ก
ข เอกสารสรุปเน้อื หาท่ตี อ งรู รายวิชา ทักษะการเรยี นรู ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย รหัสวชิ า ทร31001 หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาํ นกั งานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สาํ นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หามจําหนาย หนงั สือเรยี นนจี้ ัดพมิ พดวยเงินงบประมาณแผนดินเพ่อื การศกึ ษาตลอดชวี ติ สําหรบั ประชาชน ลิขสิทธเ์ิ ปนของสาํ นักงาน กศน.สาํ นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ง สารบญั หนา คาํ นํา สารบัญ คําแนะนําการใชเ อกสารสรปุ เน้อื หาทต่ี อ งรู บทที่ 1 การเรยี นรดู ว ยตนเอง 1 เรอ่ื งที่ 1 ความหมาย ความสาํ คัญ และกระบวนการของการเรียนรดู วยตนเอง 1 เรอ่ื งท่ี 2 ทกั ษะพน้ื ฐานทางการศกึ ษาหาความรู ทกั ษะการแกป ญหาและเทคนิค การเรียนรูดว ยตนเอง การวางแผนการเรยี นรูและการประเมินผลการเรยี นรู ดว ยตนเอง 4 เร่อื งที่ 3 ทักษะท่จี าํ เปนในการเรยี นรดู วยตนเอง 7 กิจกรรมทา ยบทท่ี 1 9 บทที่ 2การใชแหลงเรยี นรู 11 เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสาํ คัญ ประเภทแหลง เรยี นรู 11 เร่ืองท่ี 2 ขอควรคาํ นึงในการศกึ ษาเรียนรูก บั แหลง เรียนรูตาง ๆ รวมทง้ั นวัตกรรมและเทคโนโลยี 15 กจิ กรรมทายบทท่ี 2 16 บทที่ 3การจดั การความรู 18 เรื่องท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญ และหลักการของการจัดการความรู 18 เรอื่ งท่ี 2 ทักษะการจัดการความรดู ว ยตนเอง และดว ยการรวมกลมุ ปฏิบัติการ 21 เรอ่ื งที่ 3 การสรปุ องคความรูของกลุม จดั ทาํ สารสนเทศองคความรใู นการพฒั นาตนเอง23 กจิ กรรมทายบทท่ี 3 27
สารบญั (ตอ) จ หนา บทที่ 4การคิดเปน 30 เร่อื งท่ี 1 ความเชอ่ื พ้นื ฐานทางการศกึ ษาผูใ หญ/การศกึ ษานอกระบบท่เี ช่อื มโยงมาสู ปรัชญาคิดเปน 30 เร่อื งที่ 2 ความหมาย ความสาํ คัญของการคดิ เปน 33 เรือ่ งท่ี 3 การรวบรวมและวเิ คราะหส ภาพปญหาของตนเอง ครอบครัว ชมุ ชนและคิด วิเคราะห โดยใชขอ มลู ดา นตนเอง วิชาการและสงั คมสง่ิ แวดลอ ม 35 เรอ่ื งที่ 4 กระบวนการและเทคนิคการเก็บขอ มูล การวิเคราะหแ ละสงั เคราะหขอมูล ทัง้ 3 ประการของบุคคล ครอบครัว และชุมชน เพื่อประกอบการคดิ การตดั สนิ ใจ 41 เรอ่ื งที่ 5 การกาํ หนดแนวทางทางเลอื กทหี่ ลากหลายในการแกป ญ หาอยา งมเี หตผุ ล มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความสขุ อยา งยั่งยืน การประยกุ ตใ ชอยางมีเหตุผล เหมาะสมกบั ตนเอง ครอบครัว และชมุ ชน/สงั คม 44 กิจกรรมทา ยบทท่ี 4 46 บทท่ี 5การวิจัยอยางงาย 50 เรือ่ งที่ 1 ความหมาย ความสําคญั การวิจัยอยา งงาย กระบวนการและข้ันตอน ของการดาํ เนนิ งาน 50 เรอ่ื งที่ 2 สถิติงา ย ๆ เพ่ือการวจิ ยั 52 เรื่องที่ 3 การสรา งเครื่องมือการวจิ ัย 53 เรื่องที่ 4 การเขยี นโครงการวิจยั อยางงา ย 55 เรื่องท่ี 5 ทักษะการวิจัยในอาชีพ การเขยี นรายงานการวิจยั อยางงาย และการเผยแพรผ ลงานการวิจัย 59 กิจกรรมทา ยบทท่ี 5 66
สารบัญ (ตอ) ฉ บทท่ี 6ทกั ษะการเรยี นรแู ละศกั ยภาพหลกั ของพน้ื ท่ีในการพฒั นาอาชพี หนา เรื่องที่ 1 ความสําคัญของศักยภาพหลกั ของพ้ืนที่ในการพัฒนาอาชพี เรื่องท่ี 2 การวเิ คราะหศ กั ยภาพหลกั ของพื้นทีใ่ นการพฒั นาอาชีพ 67 เรื่องที่ 3 ตวั อยา งอาชีพท่สี อดคลอ งกับศกั ยภาพหลักของพ้ืนที่ 67 กิจกรรมทา ยบทที่ 6 68 69 บรรณานกุ รม 78 คณะผจู ัดทาํ 79 80
ช คาํ แนะนําการใชเอกสารสรปุ เนือ้ หาท่ตี องรู เอกสารสรุปเน้ือหาที่ตองรูฉบับน้ี เปนการสรุปเนื้อหาจากหนังสือเรียน รายวิชาทักษะ การเรียนรู ทร 31001 ตามหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2554) เพื่อใหผูเรียน กศน. ทําความเขาใจและเรียนรูในสาระสําคัญ ของเนือ้ หารายวชิ าทกั ษะการเรยี นรู ในการศึกษาเอกสารสรปุ เนื้อหาทต่ี องรูฉ บบั นี้ ผูเรยี นควรปฏบิ ัติ ดังน้ี 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาทักษะการเรียนรู ทร 31001 หลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2554) ใหเขา ใจกอน 2. ศึกษารายละเอียดเน้ือหาในเอกสารสรุปเนื้อหาที่ตองเรียนรู ใหเขาใจทีละบท หลังจากนั้นทํากิจกรรมทา ยบท ใหค รบทุกกิจกรรม จาํ นวน 6 บทเรยี น 3. หากตอ งการศึกษารายละเอียดเนื้อหารายวิชาทักษะการเรียนรูเพ่ิมเติม ผูเรียน กศน. สามารถศึกษาหาความรูเพิ่มเติมจากตํารา หรือหนังสือเรียนท่ีมีอยูในหองสมุด กศน.ตําบล หรอื จากครผู สู อน
1 เรอื่ งที่ 1 ความหมาย ความสําคัญ และกระบวนการของการเรียนรดู วยตนเอง ความหมายของการเรียนรูดวยตนเอง การเรยี นรูเปน เรือ่ งของทกุ คน ศกั ดิ์ศรีของผูเรียนจะมีไดเม่ือมีโอกาสในการเลือกเรียนใน เร่ืองที่หลากหลายและมีความหมายแกตนเอง การเรียนรูท่ีเกิดขึ้น มิไดเกิดข้ึนจากการฟงคํา บรรยายหรือทําตาม ท่ีครผู สู อนบอก แตอ าจเกดิ ข้นึ ไดในสถานการณต าง ๆ ตอ ไปน้ี 1. การเรยี นรูโดยบงั เอิญ การเรียนรแู บบน้ีเกดิ ข้นึ โดยบังเอญิ มไิ ดเกิดจากความตง้ั ใจ 2. การเรียนรูดวยตนเอง เปนการเรียนรูดวยความต้ังใจของผูเรียน ซึ่งมีความ ปรารถนาจะรูในเรื่องนั้น ผูเรียนจึงคิดหาวิธีการเรียนดวยวิธีการตาง ๆ หลังจากนั้น จะมีการ ประเมนิ ผลการเรียนรูดวย ตนเอง จะเปน รูปแบบการเรยี นรูท่ีทวีความสําคัญในโลกยุคโลกาภิวัตน บคุ คลซึ่งสามารถปรบั ตนเองใหต ามทันความกาวหนา ของโลก โดยใชส ่อื อุปกรณยคุ ใหมได จะทาํ ให เปน คนทมี่ ีคณุ คาและประสบความสาํ เรจ็ ไดอ ยางดี 3. การเรียนรูโดยกลุม การเรียนรูแบบนี้เกิดจากการท่ีผูเรียนรวมกลุมกัน แลวเชิญ ผทู รง คณุ วุฒมิ าบรรยายใหก ับสมาชกิ ทําใหสมาชกิ มีความรเู ร่ืองทีว่ ิทยากรพดู 4. การเรียนรูจากสถาบันการศึกษา เปนการเรียนแบบเปนทางการ มีหลักสูตรการ ประเมินผล มีระเบียบการเขาศึกษาที่ชัดเจน ผูเรียนตองปฏิบัติตามกฎระเบียบที่กําหนด เม่อื ปฏิบัตคิ รบถวนตามเกณฑท่ีกําหนด ก็จะไดร บั ปริญญาหรือประกาศนียบตั ร การเรยี นรดู ว ยตนเอง หมายถึง กระบวนการเรียนรูที่ผูเรียนริเร่ิมการเรียนรูดวยตนเอง ตามความสนใจ ความตองการและความถนัด มีเปาหมาย รูจักแสวงหาแหลงทรัพยากรของการ เรียนรู เลอื กวธิ กี ารเรียนรู จนถงึ การประเมินความกาวหนาของการเรียนรขู องตนเอง การเรียนรูด ว ยตนเองมอี ยู 2 ลกั ษณะ คอื 1. ลักษณะท่ีเปนการจัดการเรียนรูท่ีมีจุดเนน ใหผูเรียนเปนศูนยกลางในการเรียน โดยเปนผูรับผิดชอบและควบคุมการเรียนของตนเอง โดยการวางแผนปฏิบัติการเรียนรูและ ประเมินการเรียนรูดวยตนเอง ซ่ึงไมจําเปนจะตองเรียนดวยตนเองเพียงคนเดียวตามลําพัง และ ผูเรยี นสามารถถายโอนการเรียนรแู ละทักษะไดจ ากสถานการณหนง่ึ ไปยังอกี สถานการณห นึ่งได
2 2. ในอีกลักษณะหน่ึง เปนลักษณะทางบุคลิกภาพท่ีมีอยูในตัวผูท่ีเรียนดวยตนเอง ทุกคน ซึ่งมอี ยูในระดับทไ่ี มเ ทา กนั ในแตละสถานการณการเรียน เปนลักษณะท่ีสามารถพัฒนาให สูงขน้ึ ได และจะพัฒนาไดส ูงสดุ เมอ่ื มกี ารจดั สภาพการจดั การเรยี นรูทเ่ี อ้ือกนั ความสําคญั ของการเรยี นรดู วยตนเอง การเรียนรูดว ยตนเองมีความสาํ คัญ ดงั น้ี 1. บุคคลที่เรียนรูดวยการริเร่ิมของตนเองจะเรียนไดมากกวา ดีกวา มีความต้ังใจ มจี ดุ มุงหมายและมีแรงจงู ใจสงู กวา สามารถนาํ ประโยชนจากการเรยี นรไู ปใชไดด กี วา และยาวนาน กวาคนทีเ่ รียนโดยเปน เพยี งผรู บั หรือรอการถายทอดจากครู 2. การเรียนรูดวยตนเองสอดคลองกับพัฒนาการทางจิตวิทยา และกระบวนการ ทางธรรมชาติ ทาํ ใหบุคคลมีทิศทางของการบรรลุวุฒิภาวะ จากลักษณะหนึ่งไปสูอีกลักษณะหนึ่ง คือเมื่อตอนเด็ก ๆ เปนธรรมชาตทิ จี่ ะตอ งพ่ึงพงิ ผูอืน่ ตอ งการผูป กครองปกปองเลยี้ งดูและตัดสินใจ แทนให เมือ่ เตบิ โตมีพฒั นาการขึ้นเรือ่ ย ๆ พฒั นาตนเองไปสูความเปน อิสระไมต องพึ่งพิงผูปกครอง ครแู ละผอู ่นื การพฒั นาเปน ไปในสภาพทีเ่ พ่มิ ความเปน ตัวของตัวเอง 3. การเรยี นรูด วยตนเองทาํ ใหผูเ รยี นมีความรับผิดชอบ ซึ่งเปน ลักษณะที่สอดคลอง กับพัฒนาการใหม ๆ ทางการศึกษา เชน หลักสูตรหองเรียนแบบเปด ศูนยบริการวิชาการ การศกึ ษาอยา งอสิ ระมหาวทิ ยาลยั เปด ลว นเนนใหผูเรียนรับผิดชอบการเรยี นรดู ว ยตนเอง 4. การเรียนรูดวยตนเอง ทําใหมนุษยอยูรอด สามารถปรับตัวใหทันตอความ เปล่ยี นแปลงใหม ๆ ทเ่ี กดิ ขึ้นเสมอ จึงมคี วามจําเปน ทจี่ ะตอ งศึกษาเรยี นรู การเรียนรูดวยตนเองจึง เปน กระบวนการตอ เนอ่ื งตลอดชวี ิต การเรียนรูดว ยตนเองมีลักษณะอยางไร การเรียนรูดวยตนเองสามารถจําแนกออกเปน 2 ลักษณะสาํ คญั ดังนี้ 1. ลกั ษณะท่ีเปน บคุ ลกิ คุณลักษณะสวนบุคคลของผูเ รียน 2. ลักษณะท่ีเปน การจดั การเรยี นรใู หผ ูเรียนไดเ รียนดว ยตนเอง องคป ระกอบของการเรียนรดู วยตนเองมอี ะไรบา ง ผูเรียนควรมีการวิเคราะหความตองการ วิเคราะหเนื้อหา กําหนดจุดมุงหมาย และการ วางแผน ในการเรียน มีความสามารถในการแสวงหาแหลง วิทยาการ และมีวิธีการประเมินผลการ เรียนรูดวยตนเอง โดยมีเพื่อนเปนผูรวมเรียนรูไปพรอมกัน และมีครูเปนผูช้ีแนะ อํานวยความ
3 สะดวกและใหคําปรึกษา ทั้งนี้ครูอาจตองมีการวิเคราะหความพรอม หรือทักษะที่จําเปนของ ผเู รยี นเพอ่ื กา วสูก ารเปนผูเรียนรดู ว ยตนเองได ลกั ษณะสาํ คญั ในการเรยี นรดู ว ยตนเองของผูเ รยี น มีดังนี้ 1. การมสี ว นรวมในการวางแผน การปฏิบัติตามแผน และการประเมินผลการเรียนรู ไดแกผเู รียนมสี ว นรว มวางแผนกิจกรรมการเรียนรูบนพนื้ ฐานความตองการของกลุมผเู รียน 2. การเรยี นรทู ่ีคํานึงถงึ ความสาํ คัญของผูเรียนเปนรายบุคคล ไดแก ความแตกตางใน ความสามารถ ความรพู ืน้ ฐาน ความสนใจเรียน วิธกี ารเรียนรู จัดเน้ือหาและสอื่ ใหเหมาะสม 3. การพัฒนาทักษะการเรยี นรูดวยตนเอง ไดแก การสืบคนขอมูล ฝกเทคนิคที่จําเปน เชน การสังเกต การอา นอยา งมีจุดประสงค การบันทึก เปน ตน 4. การพัฒนาทักษะการเรียนรูซ่ึงกันและกัน ไดแก การกําหนดใหผูเรียนแบงความ รบั ผิดชอบในกระบวนการเรยี นรู การทํางานเดยี่ ว และทํางานเปน กลุมท่มี ีทกั ษะการเรียนรตู างกัน 5. การพัฒนาทักษะการประเมนิ ตนเอง และการรว มมอื ในการประเมนิ กบั ผอู ืน่ กระบวนการในการเรยี นรดู ว ยตนเอง เปนวิธีการที่ผูเรียนตองจัดกระบวนการเรียนรูดวย ตนเองโดยดําเนนิ การ ดังน้ี 1. การวนิ จิ ฉัยความตองการในการเรียน 2. การกําหนดจดุ มุง หมายในการเรยี น 3. การออกแบบแผนการเรียน โดยเขียนสัญญาการเรียน เขยี นโครงการเรียนรู 4. การดําเนินการเรยี นรูจากแหลงวิทยาการ 5. การประเมินผล กระบวนการเรียนรดู ว ยตนเอง กระบวนการในการเรียนรูดวยตนเองน้ัน ความรับผิดชอบเปนส่ิงสําคัญท่ีจะนําไปสูการ เรียนรู ดวยตนเอง ทั้งกระบวนการวางแผน การเลือกแหลงทรัพยากรทางความรู การปฏิบัติงาน ตามท่กี ําหนด ตลอดจนการประเมนิ ความกาวหนา ในการเรยี นของตนเอง ประกอบดวย 5 เรื่อง คือ 1. การวินิจฉัยความตองการในการเรียน 2. การกําหนดจุดมุง หมายในการเรยี น 3. การออกแบบแผนการเรียน 4. การดาํ เนินการเรยี นรูจากแหลงวิทยาการ 5. การประเมนิ ผลการเรียนรู
4 เรือ่ งที่ 2 ทักษะพืน้ ฐานทางการศกึ ษาหาความรู ทกั ษะการแกป ญ หาและเทคนคิ การ เรียนรดู ว ยตนเอง การวางแผนการเรียนรู และการประเมินผล การเรยี นรู ดว ยตนเอง ทักษะพื้นฐานทางการศกึ ษาหาความรู ในการศึกษาหาความรูดวยตนเอง เปน เรื่องทค่ี อนขางมีความสําคัญอยางมากของบรรดา ผูใฝเ รียนรูท้ังหลาย จาํ เปน อยางย่งิ ทจ่ี ะตองมีทักษะพ้นื ฐานทางการศึกษาหาความรู ซ่ึงทักษะที่วา นี้ หมายถงึ ความพรอมในการเรยี นรดู วยตนเองของผเู รยี นนน่ั เอง บุคคลจะเรียนรไู ดดว ยตนเองอยางมีประสิทธิภาพนั้น ตองมีลักษณะความพรอมของการ เรียนรูดว ยตนเองอยา งนอ ย 8 ประการ คือ 1. การเปดโอกาสตอการเรียนรู หมายถึง เปนผูท่ีสนใจใฝรู กลาที่จะทดลอง ชอบ ลองผดิ ลองถูก ฟงและคิดแตเร่ืองที่เปนประโยชนตอตนเอง และชุมชน สนใจในเรื่องที่ตนอยากรู อดทน คน ควาเพือ่ หาคําตอบมาใหไ ด 2. มีมโนทศั นข องตวั เองในดานการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ เกิดความมั่นใจ แนใจ และสามารถจัดการตัวเองในทุก ๆ ดานไดอยางเหมาะสม เชน ความมีวินัยในตนเอง การจัดสรร เวลา และกลาทจ่ี ะลงทนุ เพอ่ื ตนเอง เปน ตน 3. ความคิดรเิ ร่ิมและเรียนรูดวยตนเอง ชอบทําเรื่องยากใหเปนเรื่องงาย มีความคิดท่ี เห็นความแตกตางในความเหมือน และความเหมือนในความแตกตาง รักการอาน และ วิพากษว ิจารณ รวมทัง้ การแลกเปลย่ี นเรยี นรกู ับผูอ่ืน 4. มีความรบั ผิดชอบตอการเรียนรูของตนเอง มีความมุงมั่นวา ตนเองสามารถกระทํา ได มีทัศนคติท่ีดีตอการศึกษาทุกระดับ ชอบเรียนรูสิ่งแปลกใหม และไมอายที่จะขอความรูจาก ผอู ืน่ 5. รักการเรียนรู เหน็ เร่อื งราวรอบ ๆตวั เปน องคค วามรู คิดและดัดแปลงประสบการณ ของผอู ่นื มาเปนประสบการณข องตนเอง 6. ความคิดสรา งสรรค คือ คิดบวกตลอดเวลา กลาตัดสนิ ใจในเร่อื งที่ตนเองเชื่อมั่นวา กระทาํ ไดดว ยเทคนิคการเรยี นรขู องตนเอง 7. การมองอนาคตในแงดี เขาใจและมั่นใจโอกาสการเรียนรูของตนเอง เช่ือวา การศึกษา จะชวยเปล่ียนชีวิตคนในสังคม รวมทั้งเชอื่ วา มนษุ ยจ าํ เปน อยางย่ิงท่ีจะตองเรียนรูตลอด ชวี ติ
5 8. ความสามารถในการใชทักษะการศึกษาหาความรู และทักษะการแกปญหา สามารถใชทกั ษะพ้นื ฐาน คือ การฟง อา น และเขยี น ทจี่ ําเปนในการแกปญหาไดเปนอยางดี และ มองปญ หา ในลักษณะปญ หาคือการเรยี นรู ทกั ษะการแกป ญ หาและเทคนคิ ในการเรยี นรดู วยตนเอง ทักษะในการแกปญหานั้น นักจิตวิทยาใหความเห็นวา เปนกระบวนการทางสมอง ท่ซี บั ซอ นและเกี่ยวขอ งกับจินตนาการ การจัดกระบวนการคิดเพ่ือนําไปสูการกระทํา รวมท้ังเปน การรวบรวมความคิดและทางเลือก วิธีการเพื่อแกปญหานั้น ๆ ทักษะการแกไขปญหา ประกอบดว ย 7 ขั้นตอนสําคญั คือ 1. การทําความเขา ใจกับสถานการณท ี่เกดิ ข้นึ 2. การกาํ หนดปญหาใหถ กู ตอ งและชดั เจน 3. การวิเคราะหส าเหตขุ องปญ หา 4. การหาวิธแี กไ ขปญ หาทเี่ ปน ไปได 5. การเลือกวิธกี ารแกป ญหาทดี่ ที สี่ ุด 6. การวางแผนการปฏิบตั ิและลงมอื ดาํ เนินการ 7. การติดตามและประเมนิ ผล เทคนิคในการเรียนรูดว ยตนเอง เทคนิคที่นิยมใชในการเรียนรดู ว ยตนเอง เชน 1. การบันทึกการเรียนรู คือ บันทึกที่ผูเรียนจัดทําข้ึน เพ่ือใชบันทึกขอมูล ความคิด เรือ่ งราวตาง ๆ ทไี่ ดเ รียนรู เพ่ือเปน แนวทางในการศกึ ษาเพิม่ เติมใหกวา งไกลออกไป หรอื การนําไป ประยกุ ตใ ชใ นชวี ิตประจําวัน 2. การทํารายงาน เปนการนําขอมูลความรูท่ีไดไปศึกษาคนความาวิเคราะห สงั เคราะหใหถ กู ตอ ง และเรียบเรยี งอยา งมีแบบแผน ความยาวของรายงานขึ้นอยูกับขอบเขตของ หวั ขอ รายงาน 3. ทาํ สญั ญาการเรียนรู เปนการทําขอตกลงที่ผูเรียนไดทําไวกับครู วาเขาตองปฏิบัติ อยางไรบางในการเรียนรูของตนเอง เพ่ือใหบรรลุเปาหมายการเรียนรูท่ีกําหนดไว สําหรับครู สัญญาการเรียนรมู ีไวเพอ่ื ตดิ ตาม ตรวจสอบความกา วหนาการเรยี นของผเู รยี น
6 4. สรางหอ งสมุดของตนเอง เปนการรวบรวมรายช่ือ ขอมูลแหลงความรูตาง ๆ ท่ีคิด วา จะเปน ประโยชนต รงกบั ความสนใจ เพ่อื ใชศ กึ ษาคนควา ตอไป 5. หาแหลง ความรูในชุมชน ไวเปนแหลงคนควาหาความรูท่ีตองการ แหลงความรูใน ชมุ ชน มหี ลายประเภท อาจเปนผูร ู ผชู าํ นาญในอาชพี ตา ง ๆ หองสมุดประชาชน หอ งสมุดโรงเรียน ศนู ยการเรียนชมุ ชน เปน ตน 6. หาเพื่อนรวมเรียน หรือคูหูเรียนรู ซ่ึงควรเปนผูที่มีความสนใจ ที่จะเรียนรูในเรื่อง เดียวกันหรือคลายกัน และตองสามารถติดตอแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน ประสานงานกันไดดวย วิธกี ารตาง ๆ ได อยา งสะดวก รวดเรว็ 7. เรียนรูจากการฝกฝนและปฏิบัติจริง ซึ่งจะกอใหเกิดความรูและประสบการณ ทักษะ ความชํานาญท่ีเปนประโยชน โดยเฉพาะในรายวิชา หรือเร่ืองท่ีผูเรียนมีจุดมุงหมายให ตนเองทําได ปฏบิ ตั ิได การวางแผนการเรียนรแู ละการประเมนิ ผลการเรยี นดวยตนเอง เพ่ือใหการเรียนรูดวยตนเองของผูเรียนเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ผูเรียนควรดําเนินการ วางแผน การเรียนรูดวยตนเองตามขัน้ ตอน ตอ ไปน้ี 1. การประเมินความตองการของตนเองเพ่ือใหรูถึงความตองการในการเรียนรูวา มเี ปา ประสงคอยูจดุ ใด 2. การกาํ หนดจดุ มงุ หมายเพอ่ื เปนจุดหมายปลายทางของผูเรียนที่จะใชกระบวนการ เรยี นรูไ ปสจู ุดหมายนน้ั 3. การกําหนดสิ่งท่ีตองการเรียนรู โดยกําหนดระดับความยากงาย ชนิดของส่ิงท่ี ตอ งการเรยี นความตอ งการความชวยเหลอื แหลงทรัพยากร ประสบการณท ่ีจาํ เปนในการเรียนรู 4. การจดั การในการเรียน โดยกําหนดระยะเวลาทต่ี องการใหมีการสอน กิจกรรมการ เรยี นตามประสบการณท ผ่ี า นมา พรอมท้ังกําหนดวา กิจกรรมควรส้นิ สุดเมือ่ ใด 5. การเลอื กวธิ ีการเรียน อปุ กรณการเรียน เทคนคิ การเรียนรูแ ละทรพั ยากรการเรียนรู ทตี่ อ งใช 6. การกําหนดวิธีการควบคุมส่ิงแวดลอมในการเรียนรู ทั้งสิ่งแวดลอมทางกายภาพ และทางดา นอารมณ
7 7. การกําหนดวิธีการตรวจสอบตนเอง โดยกําหนดวิธีการรายงาน/บันทึกการสะทอน ตนเอง จะใชเทคนิคการสะทอนกลับแบบไหน การใหโอกาสไดฝกตัดสินใจ การแกไขปญหา การกําหนดหลกั การเรียนรู การเปดโอกาสใหผ เู รียนสามารถเสนอแนวคดิ เพ่อื ใหการเรียนชดั เจนขึ้น 8. การกําหนดขอบเขตและบทบาทของผูชว ยเหลอื ในการเรียนรดู วยตนเอง เรอ่ื งท่ี 3 ทกั ษะทจี่ าํ เปน ในการเรยี นรูดวยตนเอง การฟง การฟง เปนการรับรูความหมายจากเสียงที่ไดยิน การไดยินเปนการเร่ิมตนของการฟง ก า ร ฟ ง เ ป น ก ร ะ บ ว น ก า ร ทํ า ง า น ข อ ง ส ม อ ง อี ก ห ล า ย ขั้ น ต อ น ต อ เ น่ื อ ง จ า ก ก า ร ไ ด ยิ น เปน ความสามารถท่จี ะไดรบั รสู ่ิงที่ ไดย ิน ตคี วามและจับความส่ิงทร่ี ับรูนั้น เขาใจและจดจําไวซึ่ง เปนความสามารถทางสติปญ ญา การพูด การพูด เปนพฤติกรรมการส่ือสารท่ีใชกันอยางแพรหลายท่ัวไป ผูพูดสามารถใชท้ังวจน ภาษาและอวจนภาษา ในการสงสารติดตอไปยังผูฟงไดชัดเจนและรวดเร็ว การพูด หมายถึง การ ส่ือความหมายของมนุษยโดยการใชเสียงและกิริยาทาทางเปนเคร่ืองถายทอดความรู ความคิด และความรสู ึกไปสูผฟู ง การอาน การอาน คือ กระบวนการรับรูขาวสารซึ่งเปนความรู ความคิด ความรูสึก และความ คดิ เหน็ ทผี่ เู ขียนถา ยทอดออกมาเปน ลายลกั ษณอกั ษร ปจจุบันการอานเปนทักษะท่ีมีความสําคัญ และจําเปนอยางยิ่งตอการดําเนินชีวิต เนื่องจากการอานจะชวยสงเสริมการแสวงหาขอมูล เพือ่ เพ่มิ พนู ความรู และพัฒนาสติปญ ญาอยา งตอเน่อื ง การทาํ แผนผงั ความคดิ (Mind Mapping) คือ การเอาความรูม าสรปุ รวมเปนหมวดหมู เพ่ิมการใชสี และใชรูปภาพมาประกอบ เพ่ือชวยใหเรามองเห็นภาพรวมไดชัดเจนข้ึน ซ่ึงแผนผัง ความคิดจะมีสวนชวยใหความคิดและความจําของผูเรียนรูดวยตนเองมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน ทัง้ น้ีเพราะแผนผงั ความคิด คอื การถา ยทอดความคิด หรอื ขอมูลตา ง ๆ ท่ีมีอยูในสมองลงกระดาษ โดยการใชภาพ สี เสน และการโยงใย ใชแสดงการเชื่อมโยงขอมูลเก่ียวกับเร่ืองใดเรื่องหน่ึง ระหวา งความคิดหลัก ความคดิ รอง และความคดิ ยอ ย ท่ีเกีย่ วขอ งสมั พนั ธก ัน กฎการทําแผนผังความคิด (Mind Mapping) 1. เร่ิมดว ยภาพสตี รงก่งึ กลางหนา กระดาษ 2. ใชภ าพใหม ากท่สี ุดในแผนผงั ความคิด ตรงไหนที่ใชภาพไดใ หใชกอ นคาํ หรอื รหสั 3. ควรเขียนคําบรรจงตัวใหญ ๆ ถาเปนคําภาษาองั กฤษใหใ ชต วั พมิ พใหญ
8 4. เขียนคําเหนอื เสน แตล ะเสน ตองเชือ่ มตอกับเสนอืน่ ๆ 5. คําควรมีลักษณะเปน “หนวย” เชน คําละเสน เพราะจะชวยใหแตละคําเชื่อมโยง กบั คําอ่นื ๆ ไดอยางอิสระ 6. ใชสใี หท ่ัวแผนผังความคดิ เพราะสจี ะชว ยยกระดบั ความจํา เพลินตา กระตุนสมอง ซีกขวา 7. เพือ่ ใหเ กดิ ความคิดสรางสรรคใ หม ควรปลอยใหส มองคิดอยางอิสระ อยามัวแตคิด วาจะเขียนลงตรงไหนดี หรือวา จะใสหรือไมใสอะไรลงไป
9 กจิ กรรมท่ี 1 ใหผูเรียนอธิบายความหมายของคาํ วา “การเรยี นรดู วยตนเอง” .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... กิจกรรมที่ 2 ใหผ เู รยี นอธิบาย “ความสําคัญของการเรยี นรูด วยตนเอง” .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... กจิ กรรมที่ 3 ใหผ เู รยี นสรุปสาระสาํ คัญของ “ลกั ษณะการเรียนรดู วยตนเอง” .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................
10 กิจกรรมที่ 4 ใหผูเรยี นสรุปสาระสําคญั ของ “องคประกอบของการเรยี นรดู ว ยตนเอง” .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................
11 เรื่องท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คญั ประเภทแหลงเรยี นรู ความหมายของแหลง เรยี นรู แหลงเรียนรู หมายถึง แหลงขอมูล ขาวสาร สารสนเทศ และประสบการณที่สนับสนุน สงเสริม ใหผูเ รียน ใฝร ู ใฝเรียน แสวงหาความรแู ละเรียนรดู ว ยตนเองตามอัธยาศัยอยางกวางขวาง และตอเนอ่ื ง เพ่ือเสริมสรางใหผเู รยี นเกิดกระบวนการเรยี นรูแ ละเปนบคุ คลแหงการเรยี นรู ความสาํ คัญของแหลง เรยี นรู แหลงเรียนรูเปรียบเหมือนหางสรรพสินคาที่เปนที่รวมสินคามากมายหลายชนิด เชน เดยี วกนั กับแหลงเรยี นรทู บี่ รรจคุ วามรทู ีห่ ลากหลาย ใหผูเรยี นสามารถเขาไปศกึ ษาหาความรูได ตลอดเวลา ดังนน้ั จึงพอสรุปถึงความสาํ คญั ของแหลง เรยี นรูได ดังนี้ 1. เปน แหลง รวมความรูตาง ๆ มากมาย ผเู รยี นสามารถเขาไปศึกษาคนควาหาความรู ไดต ามความถนดั ของตนเองไดต ลอดชีวิต 2. เปนศนู ยรวมในการติดตอสื่อสารระหวางสถานศึกษาและชุมชน และชุมชนมีสวน รว มในการจดั การศกึ ษาใหก บั คนในชมุ ชน 3. ผูเ รียนสามารถเขาไปศึกษาคนควาหาความรูไดอยา งมีความสุข 4. ผูเ รยี นสามารถศึกษาหาความรไู ดดว ยตนเองและสามารถเรียนรรู วมกบั ผูอ ่นื ได 5. เปนการปลูกฝงนิสัยการรักชุมชน รักทองถ่ิน มีความพรอมในการมีสวนรวม แกปญหา ในชุมชนและเปน สมาชกิ ทด่ี ีของชุมชน 6. ผเู รยี นรูมีการยอมรบั ในสงิ่ ใหม ๆ หรอื แนวคดิ ใหม มีความคิดสรา งสรรค 7. ชวยใหผูเรียนประหยัดคาใชจายในการหาซ้ือหนังสือเรียนมาศึกษาหาความรู โดยการใชแหลงเรียนรูทมี่ ีอยูใหเ กดิ ประโยชนม ากทสี่ ุด
12 ประเภทของแหลง เรียนรู แหลงเรียนรูส ามารถแบง ได 2 ลกั ษณะ ไดแ ก 1. แบงตามลักษณะทางกายภาพและวัตถุประสงค 5 กลมุ คอื 1) กลุมบริการขอมูล เชน หองสมุด ศูนยการเรียน ศูนยวิทยาศาสตรฯ สถาน ประกอบการ เปน ตน 2) กลมุ งานศลิ ปวฒั นธรรม เชน พพิ ิธภัณฑ หอศิลป ศาสนสถาน ศูนยวัฒนธรรม เปนตน 3) กลุมขอมลู ทอ งถน่ิ เชน ภมู ิปญ ญาชาวบาน ส่อื พ้ืนบาน แหลงทอ งเท่ียว เปนตน 4) กลมุ สอื่ เชน วทิ ยชุ ุมชน หอกระจายขา ว อนิ เทอรเนต็ เปนตน 5) กลุมสันทนาการ เชน ศูนยกีฬา สวนสาธารณะ ศูนยนันทนาการในหมูบาน เปน ตน 2. แบง ตามลักษณะแหลง เรียนรู 6 ประเภท คือ 1) แหลงเรียนรูประเภทบุคคล หมายถึง บุคคลท่ีมีความรู ความสามารถดานใด ดา นหนง่ึ และสามารถถา ยทอดความรูด วยรปู แบบและวิธีการตาง ๆ จนเปนแบบอยางท่ีดีได เปน แหลง เรยี นรทู มี่ ชี วี ิต สามารถสอ่ื ความหมายใหผ มู ารับบริการไดอยางดี จัดเปนแหลงเรียนรูที่ไดรับ ความนิยมมากทีส่ ุด 2) แหลงเรียนรูประเภทธรรมชาติ หมายถึง ทุกสิ่งทุกอยางที่เกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาตแิ ละเปนประโยชนต อมนษุ ย เชน ดิน อากาศ ปา ไม แรธาตุ เปน ตน 3) แหลง เรยี นรปู ระเภทวัตถุ วสั ดแุ ละสถานที่ หมายถึง อาคาร ส่ิงกอสราง ท่ีเรา สามารถ หาคําตอบไดจากการไดเหน็ ไดยิน หรือการสัมผัส เชน อุทยานแหงชาติ หองสมุด ศูนย การเรยี น ศนู ยศึกษาธรรมชาติ หรือเขตรกั ษาพันธสุ ตั วป า เปนตน 4) แหลง เรยี นรปู ระเภทสอื่ หมายถึง สื่ออิเล็กทรอนิกสที่ทําหนาท่ีเปนสื่อกลางใน การถายทอดความรู ทงั้ ภาพและเสยี ง เชน วิทยุ โทรทัศน คอมพิวเตอร เปนตน 5) แหลงเรียนรูประเภทเทคนิค หมายถึง ส่ิงที่แสดงถึงความเจริญกาวหนาทาง วิทยาการ นวัตกรรม เทคโนโลยีตาง ๆ เปนส่ือท่ีทําใหผูเรียนเกิดการจินตนาการและเกิดแรง บันดาลใจ ทําใหเ กิดความคิดสรา งสรรค เชน ส่งิ ประดษิ ฐใหม ๆ เปน ตน 6) แหลงเรียนรูประเภทกิจกรรม หมายถึง การปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ ที่เปน ประโยชน รวมถงึ การปรบั ปรุงพัฒนาสภาพของทองถ่ิน การเขารวมกิจกรรมในชุมชน สังคม เชน การรณรงคปอ งกนั ยาเสพตดิ กจิ กรรมสง เสริมการเลอื กตัง้ เปนตน
13 วธิ กี ารใชแหลง เรยี นรู การใชแหลงเรียนรูมีหลักการทีส่ ําคญั 3 ประการ ดงั น้ี 1. การนําผูเรียนไปศึกษาหาความรูจากแหลงเรียนรูจริง เพื่อใหเกิดความรูและ ประสบการณจริง 2. ใชแหลงเรียนรูเปนสถานที่ฝกงานของผูเรียนโดยตรง เพื่อใหเกิดทักษะและ ประสบการณต รง 3. การนําภูมิปญญามาสูการเรียนรู ซ่ึงสามารถทําไดท้ังนําผูเรียนไปศึกษาจากภูมิ ปญญา การใหผ เู รยี นไปฝก งานกบั ภูมิปญ ญา และการเชญิ ภูมิปญญามาใหความรูในสถานศึกษา การเขา ถึงสารสนเทศจากแหลงเรียนรอู น่ื ๆ การใหผูเรียนเขาไปใชบริการสารสนเทศในแหลงเรียนรู เปนวิธีการที่จะชวยใหผูเรียน ไดร บั ขอมูล ขา วสารและความรูท่ีตรงกับความตองการของผูเรียนโดยตรง นอกจากหองสมุดแลว แหลงเรียนรูอ่ืน ๆ ทุกแหลง ทุกประเภท ถือวาเปนสารสนเทศท้ังส้ิน เพราะองคประกอบของ แหลง เรียนรทู กุ อยา งสามารถสือ่ ความหมายใหรูถึงเรื่องราวตามเจตนารมณของแหลงเรียนรูนั้น ๆ ทัง้ หมด การเขา ถงึ สารสนเทศจากแหลงเรียนรู มีขน้ั ตอนที่สําคญั ดงั นี้ 1. ผูเรียนตองสบื หาขอ มูลเบอ้ื งตน ใหไ ดวา สารสนเทศที่ตอ งการจะรู อยูทแ่ี หลงเรียนรู ใด ซึ่งทําไดโดยการสอบถามจากผูรู เพื่อน บรรณารักษ เอกสารที่เกี่ยวของ หรือคนหาจาก อินเทอรเ นต็ 2. ผเู รียนจะเขาถึงสารสนเทศไดอยางไร อาจเขาถึงโดยสอบถามโดยตรง คนหาจาก หมวดหมูของเอกสาร หรือจากอินเทอรเน็ต 3. การคนหาสารสนเทศแตละประเภทควรใชเคร่ืองมืออะไร เน่ืองจากขอมูล สารสนเทศแตละประเภทสามารถเขาถงึ ไดใ นวิธีท่แี ตกตา งกนั 4. หากจาํ เปนตองเขา ถงึ สารสนเทศผานการสืบคนทางอนิ เทอรเน็ต ผเู รียนจําเปนตอง รูจักวิธีการคน หาสารสนเทศอยา งถกู วิธี เชน คน หาผานกเู ก้ิล (Google) เปนตน 5. หากจาํ เปนตองสืบคน สารสนเทศผานหองสมุดประชาชน ผูเรียนสามารถสืบคนได ดวยคอมพิวเตอร หรือการสืบคนตูบัตรรายการ ซึ่งสามารถสืบคนได ทั้งจากบัตรชื่อเรื่อง บัตรผู แตง หรอื บตั รเร่อื ง หรือบัตรหัวเรอื่ ง โดยใชโปรแกรมบริการงานหอ งสมุด หรือ PLS (Public Library Service)
14 6. การเขา ถงึ สารสนเทศจากแหลง เรยี นรู โดยการสัมภาษณ พูดคยุ กบั ผเู ช่ียวชาญหรือ ผูรูใ นเร่อื งที่ตอ งการโดยตรง การใชอนิ เทอรเ นต็ เพ่อื การเรียนรูของตนเอง ปจ จุบนั อินเทอรเนต็ เขา มามีบทบาทตอการดําเนินชีวิตของคนเราเปนอยางมาก ในการ เรียนรูดวยตนเองนั้น ผูเรียนสามารถใชอินเทอรเน็ตในการศึกษาหาความรูและคนควาขอมูล ขาวสารไดง าย ๆ ทสี่ าํ คญั ทกุ วันน้เี ราสามารถเช่ือมตอเครือขายอินเทอรเน็ตเขามาใชในบานเรือน ซึ่งถอื เปน แหลง เรยี นรูท่ีอยูใกลตัว คนหาไดง าย สะดวก รวดเรว็ และยอดเยี่ยมท่ีสดุ ในยคุ ปจจุบัน เครือขายคอมพิวเตอรหรือเครือขายอินเทอรเน็ต เปนแหลงรวบรวมขอมูลมากมาย มหาศาล ไมสามารถเปรียบกับแหลงขอมูลประเภทอ่ืน ๆ ซึ่งการจัดกิจกรรมบนเครือขาย อินเทอรเ น็ตจะสามารถเชอื่ มโยงและบูรณาการการเรียนการสอนในวิชาตา ง ๆ ใหเ ขาดว ยกนั ได วธิ ีการใชอ นิ เทอรเ น็ตกบั การเรยี นรูดวยตนเอง การเรียนรูดวยตนเองจากเครือขายอินเทอรเน็ตใหเกิดประโยชนสูงสุดนั้น ผูเรียนตอง หมั่นศึกษาหาความรใู หม ๆ ใหท ันสมัยอยเู สมอ ซ่ึงสามารถทําไดหลายลักษณะ ดงั น้ี 1. การสืบคนขอมูลทางอินเทอรเน็ต การใชอินเทอรเน็ตลักษณะนี้ ควรใชในกรณี ตองการคน หาขอ มลู ท่ีไมส ามารถจะสอบถามใครได และไมส ามารถคน หาดวยแหลง เรยี นรอู นื่ ๆ 2. อเิ ลก็ ทรอนกิ สเ มล (E-mail) เปน วิธีการสง ขอมูล ขาวสาร ภาพ เสียงหรือเร่ืองราว ตาง ๆ ผานระบบ E-mail ทีส่ ะดวก รวดเรว็ และเปนท่นี ิยมมากท่สี ุดในปจ จุบนั 3. การถายโอนขอมูล เปนการคัดลอกงาน ขอมูล โปรแกรมจากเครื่องหนึ่งไปยังอีก เครือ่ งหนง่ึ ดวยระบบเครอื ขา ยอนิ เทอรเน็ตทีส่ ะดวก รวดเรว็ ถกู ตอ งตามตนฉบบั ทกุ ประการ 4. การพูดคุยกันท่ีเรียกวา หองสนทนา เปนวธิ กี ารตดิ ตอสอ่ื สารหรือโตตอบกันไดอยาง เปนปจจุบนั และสามารถพูดคยุ ไดต ลอดเวลาทีม่ กี ารเปด ใชเ คร่ืองมือ 5. กระดานขาว เปนการแลกเปลี่ยนขาวสาร ขอมูล เปนตัวอักษร ภาพหรือเสียง จากฝายหนึ่งไปยงั อกี ฝายหน่งึ ไดอ ยา งสะดวก รวดเรว็ 6. การโฆษณาประชาสัมพันธ เปนการเผยแพรข อ มูล ขาวสารหรอื การดําเนินกิจกรรม ผา นระบบอินเทอรเ น็ต หรือเว็บไซตท ี่สรา งขึน้ มา
15 7. การติดตามขาวสารขอมูล ทุกคนสามารถติดตามขาวสาร ขอมูลไดทุกพ้ืนที่ ท้ังภายในประเทศและตางประเทศทว่ั โลก 8. การบรกิ ารอื่น ๆ ทวั่ ไป ระบบเครอื ขายอินเทอรเน็ต สามารถใหบริการงานทุกงาน ไดต ลอดเวลา โทษของการใชเ ครือขายอินเทอรเน็ตอยางไมระมดั ระวัง 1. โรคติดอนิ เทอรเ นต็ การใชอนิ เทอรเนต็ เปนเวลานาน ๆ จนหยุดไมได หรือหยุดได ตอ มากลับไปใชอนิ เทอรเ นต็ อีก จนทําใหเสยี เวลา เสียงาน 2. อินเทอรเน็ตในท่ีน้ี หมายความรวมถึง ระบบออนไลน หรือระบบเทคโนโลยีที่ สอ่ื สารกันระหวางคอมพิวเตอรผานสายโทรศัพท หากผูใชบริการใชอินเทอรเน็ตยาวนานตอเน่ือง หลายชว่ั โมงตอวนั มีความตองการใชอ ินเทอรเ นต็ นาน ๆ ไมสามารถควบคมุ การใชอินเทอรเน็ตได เกดิ อาการหงดุ หงิดหากตองใชอ ินเทอรเ น็ตนอ ยลงในแตล ะวัน หมกมุนกับอนิ เทอรเ นต็ หรือเหตุผล อืน่ หลาย ๆ เร่ือง อาจจดั เปนพวก ท่ตี ดิ อินเทอรเ นต็ ได 3. การใชอินเทอรเน็ตไปในทางที่ไมถูกตอง ไมเหมาะสม เชน เผยแพรภาพลามก อนาจาร อาจไดรบั โทษจากการกระทําซ่งึ ตามกฎหมายมีโทษถงึ ขน้ั ตดิ คุก เรือ่ งท่ี 2 ขอ ควรคํานงึ ในการศกึ ษาเรยี นรกู บั แหลง เรียนรูต า ง ๆ รวมทั้งนวตั กรรมและเทคโนโลยี การเขาไปศกึ ษาหาความรจู ากแหลง เรียนรู ผูเ รยี นควรคํานงึ ถึงสง่ิ สาํ คญั ดงั น้ี 1. ผูเรยี นตองแสวงหาแหลง ขอ มูลที่มีเน้อื หาสาระตรงกับองคความรูที่ผูเรียนตองการ ใหม ากทีส่ ดุ 2. ผูเ รยี นตอ งพิจารณาใหร อบคอบในการใชขอ มูลจากแหลงเรยี นรทู ่คี น หา 3. ผูเรียนตองศึกษากฎ กติกา หรือขอบังคับในการใชแหลงเรียนรูใหเขาใจกอน ตัดสนิ ใจใชค วามรจู ากแหลง เรียนรูน้ัน ๆ 4. กอ นเขา ไปศึกษาแหลง เรยี นรู ใหศกึ ษารายละเอียดของวิธใี ชแ หลง เรยี นรูใ หชดั เจน 5. การพัฒนาความเจริญกาวหนาของเทคโนโลยี ทําใหผูเรียนตองพยายามติดตาม ความกา วหนาของขอ มลู และวธิ ใี ชแ หลง เรียนรทู พ่ี ฒั นาอยางสมํ่าเสมอ
16 ดังนั้น การรูจักและพิจารณาใชแหลงเรียนรูที่มีประสิทธิภาพ ถูกตอง เหมาะสมกับ กิจกรรมหรืองานท่ีไดรับมอบหมาย จะชวยใหการจัดการศึกษาโดยใชแหลงเรียนรูที่มีอยูเกิด ประโยชนอ ยา งแทจริง 1. ใหผูเ รยี นสรปุ ความหมายและความสาํ คัญของแหลง เรียนรู มาพอเขาใจ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 2. แหลง เรยี นรูท ่ีแบงตามลกั ษณะแหลงการเรียนรู มีก่ีประเภท และสามารถเลือกใชแหลงเรียนรู แตละประเภท ใหเหมาะสมกบั ตนเองอยา งไร .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................
17 3. จงบอกลกั ษณะการใชอ ินเทอรเ น็ตกับการเรยี นรูดว ยตนเองวามกี ่ีวธิ ี แตล ะวิธีมีวธิ กี ารใชอ ยา งไร .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 4. การใชเ ครือขา ยอินเทอรเนต็ ในการติดตอส่อื สารอยางไมร ะมัดระวัง มีโทษอยางไรบาง อธิบาย และยกตัวอยา งมาอยา งนอย 3 ชนดิ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................
18 เรอ่ื งท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญ และหลกั การของการจัดการความรู ความหมายของการจัดการความรู การจัดการ (Management) หมายถึง กระบวนการในการเขาถึงความรูและการ ถา ยทอดความรทู ี่ตอ งดาํ เนนิ การรวมกนั กบั ผูปฏิบัตงิ าน จงึ เริม่ ตนจากการบงชีค้ วามรูที่ตองใช การ สรางและการแสวงหาความรู การประมวลเพื่อกล่ันกรองความรู การจัดการความรูใหเปนระบบ การสรางชองทางเพื่อการสื่อสารกับผูเกี่ยวของ การแลกเปลี่ยนความรู การจัดการสมัยใหม ใชกระบวนการทางปญ ญาเปนสิ่งสําคัญในการคิด การตัดสินใจ และสงผลใหเกิดการกระทํา การ จัดการจงึ เนน ไปท่ีการปฏิบัติ ความรู (Knowledge) หมายถึง ความรูท่ีควบคูกับการปฏิบัติ ซึ่งในการปฏิบัติ จาํ เปน ตองใชความรูท หี่ ลากหลายสาขาวิชามาเชอื่ มโยง บูรณาการเพ่อื การคิดและตัดสินใจ และลง มือปฏบิ ัติ จดุ กาํ เนิดของความรู คือ สมองของคน เปนความรูท ี่ฝงลึกอยูในสมอง เมื่อนําไปใชจะไม หมดไป แตจ ะเกิดความรเู พมิ่ พนู มากขน้ึ การจัดการความรู (Knowledge Management) หมายถึง การจัดการกับความรูและ ประสบการณทมี่ อี ยใู นตัวคน และความรูเ ดน ชัด นํามาแบงปนหรือแลกเปล่ียนใหเกิดประโยชนตอ ตนเอง และองคก ร กอ ใหเกดิ การพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองคกรใหเปนองคกรแหงการ เรยี นรู ความรูแบง ไดเ ปน 2 ประเภท คอื 1. ความรูเ ดนชัด (Explicit Knowledge) คือ ความรูท่ีเขียนอธิบายเปนตัวอักษรได สามารถถายทอดได โดยผานวิธีการตาง ๆ เชน หนังสือ ตํารา คูมือปฏิบัติงาน เว็บไซต เปนตน จึงเรียกวา ความรูรปู ธรรม 2. ความรูที่ฝงอยูในตัวคน/ความรูซอนเรน (Tacit Knowledge) คือ ความรูและ ประสบการณท ่ีแฝงอยูในตัวคน พฒั นาเปนภมู ิปญญา ฝงอยใู นความคิด ความเชื่อ คานิยม ท่ีไดมา จากประสบการณ พรสวรรคท เ่ี ปน ความสามารถพิเศษเฉพาะตัว
19 ความสาํ คัญของการจัดการความรู การจัดการความรู จะกอใหเกิดการยกระดับความรูท่ีสงผลตอเปาหมายของการทํางาน คอื เกดิ การพัฒนาประสิทธภิ าพของงาน คนเกิดการพัฒนา สงผลตอเน่ืองไปถึงองคกร เปนองคกร แหงการเรียนรู ผลที่เกิดจากการจัดการความรู จึงเปนเรื่องท่ีสําคัญตอการพัฒนาบุคลากร ในองคกร ซ่งึ ประโยชนท่ีจะเกดิ ขนึ้ มี 3 ประการ คอื 1. ผลสัมฤทธข์ิ องงาน จะเกดิ ผลสําเรจ็ ที่รวดเร็วข้ึน เกิดนวัตกรรมใหมในการทํางาน และวฒั นธรรมการทาํ งานที่มีความเอ้อื อาทรตอกนั ขน้ึ ในองคกร 2. บุคลากรเกดิ การพฒั นาตนเอง และสงผลรวมทั้งองคกร กระบวนการเรียนรูจาก การแลกเปล่ียนความรูรวมกัน จะทําใหบุคลากรเกิดความมั่นใจในตนเอง เกิดความรวมมือกัน ระหวา งเพือ่ นรว มงาน สง ผลใหอ งคก รเปนองคกรแหงการเรยี นรู 3. ยกระดับความรูของบุคลากรและองคกร ทําใหบุคลากรมีความรูรวมกัน มีแนวทางในการพฒั นางานชดั เจนขน้ึ มอี งคค วามรูท่จี ําเปนตอการใชงาน และจัดระบบงานใหอยู ในสภาพพรอมใช หลักการของการจดั การความรู หลกั การของการจัดการความรู หมายถงึ การใหคนหลากหลายทกั ษะ หลากหลายวิธคี ดิ ทํางานรวมกัน ชวยกันคิด รวมกันพัฒนาวิธีการในรูปแบบใหม เกิดนวัตกรรมใหม และเกิด ประสทิ ธภิ าพในการทาํ งาน ตอบสนองความตองการของตนเอง ผูนาํ องคกร ผรู ับบริการและสังคม โดยการเรยี นรูจากการทดลอง และขยายการเรียนรูไ ปสวู ิธกี ารปฏบิ ตั ิ สคู วามเปนเลศิ โดยการเติม ความรูจากภายนอก จนเกดิ เปนความรูท่เี หมาะสมตามสภาพท่ตี องการใช กระบวนการจดั การความรู กระบวนการจดั การความรู เปนกระบวนการท่ีจะชวยใหอ งคก รเขาถึงข้ันตอนที่ทําใหเกิด การจดั การความรู หรอื พัฒนาการของความรูท่จี ะเกดิ ขึ้นในองคก ร มี 7 ข้นั ตอน ดังนี้ 1. การบงชค้ี วามรู เปนการพจิ ารณาวา เปาหมายการทาํ งานของเรา คืออะไร และถา จะใหบรรลุเปาหมาย จําเปนตองใชอะไร และขณะน้ีองคกรมีความรูอะไร รูปแบบใด อยูกับใคร ทกุ คนตองเขา ใจและทุกเรอื่ งตองชัดเจน 2. การสรางและแสวงหาความรู เปนการจัดบรรยากาศ และวัฒนธรรมการทํางาน ของคน ในองคก รใหเ ออ้ื ตอการแลกเปลี่ยนความรูซง่ึ กนั และกัน กอใหเ กิดความรใู หม
20 3. การจัดการความรูใหเปนระบบ เปนการเตรียมความพรอมในการเก็บรวบรวม ความรูประเภทตา ง ๆ อยางเปน ระบบ หรอื การคนหา เพือ่ นาํ มาใชง านไดง า ยและรวดเรว็ 4. การประมวลและกล่นั กรองความรู เปน การประมวลความรใู นรูปแบบเอกสารหรือ อื่น ๆ ใหเปน มาตรฐาน ปรบั ปรุงเนื้อหาใหสมบรู ณ ใชภ าษาทเ่ี ขาใจงา ยและใชไ ดงาย 5. การเขา ถงึ ความรู เปนการเผยแพรค วามรใู หผ ูอืน่ ไดใชป ระโยชน เขาถึงไดงายและ สะดวก เชน เวบ็ บอรด บอรด ประชาสมั พนั ธ เปน ตน 6. การแบงปนแลกเปลี่ยนความรู ทําไดหลายวิธีการ หากเปนความรูเดนชัด อาจ จดั ทาํ เปน เอกสาร ฐานความรูท่ีตองใชเทคโนโลยีสารสนเทศ หากเปนความรูฝงลึกในตัวคน อาจ จัดเปน ระบบแลกเปลีย่ นความรู การสอนงาน การสบั เปลย่ี นงาน ชุมชนแหง การเรียนรู เปนตน 7. การเรียนรู ตองใหการเรยี นรเู ปนสวนหนึ่งของการทํางาน การนาํ ความรูไปใชทําให เกิดการเรียนรแู ละประสบการณใ หมหมนุ เวยี นตอ เน่อื ง เรียกวา เปน “วงจรแหง การเรียนรู” การรวมกลมุ เพอ่ื การตอ ยอดความรู หมายถึง การแลกเปลยี่ นเรียนรู เพือ่ ดึงความรูท่ีฝงลึกในตัวบุคคลออกมาเปนองคความรู เพ่อื นาํ มาใชหรือประยกุ ตใ ชใ นการปฏิบตั งิ าน โดยจะตอ งมีบคุ คล หรือกลุมบุคคลท่ีสงเสริมใหเกิด การแลกเปลี่ยนเรียนรูซ่ึงกันและกัน หรืออาจกลาวไดวา เปนการเรียนรูวิธีการทํางานของคนท่ี ประสบผลสาํ เร็จมาเปนบทเรียน และนํามาประยุกตใชกับตนเอง จนเกิดวิธีการปฏิบัติงานใหมท่ีดี ข้นึ กวาเดิม การพฒั นาขอบขายความรูข องกลุม การพฒั นากลมุ ใหม คี วามเขม แข็งย่ังยืนไดน้ัน ตองมีขอบขายความรูที่จําเปนและสําคัญ ตอการพฒั นากลุม ดงั น้ี 1.ความรูเรื่องการบริหารจัดการกลุม มีความโปรงใส ระบบบัญชีเปนปจจุบัน ตรวจสอบได มคี วามรว มมอื ไวว างใจซึ่งกันและกัน 2. ความรูเร่ืองการพฒั นาผลติ ภัณฑ เพ่อื ใหผ ลติ ภัณฑม ีคณุ ภาพทันสมยั ไดรบั ความ นิยมตรงตามความตอ งการของตลาด ทาํ ใหมลี ูกคา ผใู ชบ รกิ ารอยางตอเน่อื ง 3. ความรูเร่อื งการตลาด ตอ งมคี วามรูเกี่ยวกับทําเลท่ีตั้ง ชองทางการจําหนายและ ขยายตลาดใหมากขึ้น 4. การรักษามาตรฐานของสินคา กลุมตองมีความรูในเร่ืองการผลิตสินคาใหมี มาตรฐาน สนิ คาจึงจะไดรับการยอมรับ เชน ถาเปน สินคาทผ่ี ลติ ในชุมชน จะตองมีมาตรฐานชุมชน เปนเครือ่ งกํากบั
21 การจดั ทําสารสนเทศเผยแพรค วามรู การจดั ทําสารสนเทศ หมายถงึ การจดั รวบรวมขอมูลความรู และประสบการณที่เกิดข้ึน จากการปฏิบัติใหเปนระบบ เพ่ือสรางชองทางใหคนที่ตองการใชความรูเขาถึงองคความรูไดงาย และเกดิ การแบง ปนความรรู ว มกันอยางเปนระบบ การเผยแพรความรู เปนการนําความรูท่ีไดรับมาถายทอดใหบุคลากรในองคกรไดรับรู โดยสามารถทําไดหลายทาง คือ การเขียนบันทึกรายงานการประชุม สัมมนา การฝกอบรม การ จดั ทําเปน บทเรียน รูปแบบหนังสือ บทความ วีดิทัศน การฝกสอน และการแลกเปลี่ยนเรียนรูใน รปู แบบอน่ื ๆ เชน การเลาเรอ่ื ง การสอบถาม การสัมภาษณ เปน ตน เรื่องที่ 2 ทกั ษะการจดั การความรดู วยตนเองและดวยการรวมกลมุ ปฏิบตั กิ าร ทกั ษะการจดั การความรดู วยตนเอง การเรียนรเู พื่อใหเ กิดการจดั การความรูดวยตนเอง ตองเร่ิมจากการคิด แลวลงมือปฏิบัติ การปฏิบตั ิจะทําใหจดจําไดแมนยํากวา และมีการบันทกึ ความรูระหวางปฏบิ ตั ไิ วใ ชท บทวน หรือให ผอู ืน่ นาํ ไปปฏบิ ัตติ ามได ขัน้ สดุ ทายใหย อนกลบั ไปทบทวนกระบวนเรยี นรู เพ่อื ตรวจหาจุดบกพรอง และปรับปรุง พัฒนาจุดบกพรองนั้นใหได ทักษะในการจัดการความรูดวยตนเอง สามารถฝกได ดงั นี้ ฝกสังเกต ใชส ายตา หู ในการสงั เกตจะชว ยใหเขาใจเหตกุ ารณน นั้ ๆ ได ฝกการนําเสนอ เพื่อนําความรูไปสูการแลกเปลี่ยนเรียนรูกับผูอื่น จะทําใหการ แลกเปลยี่ นความรูกนั อยางกวางขวางขน้ึ ฝกต้งั คําถาม การตั้งคําถามใหตนเองหรือผูอื่นตอบ ทําใหไดขยายขอบขายความคิด ความรกู วา งขน้ึ ไปอีก ฝกแสวงหาคําตอบ ตองรูวาความรูหรือคําตอบมีแหลงขอมูลอยูท่ีใดบาง เชน จาก เอกสาร อินเทอรเ นต็ หรอื สอบถามจากตัวบคุ คล เปนตน ฝกบรู ณาการเช่อื มโยงความรู เน่ืองจากความรูท ี่มีอยหู ลากหลาย และมคี วามสัมพันธ เชอ่ื มโยงกนั จงึ จําเปนตองรูองครวมของเรื่องน้ัน ๆ ยกตัวอยาง เชน ปุยหมัก ไมเฉพาะมีความรู เรอ่ื งวิธที าํ แตตอ งรูเชื่อมโยงไปถึงวิธีการนําไปใชหรือแนะนําผูอ่ืน โยงไปถึงการกําหนดราคาเพ่ือ ขาย การบรรจุภัณฑทกุ อยา งตองบูรณาการกันทั้งหมด
22 ฝกบันทึก การจดบันทึกความรูจากการปฏิบัติของตนเอง ใชเปนหลักฐานรองรอย การคิด การปฏิบัติ เพอ่ื การทบทวนการเรียนรูของตนเอง การเขาถึงและการเรียนรูของบุคคลอ่ืน ดว ย ฝกการเขียน การเขียนงานของตนเองเปนประโยชนตอการเรียนรูของตนเองและ ผูอ่นื เปน การเผยแพรความรูผ านการอาน การเขยี น ทกั ษะการจัดการความรดู วยการรวมกลุมปฏบิ ตั กิ าร การจัดการความรูท่ีเกิดข้ึนจากการรวมกลุมเพ่ือแกปญหา หรือพัฒนาในระดับกลุม องคก รหรือชุมชน มขี น้ั ตอนการปฏบิ ัติ ดังนี้ 1. การบงช้ีความรู โดยการสํารวจ วิเคราะหปญหาภายในกลุม เรียงลําดับ ความสาํ คญั ของปญ หา กาํ หนดความรทู ีต่ อ งใชแกปญหา หรอื พัฒนากลุม 2. การสรางและแสวงหาความรู เมื่อกําหนดองคความรูที่จําเปนในการแกปญหา หรอื พัฒนาแลว จงึ ทําการสาํ รวจและแสวงหาความรูที่ตอ งการจากหลาย ๆ แหลง 3. การจดั การความรูใหเปนระบบ นาํ ขอ มูลทไ่ี ดจากการแสวงหาความรูมาจัดระบบ เพอ่ื ใหงา ยตอ การวิเคราะห และตดั สนิ ใจในการนําไปใช 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู ความรูที่ไดมาจากแหลงตาง ๆ ตองมีการ ประมวลและกล่นั กรองกอนนาํ มาใช ความรูท่ีผานการปฏิบัติจนประสบความสําเร็จ เปนความรูท่ี สามารถนาํ มาประยกุ ตใ ชในกลุม ได 5. การเขาถึงความรู ทุกคนในกลุมควรมีสวนรวมในการเขาถึงความรูในการ แกป ญหาและพฒั นากลุม การเขาถงึ ความรไู ดงาย คือการแลกเปล่ียนเรียนรูในตัวคน การศึกษาดู งานกลมุ อน่ื หรอื การศกึ ษาหาความรจู ากแหลง เรียนรตู าง ๆ 6. การแบงปนแลกเปลี่ยนความรู ความรูสวนใหญอยูในสมองคน ซ่ึงเปนผูปฏิบัติ การแลกเปล่ียนเรียนรูเปนการตอยอดความรูใหแกกันและกัน ทําไดหลายวิธี เชน การประชุม สัมมนา ศกึ ษาดงู าน การสอนงานโดยรวมกลุมปฏิบัติการเรือ่ งทสี่ นใจ เปนตน 7. การเรียนรู สมาชิกในกลุมเกิดการเรียนรูรวมกัน เกิดแนวคิดนําไปใชโดยการ ปฏบิ ัติ สงผลใหเกิดการเรยี นรมู ากย่งิ ข้นึ จนเกิดผลสําเรจ็ ถอื วา เปน ผลสาํ เรจ็ จากการปฏิบัตทิ ีเ่ ปน เลศิ (Best Practice)
23 เร่อื งท่ี 3 การสรปุ องคค วามรูข องกลมุ จดั ทําสารสนเทศองคค วามรูในการพฒั นา ตนเอง การสรปุ องคค วามรู การสรุปองคค วามรูเปนการตอยอดความรูใหต นเองและผอู น่ื โดยดําเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ 1. กาํ หนดความรหู ลักทีจ่ ําเปน หรอื สาํ คญั ตองานหรือกิจกรรมของกลุม หรือองคก ร 2. เสาะแสวงหาความรูที่ตองการ 3. ปรับปรุง ดัดแปลงสรา งความรูบางสว นใหเหมาะตอการใชง านของตนเองและกลมุ 4. ประยกุ ตใชความรใู นกจิ กรรมงานของตนเองและกลมุ 5. นําประสบการณจากการทํางาน และการประยุกตใชความรูมาแลกเปลี่ยนเรียนรู และสกดั ขมุ ความรูออกมาบันทกึ ไว 6. จดบนั ทกึ “ขุมความร”ู และ “แกน ความรู” สาํ หรับไวใชงาน และปรับปรุงเปนชุด ความรูใหครบถว นและเชือ่ มโยงกันมากขน้ึ เหมาะตอ การใชงานมากข้ึน การสรุปองคความรทู ี่ไดดาํ เนินการตามวิธีการดงั กลาวขางตน ผูเรียนสามารถนํามาจัดทํา เปนสารสนเทศในรปู แบบตา ง ๆ เพื่อใหค นเขา ถงึ ความรไู ดงา ยและนาํ ไปสกู ารปฏิบตั ไิ ด วธิ กี ารหาความรดู ว ยการจดั ความรโู ดยการรวมกลมุ นกั ปฏิบตั กิ าร ในการจัดการความรูวิธีรวมกลุมปฏิบัติการ มีวิธีหาความรูเพื่อใหเกิดการแลกเปล่ียน เรยี นรู โดยดึงความรูท่ีมีอยใู นตัวบุคคลออกมา เปนองคความรูเพื่อใชในการปฏิบัติงาน จะตองมี บคุ คลที่คอยสงเสรมิ และกระตุน ใหเ กิดการแลกเปล่ียนเรียนรดู ว ยวธิ ีการหลายรปู แบบ ดงั น้ี 1. การประชุมสัมมนา เปนการแลกเปลย่ี นเรยี นรูรวมกนั ในกลมุ 2. การไปศกึ ษาดงู าน มกี ารซกั ถามและจัดเวทแี สดงความคิดเห็น แลกเปล่ียนความรู จากคนไปสูคน 3. การเลาเรื่อง เปนการรวมกลุมของผูปฏิบัติงานท่ีมีลักษณะคลายกัน แลกเปลี่ยน ความรู โดยการเลา เรอื่ งสกู นั ฟง มีการสกดั ความรู วธิ ีการทํางานท่ีประสบความสําเร็จของแตละ คน ซง่ึ อาจแตกตา งกนั และสามารถนาํ ความรไู ปประยกุ ตใ ชในงานของตนได
24 4. ชุมชนนักปฏิบัติ เปน การรวมกลมุ ของคนทสี่ นใจเรอ่ื งเดยี วกัน รวมตัวแลกเปลี่ยน เรียนรู ผานการส่ือสารหลายชองทาง เชน การประชุมสัมมนา ต้ังชมรม หรือใชเทคโนโลยี แลกเปลยี่ นความรูกนั ในลักษณะของเว็บบอรด สามารถเรยี นรูไดทุกท่ีทุกเวลา ทําใหเกิดความรู และตอ ยอดความรู 5. การสอนงาน เปน การถา ยทอดความรู บอกวิธกี ารทํางาน ชวยเหลอื เพือ่ นรวมงาน เปลี่ยนความรจู ากคนท่ีรมู ากสูคนทรี่ ูนอ ย 6. เพอื่ นชว ยเพอ่ื น เปน การเชิญทมี อ่นื มาแบงปนประสบการณด ี ๆ โดยการแนะนํา สอน บอกตอ หรือเลา เพอ่ื นํามาประยกุ ตใ ชในการยกระดับความรแู ละพฒั นางานใหดยี ิ่งขน้ึ 7. การทบทวนการปฏิบัติงาน เปนการทบทวนทุกขั้นตอนของการปฏิบัติงาน ทั้งกอน ระหวาง และหลังการปฏิบัติงาน เพ่ือทบทวนส่ิงท่ีไดปฏิบัติรวมกัน และนําสิ่งที่ไดไป พัฒนางานตอไปได วิธกี ารจัดทาํ สารสนเทศเพอ่ื การเผยแพรค วามรู วิธีการจัดทําสารสนเทศ โดยการรวบรวมองคความรูท่ีเปนประโยชน และเผยแพรให ผสู นใจไดเ รยี นรู วิธีการเผยแพรส ามารถดําเนนิ การไดหลายแนวทาง ดังน้ี 1. จดั ทําเปนแผนพับ แผน ปลวิ โดยสรุปองคความรใู หกระชับ เขาใจงา ย 2. บันทกึ เรอื่ งเลา โดยจดั ทําเปน เอกสารรวมเลม จดั หมวดหมใู หสะดวกแกการคนหา 3. บนั ทึกการถอดบทเรยี น โดยจดั ทําเปนเอกสาร และมีรายละเอียดของการถอด บทเรยี นวา ทําไม อยา งไร 4. วีซีดี โดยสรปุ ยอกระบวนการคนพบ อาจถายทอดเปนสารคดี บอกถึงวิธีการตาง ๆ รวมทัง้ แนะนําแหลงขอมูลเพ่ือการตดิ ตาม 5. คูมือการปฏิบัติงาน เพ่ือใหเห็นรองรอยการทํางานท่ีประสบความสําเร็จทุก ขน้ั ตอน 6. ระบบอนิ เทอรเ น็ตในรูปของเวบ็ บอรด ชวยใหเผยแพรสะดวก รวดเรว็ 7. เผยแพรผานภมู ิปญ ญา โดยการบรรยาย หรืออภิปรายสอดแทรกความรูท่ีคนพบ เพื่อใหม าศกึ ษาดงู าน หรือฟงการบรรยายไดเ หน็ ภาพและมคี วามรเู พม่ิ เติม 8. การประชาสัมพันธผ า นส่ือของชุมชน เชน วทิ ยชุ มุ ชน เสียงตามสาย เปน ตน
25 กรณีตวั อยา ง ศนู ยเ รยี นรปู ราชญช าวบานจังหวัดลาํ ปาง ของนายสมโภชน ปานถม(ลุงอวน) นายสมโภชน ปานถม หรือที่คนท่ัวไปรูจักในชื่อ ลุงอวน เกิดวันที่ 22 กันยายน 2494 จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน มีภูมิลําเนาอยูท่ีบานเลขท่ี 253 บานหวยรากไม หมู 5 ตําบลสบปา ด อาํ เภอแมเมาะ จังหวดั ลาํ ปาง เปนผูนําในการปลูกผักปลอดสารพิษและจัดทําศูนย เรียนรูการเกษตรอินทรีย เพ่ือเปนแหลงเรียนรูใหเกษตรกรผูปลูกผัก และผูสนใจเกี่ยวกับการใช สารอนิ ทรีย เพ่ือลดตน ทุนการผลติ นอกจากน้ี ลงุ อวนยงั ไดร บั รางวัลตาง ๆ มากมาย เชน ป 2558 ไดรับรางวัล สาขาการพัฒนาที่ดินเพื่อการเกษตร จากกระทรวงเกษตรและ สหกรณ และรางวลั การปลกู พชื ผกั และสมนุ ไพรไลแมลง จากมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร ป 2550 ไดรับคัดเลือกจากจังหวัดลําปางเปนปราชญชาวบาน และเปนอนุกรรมการ แผนงาน/โครงการที่เกีย่ วของกับเศรษฐกจิ พอเพียงของกระทรวงเกษตรและสหกรณร ะดบั จังหวดั ป 2549 ไดรับรางวัลหมอดินอาสาดีเดน สาขาการจัดทําชุดการเรียนรู จากสํานักงาน พัฒนาท่ีดนิ เขต 6 ป 2548 ไดร ับรางวลั การประกวดสงเสรมิ เศรษฐกิจพอเพยี ง (ผักปลอดสารพิษ) ประเภท บุคคล ในเขตพื้นทีอ่ ําเภอแมเมาะ จากผลงานทลี่ ุงอว น ไดร บั มากมายหลายรางวัลและหลากหลายสาขานนั้ ลวนเกิดมาจาก การ ไมยอมหยุดน่ิงที่จะเรียนรู โดยครั้งแรกท่ีลุงอวนมาตั้งถิ่นฐานอยูท่ีอําเภอแมเมาะ เห็นวา ชาวบานปลกู ผัก โดยใชปยุ เคมีกนั มาก จงึ มแี นวคดิ ทีจ่ ะปลกู ผักปลอดสารพิษข้ึน โดยปฏิบัติตนตาม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทดลองทําไปพรอม ๆ กับการศึกษาหาความรู การดูงาน ถามผูรู เขา ฝกอบรม สมั มนา ลองผดิ ลองถกู เปน เวลาหลายป จนประสบความสําเรจ็ และไดรับการยกยอง เปนผทู ่มี คี วามรเู รอ่ื งเกษตรอนิ ทรีย และดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึงนํา ประสบการณม าถา ยทอดใหแ กคนในหมูบา นได ถึงแมจะประสบความสําเร็จในการดําเนินชีวิตตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จนเปนตัวอยางของคนในหมูบานแลว ลุงอวนยังไมยอมหยุด เรียนรู ไดเดินทางไปศึกษาเรียนรูยังแหลงเรียนรูตาง ๆ ศึกษาหาความรูเพ่ิมเติมดวยตนเองทาง ขอมูลขาวสาร เขารับการฝกอบรม รับฟงขอเสนอแนะจากผูรูหรือเจาหนาท่ีที่มาใหความรู เพือ่ นาํ มาปรับปรงุ ในการทํางานตลอดเวลา เม่ือลงุ อวนเกิดการตกผลกึ ความรู จึงคิดที่จะถายทอด ความรูใหผูสนใจท่ัวไป จึงไดจัดต้ังศูนยเรียนรูการเกษตรอินทรียเพื่อพัฒนาอยางย่ังยืน โดยการ สนับสนนุ ของหนวยงานท่ีเกยี่ วของ เพ่ือเปนแหลงเรยี นรใู หแ กเ กษตรกรผูปลูกผักและผูสนใจท่ัวไป
26 ในการเรียนรูถึงการใชสารอินทรียทดแทนสารเคมีเพ่ือลดตนทุนการผลิต โดยมีหลักสูตรการ ฝกอบรมท่ีหลากหลาย เชน หลักสูตรการเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง หลักสูตรการเกษตร อินทรีย หลักสูตรการผลิตปุยชีวภาพและสารอินทรียเพ่ือใชในไรนา หลักสูตรการเลี้ยงปลา การเล้ียงไก การทําบัญชีครัวเรือน เปนตน มีผูสนใจมาศึกษาเรียนรูในศูนย ฯ เปนจํานวนมาก นอกจากนี้ ลงุ อวนยังเปน วทิ ยากรถายทอดความรูดานการใชเทคโนโลยีการจัดการดิน วิทยากรการ ทาํ สารอนิ ทรียเพ่อื การเกษตร วิทยากรในการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการกระบวนการขับเคลื่อน เกษตรอินทรียจังหวัดลําปาง ของสํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัดลําปาง และวิทยากรการ ผลติ ปยุ ชีวภาพและสารอินทรีย ของศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอําเภอแม เมาะ ฯลฯ นอกจากน้ี ยังไดด ําเนนิ การจัดเวทเี พื่อแลกเปลยี่ นเรียนรกู ับชาวบาน เกษตรกร ท้ังแบบ ไมเปน ทางการในรูปแบบสภากาแฟ และแบบทางการ โดยมหี นวยงานท่ีเกย่ี วขอ งมาชว ยใหความรู ดว ย จะเห็นวา ลุงอว น หรือนายสมโภชน ปานถม เปนผูท่ีมีความกระตือรือรนที่จะศึกษาเรียน รูอยูตลอดเวลา และนําความรูที่ตนเองมีอยูถายทอดใหกับบุคคลอื่น เปนการขยายความรูให แพรหลายและขยายวงกวา งออกไปตามลําดับ
27 1. ใหผูเรียนศึกษากรณีตัวอยาง ศูนยเรียนรูปราชญชาวบานจังหวัดลําปาง ของนายสมโภชน ปานถม แลว ตอบคําถาม ดังตอไปน้ี 1.1 ใหบอกวิธกี ารเรยี นรูทีห่ ลากหลายของนายสมโภชน ปานถม 1.2 ใหบอกวิธีการพัฒนาตนเอง เพื่อใหเกิดการแสวงหาความรูที่หลากหลาย ของนาย สมโภชน ปานถม 2. ใหผ เู รียนยกตวั อยา งแผนผงั ความคดิ เกี่ยวกบั อาชพี ในชุมชนมา 1 ตวั อยาง แนวทางการเฉลย 1.1 วิธีการเรียนรขู องนายสมโภชน ปานถม (ลงุ อวน) เรมิ่ ตนจาก 1) การทดลองปลูกผักปลอดสารพษิ เพอ่ื แกป ญ หาการใชปุยเคมีในการปลูกผักของ คนในชุมชน โดยทําการทดลองไปพรอมกับการศึกษาหาความรู จากการศึกษาดูงาน ถามผูรู การฝก อบรม สมั มนา และปฏิบัติแบบลองผิดลองถูก จนประสบความสําเร็จ ไดรับการยกยองให เปนผูมีความรูเร่ืองเกษตรอินทรีย และเปนตัวอยางที่ดีในการดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง 2) การถายทอดความรูใหคนในหมูบาน เปนการแลกเปล่ียนความรูและ ประสบการณใหบุคคลอื่น เปนการแบงปน แลกเปล่ียนความรูโดยการปฏิบัติ สงผลใหเกิดการ เรียนรมู ากยงิ่ ข้ึน เปน การ ตอยอดความรใู หต นเองและผอู น่ื 3) การศึกษาหาความรูเพ่ิมเติมอยางตอเนื่องจากแหลงเรียนรูตาง ๆ ที่เปนความรู ขอ มลู ขาวสาร จากขอ เสนอแนะของผรู หู รอื เจาหนาท่ที ่ีมาใหความรู จากการฝกอบรม และนําส่ิงที่ ไดเรียนรูเพิ่มเติมมาปรับปรุงการทํางานของตนเอง จนตกผลึกเปนความรูท่ีสามารถขยายผลให ผสู นใจท่วั ไปไดก วางขวางยิ่งขน้ึ โดยการจดั ตั้งศนู ยเ รียนรูก ารเกษตรอินทรีย 1.2 วธิ กี ารพฒั นาตนเอง เริ่มจากการวิเคราะหตนเองเพ่ือรูจุดออน จุดแข็ง และความ ตองการของตนเอง กําหนดเปาหมาย แนวทางในการแกปญหาและพัฒนาตนเอง ทําใหเกิดการ แสวงหาความรู เพอ่ื เดนิ ไปสูจุดหมายและประสบความสําเรจ็ การพัฒนาตนเองของลุงอวนเพ่ือให เกดิ การแสวงหาความรทู ี่หลากหลาย สรปุ ได ดงั นี้ 1) การวเิ คราะหตนเอง รูปญหาทเ่ี กิดขนึ้ คือ การใชสารเคมีในการปลกู ผกั ของคนใน ชุมชนและมีความตองการแกปญหา จึงกําหนดเปาหมายในการทํางาน โดยการทดลองปลูกผัก
28 ปลอดสารพิษและปฏิบัติตนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีความตองการเรียนรูและ แสวงหาความรจู ากผรู ู การฝก อบรมสมั มนา การศึกษาดูงาน การทดลองปฏิบัติการปลูกผักปลอด สารพิษจนบรรลุเปาหมายและกลายเปนบุคคลตัวอยางในการดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง 2) การนาํ ความรแู ละประสบการณท่ีเปน จุดแขง็ ของตนเองไปถายทอดใหบุคคลอ่ืน ทําใหเกิดการพัฒนาตนเอง โดยลุงอวนไดไปแสวงหาความรูเพิ่มเติมจากแหลงเรียนรูตาง ๆ การแลกเปลย่ี นเรยี นรู การรับฟงขอเสนอแนะจากผรู แู ละเจา หนาที่ผใู หความรู ในการอบรม สัมมนา ทาํ ใหลุงอวนมีความรูเ พ่มิ ขึ้น และมีการพัฒนาตนเองอยางตอเนอ่ื ง 3) การจัดตั้งศูนยเรียนรูการเกษตรอินทรีย เปนการรวบรวมองคความรูและ ประสบการณท้ังหมด จัดไวอยางเปนระบบ ในรูปแบบหลักสูตรการฝกอบรมท่ีหลากหลาย เชน หลกั สูตรการเกษตรแบบเศรษฐกจิ พอเพียง การเกษตรอินทรีย การผลิตปุยชีวภาพ การเลี้ยงปลา การเลี้ยงไก การทําบัญชีครัวเรือน เปนตน ซ่ึงความรูที่เปนหลักสูตรตาง ๆ ดังกลาวเกิดจากการ คนควา แสวงหาความรูเพม่ิ เติมจากแหลง เรยี นรูที่หลากหลาย และจากหนว ยงานภาครฐั ที่สนับสนุน ทําใหเปน องคค วามรูทีส่ มบูรณแ บบ สามารถเปน แหลง เรยี นรใู นการจดั กจิ กรรมแลกเปลี่ยนเรยี นรู ที่เปนประโยชนในการพฒั นาตนเองและ บุคคลอื่น ๆ ไดเ ขาถึงความรูไดอยา งเปน ระบบ
29 2. แผนผังความคิดเกยี่ วกับอาชพี ในชมุ ชน
30 เรอ่ื งที่ 1 ความเชือ่ พน้ื ฐานทางการศกึ ษาผูใหญ/ การศึกษานอกระบบทเ่ี ชอ่ื มโยง มาสูปรชั ญาคิดเปน ในชีวิตประจําวันทกุ คนตองเคยพบกับปญหาตาง ๆ ไมวาจะเปน ปญหาการเรียน การงาน การเงิน หรอื แมแ ตการเลนกีฬา หรือปญ หาอน่ื ๆ เชน ปญ หาขัดแยงของเด็ก ปญหาการแตงตัวไป งานตา ง ๆ เปนตน เมอื่ เกดิ ปญหากเ็ กดิ ทกุ ข แตล ะคนก็จะมวี ิธแี กไ ขปญหา หรอื แกท กุ ขดวยวิธีการ ที่อาจจะแตกตางกันไป และอาจใหผลลัพธท่ีเหมือนกันหรือตางกันก็ได ทั้งนี้ขึ้นอยูกับพ้ืนฐาน ความเช่อื ความรู ความสามารถและประสบการณของบุคคลน้ัน หรืออาจจะขึ้นอยูกับทฤษฎีและ หลักการของความเช่ือทต่ี า งกันเหลาน้นั “คิดเปน” มาจากความเช่ือพื้นฐานเบื้องตนท่ีวา คนมีความแตกตางกันเปนธรรมดา แตทุกคนมีความตองการสูงสุดเหมือนกัน คือ ความสุขในชีวิต คนจะมีความสุขไดก็ตอเม่ือมีการ ปรบั ตวั เองและสังคม ส่งิ แวดลอมใหเขาหากันอยางผสมกลมกลืนจนเกิดความพอดี นําไปสูความ พอใจและมีความสุข อยางไรก็ตามสังคมส่ิงแวดลอมไมไดหยุดนิ่ง แตจะมีการเปล่ียนแปลงอยาง รวดเร็วอยูตลอดเวลา กอใหเกิดปญหาเกิดความทุกข ความไมสบายกายไมสบายใจข้ึนไดเสมอ กระบวนการปรับตนเองกบั สังคม ส่ิงแวดลอมใหผสมกลมกลืน จึงตองดําเนินไปอยางตอเน่ืองและ ทันการณ คนท่ีจะทําไดเชนนี้ ตองรูจักคิด รูจักใชสติปญญา รูจักตัวเองและธรรมชาติ สังคม ส่ิงแวดลอมเปนอยางดี สามารถแสวงหาขอมลู ท่เี ก่ียวขอ งอยางหลากหลายและพอเพียง อยางนอย 3 ประการ คือ 1. ขอ มลู ท่ีเกีย่ วของกบั ตนเอง 2. ขอ มูลทางสังคมและสิ่งแวดลอ ม 3. ขอ มลู ทางวิชาการ ซึ่งเปนหลักในการวิเคราะหปญหา เพื่อเลือกแนวทางการตัดสินใจท่ีดีท่ีสุดในการแกปญหา หรือ สภาพการณทเ่ี ผชิญอยูอยางรอบคอบ จนมีความพอใจแลวก็พรอมจะรับผิดชอบการตัดสินใจนั้น อยางสมเหตุสมผล เกิดความพอดี ความสมดุลในชีวิตอยางสันติสุข เรียกไดวา “คนคิดเปน” ซ่งึ กระบวนการคิดเปน อาจสรปุ ได ดังน้ี
31 อาจารย ดร.โกวิท วรพิพัฒน เคยกลาวไววา “คิดเปน” เปนคําเฉพาะที่หมายรวมทุก อยางไวใ นตวั แลว เปน คาํ ทบ่ี ูรณาการเอาการคิด การกระทํา การแกปญหา ความเหมาะสม ความ พอดี ความเชื่อวัฒนธรรม ประเพณี คุณธรรมจริยธรรม มารวมไวในคําวา “คิดเปน” หมดแลว นนั่ คอื ตอ งคดิ เปน คดิ ชอบทําเปน ทาํ ชอบ แกป ญ หาไดอ ยางมคี ณุ ธรรมและความรับผิดชอบ ไมใช เพียงแคคิดอยางเดียว เพราะเร่ืองดังกลาวเปนขอมูลที่ตองนํามาประกอบการคิด การวิเคราะห อยา งพอเพียงอยูแลว จากแผนภูมิดังกลาวน้ี จะเห็นวา คิดเปนหรือกระบวนการคิดเปนน้ัน จะตอง ประกอบดวยองคประกอบตา ง ๆ ดงั ตอ ไปนี้ 1. เปน กระบวนการเรียนรูท ปี่ ระกอบดว ยการคิด การวิเคราะห และสังเคราะหขอมูล ประเภทตาง ๆ ไมใชการเรียนรูจากหนังสือหรือลอกเลียนจากตํารา หรือรับฟงการสอนการบอก เลา ของครูแตเ พียงอยางเดียว 2. ขอมูลท่ีนํามาประกอบการคิด การวิเคราะหตาง ๆ ตองหลากหลาย เพียงพอ ครอบคลุมอยา งนอย 3 ดา น คอื ขอ มูลเก่ยี วกับตนเอง ขอมลู เกีย่ วกับสังคมสิ่งแวดลอม และขอมูล ทางวชิ าการ
32 3. ผูเรียนเปนคนสําคัญในการเรียนรู ครูเปนผูจัดโอกาสและอํานวยความสะดวกใน การจดั การเรยี นรู 4. เรยี นรจู ากวถิ ชี ีวติ จากธรรมชาติและภูมิปญญา จากประสบการณและการปฏิบัติ จริง ซ่งึ เปน สว นหนึ่งของการเรยี นรตู ลอดชีวติ 5. กระบวนการเรียนรูเปนระบบเปดกวาง รับฟงความคิดของผูอ่ืนและยอมรับความ เปนมนุษยท่ีศรัทธาในความแตกตางระหวางบุคคล ดังนั้น เทคนิคกระบวนการท่ีนํามาใชในการ เรยี นรู จงึ มกั จะเปน วิธีการสานเสวนา การอภปิ รายถกแถลง กลมุ สัมพันธเ พ่ือกลมุ สนทนา 6. กระบวนการคิดเปนน้ัน เม่ือมีการตัดสินใจ ลงมือปฏิบัติแลวจะเกิดความพอใจ มีความสุข แตถาลงมือปฏิบัติแลวยังไมพอใจ ก็จะมีสติไมทุรนทุราย ไมเดือดเนื้อรอนใจ แตจะ ยอนกลับไปหาสาเหตุแหงความไมสําเร็จ ไมพึงพอใจกับการตัดสินใจดังกลาว แลวแสวงหาขอมูล เพิ่มเติม เพ่ือหาทางเลือกในการแกปญหา แลวทบทวนการตัดสินใจใหมจนกวาจะพอใจกับการ แกปญหาน้ัน การเชอื่ มโยงความเชื่อพนื้ ฐานทางการศกึ ษาผใู หญ/การศึกษานอกระบบ กบั ปรชั ญาคดิ เปน พจนานกุ รมไทยฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ใหนิยามคําวา ปรัชญา ไววา วิชาวา ดวยหลกั แหงความรแู ละความจริง คิดเปน คือ ลักษณะอันพึงประสงคท่ีชวยใหคนสามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมที่ เปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลาไดอ ยา งสนั ติสขุ เพราะ 1. มีความเช่ือมั่นในหลักแหงความเปนจริงของมนุษยท่ียอมรับในความแตกตางของ บคุ คล 2. เปนหลักการและแนวคิดสําคัญในการดําเนินโครงการตาง ๆ ทางการศึกษาผูใหญ การศึกษานอกโรงเรยี น ตงั้ แตใ นอดีตท่ผี านมาถงึ ปจจุบัน 3. เปนหลักคิดและแนวทางในการดําเนินชีวิตประจําวันของคนทํางานการศึกษานอก โรงเรียนและบคุ คลทั่วไป จากการที่คิดเปน เปนทั้งความเช่ือในหลักความเปนจริงของมนุษย เปนทั้งหลักการ แนวคิด และ ทิศทางการดาํ เนินกจิ กรรมและโครงการตา ง ๆ ของ กศน. และเปนพ้ืนฐานที่สําคัญ ในวิถีการดาํ เนินชวี ติ ของบุคคลท่ัวไป รวมทั้งเปนการสงเสริมใหมีทักษะการเรียนรูเพื่อการเรียนรู ตลอดชีวิตในอนาคต คิดเปนจึงเปนท่ียอมรับและกําหนดใหเปน “ปรัชญาคิดเปน”หรือปรัชญา การศกึ ษานอกโรงเรียนท่เี หมาะสมกับความเปน กศน. เปน อยางย่ิง
33 เร่อื งท่ี 2 ความหมาย ความสาํ คัญของการคดิ เปน ความหมายของการคดิ เปน “คิดเปน” หมายถึง การวิเคราะหปญหา และการแสวงหาคําตอบหรือทางเลือก เพ่อื แกปญ หาหรอื ดบั ทุกข ในอกี ความหมายหน่ึง “คิดเปน” หมายถึง การคิดอยางรอบคอบเพ่ือ แกปญหา โดยอาศัยขอมูลตนเอง ดานสังคมและส่ิงแวดลอม และดานวิชาการ มาเปน องคป ระกอบในการคิดตัดสินใจแกป ญหา นอกจากน้ี “คดิ เปน ” ยังหมายถงึ การคดิ ที่ดี มีหลกั การ ในการดํารงชวี ติ ท่ีถกู ตอ งทสี่ ดุ หากบุคคลใดนําไปใชเปนแนวคิดในการแกปญหาท่ีเปนอุปสรรคใน การดํารงชวี ิต ดวยการใชขอมูลทีเ่ ปน จริงและเพยี งพอ ก็จะชวยใหแกไขปญ หาได จากความหมายของ “คิดเปน” ทั้ง 3 ความหมาย จะเหน็ ไดว ามีทิศทางไปในทางเดียวกนั คอื 1. ปรัชญานีม้ ีไวเพอ่ื แกป ญหา 2. สง่ิ สําคัญทสี่ ุดในการตดั สินใจแกป ญหาคอื ขอมูล 3. ขอมูลประกอบการตัดสินใจ ตองเปนขอมูลจริง และมีจํานวนมากพอตอการ ตัดสนิ ใจ 4. ในความหมายของขอมูล ปรัชญานี้ใชขอมูลใกลตัวที่เกี่ยวของกับปญหาเหลาน้ัน ไดแ ก ขอมลู ตนเอง ขอ มลู สงั คมสงิ่ แวดลอ ม และขอมูลวชิ าการ 5. การคิดเปนมีลักษณะเปนพลวัตร หมายถึงปรับเปล่ียนไดเสมอ ในกรณีที่ เปลย่ี นแปลงขอ มลู หรอื เปาหมายชีวิต ความสําคัญของการคดิ เปน การคิดทีผ่ า นกระบวนการอยา งเปน ระบบ จะสงผลใหการปฏิบัติมีประสิทธิภาพและเกิด ความสําเร็จไดงาย อาจกลาวไดวา กระบวนการแกปญหาดวยปรัชญาคิดเปน มีความสําคัญตอ สังคม คอื ชว ยสรางสันติสขุ ใหเกดิ กับสังคม เพราะถาคนสวนใหญยึดหลักการคิดดวยกระบวนการ คดิ เปน การมองปญ หาจงึ มองอยางเปนเหตุเปนผลสมจริง ความขัดแยงจะลดลงหรือไมเกิดความ ขัดแยงข้ึน เมื่อไมมีความขัดแยงเกิดขึ้น สังคมก็จะมีแตความสุข ดังน้ันอาจสรุปความสําคัญของ การคิดเปน ไดดังนี้
34 1. สามารถแกไขปญหาที่เกิดขนึ้ กบั ตนเองไดและมักไมม ีขอ ผิดพลาดเกดิ ขนึ้ 2. ชว ยใหเปนคนใจเยน็ ยดึ ถือเหตผุ ล และมักไมทาํ อะไรตามอารมณของตนเอง 3. ชวยใหเ ปนคนทีม่ คี วามเชื่อมนั่ ในตนเองสงู ทง้ั น้ีเกิดจากความสําเร็จของงานที่มีผลมา จากการคดิ เปน 4. ชวยใหไมถูกหลอกดวยขอมูลท่ีไดรับและไมเช่ือถือสิ่งตาง ๆ อยางงาย ๆ แตจะ วนิ ิจฉัยไตรต รองและพสิ ูจนค วามจรงิ อยางรอบคอบกอนตัดสินใจเลอื ก 5. สามารถใชประโยชนจ ากขอมลู ทไี่ ดร ับ มาสรา งสรรคใ หเ กิดสิ่งที่มีประโยชนได การที่คนเราจะมีคุณสมบัติในการเปนคนคิดเปนได ตองมีการฝกฝนทักษะเร่ืองการคิด เปนอยูเ สมอ จนกลายเปนเรื่องปกตใิ นชีวติ ประจาํ วันแลว การดําเนนิ ชวี ิตก็จะมีลักษณะของคนคดิ เปน ดงั น้ี 1. มีความเชอื่ วาปญหาท่ีเกิดขนึ้ เปนเรือ่ งธรรมดา สามารถแกไ ขได 2. การคิดท่ีดีตองใชข อ มลู หลาย ๆ ดา น (ตนเอง สังคม วิชาการ) 3. เชื่อวาขอมูลมกี ารเปล่ียนแปลงอยูเ สมอ 4. สนใจท่จี ะวิเคราะหขอมูลอยเู สมอ 5. รูวา การกระทาํ ของตนเองมีผลตอ สังคม 6. ทําแลว ตดั สนิ ใจแลว เกิดความสบายใจและเตม็ ใจรบั ผดิ ชอบ 7. แกไขปญ หาในชวี ิตประจาํ วันอยา งเปนระบบ 8. รูจ กั ช่งั น้ําหนักคณุ คาของการกระทํากับสิ่งรอบ ๆ ดาน
35 เรอ่ื งที่ 3 การรวบรวมและวิเคราะหส ภาพปญ หาของตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน และคิดวเิ คราะห โดยใชข อมูลดานตนเอง สังคมสง่ิ แวดลอม และวิชาการ หลกั การรวบรวมขอ มลู ประกอบการคดิ เปน ขอมลู ที่จะใชใ นการคิด ตดั สนิ ใจในดานตาง ๆ ควรพิจารณาจากสงิ่ ตา ง ๆ ดังนี้ 1. ขอ มูลตาง ๆ ท่ีจะนํามาวิเคราะห ตองเปนขอมูลจริงเทาน้ัน เพราะถาเปนขอมูลที่ ไมจริงจะทําใหก ารตดั สนิ ใจเกิดความผดิ พลาดและทาํ ใหก ารแกปญ หาประสบความลมเหลวได 2. ในกรณีที่ขอมูลนั้น ยังมีความคลุมเครือ ไมชัดเจน จําเปนอยางย่ิงที่จะตองมีการ ตรวจสอบ ท่ีชดั เจนทีส่ ุด คือการตรวจสอบที่เขา ถึงตนตอของขอ มูลอยางแทจรงิ 3. เม่ือตรวจสอบในหลายแนวทางแลว ความชัดเจนของขอมูลก็ยังไมปรากฏ ผูว ิเคราะหต องตัดสินใจท้ิงขอมูลดังกลาวไป เพราะขอมูลที่พิสูจนไมได มักจะทําใหการวิเคราะห ปญหาผิดพลาดได 4. ขอ มลู ทผี่ านการวเิ คราะหและเปนขอมูลที่เช่ือถือได ในแตละดานควรมีมากพอตอ การคดิ และตดั สนิ ใจ ซ่ึงจะชว ยใหการตัดสินใจเปนการตัดสินใจทีถ่ กู ตอ งมากทีส่ ดุ การวิเคราะหส ภาพปญ หาของตนเอง ครอบครวั ชุมชนและวเิ คราะห โดยใชข อมูลดา น ตนเอง ดา นสังคมสงิ่ แวดลอ ม และดานวิชาการ ในแนวทางของปรัชญาคิดเปน มนุษยควรใชขอ มลู อยา งนอย 3 ดา น ดงั นี้ 1. ขอ มลู ดานตนเอง เชน พ้ืนฐานของชีวิต ครอบครัว อาชีพ การปฏิบัติตน สุขภาพ อนามัย เปนตน 2. ขอมูลดานสังคมและสิ่งแวดลอม เชน ขอมูลเก่ียวกับสังคม สภาพแวดลอม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี เปนตน 3. ขอมูลดา นวชิ าการ ไดแ ก องคค วามรทู ี่เก่ียวขอ งและผูกพันกบั ปญ หานนั้ ๆ มนษุ ยจ ะใชขอมูลท้ัง 3 ดาน มาเปนเครื่องมือชวยในการตัดสินใจกระทําพฤติกรรมเพื่อ แกปญ หาทีต่ นเองเผชญิ อยู ถาสาํ เร็จ หมายถงึ แกไขปญหาได มนุษยก็จะเกิดความสุข ในทางตรง ขามถาไมสําเร็จ ก็ยังคงเผชิญกับปญหาหรือยังเกิดความทุกขอยูตอไป ตองคิดคนหาขอมูล ประกอบการตัดสนิ ใจใหม
36 กระบวนการและขนั้ ตอนการคิดแกป ญ หาแบบคนคดิ เปน กระบวนการและขั้นตอนการแกปญ หาแบบคนคิดเปน มี 6 ขนั้ ตอน ดังน้ี 1. ขนั้ ทาํ ความเขา ใจกับทกุ ขแ ละปญ หา เกิดข้ึนได 2 ทาง คือ 1) ปญ หาทเี่ กิดจากปจ จยั ภายนอก เชน เมอ่ื เศรษฐกจิ ทรงตวั หรอื ซบเซา ทําให รายได ของเราลดนอ ยลง คนในสังคมมีการด้ินรนแกงแยงกัน การเอาตัวรอด การลักขโมย จ้ีปลน ฆาตกรรม สงผลกระทบตอความเปน อยแู ละความปลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ยสิน ปญหาหลายเรื่อง สืบเนือ่ งมาจากสขุ ภาพอนามยั ภัยจากสิง่ เสพตดิ หรอื ปรากฏการณธรรมชาติ เปน ตน 2) ปญหาที่เกิดจากปจจัยภายใน คือ ปญหาจากตัวมนุษยเอง คือ ปญหาที่เกิด จากกิเลส ในจติ ใจของมนษุ ย ซ่งึ มี 3 เรื่อง คอื โลภะ ไดแ ก ความอยากได อยากมี อยากเปน มาก ขึ้นกวาเดิม มีการดิ้นรนแสวงหาตอไปอยางไมมีที่สิ้นสุด ไมมีความพอเพียง เม่ือแสวงหาดวยวิธี สุจรติ ไมไ ด กใ็ ชวิธีการทุจริต ทําใหเกิดความไมสงบ ไมสบายกาย ไมสบายใจ ไมมีที่สิ้นสุด โทสะ ไดแ ก ความโกรธ ความอาฆาตพยาบาทคนอ่นื ความคิดประทุษรายคนอ่ืน โมหะ ไดแก ความไมรู หรือรูไมจริง หลงเชื่อคําโกหก หลอกลวง ชักชวนใหหลงกระทําสิ่งท่ีไมถูกตอง ทําเร่ืองเสียหาย เห็นผิดเปน ชอบ เหน็ กงจักรเปน ดอกบวั เปนตน 2. ข้ันหาสาเหตขุ องปญหา เปน ข้ันตอนท่ีจะวิเคราะหขอมูลตาง ๆ ที่อาจเปนสาเหตุของปญหา เปนตัวตนตอ ของปญหา ท้ังที่เปนตนเหตุโดยตรงและท่ีเปนสาเหตุทางออม ท้ังนี้ ตองวิเคราะหจากสาเหตุที่ หลากหลายและมีความเปนไปไดหลาย ๆ ทาง การวิเคราะหหาสาเหตุของปญหาอาจทําไดงาย ๆ ใน 2 วิธี คอื 1) การวิเคราะหขอมูล โดยการนําเอาขอมูลท่ีหลากหลายดาน มาแยกแยะและ จัดกลุมของขอมลู สําคัญ ๆ เชน ขอ มูลดา นเศรษฐกิจ วฒั นธรรม สภาวะแวดลอม วิทยาการใหม ๆ นโยบายและทิศทางในการบริหารจดั การ ปจจยั ทางดานเทคโนโลยี ฯลฯ ซึ่งสาเหตุของปญหาอาจ มาจากขอ มลู อยา งนอ ย 3 ประการ คอื - สาเหตสุ ําคญั มาจากตนเอง จากพื้นฐานของชีวิตตนเองและครอบครัว ความ ไมสมดุลของการงานอาชีพท่ีพึงปรารถนา ความขัดของที่เกิดจากโรคภัยของตนเอง ความโลภ โกรธ หลง ในใจของตนเอง ความคบั ของใจในการรกั ษาคุณธรรม จริยธรรมของตนเอง ฯลฯ - สาเหตุสําคัญมาจากสังคม ชุมชนและสภาวะแวดลอม ความไมพึงพอใจ ตอพฤติกรรมไมพึงปรารถนาของเพ่ือนบาน การขาดแหลงเงินทุนในการประกอบอาชีพ ชุมชน ทะเลาะเบาะแวง ขาดความสามัคคี ฯลฯ
37 - สาเหตุสําคัญมาจากการขาดแหลงขอมูล แหลงความรู ความเคลื่อนไหวที่ เปน ปจจบุ นั ของวิชาการและเทคโนโลยที ี่เกีย่ วของ ขาดภมู ิปญ ญาที่จะชว ยเตมิ ขอมูลทางปญญาใน การบริหารจัดการ ฯลฯ 2) การวิเคราะหสถานการณ โดยการนําเอาสภาพเหตุการณตาง ๆ มาพัฒนาหา คําตอบโดยพยายามหาคําตอบในลักษณะตอไปนี้ใหมากท่ีสุด คือ อะไร ที่ไหน เม่ือไร เพียงใด ตัวอยาง เชน วิธีการอะไรท่ีกอใหเกิดสภาพเหตุการณเชนนี้ ส่ิงแวดลอมอะไรที่กอใหเกิดสภาพ เหตกุ ารณเ ชนน้ี บุคคลใด ทีก่ อใหเกิดสภาพเหตุการณเชนน้ี ผลเสยี หายเกิดขึ้นมาไดอยางไร ทําไมจึงมีสาเหตุเชนนี้เกิดข้ึน ฯลฯจากน้ันจึงจัดลําดับความสําคัญของสาเหตุตาง ๆ คือ หาพลัง ของสาเหตทุ ่ีกอใหเกิดปญ หา ท้งั นี้เนือ่ งจาก - ปญหาแตละปญหาอาจเปน ผลเน่อื งมาจากสาเหตุหลายประการ - ทุกสาเหตุยอมมีอันดับความสําคัญ หรือพลังของสาเหตุที่กอใหเกิดปญหาใน อันดบั แตกตา งกัน - ทรัพยากรมีจํากดั ไมว า จะเปนบุคลากร เงิน เวลา วสั ดุ ดงั นน้ั จึงตองพิจารณา จดั สรรการใชทรพั ยากรใหต รงกับพลังท่กี อปญ หาสูงสดุ 3. ขนั้ วิเคราะหเสนอทางเลอื กของปญหา เปนขั้นตอนที่ตองศึกษาหาขอมูลที่เก่ียวของอยางหลากหลายและท่ัวถึง เพียงพอ ท้งั ขอ มลู ดานบวกและดา นลบอยา งนอ ย 3 กลุม ขอ มลู คอื ขอ มูลเกี่ยวกับตนเอง ขอมูลที่เกี่ยวของ กับสังคมสง่ิ แวดลอม และขอมลู ทางวิชาการ แลวสังเคราะหขอมูลเหลาน้ันข้ึนมาเปนทางเลือกใน การแกไขปญหาหลาย ๆ ทางท่ีมคี วามเปนไปได 4. ขั้นการตดั สนิ ใจ เลอื กทางเลือกในการแกปญหาทด่ี ที ่ีสดุ จากทางเลอื กทง้ั หมดทีม่ อี ยู เปนทางเลือกที่ ไดวิเคราะหและสงั เคราะหจากขอมลู ทัง้ 3 ดา น พรอมสมบรู ณแ ลว บางครง้ั ทางเลือกท่ีดีที่สุด อาจ เปน ทางเลือกท่ไี ดจากการพิจารณาองคประกอบทดี่ ีทส่ี ุดของแตล ะทางเลือก นํามาผสมผสานกนั กไ็ ด 5. ขนั้ นําผลการตัดสินใจไปสกู ารปฏิบตั ิ เมือ่ ไดตัดสินใจดวยเหตผุ ลและไตรตรองขอ มูลอยา งรอบคอบพอเพียงและครบถวน ท้งั 3 ประการแลว นบั วา ทางเลอื กทตี่ ดั สนิ ใจนน้ั เปน ทางเลือกท่ดี ีท่สี ุดแลว
38 6. ขั้นตดิ ตามประเมินผล เม่ือตัดสินใจดําเนินการตามทางเลือกท่ีดีที่สุดแลว พบวามีความพอใจก็จะมี ความสุข แตถ า นาํ ไปปฏิบตั แิ ลวยงั ไมพ อใจ ไมสบายใจ ยังขดั ของเปนทุกขอยู ก็ตองกลับไปศึกษา คนควาหาขอมูลเพิ่มเติมดานใดดานหน่ึง หรือท้ัง 3 ดาน ท่ียังขาดตกบกพรองอยู จนกวาจะมี ขอมูลทีเ่ พียงพอ ทาํ ใหก ารตัดสนิ ใจครัง้ นั้นเกิดความพอใจ และมีความสุขกบั การแกป ญ หานน้ั อยา งไรกต็ ามสงั คมในยคุ โลกาภวิ ัตนเปนสงั คมแหงการเปลี่ยนแปลงท่ีรวดเร็วและรุนแรง ปญหา ก็เปลยี่ นแปลงอยูตลอดเวลา ทกุ ขก ็เกดิ ขึน้ ดาํ รงอยู และดบั ไป หรือเปลี่ยนโฉมหนาไปตาม กาลสมัย กระบวนทัศนในการดับทุกขก็ตองพัฒนารูปแบบใหทันตอการเปล่ียนแปลงเหลาน้ันอยู ตลอดเวลาใหเ หมาะสมกบั สถานการณท ี่เปลีย่ นแปลงไปดวย กระบวนการดับทุกขหรือแกปญหาก็ จะหมนุ เวียนมาจนกวาจะพอใจอีก เปน เชนน้ีอยอู ยา งตอเน่ืองตลอดชีวิต เพ่ือใหมองเห็นภาพและ เกิดความเขาใจมากข้ึน จึงขอสรุปเปนแผนภูมิกระบวนการและขั้นตอนการแกปญหาแบบคนคิด เปน เพ่ือจะชว ยใหเห็นขนั้ ตอน ของกระบวนการแกป ญหาของคนคดิ เปน ดงั น้ี
39 ตวั อยา งกระบวนการและขน้ั ตอนการแกป ญ หาแบบคนคดิ เปน กรณีศึกษาเรอื่ ง การติดยาเสพติดของเยาวชน ปญ หา นายสมชาย เปน เยาวชนอาศัยอยูกับเพ่ือน ชานเมืองกรุงเทพฯ มีอาชีพเปนชางกอสราง รับจา งตอ เติมซอมแซมเลก็ ๆ นอ ย ๆ ในหมูบาน บางครั้งก็รับเปนคนงานรับจางรายวันของบริษัท รบั เหมาทาํ งานไม งานปนู ทวั่ ไป ไมมีงานประจํา เปนหลักแหลง รายไดไมแนนอน เคลื่อนยายไป ตามแหลงงานพรอ มกบั เพ่ือนคนงานอืน่ ๆ พน้ื เพเดิม พอ แมเ ปนเกษตรกรอยูตางจังหวัด ยากจนมี ลูกหลายคน นายสมชายจึงตองมาเปนคนงานกอสรางเพื่อหาเงินสงไปใหพอแม แตปรากฏวา ลาํ พงั การเลี้ยงตัวเองกไ็ มคอยจะพออยูแลว คาครองชีพในกรุงเทพฯ ก็สูง คาใชจายก็มากกวาอยู ตางจังหวัด ชีวิตก็โดดเด่ียว มีแตเพื่อน ๆ วัยเดียวกัน ไมมีผูใหญคอยดูแล สมชายเรียนจบแค ประถมศึกษาจากตางจังหวัดแลวไมไดเรียนตอ ไมไดรับการแนะนําหรือไดรับความรูเพ่ิมเติม หลังจากออกจากโรงเรียนแลว เพ่ือน ๆ รวมงานก็จะมีลักษณะเดียวกันแทบทุกคน ผูรับเหมาซ่ึง เปนคนจางงานก็ไมเคยสนใจความเปนอยูของคนงาน แตก็จายคาจางตามแรงงาน ไมเอาเปรียบ คนงาน เมือ่ งานมนี อ ยลง สมชายขาดงานบอยขึ้น คบเพ่ือนเท่ียวเตรมากข้ึน เริ่มด่ืมเหลา และติด ยาเสพติดตามเพ่ือน ๆ ในทส่ี ดุ ข้นั ที่ 1 ขน้ั ทาํ ความเขาใจกับทุกขแ ละปญ หา ประการแรก คดิ มีสติ เพอื่ พิจารณาปญ หาใหชดั เจน และสรางความมั่นใจวาจะแกปญหา ไดจากนน้ั จึงพิจารณาความลํ้าลึกและซับซอนของปญหาการติดยาของนายสมชาย เพื่อแยกแยะ ความหนักเบาของการติดยา และมองชองทางในการเขาถงึ ปญหา รวมทง้ั เขา ถึงความเชื่อมโยงของ สภาวะแวดลอมของการติดยาของสมชายวาเก่ยี วของกบั เรื่องอะไรบาง อยา งไรในเบื้องตน ข้นั ที่ 2 ข้นั หาสาเหตขุ องปญ หา ขั้นนี้ เปนการศึกษาสาเหตุของการติดยาของสมชาย ซึ่งจะตองศึกษาจากขอมูล ที่หลากหลาย ทั้งจากเร่ืองสวนตัวของสมชาย (ขอมูลดานตนเอง) ในเร่ืองประวัติครอบครัว ความเปน มา สถานะความเปน อยู เศรษฐกิจ สังคม การทํามาหากิน นิสัย ความประพฤติ การคบ เพื่อน ความอดทน ฯลฯ เพ่ือดวู าเรอ่ื งสวนตัวของสมชายเร่ืองใดจะเปนตัวนําไปสูปญหาการติดยา ของสมชายบา ง ตอ งศึกษาขอ มลู จากสภาวะแวดลอ ม (ขอมูลดา นสงั คมสง่ิ แวดลอม) ท่ีจะทําให สมชายประสบปญหาตดิ ยา เชน การคบเพื่อน การเสพสรุ า ลักษณะของการทํางานท่ตี องเรรอนไป ตลอดเวลา แหลงความรูหรือภูมิปญญาท่ีจะเปนประโยชนในการเรียนรู แหลงมั่วสุรา ท้ังการซ้ือ
40 การขาย การเสพยาในชุมชน ฯลฯ รวมทงั้ ขอ มลู ทเี่ กี่ยวกับความรู (ขอมูลดานวิชาการ) เรื่องยา เสพตดิ และอันตรายจากการเสพยา ความใสใจของชุมชนในเรื่องการรณรงคใหความรูเก่ียวกับภัย จากยาเสพตดิ การเขา ถึงเอกสารและสือ่ ประชาสมั พนั ธ และประสทิ ธภิ าพของสอ่ื ปอ งกันสิ่งเสพ ตดิ ของประชาชนในชมุ ชน ฯลฯ ขอ มูลเหลาน้ตี องนํามาวเิ คราะหอยางหลากหลาย เพื่อสังเคราะห หาสาเหตุของปญ หาตดิ ยาของสมชาย ขั้นท่ี 3 ขนั้ วิเคราะหเ สนอทางเลือกของปญ หา เปน ขน้ั ตอนทจ่ี ะตอ งนําเอาสาเหตตุ าง ๆ ทท่ี าํ ใหส มชายติดยาที่วิเคราะหไดจากขอมูลทั้ง 3 ดานมาสังเคราะห สรุปเปนทางเลือกในการแกไขปญหาหลาย ๆ ทางเลือกที่มีความเปนไปได เชนไปบวชเพื่อหนีใหพนจากสังคมติดยาเสพติดในชุมชน เลิกคบเพื่อนท่ีติดยาโดยส้ินเชิง เปลี่ยน อาชพี ไปทํางาน ท่เี ปน หลกั แหลง ไมเ รรอน ศึกษาหาความรกู ารประกอบอาชีพใหมที่หางไกลจาก ยาเสพตดิ ปรกึ ษาผูรูและหนวยงานท่ีชวยเหลือผูติดยาเพื่อเลิกเสพยาและฝกอาชีพใหม เพื่อใหมี รายได กลบั บานตา งจงั หวดั เพอื่ ไปบําบดั การติดยาและอยกู บั ครอบครวั ฯลฯ ข้ันท่ี 4 ขั้นการตดั สินใจ เปนข้ันตอนท่ีสมชายเองจะตองตดั สนิ ใจเลือกทางแกปญหาการติดยาของตนเอง ท่ีคิดวา ดีท่ีสดุ เหมาะสมกับตนเอง สามารถปฏิบัติไดดวยความพอใจ เชน เลิกเท่ียวเตรกับเพื่อนที่เสพยา แลวไปปรึกษากับผูรู ขอเขาโครงการบาํ บัดการติดยาของหนวยงานในชุมชน และเขารับการฟนฟู สุขภาพควบคกู ับการฝก อาชพี ท่มี ีรายไดเ สริมเพมิ่ ข้ึน เปน ตน ขั้นที่ 5 ขั้นนาํ ผลการตัดสินใจไปสกู ารปฏบิ ตั ิ ขั้นตอนนี้ สมชายจะตองเขารับการบําบัดการติดยา ซ่ึงมีขั้นตอนและวิธีการโดยเฉพาะ สมชายตอ งอดทนรับการบําบดั ใหครบถว นตามวิธีการ และตองมีความตั้งใจแนวแนท่ีจะเลิกติดยา สญั ญากบั ตนเองวา จะไมห วนกลับมาเสพยาอีก ตองเขารับการดูแลรักษาฟนฟูสุขภาพทั้งรางกาย และจิตใจ รวมท้ังเขาศึกษาอาชีพใหมจากศูนยฝกอาชีพ เพื่อจะไดมีชองทางในการทํามาหากิน หลงั จากบาํ บัดการติดยาแลว ขน้ั ท่ี 6 ขน้ั ติดตามประเมนิ ผล ข้ันนเ้ี ปน การประเมินตนเองของสมชายวาการตัดสินใจของตนเองทจี่ ะเลิกเสพยา และ ตงั้ ใจ จะเปนคนดี มอี าชีพท่ีจะเปนชองทางในการทํามาหากิน มีรายได ไมตองเปนทุกข แลวหัน ไปเสพยาอกี นนั้ ทําไดหรือไมในทางปฏิบัติ พอใจและสบายใจท่ีจะเขารับการบําบัดและฟนฟู สุขภาพหรือไม ต้ังใจฝกอาชีพเพียงใด ถาพอใจและสบายใจก็จัดวาแกปญหาได แตถาลงมือ
41 ปฏิบตั ิแลว ยงั ไมสบายใจ ยงั ทุรนทุรายยังไมสงบสขุ ก็ตอ งยอ นกลับไปดูขอมูลท้ัง 3 ดานอีกครั้งวา ยงั ไมไ ดศกึ ษาขอ มลู ดานใดอยา งพอเพียงหรือไม จากนั้นจึงศึกษาหาขอมูลน้ัน ๆ จากแหลงขอมูล เพ่ิมเติม แลวนํามาคิดวิเคราะห สังเคราะห หาทางเลือกใหมเพ่ือการตัดสินใจแกปญหาตอไป จนกวา จะพบทางเลอื กแกปญ หาไดอยางพอใจ เรื่องที่ 4 กระบวนการและเทคนคิ การเกบ็ ขอ มูล การวเิ คราะหและสงั เคราะหข อ มูล ท้งั 3 ประการของบคุ คล ครอบครัว และชุมชน เพอื่ ประกอบการคดิ การตดั สนิ ใจ ขอมูล คือ ขาวสาร รายละเอียดตา ง ๆ ท่เี กิดขน้ึ เปนขอเท็จจริงของสิ่งตาง ๆ เหตุการณ ตาง ๆ ท่เี กิดข้ึนในชีวิตประจําวัน เปนขอเท็จจริงที่เปนสัญลักษณ ตัวเลข จํานวน รูปภาพ เสียง วีดทิ ัศน คาํ อธิบาย เชน ตัวเลขแสดงจํานวนลูกคา จํานวนคนปวย คะแนนสอบ ภาพแผนดินไหว พายุหมนุ เปน ตน สารสนเทศ คือ ขอมูลท่ีผานกระบวนการประมวลผล วิเคราะหจนสามารถนําไปใชใน การตัดสนิ ใจตอ ไปไดทันที ขอ แตกตางระหวางขอ มลู และสารสนเทศ ตัวอยาง ขอมลู : ผเู รยี น กศน.อาํ เภอเวยี ง มีจํานวน 30,000 คน มคี รผู ูสอนจํานวน 30 คน สารสนเทศ : อัตราสวนครูผูสอนตอผูเรียน กศน.อําเภอเวียง เทากับ 30,000/30 = 1,000 ลกั ษณะของขอมลู ขอมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) เปนขอมูลที่แสดงความแตกตางในเร่ือง ปริมาณหรอื ขนาด ในลักษณะของตวั เลขโดยตรง เชน อายุ สว นสูง นาํ้ หนัก ปรมิ าณตาง ๆ ขอมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) เปนขอมูลท่ีแสดงลักษณะที่แตกตางกัน เชน เพศชาย เพศหญงิ จะเปน ขอมลู ทไี่ มไ ดอ ยูในรปู ของตัวเลขโดยตรง ประเภทของขอมลู 1. ขอมูลปฐมภูมิ (Primary Data) เปนขอมูลท่ีไดมาจากการท่ีผูใชเปนผูเก็บขอมูล โดยตรง ซึ่งอาจจะเก็บดวยการสมั ภาษณหรือสังเกตการณ เปนขอมูลท่ีมีความนาเชื่อถือมากท่ีสุด เน่ืองจากยังไมมีการเปล่ียนรูป และมีรายละเอียดตามที่ผูใชตองการ แตจะตองเสียเวลาและ
42 คาใชจายมาก เชน ขอมูลท่ีไดจากการนับจํานวนรถที่เขา - ออก หางสรรพสินคา ในชวงเวลา 01.00-12.00 น . ขอมูลทไี่ ดจ ากการสมั ภาษณน ักศึกษาเกย่ี วกับการใชหอ งสมุด 2. ขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) เปนขอมูลท่ีไดมาจากแหลงขอมูล ท่ีมีผูเก็บ รวบรวมไวแลว เปนขอ มูลในอดตี และมักจะเปนขอมูลท่ีไดผานการวิเคราะหเบ้ืองตนมาแลว ผูใช นํามาใชไดเลย จึงประหยัด ท้ังเวลาและคาใชจาย บางคร้ังขอมูลทุติยภูมิจะไมตรงกับความ ตองการหรอื มีรายละเอยี ดไมเ พียงพอ นอกจากนนั้ ผใู ชจ ะไมท ราบถึงขอผดิ พลาดของขอ มูล ซ่ึงอาจจะทําใหผ ทู น่ี าํ มาใชสรปุ ผดิ พลาดไปดวย คณุ สมบตั ิทเ่ี หมาะสมของขอมูล 1. ความถูกตอง ความผิดพลาดของขอมูลมาจากคน หรือเคร่ืองจักร ตองออกแบบ โครงสรางวธิ ีการเก็บขอ มลู ใหผ ดิ พลาดนอยท่ีสดุ 2. ความรวดเร็วและเปนปจจุบัน การไดมาของขอมูลตองรวดเร็ว ใหทันตอเหตุการณ เพราะขอมูลเปลี่ยนแปลงอยางรวดเรว็ 3. ความสมบูรณ ตองสาํ รวจและสอบถามความตอ งการของผใู ชขอมลู 4. ความชัดเจนและกะทัดรดั ตองออกแบบโครงสรา งของขอ มลู ใหก ะทดั รดั ส่ือความหมายได 5. ความสอดคลอ ง ตองมีการสาํ รวจความตอ งการของกลมุ เปา หมาย การทําขอ มูลใหเปนสารสนเทศทเี่ ปนประโยชนต อ การใชงาน จาํ เปนตองใชเทคโนโลยีเขา มาชวย ตั้งแตการเก็บรวบรวมขอมูล การตรวจสอบขอมูล การประมวลผล และการดูแลรักษา สารสนเทศเพ่ือการใชง าน เทคนิคการรวบรวมขอมูล ไดแก การสังเกต การสัมภาษณ การตอบแบบสอบถาม การ ทดสอบ ทดลอง การสํารวจ และการศกึ ษาเอกสาร หรอื แหลง ขอมูลออนไลน ขอมลู อเิ ลก็ ทรอนิกส ตา ง ๆ การบันทึกขอมลู เปนการนําเอาขอมลู ที่เก็บรวบรวมมาเพ่อื วเิ คราะหแ ละสังเคราะห และ นําไปใชประกอบการตัดสนิ ใจ ซ่ึงการบนั ทึกขอมลู ท่มี ีประสิทธภิ าพ ประกอบดวย 1. อานขอความที่จะยอใหเขาใจ หาใจความสําคัญของแตละยอหนาและใจความรองที่ สาํ คญั ๆ 2. นําใจความสําคญั และใจความรอง มาเรียบเรียงดวยสาํ นวนของตนเอง 3. ถาขอความที่อานไมมีช่ือเรื่อง ตองต้ังชื่อเร่ืองเอง กรณีตัวเลขหรือจํานวนตองระบุ หนวยชดั เจน
43 การวเิ คราะหแ ละการสงั เคราะหขอ มลู เพือ่ นํามาใชป ระกอบการตัดสนิ ใจ 1. การวิเคราะหขอ มลู การวิเคราะหขอมูล เปนการแยกแยะขอมูล หรือสวนประกอบของขอมูลออกเปน สวนยอย ๆ ศึกษารายละเอียดของขอมูลในการคิดเปนท้ัง 3 ประการ วาแตละดานมีขอมูล อะไรบา ง เพ่ือใหรวู า ใคร ทําอะไร ทไี่ หน อยางไร วิเคราะหและตรวจสอบขอมูลรอบดาน ทั้งดาน บวกและดานลบ ดูความหลากหลายและพอเพียงเพื่อใหไดขอมูลที่แมนยํา เท่ียงตรง เช่ือถือได สมเหตุสมผล การวิเคราะหขอมูล มีประโยชนชวยใหเราสามารถเขาใจเร่ืองราวหรือเร่ืองตาง ๆ ท่ีแทจริง ไมเ ชอ่ื ตามคําบอกเลา หรือคํากลาวอางของใครงา ย ๆ 2. การสังเคราะหข อมลู การสงั เคราะหข อ มูล เปนการนาํ ขอ มลู ท่เี กีย่ วขอ ง ถูกตอง ใกลเ คียงกนั มารวบรวม จัดกลุม จัดระบบเปนกลุมใหญ นําขอมูลการคิดเปนท้ัง 3 ประการ ท่ีวิเคราะหแมนยํา เท่ียงตรง หลากหลายและพอเพียง ท้ังดานบวกและดานลบไว แลวมาจัดกลุมทางเลือกในการแกปญหา ใชในการประกอบการตัดสินใจเลือกทางเลือกท่ีเหมาะสม เปนท่ียอมรับและพอใจที่สุดนํามา แกป ญหาตอ ไป การวิเคราะหแ ละการสังเคราะหขอมูลทั้ง 3 ดาน เปนเร่ืองของทักษะที่จะตองมีการ ฝก ปฏิบัตเิ พ่ือใหเ กิดทักษะกระบวนการคดิ
Search