงทุนในการดําเนินงานธุรกิจ ผลิต หรือบริการ ซึ่งเปนปจจัย สําคัญในการประกอบอาชีพ ปจจัยการผลิตหรือการบริการ หมายถึง ทุกสิ่งทุกอยางท่ีตองนํามาใชใน กระบวนการผลิตหรือการบริการแตละชนิด จะมีความตองการใชปจจัยการผลิตท่ีแตกตางกัน นักเศรษฐศาสตรไ ดจ ัดกลมุ ปจ จัยการผลติ หลกั ๆ ไว 4 ประเภท คือ ท่ีดนิ แรงงาน ทุน และการ ประกอบการ ตน ทุนการผลิต หมายถึง ทุนในการดาํ เนนิ กิจการ แบงได 2 ประเภท ดงั น้ี 1) ทุนคงที่ คือ การจัดหาทุน เพื่อใชในการจัดหาสินทรัพยถาวร ซึ่งมี 2 ลักษณะ ไดแ ก (1) ทุนคงที่ทีเ่ ปน เงินสด ไดแก เงินที่ตองจายเปนคาดอกเบ้ียเงินกู เพื่อนํามาใช ในการดาํ เนินธรุ กิจ (2)ทนุ คงทที่ ไ่ี มเ ปน เงินสด ไดแ ก พนื้ ท่ี อาคารสถานที่ โรงเรือน คา เสื่อมเคร่ืองจักร 2) ทุนหมุนเวยี น คอื การที่ผูป ระกอบการจัดหาทุน เพื่อใชก ารดําเนินการจัดหา สนิ ทรัพยห มนุ เวยี น ซง่ึ มี 2 ลักษณะ ไดแก

25 (1) ทุนหมุนเวียนท่ีเปนเงินสด ไดแก คาวัสดุอุปกรณในการประกอบอาชีพ ท้ังในกลุมผลติ ผลและกลุมบรกิ าร คาจา งแรงงานในการผลิตหรอื บริการ คาเชาท่ดี นิ /สถานท่ีใน การประกอบธุรกจิ หรือคาใชจา ยอื่น ๆ (2)ทุนหมุนเวียนที่ไมเปนเงินสด ไดแก คาใชจายในครัวเรือน คาเสียโอกาส ในท่ดี ิน ในการดําเนินงานธุรกิจหรือการประกอบกิจการอาชีพ การบริหารเงินทุน หรือดานการเงินจึงเปนสิ่งสําคัญท่ีผูประกอบตองใหความสําคัญอยางมากเพราะมีผลตอความ มั่นคงของอาชพี วาจะกา วหนา หรอื ลมเหลว ดงั นน้ั การใชท นุ แตละชนดิ ตองผานการวิเคราะหวา ตองใชชนิดใด คุณภาพอยา งไร หรอื ปรมิ าณเทา ไหรจ งึ จะเหมาะสมกับอาชีพ เร่อื งท่ี 3 การกาํ หนดเปาหมายการผลติ หรือการบริการ เปาหมายการผลิตหรือการบริการ คือ ส่ิงท่ีผูประกอบการอาชีพตองการมุงไป ใหถงึ เกิดผลตามท่ตี องการ ดวยวิธีการตาง ๆ ซง่ึ เปนตวั บงชปี้ รมิ าณทีจ่ ะตอ งผลติ หรอื บริการ ปจจัยที่สงผลใหป ระสบผลสําเรจ็ ในการผลติ หรอื การบริการ ดังน้ี 1) การกาํ หนดกลมุ ลูกคาเปาหมายใหชดั เจน 2) เสริมสรา งสวนประสมทางการตลาดไดอยางลงตวั 3) การคํานงึ ถึงสภาวะแวดลอ มทีค่ วบคุมไมได 4) สามารถตอบคาํ ถามตอ ไปนีไ้ ดทุกขอ (1) ในสวนของลูกคา สามารถตอบไดวา ใครคือกลุมลูกคาเปาหมายสําหรับ ผลผลิตที่ผลิตขึ้นหรือการบริการ ลูกคาเปาหมายดังกลาวอยู ณ ที่ใด ปจจุบันซื้อผลผลิตหรือ การบรกิ ารจากทใี่ ด ซื้อบอ ยแคไหน อะไรเปน สิ่งจูงใจใหลูกคาตัดสินใจใชบริการ ทําไมลูกคาถึง ใชผลผลิตหรือบริการของเรา ลูกคาเหลานั้นชอบหรือไมชอบผลผลิตหรือบริการอะไรที่เรามี อยูบาง (2) ในสว นของผลผลิตหรอื การบริการ สามารถตอบไดว า ลูกคาตองการผลผลิต หรอื บรกิ ารอะไร ลกู คา อยากจะใหมีผลผลิตหรือบริการเวลาใด เฉพาะการบริการ ควรต้ังช่ือวา อะไร เพ่อื เปนสิง่ ดึงดดู ใจไดมากทส่ี ุด

26 นอกจากนี้ ผูประกอบการตองคํานึงและพิจารณาถึงความเปนไปได และ องคประกอบสําคัญดานอื่น ๆ ที่เก่ียวของดวย ไดแก แรงงาน เงินทุน เคร่ืองมือ/อุปกรณ วตั ถดุ ิบ และสถานท่ี เปน ตน เรอ่ื งที่ 4 การกําหนดแผนกิจกรรมการผลิตหรอื การบรกิ าร การกาํ หนดแผนกิจกรรมการผลติ หรือการบรกิ ารเพื่อการพัฒนาอาชีพ เปนการ กําหนดกิจกรรมท่ีเก่ียวกับการขยายอาชีพ เชน ตองการเปดรานขายขาวแกงสาขาท่ี 2 แผน กิจกรรมการบริการ ควรเริ่มต้ังแต จัดหาทําเลท่ีต้ังรานที่ 2  จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ  ศกึ ษาเกี่ยวกบั เมนูอาหารใหม ๆ  เปด รานอาหาร  จัดบรกิ ารลูกคา ส่งิ สําคัญสาํ หรบั การขยายอาชพี คอื การตัดสินใจ ซึ่งมแี นวทาง ดังนี้ 1) ตรวจสอบความพรอมของตนเองในสภาพปจจุบันเก่ียวกับ เงินทุน แรงงาน เคร่อื งมือ/อปุ กรณ วตั ถดุ ิบ และสถานท่ี รวมถงึ ผลผลิตหรือบริการวามีสวนใดไมส มบรู ณ 2) สํารวจสภาพแวดลอม ตรวจสอบขอมูลภายนอกเก่ียวกับคูแขงการประกอบ อาชีพเดยี วกันในชุมชน และความตองการของลูกคา ในทองถนิ่ 3) การกําหนดทางเลอื ก เพ่ือใหแผนชดั เจนและมที างเลอื กไดหลายทางสูการปฏิบตั ิ 4) การประเมนิ ทางเลอื ก เพื่อใหไดท างเลอื กสูการปฏิบตั ิที่เหมาะสมที่สุด 5) การตดั สนิ ใจ สามารถใชหลกั 4 ประการ ในการตัดสินใจ คอื ประสบการณ การ ทดลอง การวิจัยหรอื การวเิ คราะห และการตดั สนิ ใจเลือก 6) กําหนดวตั ถุประสงค เปน การกาํ หนดเปา หมายวา ตอ งการใหเ กิดอะไร 7) พยากรณสภาพการณในอนาคต เปนการคิดผลบรรลุลวงหนาวา หากทําตาม แผนแลว ธรุ กจิ ที่ดําเนินงานจะเกิดอะไรขน้ึ 8) กําหนดรายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติวาจะทําอยางไร เม่ือไร เพื่อใหเกิดผลตาม วตั ถปุ ระสงค ทกี่ าํ หนดไว 9) ประเมินแนวทางการปฏิบตั ิ เพอ่ื ตรวจสอบความสมบูรณของแผนกิจกรรมการ ผลิตหรือการบรกิ ารวาสอดคลองกันหรือไม สามารถปฏิบัติไดตามขั้นตอน วิธีการที่กําหนดไว หรือไม หากพบวายงั ไมส อดคลอ ง หรือมขี ัน้ ตอนวิธีการใดทไี่ มมั่นใจ ใหดาํ เนินการปรับปรุงใหม ใหส อดคลอง เหมาะสม

27 10) ทบทวนและปรบั แผน เมื่อสถานการณเ ปลยี่ นแปลง ผลลัพธไมเปนไปตามแผน ท่ีกําหนดเปนการพัฒนาแผนกิจกรรมการผลิตหรือการบริการในระหวางการปฏิบัติตามแผน เมื่อมสี ถานการณเปลี่ยนแปลงไป หรอื มขี อมูลใหมทีส่ าํ คัญ เรือ่ งที่ 5 การพัฒนาระบบการผลติ หรอื การบริการ การดาํ เนนิ ธุรกิจใหมีความกาวหนาและมั่นคง ผูประกอบการธรุ กิจตองคํานึงถึงการ พัฒนาระบบการผลิตหรือการบริการอยางตอเน่ือง เพื่อใหทันตอการเปล่ียนแปลงตามความ นยิ มของลูกคา จึงควรมกี ารพฒั นาระบบการผลิตหรอื การบริการอยางตอเน่อื ง การพัฒนาระบบการผลิตหรอื การบรกิ ารในภาพรวม สามารถดําเนนิ การได ดงั นี้ 1) ลักษณะการผลิตและการใหบ รกิ าร ทีผ่ ูใ ชบริการสามารถสมั ผัสจบั ตอ งได 2) ความไววางใจ ท่ีผูใหบริการทําตามคํามั่นสัญญาที่ใหไวอยางตรงไปตรงมาและ ถูกตอง 3) ความกระตือรือรน ท่ีจะชวยเหลือและพรอมท่ีจะใหบริการผูใชบริการอยาง ทนั ทวงที 4) ความเช่ียวชาญ ที่ใชความรูความสามารถปฏิบัติงานที่รับผิดชอบอยางมี ประสิทธภิ าพ 5) อธั ยาศัยทนี่ อบนอ ม ทีม่ คี วามเปนมิตร สุภาพ เปน กนั เอง 6) ความเปนมิตรของผูปฏิบัติงานผลิตและบริการ ท่ีใหเกียรติผูอ่ืน จริงใจ และมี นํ้าใจ 7) ความนา เชอื่ ถือ ท่ีสามารถสรางความเชื่อมั่น ดวยความซ่ือสัตยของผูประกอบ ธรุ กจิ 8) ความปลอดภัย ที่ปราศจากอนั ตราย ความเสยี่ งภัยและปญ หาตาง ๆ 9) การเขา ถึงบริการ ท่ตี ดิ ตอเพ่อื การซอ้ื ผลิตภัณฑหรือบริการดวยความสะดวกไม ยุงยาก 10) การติดตอสอ่ื สาร ทสี่ รางความสัมพนั ธ ส่ือความหมายชดั เจน และเขา ใจงาย 11) ความเขา ใจลูกคา ทตี่ รงกบั ความตอ งการของผูใ ชบ ริการและตอบสนอง โดยทนั ที

28 คุณภาพของการผลติ หรือการบรกิ าร เปน ส่งิ สําคัญท่ีผปู ระกอบการธุรกิจตองรักษา ระดับคุณภาพและพัฒนาระดับคุณภาพการผลิต หรือการบริการใหเหนือกวาคูแขงขัน โดย เสนอคณุ ภาพการผลติ หรือการใหบริการตามลูกคาคาดหวัง หรือเกินกวาสิ่งที่ลูกคาคาดหวังไว เสมอ แบบฝกหัด จงเลอื กคําตอบที่ถกู ตองท่สี ุดในแตละขอ จากคําถามตอ ไปน้ี 1. สมพงศจะดาํ เนนิ การตามขอ ใดเพือ่ ใหการบรกิ ารมคี ุณภาพ ก. มสี ินคา มผี ซู ้อื มีผูข าย ข. มีแผนงาน มรี าคา มีประโยชน ค. มีความรู นา เช่ือถือ มีความรับผิดชอบ ง. มีประโยชน มเี วลา มีเหตผุ ล มีคณุ ภาพ 2. ขอใดเปนปจจยั สําคัญในการดําเนินงานธุรกจิ ก. สินคา ข. ผบู รโิ ภค ค. การตลาด ง. เงนิ ลงทุน 3. ในการประกอบอาชีพใหม ีประสิทธภิ าพและเจริญเตบิ โตควรมตี นทุนการผลติ ในขอใด ก. ทุนหมนุ เวียน ข. ความรู ความเชย่ี วชาญ ค. กระบวนการผลติ ท่ีทันสมัย ง. ผูรว มลงทุนประกอบกจิ การ

29 4. การสรางความพงึ พอใจใหแกลูกคา ผปู ระกอบธรุ กิจตอ งคํานึงถงึ ปจจัยเร่อื งใด ก. การพัฒนาสินคา ใหท นั สมยั ข. สินคา มีราคาถูกมากเปน พเิ ศษ ค. สนิ คา ตรงตามความตองการของลกู คา ง. จํากัดจํานวนของสินคาทีจ่ ะขายใหลกู คา 5. นกั เศรษฐศาสตรก ําหนดกลุมปจ จยั การผลติ หลัก คือขอ ใด ก. ทด่ี นิ ทนุ การผลติ การบรกิ าร ข. ทีด่ นิ แรงงาน แผนงาน การผลติ ค. ท่ีดิน แรงงาน การขาย การตลาด ง. ทด่ี ิน แรงงาน ทุน การประกอบการ 6. ขอใดเปนปจ จัยทีเ่ ก่ียวขอ งกับลูกคา ที่สง ผลใหประสบผลสาํ เร็จในการผลิตหรอื การบรกิ าร ก. สงิ่ จูงใจใหลกู คา ตัดสินใจซอ้ื ข. การเลอื กวิธีการสง สนิ คาใหลูกคา ค. การสํารวจความตองการของลกู คา ง. กําหนดสินคาตามความพึงพอใจของลกู คา 7. การกําหนดกจิ กรรมทเ่ี กี่ยวกบั การขยายอาชพี ส่งิ สาํ คญั สาํ หรบั การขยายอาชพี คือขอใด ก. การตัดสินใจ ข. ความไวว างใจ ค. ความเช่ยี วชาญ ง. ความกระตือรือรน 8. ขอใดเปนการดาํ เนินการพฒั นาระบบการผลิตหรอื การบรกิ ารอยางตอ เนอื่ ง ก. มีจิตใจงาม ข. ความเขาใจลูกคา ค. มีความรบั ผดิ ชอบ ง. สามารถจบั ตอ งได

30 9. ขอ ใดไมใชห ลักการตดั สนิ ใจ ก. การวิจัย ข. การทดลอง ค. ประสบการณ ง. การตรวจสอบความตอ งการ 10.การดําเนนิ การในขอ ใด ถือเปน การพัฒนาระบบการผลิตหรอื การบรกิ าร ก. ใหเกยี รติผูอ น่ื จริงใจ มนี ํา้ ใจ ข. ใชเทคโนโลยที ี่ทันสมัยในการผลิต ค. การวิเคราะหข อ มูลการตลาดอยางสม่าํ เสมอ ง. ใชระบบการทํางานท่ีสามารถตรวจสอบไดตลอดเวลา

31 บทที่ 4 การพฒั นาธรุ กจิ เชิงรุกเพือ่ ความมน่ั คงในอาชีพ เร่ืองที่ 1 ความจาํ เปนและคุณคา ของธุรกจิ เชิงรกุ ธุรกิจเชิงรุก หมายถึง การบริหารจัดการธุรกิจแบบมีแบบแผนเปนระบบการ พฒั นางานที่ดี อํานวยประโยชนใหกับผูประกอบการ สามารถวางแผนติดตามและควบคุมให การดาํ เนินงานในทุกดานไดอ ยางมีประสิทธิภาพ ความจําเปนและคุณคาของธุรกิจเชิงรุก ธุรกิจเชิงรุกเปนความพยายามที่จะหา วธิ กี ารใหไ ดเ ปรียบทางการแขงขนั ทางธรุ กจิ เปนการพัฒนาสินคาใหตรงกับความตองการของ ผูบริโภค สินคาไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่องตลอดเวลา ผูบริโภคมีโอกาสเลือกซ้ือสินคาได อยา งหลากหลาย เปาหมายทสี่ าํ คญั ท่สี ุดของธรุ กิจเชิงรุกคอื การชวงชิงสวนแบงการตลาดจาก คูแขงขันมาเปนของตนใหไดมากทส่ี ุด เร่ืองที่ 2 การแทรกความนิยมเขาสูความตองการของผูบริโภค ความตองการของผูบริโภค หมายถึง ความอยากไดในสินคาและบริการซ่ึงทําให เกดิ ความพอใจเมือ่ ความตอ งการและความอยากไดร บั การตอบสนองทั้งจากประโยชนใชสอยใน ตวั สนิ คา และบริการ และอรรถประโยชนจากการบริโภคสินคาน้ัน ความตองการของผูบริโภค แบง ออกได 2 ประเภทใหญ ๆ คือ 1. ความตองการทางดานรางกาย คือ ความหิว การนอน การพกั ผอน ความอบอนุ 2. ความตองการดานอารมณหรือจิตวิทยา คือ ความปลอดภัย ความรัก การยอมรับ ความพอใจ ความงาม ดังน้ัน นักการตลาดตองเขาใจความตองการของผูบริโภคในทุก ๆ ดาน เพ่ือการ ผลติ สินคาและบริการใหต รงตามความตอ งการใหม ากทส่ี ุด ความนยิ ม เปน สิง่ สาํ คัญท่นี ักการตลาดตองใหความสําคญั เปนอยางย่ิงในการผลิต สินคาและบรกิ ารใหตอบสนองความตอ งการของผูบริโภคในดา นความนิยม เนื่องจากความนิยม เปน ส่ิงที่จะเปลีย่ นแปลงไปไดต ลอดเวลา

32 การแทรกความนยิ มในตัวสนิ คาใหก บั ผบู ริโภค สามารถดาํ เนนิ การไดใ น หลากหลายวิธกี าร เชน 1. การโฆษณา เปน ชองทางใหผ บู รโิ ภคไดรับรใู นตวั สินคา ในดานภาพลักษณ ไดมากท่ีสุด โดยการประชาสมั พนั ธผ า นชองทางตา ง ๆ เชน หนงั สอื พมิ พร ายวัน แผนพับ ใบปลิว เสียงตามสาย รายการวทิ ยุ รายการโทรทัศน และการเสนอสนิ คา ผานทาง อินเทอรเน็ต 2. การจัดแสดงสินคา เปนชองทางใหผูบริโภคไดทดลองใช เขาถึงและรับรูถึง รายละเอียดของสินคา ไดม ากท่สี ดุ กอนการตดั สินใจเลือกซอื้ เร่ืองที่ 3 การสรางรูปลกั ษณคณุ ภาพสนิ คา ใหม รปู ลักษณค ณุ ภาพสินคาใหม จะมีการสรางข้ึนอันเนื่องมาจากการวางแผนกลยุทธ ในขั้นตอนการเจริญเติบโตของตลาด ดังนี้ 1. การเพ่ิมรูปลักษณใหมของสินคา เน่ืองจากลูกคามีจํานวนเพ่ิมมากข้ึน มีความ ตอ งการ ท่หี ลากหลายมากขึ้น ดังนั้นผูขายจึงจําเปนตองมีสินคาที่หลากหลายเพ่ือตอบสนอง ความตอ งการของลกู คา 2. การขยายชอ งทางการจําหนาย จํานวนลูกคาท่ีเพ่ิมขึ้นมาจากหลายพ้ืนท่ี ดังน้ัน ผูผลิตจะตองขยายชองทางการจําหนายใหกวางขวางข้ึนเพ่ือใหลูกคาเกิดความสะดวกในการ จับจายใชสอย เชน การขยายสาขาของกิจการ การจําหนายสินคาทางอินเทอรเน็ต การมี ตวั แทนการจําหนา ย 3. การสง เสริมการตลาดใหเ กิดความชอบในตราหรอื ย่ีหอ สินคา โดยเฉพาะอยางย่ิง วัตถุประสงคของการโฆษณาตองเปลี่ยนจากการสรางการรับรู มาเปนการสรางคุณภาพในตัว สินคาแทน เพ่อื ใหล กู คา ตดั สนิ ใจซื้อสินคาของเราแทนสนิ คา ของคูแ ขง ขนั การแสวงหาขอมูลเก่ยี วกับการผลิตสินคา ใหม 1. ลูกคา เปน แหลงขอมลู ท่ีสาํ คัญทสี่ ดุ ความตอ งการของลูกคา ขอเสนอแนะ คําติ ชม จะถูกแปรมาเปนผลิตภัณฑใ หม 2. ชองทางการจําหนายหรือรานคาตาง ๆ โดยปกติลูกคาจะระบายความรูสึก ปญหาตาง ๆ เก่ียวกับการใชผลิตภัณฑใหกับรานจําหนายสินคา ดังน้ัน รานคาหรือตัวแทน จําหนา ย จงึ เปน แหลงสะสมขอ มูลจากลูกคาไดเปน อยางดี

33 3. คูแขงขัน เมื่อคูแขงขันนําสินคาตัวใหมออกสูตลาด แตเปนสินคาที่มีขอบกพรอง ไมป ระสบความสาํ เรจ็ ผูผลติ สามารถนาํ ขอ มูลมาพัฒนาผลติ ภณั ฑใ หมข องตนได 4. แหลงความคิดภายในกิจกรรม ไดจากความคิดเห็นของพนักงานเจาหนาที่ระดับ ตางๆ นาํ มาดดั แปลง คิดคน ผลิตภัณฑตวั ใหม 5. งานวจิ ยั บทความ ของนักวิชาการ สถาบนั การศึกษาตาง ๆ สามารถนํามาเปน ขอ มลู ประกอบการตดั สนิ ใจผลิตสินคาตวั ใหม หรอื พัฒนารปู แบบผลิตภัณฑได เรอื่ งที่ 4 การพัฒนาอาชพี ใหม คี วามม่นั คง การพัฒนาอาชีพเขา สูความมน่ั คง ผทู ี่ประสบความสําเร็จจะมลี กั ษณะการทํางาน ที่ขึ้นอยูกับองคป ระกอบอยา งนอย 3 ประการ ดังนี้ 1. การลดความเสี่ยงในผลผลติ 2. ความมุงมน่ั พัฒนาอาชพี 3. การยึดหลักคุณธรรม การลดความเสีย่ งในผลผลติ ปจจัยสําคญั ทจ่ี ะทําใหอัตราการเสยี่ งของผลผลิตลดลง ดงั นี้ 1. การสรางความหลากหลาย เปนการสรางกิจกรรมอาชีพใหไดผลผลิต ทหี่ ลากหลายรองรับการเสย่ี งดว ยการแขง ขนั และราคาของตลาด 2. การเพ่มิ ผลผลิต เปนการควบคุมดูแลบํารงุ รักษาใหผ ลผลิตเพ่มิ มากขึ้น 3. การหมุนเวียนเปล่ียนรปู เปนกิจกรรมการหมุนเวียนเปลี่ยนผลิตภัณฑใหมเขาสู ตลาด 4. การจัดการรายได จากการซ้ือขายผลผลิต ผลิตภัณฑแปรรูป ใชในการเก็บออม การวางแผนการลงทุน ดําเนนิ อาชพี ตอไป ผทู ป่ี ระสบผลสาํ เร็จในอาชีพจะมงุ มัน่ จัดการปจ จยั ท้งั 4 ประการใหมีประสิทธิภาพ สูงข้นึ

34 ความมุงมั่นในการพฒั นาอาชีพ มีลกั ษณะความสาํ คัญ ดงั นี้ 1. คุณภาพผลผลิต เปนเรื่องท่ีเราจะตองใหคุณภาพตรงความตองการของลูกคาให มากทีส่ ดุ เพ่อื ใหลูกคา ม่นั ใจไดว า จะไดร ับสนิ คาและบรกิ ารทดี่ ีเปนไปตามความคาดหวัง 2. ลดตนทุนการผลิต คือ การลดคาใชจายท่ีไมจําเปนในการผลิตลง การกําหนด ราคาผลผลติ ที่จะตอ งเปนราคาที่ลูกคา สามารถซื้อผลผลิตของเราได การลดตนทุนจึงเปนเรื่อง สาํ คญั ทเ่ี ราจะตองศึกษาเรียนรูหาวิธีการที่เหมาะสม ไมใชลดตนทุนกับคาแรงงานแตเปนการ บรหิ ารจดั การใหล ดความเสยี หายในปจจยั การผลติ และการจัดการใหไ ดผ ลผลิตสูง 3. การสงมอบผลิตผลใหล ูกคา ตองเปน ไปตามขอตกลงท้ังเวลานัดหมายและจํานวน ผลผลิต ตัวอยางเชน อาชีพตัดเย็บเส้ือผา สวนใหญมักจะผิดนัดทําใหเสียหายกับลูกคาท่ีมี กําหนดการจะใชเสอื้ ผา จึงหนั ไปใชบ รกิ ารเส้ือผา สําเรจ็ รูปทม่ี ีความสะดวก มองเห็นสินคาและ ตัดสินใจเลือกซื้อไดท ันที 4. ความปลอดภัย ท้ังผูผลิตและผูบริโภคผลผลิต เชน อาชีพเกษตรอินทรีย คนงานไมมโี อกาสสัมผสั กับสารพษิ ทําใหก ารทํางานปลอดภัย ขณะเดียวกันผลผลิตจากเกษตร อินทรยี กเ็ ปน อาหารทปี่ ลอดภยั การยดึ หลกั คุณธรรม การยดึ หลักคณุ ธรรม เปน พฤติกรรมภายในของผูประกอบอาชีพ ที่สําคัญสงผลตอ ความม่ันคงของอาชีพ ดังน้ี ความขยัน ความประหยัด ความซ่ือสัตย ความอดทน คุณธรรมทั้ง 4 ประการ สามารถปรับเปลี่ยนและตกแตงพฤติกรรมเพ่ือใชเปนเคร่ืองมือสรางความสําเร็จ ใหก บั ตนเองได 1. ความขยัน มีลักษณะพฤติกรรมของการทําอะไรอยางเอาจริงเอาจัง แข็งขันไมเกียจ ครา น ถาผปู ระกอบอาชีพ เปนอยางน้ี เขาจะมองเห็นงานอยางทะลุไปขางหนามุงมั่นเอาจริงเอา จงั ยกระดบั ความสาํ เร็จไปอยางตอ เนอื่ ง ความม่ันคงก็จะเกิดข้ึน 2. ความประหยัด เปนพฤตกิ รรมของการยับย้ัง ระมัดระวังการใชจายใหพอ สรางความ คมุ คาใหม ีความ เสยี หายนอ ยท่ีสุด พฤติกรรมเชน นีเ้ ปนเรอ่ื งของความรอบคอบในการทํางาน 3. ความซ่ือสัตย เปนลักษณะการประพฤติตรงและจริงใจตอลูกคา ทีมงานไมคิด ทรยศ คดโกงหลอกลวง คคู า ผรู ว มทนุ เปนพฤติกรรมท่สี รางความภกั ดี ความไววางใจตอลูกคา ทีมงาน หนุ สว น

35 4. ความอดทน มีลักษณะพฤติกรรมท่ีสามารถ อดกลั้น งดเวน อดทนไดกับความ ยากลาํ บาก ไมท งิ้ งาน ไมยกเลกิ ขอตกลงงาย ๆ สรุป ความม่นั คงในอาชพี เปน การจัดการทางจิตใจของผูประกอบการและระบบงานให การประกอบอาชีพดําเนินไปอยางมีความแนนอน ทนทาน ลมสลายไดยาก โดยอาศัยพื้นฐาน ของการคิดเปนองคประกอบของการพัฒนาอาชีพสูความมั่นคง โดยใชหลักปรัชญา “คิดเปน” โดยมีขอมลู ดานตาง ๆ ดังนี้ 1. ดา นตนเอง อยบู นฐานของคณุ ธรรม 2. ดานสังคม อยูบ นฐานของการพฒั นา 3. ดา นวชิ าการ อยบู นฐานของการลดความเสีย่ งในผลผลิต ซึ่งเปนกระบวนการท่ีตองใชขอมูล เขามาคิดวิเคราะหสรางสรรค และตัดสินใจ อยางเปนระบบ จะนาํ อาชีพไปสูความมน่ั คงได สวนการนํา “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มาเปนแนวทางในการพัฒนา อาชีพ สคู วามมน่ั คง ภายใต 3 หว ง 2 เงอ่ื นไข ไดแ ก ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และมี ภมู ิคุมกนั ในตัวท่ดี ี และเงอื่ นไขของความรคู ูคณุ ธรรม

36 แบบฝกหัด จงเลอื กคําตอบท่ถี กู ตอ งทส่ี ุดในแตละขอ จากคําถามตอ ไปนี้ 1. เปา หมายสําคญั ของธุรกจิ เชงิ รุกควรเปนอยางไร ก. รานเจริญดี โจมตีรานคแู ขง ข. รา นเจรญิ ย่ิง คน หาจดุ ออนรานคูแขง ค. รานเจริญทรพั ย ประเมินจุดแขง็ รา นคูแขง ง. รานเจริญจรงิ ชิงสว นแบง ทางการตลาดจากรา นคแู ขงได 2. ขอใดตอ ไปน้จี ดั วาเปนการทาํ ธุรกจิ เชิงรุก ทีป่ ระสบความสาํ เร็จมากทส่ี ุด ก. ราน เซเวน อเี ลฟเวน ข. หางสรรพสินคา บิ๊กซี ค. รานกาแฟในปมนา้ํ มัน ง. รานขายของโชหว ยในทองถ่ิน 3. ถา หากทา นเปนผูผ ลติ แชมพูสมุนไพรยหี่ อ หน่งึ ทา นจะมีวิธกี ารอยางไร ท่ีจะทาํ ใหผูบรโิ ภค เขาถงึ และรบั รูร ายละเอียดผลิตภณั ฑข องทานไดมากท่ีสดุ ก. การจัดแสดงสนิ คา ข. การโฆษณาทางวทิ ยุ ค. การแจกเอกสารใบปลวิ ง. การโฆษณาทางโทรทัศน 4. ขอใดตอไปน้ี ควรดําเนินการกอนท่ีจะนําสินคา ใหมเ ขาสตู ลาด ก. การทดลองขายสนิ คา ข. การลด แลก แจก แถม ค. การศกึ ษาความตองการของผซู อ้ื ง. การทุมงบประมาณในการโฆษณา

37 5. ขอ ใดเปนปจจยั สําคัญในการลดความเสี่ยงของการผลติ สินคา ก. การสรา งความหลากหลายในตัวสนิ คา ข. การเพ่มิ จาํ นวนสาขาในการจาํ หนายสินคา ค. การเพิ่มสนิ คาตามความตอ งการของตลาด ง. การหมนุ เวยี นเปลย่ี นสินคาใหม ๆ เขาสูตลาด 6. ขอใดตอไปน้ีท่ีแสดงใหเห็นวา อาชีพยงั ขาดความม่นั คง ก. สินคาไดรบั ความนิยมจากผูซ้ือ ข. มสี นิ คาท่หี ลากหลายและมคี ุณภาพ ค. มีการผลติ สินคาออกสตู ลาดอยา งสม่าํ เสมอ ง. รายไดจ ากการประกอบอาชีพขึน้ อยูกบั ยอดขาย 7. หลกั ธรรมขอใดทจ่ี าํ เปน มากทส่ี ุดในการทาํ ธรุ กิจเก่ียวกับการขายประกนั ชีวติ ก. ความมีวนิ ยั ข. ความประหยดั ค. ความซ่อื สตั ย สุจรติ ง. ความกตญั ู กตเวที 8. สมมตวิ า ทานมอี าชีพเกษตรกร ปลูกผักสง ขายใหกับตลาดในชมุ ชน ทา นจะมหี ลักการอยางไร ในการพฒั นาอาชพี ใหม คี วามม่นั คง ก. หลกั การปลูกพืชหมุนเวียน ข. หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ค. หลักการทําการเกษตรตามทฤษฎใี หม ง. หลักการทาํ การเกษตรแบบผสมผสาน 9. มาลเี ปดรา นขายขา วแกง กิจการเจริญรงุ เรือง มาลีควรพัฒนากิจการอยา งไรจึงจะเหมาะสม ทส่ี ดุ ก. ขายแฟรนไชน ข. รับพนกั งานเพ่ิม ค. ขยายรา นสาขาเพ่ิมขึน้ ง. เพ่มิ รายการอาหารใหม ากข้ึน

38 10. ขอ ใดเปนวิธีการท่จี ะพฒั นาอาชีพใหม คี วามม่นั คง ก. การเพิ่มกําลังการผลติ ข. การเพม่ิ ตน ทุนการผลิต ค. การควบคุมคณุ ภาพผลผลิต ง. การสงมอบผลผลติ ตามสะดวก

39 บทที่ 5 โครงการพัฒนาอาชีพใหม ีความม่นั คง เรอ่ื งที่ 1 การวเิ คราะหค วามเปน ไปไดของแผนการตลาด การผลติ หรอื การบรกิ าร แนวคิดของการจดั ทําแผนและวตั ถุประสงคของการจดั ทําแผน ในการวเิ คราะหค วามเปน ไปไดข องแผนการตลาด การผลิตหรือบริการ ส่ิงที่ผูเรียน ควรคํานงึ ถึงส่ิงแรกคือ ความเขาใจในเรื่องของการจัดทําแผน หรือเรียกใหงายคือ แผนปฏิบัติ การ ซงึ่ เปน การแปลงความคดิ วา จะกระทาํ สิ่งใด มีเปาหมายท่ีตัง้ ไวแ ละมีความเปนไปไดเพียงใด มีกระบวนการหรือขั้นตอนในการดําเนินงานใหบรรลุตามวัตถุประสงคนั้นอยางไร สําหรับ วัตถุประสงคของการจัดทําแผนก็เพ่ือใหเกิดความมั่นใจวามีแนวทางในการสรางความสําเร็จ ตามท่ีไดต้ังเปาหมายไว เพ่ือเปนการจัดลําดับความสําคัญ ความเรงดวนของการทํางานไว ลวงหนา เปนการปองกันความขัดแยงหรือความผิดพลาดหรือความซ้ําซอนงานท่ีอาจเกิดข้ึน เพื่อใชในการกําหนดวาใครทําอะไร เม่ือไร อยางไร ใชงบประมาณเทาไร ซ่ึงในการการจัดทํา แผนหรือแผนปฏิบตั กิ ารมักใชรปู แบบของการเขยี นโครงการโดยมีหัวขอสําคัญตามขั้นตอนและ รายละเอียดทีม่ ีการวเิ คราะหค วามเกีย่ วขอ งกนั ของการจัดทําโครงการใหสาํ เรจ็ เร่ืองท่ี 2 การเขยี นโครงการพฒั นาอาชพี การเขียนโครงการพัฒนาอาชีพเปนการเขียนแผนปฏิบัติการในรูปแบบโครงการ พัฒนาอาชีพ บอกถึงขอมูลท่ีไดวิเคราะหความเปนไปไดของการดําเนินงานกอนการตัดสินใจ เลอื กโครงการพัฒนาอาชีพทจี่ ะทาํ โดยผูประกอบอาชีพหรือประกอบธุรกิจมีการวิเคราะหความ เปนไปไดของแผนการตลาดในดานตาง ๆ โดยการวิเคราะห สวนที่เก่ียวของ เชน การขาย การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ สวนครองตลาด สวนผสมการตลาด ความพึงพอใจของลูกคา เปนตน ซึ่งขอมูลดังกลาวจะชวยใหผูประกอบธุรกิจมีขอมูลการเลือกและวิเคราะหโครงการ เบื้องตน มีขอมูลการประเมินเพอปรับปรุงโครงการ และทราบถึงการปรับปรุงภาพรวมของ โครงการ สําหรับแบบฟอรมการจัดทําโครงการพัฒนาอาชีพมีสาระสําคัญ 10 ขั้นตอน ตาม ตวั อยา งและคาํ อธบิ าย ดงั น้ี

40 1. ชื่อโครงการ (ระบุช่ือโครงการพฒั นาอาชพี วา ตอ งการทําอาชีพอะไร) 2. หลกั การและเหตุผล (อธบิ ายถึงความสาํ คัญหรอื เหตผุ ลของการทําโครงการ) 3. วตั ถุประสงคของโครงการ (อธบิ ายถงึ วตั ถุประสงควา ทําเพื่ออะไร) 4. วธิ ดี าํ เนนิ การและระยะเวลา (ระบุถึงวิธีการทําโครงการ/บอกถึงข้ันตอนการทํา โครงการและระยะเวลาการทาํ โครงการตั้งแตเ รมิ่ ตน จนถึงสิน้ สุดโครงการ) 5. เปา หมาย (ระบุถงึ ผลผลติ หรือเปาหมายที่บอกถึงปริมาณและคณุ ภาพ) 6. สถานท่ี (ระบุสถานทกี่ ารจัดทําโครงการพัฒนาอาชีพ) 7. งบประมาณ (ระบุงบประมาณท่ีจะใชในโครงการและระบุแหลงที่มาของ งบประมาณ) 8. การติดตามประเมนิ ผล (อธิบายถงึ การติดตามกระบวนการทําโครงการวามีการ กําหนดการติดตามระยะใดบาง เชน กอนดําเนินโครงการ ขณะดําเนินโครงการ และเสร็จสิ้น โครงการ) 9. ประโยชนท ี่คาดวา จะไดรบั /ผลท่ีคาดวาจะไดรบั (ระบุถึงผลสําเรจ็ หรือส่ิงท่ีไดรับ จากโครงการเมือ่ เสร็จสิน้ โครงการแลวไดร บั อะไร) 10. ผูรับผดิ ชอบโครงการ (ระบุเจาของธุรกิจ/ผูประกอบการหรือช่ือกลุมท่ีรวมทํา โครงการ) 11.ตัวชว้ี ัดความสําเร็จของโครงการ (ตัวชี้วัดท่ีแสดงผลงานในรูปของเชิงปริมาณและ เชิงคณุ ภาพ ทเ่ี กดิ จากวัตถปุ ระสงคข องโครงการ) เร่ืองที่ 3 การตรวจสอบความเปน ไปไดข องโครงการพฒั นาอาชีพ การตรวจสอบความเปนไปไดของโครงการพัฒนาอาชีพ เปนการพิจารณาวา ผูประกอบอาชีพหรือผูประกอบการไดผานการวิเคราะหขอมูลและรายละเอียดตาง ๆ ตาม ข้ันตอนโครงการพัฒนาอาชีพโดยมีการตรวจสอบความเปนไปไดและเพื่อการปรับปรุงแกไข โครงการ ดังน้ัน จําเปนตองเรียนรูและอาศัยประสบการณในการทําแผนงานหรือแผนธุรกิจ โครงการพัฒนาอาชพี สูความมนั่ คงโดยมีกรอบแนวคดิ หรอื แนวทางการดําเนนิ งาน ดังน้ี 1. วิเคราะหสรุปความตองการในการพัฒนาในดานใดของโครงการพัฒนาอาชีพ เชน พบวาจาํ เปนตอ งพฒั นาในเรือ่ งการจัดการจดั การรายได การลดตนทุน การสงมอบผลผลิต เปนตน

41 2. วเิ คราะหท รัพยากรท่ตี องการใชใ นการพัฒนาโครงการพัฒนาอาชพี มจี ุดประสงค เพื่อใหการกําหนดแผนงานที่เก่ียวของกับการใชทรัพยากรที่มีอยูกับระยะเวลาท่ีกําหนดใหมี ความสัมพนั ธก นั 3. วิเคราะหแผนงาน กระบวนการ และความเปนไปไดที่จะบรรลุผลสําเร็จ เพื่อตัดสินใจ เปนการวิเคราะหความเปนไปไดตามจุดประสงคหรือประเด็นท่ีตองการแกไข ปญหา 4. วิเคราะหผลผลิตหรือผลท่ีเกิด และผลกระทบเพื่อการตัดสินใจจะทําตอหรือ ยกเลิก เปนการวิเคราะหผลท่ีเกิดหรือผลกระทบโดยมีเปาหมายวาผลเหลานี้สามารถบงชี้ถึง ความมั่นคงทีจ่ ะดําเนนิ โครงการพฒั นาอาชีพตอ ไป หรอื จะยกเลกิ โครงการ เร่ืองท่ี 4 การปรบั ปรงุ โครงการพฒั นาอาชพี การปรับปรุงโครงการพฒั นาอาชีพเปนกระบวนการตรวจสอบและวิเคราะหขอมูล ตาง ๆ ของโครงการพฒั นาอาชพี อยา งมรี ะบบโดยพจิ ารณาจากขอมูลและรายละเอียดของการ จดั ทาํ โครงการพฒั นาอาชีพและมีแนวทางการประเมนิ 3 ดา น ไดแก 1. การประเมินขอมูลนําเขา หรือปจจัยนําเขา เปนการประเมินเพ่ือใหทราบวา โครงการที่กําหนดข้ึนมีทรัพยากรที่เหมาะสมเพียงพอเพียงใด เชน ความพรอมของบุคลากร งบประมาณ เคร่ืองมือ/อุปกรณ การตลาด และการบริหารจัดการ การตรวจสอบในขอน้ีเปน การทบทวนความเหมาะสมของทรพั ยากรทีจ่ ะตองใชเพือ่ บรหิ ารโครงการน่ันเอง 2. การประเมนิ กระบวนการ เปนการตรวจสอบวิธีการดําเนินโครงการวามีข้ันตอนท่ี จะนาํ ไปสูการบรรลุ วัตถุประสงคห รอื จุดมุง หมายทกี่ าํ หนดไวใ นโครงการ 3. การประเมินผลงาน เปนการตรวจสอบผลลัพธหรือผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการ บริหารโครงการกับระยะเวลาหรือขอมูลนําเขาวามีความคุมคาหรือผลประโยชนที่ไดรับมาก นอ ยเพียงใด พิจารณาจากสัดสวนของผลผลิตตอคา ใชจาย สัดสวนผลผลิตตอเวลา หรือสัดสวน ของผลผลติ ตอกําลังคน เปนตน สรปุ การวเิ คราะหค วามเปนไปไดของแผนการตลาด การผลิตหรือบริการ เปนการแปลง ความคิดใหอยูในรูปแบบของการจัดทําแผนปฏิบัติการโดยมีจุดมุงหมายหรือวัตถุประสงคของ การจัดทําแผนใหบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายที่ตั้งไว และนําไปสูการเขียนโครงการพัฒนา

42 อาชีพซ่ึงใชรูปแบบการเขียนโครงการตามข้ันตอนและมีการตรวจสอบความเปนไปไดของ โครงการพัฒนาอาชพี ดวยกระบวนการวิเคราะหปจจัยนําเขาเปนเรื่องทรัพยากรในการบริหาร โครงการ วเิ คราะหวธิ กี ารและขั้นตอนท่ีใชในการบริหารจัดการ และการวิเคราะหผลผลิตหรือ ผลลัพธที่เกิดข้ึนเพ่ือการปรับปรุงโครงการพัฒนาอาชีพโดยใชหลักการประเมินขอมูลนําเขา ประเมินกระบวนการ และประเมนิ ผลงาน แบบฝก หัดท่ี 1 จงเลือกคาํ ตอบที่ถูกตองที่สดุ ในแตละขอ จากคําถามตอไปนี้ 1. ขอใดไมใชก ารวเิ คราะหความเปนไปไดของแผนการผลติ ก. การสรปุ ผลการปฏบิ ตั งิ าน ข. การออกแบบสนิ คาและบริการ ค. การตัดสนิ ใจเร่อื งกําลงั การผลติ ง. การวางแผนอัตรากาํ ลงั พลในการผลิต 2. การวเิ คราะหก ารจดั ทําแผนการตลาดมีความจาํ เปน อยา งไร ก. ชว ยใหสนิ คา มรี าคาสูงขึ้น ข. ผูป ระกอบการเขาถงึ แหลง เงนิ ทุน ค. ชวยใหผปู ระกอบการมฐี านะมัน่ คง ง. ชว ยใหผ ปู ระกอบการผลิตสนิ คา ตรงกับความตอ งการของผบู รโิ ภค 3. การจดั ทําแผนงานโครงการดา นการตลาดมคี วามจาํ เปนตอการพฒั นาดา นอาชีพอยางไร ก. ปฏบิ ตั งิ านไดตามจุดมงุ หมาย ข. ปฏบิ ัติงานไดตามแผนทวี่ างไว ค. ชวยในการประหยัดตน ทนุ ง. ชว ยในการพัฒนาอาชพี ใหประสบผลสาํ เร็จและมปี ระสทิ ธภิ าพ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook