Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เครือข่ายอินเตอร์เน็ต

เครือข่ายอินเตอร์เน็ต

Published by รุ่งนภา คำแพง, 2020-01-15 01:50:05

Description: เครือข่ายอินเตอร์เน็ต

Search

Read the Text Version

บทที่ 4 ระบบเครือขา่ ยและการส่ือสาร 4.1 บทบาทของการสื่อสารขอ้ มลู และเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ การตดิ ตอ่ สอ่ื สารข้อมูลสมยั ใหม่นี้ มีรากฐานมาจากความพยายามในการเช่ือมตอ่ ระหวา่ งคอมพวิ เตอร์ กับคอมพวิ เตอร์ โดยอาศยั ระบบส่ือสารทม่ี อี ยแู่ ลว้ เช่น โทรศพั ท์ ดงั นั้นการสอ่ื สารขอ้ มลู จงึ อยใู่ นขอบเขตที่จากัด ตอ่ มาเมื่อมกี ารใช้คอมพิวเตอรม์ ากขึ้น ความต้องการในการติดต่อระหวา่ งคอมพิวเตอร์หลายเครื่องในเวลาเดียวกัน ทีเ่ รียกวา่ ระบบเคร่ือขา่ ย (Network) ได้รับการพฒั นาให้ดีข้นึ เป็นลาดับ ในตอนเริ่มต้นของยคุ ส่ือสาร เม่อื ประมาณ พ.ศ. 2513-2515 ความตอ้ งการใช้คอมพวิ เตอร์รว่ มกนั มมี ากขึ้น แต่คอมพวิ เตอร์ยงั มรี าคาสูงมาก เมื่อเทยี บกับอุปกรณส์ ่อื สารท่มี อี ยู่แลว้ บางอย่าง การส่อื สารด้วยระบบเครือข่ายใน ระยะนั้นจึงเนน้ การใช้คอมพวิ เตอรท์ ศี่ ูนย์คอมพิวเตอรเ์ ป็นผ้ใู หบ้ รกิ ารแก่ผู้ใช้ปลายทางหลายคน เพื่อประหยดั คา่ ใช้จา่ ยของระบบ ตอ่ มาเมือ่ ถึงยุคสมัยของไมโครคอมพวิ เตอร์ พบวา่ ขดี ความสามารถในด้านความเรว็ ของการทางานของ เมนเฟรม มีความเรว็ มากกวา่ 10 เท่า เม่ือเทียบกับไมโครคอมพวิ เตอร์ตวั ที่ดที ่ีสดุ แต่ราคาของเมนเฟรมแพงกวา่ ไมโครคอมพวิ เตอร์หลายพันเทา่ การใชไ้ มโครคอมพิวเตอร์จงึ แพรห่ ลายและกระจายออกไป การสื่อสารจึงกลายเปน็ ระบบเครอื ขา่ ยแบบกระจาย กล่าวคอื แทนท่ีจะออกแบบใหเ้ ครอ่ื งคอมพิวเตอรป์ ลายทางตอ่ กับเมนเฟรม ก็ เปล่ยี นเปน็ ระบบเครอื ข่ายทีใ่ ชค้ อมพิวเตอรต์ ่อกบั เครอ่ื งคอมพิวเตอรแ์ ทน ลกั ษณะของเครือขา่ ยจึงเรม่ิ จากจดุ เลก็ ๆ อาจจะอยู่บนแผงวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ ดยี วกัน ขยายตวั ใหญข่ ึน้ เปน็ ระบบที่ทางานร่วมกันในหอ้ งทางาน ในตึก ระหว่างตึก ระหวา่ งสถาบนั ระหวา่ งเมือง ระหว่างประเทศ การ จัดแบ่งรูปแบบของเครือขา่ ยคอมพิวเตอรจ์ งึ แยกตามขนาดของเครอื ข่าย ดังตารางดังต่อไปนี้ ตาราง การแบ่งแยกลกั ษณะของเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ตามระยะทางระหว่างโพรเซสเซอร์ ระยะทางระหวา่ ง ลักษณะทตี่ ง้ั ของ ชื่อเรยี กเครือขา่ ย โพรเซสเซอร์ โพรเซสเซอร์ 0.1 เมตร แผงวงจรอเิ ล็กทรอนิกส์ เคร่ืองจกั รชนดิ ดาตา้ โฟลว์ 1 เมตร ระบบเดียวกัน มลั ติโพรเซสเซอร์ 10 เมตร หอ้ ง มลั ตโิ พรเซสเซอร์ 100 เมตร ตวั อาคาร เครือข่ายทอ้ งถ่ิน 1 กิโลเมตร หนว่ ยงานเดยี วกัน เครอื ข่ายทอ้ งถิน่ 10 กิโลเมตร เมือง เครอื ข่ายทอ้ งถ่นิ 100 กิโลเมตร ประเทศ เครอื ขา่ ยระยะไกล 1000 กิโลเมตร ระหวา่ งประเทศ เครือขา่ ยระยะไกล 10000 กโิ ลเมตร ระหวา่ งดวงดาว เครือข่ายระยะไกลมาก ข้อมูลในรูปของสัญญาณอิเลก็ ทรอนกิ ส์ท่ีเกบ็ ในคอมพิวเตอรส์ ามารถสง่ ตอ่ คดั ลอก จัดพิมพ์ ทาสาเนาได้ งา่ ย เมอื่ เทยี บกับการคดั ลอกด้วยมอื ซ่ึงต้องใช้เวลามากและเส่ียงตอ่ การทาขอ้ มลู ผดิ พลาดอีกดว้ ย วิธกี ารทางด้าน การสื่อสารข้อมูล กาลงั ไดร้ บั การนามาประยุกต์ใช้ในระบบสานกั งานทีเ่ รียกวา่ ระบบสานกั งานอตั โนมตั ิ (office automation)ระบบดงั กล่าวนม้ี ักเรยี กย่อกนั สนั้ ๆ วา่ โอเอ (OA) เปน็ ระบบทใี่ ชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอรม์ าช่วยในการ

ทางานท่ีเก่ียวกบั เอกสารท่วั ไป แลว้ สง่ ไปยังหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ไดด้ ว้ ยไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์เพ่อื โอนยา้ ยแลกเปลีย่ น ขอ้ มลู ทเ่ี ก็บรวบรวมไว้ระหวา่ งแผนก บทบาทที่สาคญั อกี บทบาทหนึ่ง คอื การให้บริการข้อมูล หลายประเทศจดั ให้มฐี านข้อมลู ไว้บรกิ าร เชน่ ฐานข้อมูลเกย่ี วกับสงิ่ แวดล้อม ฐานข้อมูลงานวจิ ยั ฐานข้อมลู ทางเศษรกจิ ฐานข้อมูลของสนิ ค้าเคร่อื งอปุ โภคบรโิ ภค ในมหาวทิ ยาลยั อาจมีข้อมูลเกย่ี วกบั หนังสอื และตาราวชิ าการ หากผใู้ ช้ตอ้ งการขอ้ มลู ใดกส็ ามารถติดตอ่ มายัง ศูนยบ์ ริการขอ้ มูลน้นั การติดต่อจะผ่านเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ ทาใหก้ ารไดข้ ้อมูลเปน็ ไปอย่างรวดเรว็ ความสาคัญของการสอ่ื สารขอ้ มูลผา่ นเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ จงึ เป็นสิ่งที่ตระหนกั กันอยูเ่ สมอ ลองพจิ ารณา ถึงประโยชน์ของการสือ่ สารขอ้ มูลต่อไปนี้ 1) การจดั เกบ็ ข้อมูลได้ง่ายและสอ่ื สารไดร้ วดเร็ว การจัดเกบ็ ข้อมูลซึง่ อยู่ในรปู ของสัญญาณอิเลก็ ทรอนกิ ส์ สามารถจัดเก็บไว้ในแผ่นบันทกึ ที่มีความหนาแนน่ สงู แผน่ บันทึกแผ่นหนึ่งสามารถบันทึกขอ้ มูลได้มากกว่า 1 ล้าน ตวั อกั ษร สาหรบั การส่ือสารขอ้ มูลน้ัน ถา้ ข้อมูลผา่ นสายโทรศัพทไ์ ด้ด้วยอัตรา 120 ตวั อกั ษรต่อวินาทีแล้ว จะส่ง ขอ้ มูล 200 หน้าได้ในเวลา 40 นาที โดยทไี่ ม่ต้องเสยี เวลามานง่ั ป้อนขอ้ มลู เหลา่ นัน้ ซ้าใหม่อีก 2) ความถูกตอ้ งของข้อมลู โดยปกติมกี ารสง่ ขอ้ มูลดว้ ยสญั ญาณทางอเิ ลก็ ทรอนิกสจ์ ากจุดหนึง่ ไปยังจดุ อน่ื ดว้ ยระบบดิจิทัล วธิ ีการรับส่งนั้นจะมกี ารตรวจสอบสภาพของขอ้ มูลหากข้อมูลผิดพลาดก็จะมกี ารรับรู้และพยายาม หาวธิ ีการแกไ้ ขใหข้ ้อมูลที่ได้รบั มีความถกู ต้อง โดยอาจให้ทาการส่งใหม่ หรอื กรณที ่ผี ิดพลาดไม่มากนัก ฝา่ ยผรู้ บั อาจ ใช้โปรแกรมของตนแก้ไขข้อมลู ให้ถูกต้องได้ 3) ความเร็วของการทางาน โดยปกติสญั ญาณของไฟฟา้ จะเดนิ ทางดว้ ยความเร็วเท่าแสง ทาให้การใช้ คอมพวิ เตอรส์ ่งข้อมลู จากซกี โลกหนึง่ ไปยงั อีกซกี โลกหนง่ึ หรอื คน้ หาขอ้ มลู จากฐานข้อมลู ขนาดใหญ่ สามารถทาได้ รวดเรว็ ความรวดเร็วของระบบจะทาใหผ้ ู้ใชส้ ะดวกสบายอยา่ งยงิ่ เช่น บริษทั สายการบนิ ทกุ แหง่ สามารถทราบ ข้อมลู ของทกุ เท่ยี วบนิ ไดอ้ ย่างรวดเรว็ ทาใหก้ ารจองทนี่ ่ังของสายการบนิ สามารถทาได้ทันที 4) ต้นทนุ ประหยดั การเช่อื มตอ่ คอมพวิ เตอรต์ ่อเข้าหากันเปน็ เครือขา่ ยเพ่อื ส่งหรือสาเนาขอ้ มูลทาให้ราคา ตน้ ทุนของการใช้ขอ้ มลู ไม่แพง เม่อื เทยี บกับการจัดสง่ แบบวธิ อี ่นื นกั คอมพิวเตอร์บางคนสามารถส่งโปรแกรมให้กนั และกันผ่านทางสายโทรศพั ท์ได้ 4.2 การสอื่ สารขอ้ มลู การสือ่ สารข้อมูล (Data Communications) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรอื แลกเปลย่ี นขอ้ มูล กันระหวา่ งผู้สง่ และผรู้ ับ โดยผา่ นช่องทางสอ่ื สาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอรเ์ ป็นตวั กลางในการ ส่งขอ้ มูล เพ่อื ให้ผ้สู ่งและผรู้ ับเกดิ ความเข้าใจซึง่ กนั และกัน เมือ่ กลา่ วถงึ การตดิ ต่อสื่อสาร ในอดตี อาจหมายถงึ การพูดคยุ กันของมนุษย์ซ่ึงอาจเป็นการแสดงออกดว้ ย ทา่ ทาง การใช้ภาษาพูดหรือผา่ นทางตัวอกั ษร โดยเปน็ การสือ่ สารในระยะใกลๆ้ ต่อมา เมอ่ื เทคโนโลยกี ้าวหน้าได้มี การพัฒนาการส่อื สารเข้ากบั การใชง้ านอปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ทาใหส้ ามารถสื่อสารได้ในระยะไกลขึน้ และสะดวก รวดเร็วมากขึ้น เชน่ การใช้โทรเลข โทรศพั ท์ โทรสาร อกี ทงั้ ตัวอุปกรณ์ที่ใชใ้ นการส่อื สารเองกไ็ ด้รบั การพฒั นา ความสามารถข้ึนมาเป็นลาดบั และเขา้ มามบี ทบาทในทกุ วงการ ดงั นั้น ในยคุ สารสนเทศน้ี การส่อื สารขอ้ มูลจงึ หมายถึงการแลกเปลยี่ นข้อมลู ข่าวสารซ่ึงอาจอยู่ในรปู ของตวั อักษร ตวั เลข รูปภาพ เสยี งหรอื วิดที ศั น์ ระหวา่ ง อปุ กรณ์สอ่ื สาร โดยผ่านทางสอ่ื กลางในการส่ือสารซ่ึงอาจเป็นส่ือกลางประเภทท่ีมีสายหรอื ไรส้ ายกไ็ ด้ โดยปกติ องคป์ ระกอบหลกั ของระบบสือ่ สารข้อมูลมอี ยู่ 5 อยา่ ง ไดแ้ ก่ 1. ขา่ วสารหรือข้อมูล (message) 2. ผู้สง่ (sender) 3. ผู้รบั (receiver) 4. สื่อกลาง (media) 5. โพรโทคอล (protocol

1. ผู้สง่ ขา่ วสารหรอื แหลง่ กาเนิดขา่ วสาร (source) อาจจะเป็นสัญญาณต่างๆ เชน่ สัญญาณภาพ ขอ้ มูลและสียงเป็นต้น ในการติดต่อสือ่ สารสมัยกอ่ นอาจจะใชแ้ สงไฟ ควันไฟ หรือท่าทางต่าง ๆ กน็ ับว่าเป็น แหล่งกาเนดิ ขา่ วสาร จดั อยู่ในหมวดหมู่นี้เช่นกัน 2. ผูร้ บั ข่าวสารหรือจุดหมายปลายทางของขา่ วสาร (sink) ซึง่ จะรบั รู้จากส่ิงทีผ่ ู้ส่งข่าวสาร หรอื แหล่งกาเนิดข่าวสารส่งผ่านมาให้ตราบใด ท่ีการติดต่อสอ่ื สารบรรลุวัตถปุ ระสงค์ ผรู้ บั สารหรือจดุ หมายปลายทาง ของขา่ วสารกจ็ ะไดร้ บั ขา่ วสารนน้ั ๆ ถ้าผูร้ บั สารหรือ จดุ หมายปลายทางไม่ไดร้ บั ข่าวสาร กแ็ สดงว่าการส่อื สารนั้นไม่ ประสบความสาเร็จ กลา่ วคือไมม่ กี ารสอ่ื สารเกดิ ขึ้นน่นั เอง 3. ช่องสัญญาณ (channel) ในที่นีอ้ าจจะหมายถึงส่ือกลางหรือตวั กลางท่ขี า่ วสารเดินทางผา่ น อาจจะ เป็นอากาศ สายนาสัญญาณต่าง ๆ หรือแมก้ ระท่ังของเหลว เชน่ น้า นา้ มัน เป็นต้น เปรียบเสมือนเป็นสะพานทีจ่ ะ ให้ข่าวสารขา้ มจากฝ่งั หน่ึงไปยังอีกฝัง่ หนงึ่ 4. การเข้ารหสั (encoding) เปน็ การช่วยใหผ้ ู้สง่ ข่าวสารและผู้รบั ข่าวสารมีความเข้าใจตรงกนั ในการ สอ่ื ความหมาย จงึ มีความจาเป็นต้องแปลงความหมายน้ี การเข้ารหัสจงึ หมายถึงการแปลงข่าวสารใหอ้ ยู่ในรปู พลังงาน ที่พร้อมจะสง่ ไปในส่ือกลาง ทางผู้สง่ มีความเข้าใจต้องตรงกันระหว่าง ผสู้ ง่ และผรู้ บั หรอื มีรหสั เดยี วกนั การสื่อสารจงึ เกดิ ข้ึนได้ 5. การถอดรหสั (decoding) หมายถงึ การทผ่ี ้รู บั ขา่ วสารแปลงพลงั งานจากส่ือกลางให้กลบั ไปอยูใ่ นรปู ขา่ วสารท่ีส่งมาจากผ้สู ่งข่าวสาร โดยมีความเขา้ ในหรือรหัสตรงกนั 6. สัญญาณรบกวน (noise) เป็นสงิ่ ที่มอี ยู่ในธรรมชาติ มักจะลดทอนหรือรบกวนระบบ อาจจะเกิดข้ึน ไดท้ ัง้ ทางดา้ นผ้สู ่งขา่ วสาร ผู้รับข่าวสาร และช่องสัญญาณ แต่ในการศึกษาขั้นพนื้ ฐานมักจะสมมติให้ทางดา้ นผู้สง่ ข่าวสารและผรู้ บั ขา่ วสารไมม่ ีความผิดพลาด ตาแหน่งท่ีใช้วิเคราะห์ มกั จะเปน็ ที่ตวั กลางหรือชอ่ งสัญญาณ เมอ่ื ไรที่ รวมสัญญาณรบกวนด้านผู้สง่ ขา่ วสารและด้านผู้รับข่าวสาร ในทางปฎิบัติมักจะใช้ วงจรกรอง (filter) กรองสัญญาณ แต่ต้นทาง เพือ่ ใหก้ ารส่ือสารมีคุณภาพดียิ่งขึ้นแล้วคอ่ ยดาเนินการ เช่น การเข้ารหสั แหล่ง 4.2.1การสอ่ื สาร-วิธกี ารถา่ ยโอนขอ้ มลู 1 1. การถา่ ยโอนขอ้ มลู แบบขนานการถ่ายโอนขอ้ มูลแบบขนาน ทาได้โดยการส่งขอ้ มลู ออกทีละ 1 ไบต์ หรอื 8 บติ จากอปุ กรณส์ ่งไปยงั อุปกรณร์ บั อุปกรณต์ ัวกลางระหวา่ งสองเคร่ืองจึงตอ้ งมีช่องทางให้ขอ้ มลู เดินทาง อย่างนอ้ ย 8 ชอ่ งทาง เพอ่ื ใหก้ ระแสไฟฟา้ ผ่านโดยมากจะเป็นสายสัญญาณแบบขนาน ระยะทางของสายสญั ญาณ แบบขนานระหว่างสองเคร่ืองไมค่ วรยาวเกนิ 100 ฟตุ เพราะอาจทาให้เกิดปัญหาสัญญาณสญู หายไปกับความ ต้านทานของสาย นอกจากนี้อาจมีปัญหาทเี่ กิดจากระดับไฟฟ้าสายดนิ ท่ีจุดรับผิดไปจากจดุ สง่ ทาให้เกดิ การ ผดิ พลาดในการรับสญั ญาณทางฝ่ายรบั นอกจากแกนหลักแล้วอาจจะมีทางเดนิ ของสญั ญาณควบคุมอ่ืน ๆ อีก เชน่ บติ พาริตี ท่ใี ชใ้ นการตรวจสอบ ความผิดพลาดของการรบั สญั ญาณท่ีปลายทางหรอื สายท่ีควบคุมการโต้ตอบ (hand-shake)

2. การถ่ายโอนข้อมลู แบบอนุกรมในการถ่ายโอนข้อมลู แบบอนุกรม ข้อมูลจะถกู สง่ ออกมาทีละบิต ระหว่างจดุ ส่งและจุดรับ การส่งขอ้ มูลแบบน้จี ะชา้ กว่าแบบขนาน การถ่ายโอนขอ้ มูลแบบอนกุ รมต้องการตัวกลาง สาหรับการสอ่ื สารเพียงช่องเดยี วหรอื สายเพียงคูเ่ ดยี ว คา่ ใชจ้ า่ ยจะถกู กวา่ แบบขนานสาหรับการส่งระยะทางไกลๆ โดยเฉพาะเมอ่ื เรามรี ะบบการส่อื สารทางโทรศพั ท์ไวใ้ ช้งานอยู่แล้ว ยอ่ มจะเป็นการประหยดั กวา่ ท่ีจะทาการ ตดิ ต่อส่อื สารทีละ 8 ชอ่ ง เพ่อื การถา่ ยโอนข้อมูลแบบขนานการถา่ ยโอนข้อมลู แบบอนุกรมจะเร่ิมโดยขอ้ มลู จากจุด สง่ จะถูกเปลยี่ นใหเ้ ปน็ สัญญาณอนุกรมเสียก่อน แลว้ คอยทยอยส่งออกทีละบิตไปยงั จดุ รับ และทจ่ี ดุ รบั จะต้องมี กลไกในการเปลีย่ นข้อมูลท่ีสง่ มาทีละบิต ให้เปน็ สัญญาณแบบขนานซง่ึ ลงตวั พอดี เชน่ บิตท่ี 1 ลงทีบ่ ัสข้อมูลที่สง่ มา ทลี ะบิต ใหเ้ ป็นสญั ญาณแบบขนานซ่ึงลงตวั พอดี เช่น บิตท่ี 1 ลงที่บัสข้อมูลเส้นท่ี 1ดังแสดงในรปู 4.2.2การส่อื สาร : วธิ ีการถา่ ยโอน2 การติดตอ่ แบบอนุกรมอาจแบ่งตามรูปแบบการรบั -สง่ ได้ 3 แบบ 1. การสอื่ สารแบบทางเดียว (simplex: SPX) เปน็ การสื่อสารแบบทางเดียว มที ิศทางการไหลของ สัญญาณเป็นทิศทางเดียวกัน กลา่ วคอื มีเพียงอุปกรณ์ตวั เดียวเท่านั้นทที่ าหน้าท่ีสง่ ขอ้ มูล อุปกรณ์ตัวอนื่ ทาหน้าทร่ี บั ขอ้ มลู อย่างเดียว ตัวอย่างเชน่ แป้นพิมพแ์ ละจอภาพ หรอื สวิตซแ์ ละหลอดไฟ หรอื การออกอากาศวิทยุ โทรทัศน์ ที่ ผ้รู ับและผู้ส่งไม่สามารถโต้ตอบกันได้ 2. การสือ่ สารแบบสองทางครง่ึ อัตรา (half duplex: HDX) เป็นการส่ือสารแบบสองทาง แต่ส่งไดท้ ี ละทาง โดยแต่ละสถานีทาหนา้ ทไ่ี ดท้ ้งั รับและส่งข้อมลู เม่ืออุปกรณ์ใดทาหน้าที่เปน็ ผู้สง่ อปุ กรณ์ตัวอื่นจะทาหน้า เป็นผรู้ บั ไม่สามารถสง่ ขอ้ มลู สวนทางกนั ได้ ตัวอย่างของการสง่ สัญญาณแบบนเ้ี ชน่ วทิ ยุสอ่ื สารของหน่วยงาน

ราชการ หรอื ตารวจซ่งึ ตอ้ งผลดั กันพูด เมอ่ื ฝ่ายหนง่ึ เป็นผู้พูดต้องกดป่มุ แลว้ จึงพดู ได้ เมื่อพูดเสร็จเรามกั จะได้ยนิ คา วา่ \"เปลี่ยน\" นัน่ คอื เปน็ การบอกให้ผรู้ ับทราบวา่ ผสู้ ง่ ต้องการเปลยี่ นสถานะจากผูส้ ่งเป็นผูร้ ับ และใหผ้ รู้ บั เปลี่ยนเป็นผู้ส่ง 3. การส่อื สารแบบสองทางเต็มอัตรา (full duplex: FDX) เปน็ การสอ่ื สารแบบสองทาง แตร่ บั ส่งไดพ้ รอ้ ม ๆ กัน หมายความวา่ สถานที ้ัง 2 สถานี สามารถสง่ และรบั ขอ้ มูลได้พรอ้ ม ๆ กัน และตวั กลางท่ีใชท้ ัง้ 2 ฝง่ั อาจใช้ รว่ มกันหรือแบง่ แยกเปน็ สายสาหรับรบั กบั สายสาหรบั สง่ ก็ได้ การสื่อสารแบบนม้ี ปี ระสิทธิภาพดีกว่าแบบอื่น ๆ เพราะไม่เกดิ การหน่วงเวลาในชว่ งการเปล่ียนสถานะระหว่างผูร้ บั กับผสู้ ่ง 4.3 ส่ือกลางในการสือ่ สารขอ้ มูล ตัวกลางหรือสายเชอ่ื มโยง เปน็ ส่วนที่ทาใหเ้ กดิ การเชือ่ มตอ่ ระหว่างอุปกรณต์ ่างๆ เข้าด้วยกนั และ อุปกรณ์ทีย่ อมให้ข่าวสารขอ้ มูลเดนิ ทางผ่านจากผู้ส่งไปส่ผู รู้ บั ส่อื กลางท่ใี ชใ้ นการสอ่ื สารขอ้ มลู มีอยู่หลายประเภท แต่ละประเภทมคี วามแตกตา่ งกันในดา้ นของปริมาณข้อมูลท่สี ่ือกลางน้นั ๆ สามารถนาผา่ นไปได้ในเวลาขณะใด ขณะหน่ึง การวัดปรมิ าณหรือความจุในการนาขอ้ มลู หรือที่เรียกกันวา่ แบนด์วดิ ธ์ (bandwidth) มหี นว่ ยเปน็ จานวน บติ ขอ้ มูลตอ่ วินาที (bits per second : bps) ลกั ษณะของตวั กลางต่างๆ มดี ังต่อไปนี้ 4.3.1 สือ่ กลางประเภทมีสาย 1) สายคบู่ ิดเกลียว (Twisted – Pair Cable)สายค่บู ิดเกลียวประกอบดว้ ยสายทองแดง ท่ีหุ้มด้วย ฉนวนพลาสตกิ หลังจากนั้นกน็ าสายทงั้ สองมาถักกนั เป็นเกลียวคู่ เชน่ สายคู่บิดเกลียวทใ่ี ชก้ ับเครอื ข่ายทอ้ งถิ่น (CAT5) การนาสายมาถกั เป็นเกลยี วเพอื่ ชว่ ยลดการแทรกแซงจากสัญญาณรบกวนสายคู่บิดเกลียวมีอยู่ 2 รปู แบบ คอื สายคูบ่ ิดเกลียวแบบไม่มีชลี ด์ และแบบมีชลิ ด์ สายคบู่ ิดเกลยี วแบบไม่มีชลี ด์ (Unshielded Twisted –Pair Cable :UTP นยิ มใชง้ านมากในปจั จุบนั มลี กั ษณะคล้ายกบั สายโทรศพั ทบ์ ้านไม่มีการห้มุ ฉนวนมีแตก่ ารบิดเกลียวอย่างเดียว

สายค่บู ิดเกลยี วแบบมชี ลิ ด์ (Shielded Twisted –Pair Cable :STP) สาหรับสายSTP คล้ายกับสาย UTP แตส่ าย STP จะมีชิลด์ห่อหมุ้ อกี ช้ันหน่งึ ทาให้ป้องกันสัญญาณ รบกวนได้ดีกวา่ สาย UTP ขอ้ ดี 1) ราคาถกู 2) มีนา้ หนกั เบา 3) งา่ ยตอ่ การใชง้ าน ข้อเสยี 1) มคี วามเร็วจากัด 2) ใชก้ บั ระยะทางส้ันๆ สายโคแอกเชยี ล (Coaxial Cable) สายมักทาด้วยทองแดงอยู่แกนกลาง ซงึ่ สายทองแดงจะถูกหอ่ หมุ้ ดว้ ยพลาสตกิ จากนั้นก็จะมชี ิลด์ ห่อหมุ้ อกี ชั้นหนง่ึ เพ่ือป้องกันสัญญาณรบกวน และหมุ้ ด้วยเปลอื กนอกอกี ชน้ั หน่งึ ป้องกนั สญั ญาณรบกวนจากคลน่ื แม่เหล็กไฟฟ้าไดด้ ี สายโคแอกเชียลที่เห็นไดท้ ่วั ๆไป คอื สายทน่ี ามาใช้ต่อเข้ากับเสาอากาศทวี ที ใ่ี ชต้ ามบา้ น ขอ้ ดี 1) เช่อื มตอ่ ไดใ้ นระยะไกล 2) ปอ้ งกนั สญั ญาณรบกวนได้ดี ขอ้ เสยี 1) มีราคาแพง 2) สายมีขนาดใหญ่ 3) ติดต้ังยาก

สายไฟเบอรอ์ อปติค(Optical Fiber) สายไฟเบอรอ์ อปตคิ หรอื สายใยแก้วนาแสง เป็นสายทมี่ ีลักษณะโปรง่ แสง มรี ูปทรงกระบอกใน ตัวขนาดประมาณเส้นผมของมนุษย์แตม่ ีขนาดเลก็ สายไฟเบอรอ์ อปติค แบ่งเป็น 3 ชนดิ 1) Multimode step –index fiber จะสะทอ้ นแบบหกั มุม 2) Multimode graded –index มีลกั ษณะคลา้ ยคลน่ื 3) Single mode fiber เปน็ แนวตรง ข้อดี 1) มีขนาดเล็กนา้ หนักเบา 2) มคี วามปลอดภยั ในการส่งข้อมูล 3) มีความทนทานและมอี ายุการใชง้ านยาวนาน ข้อเสีย 1) เสน้ ใยแก้วมคี วามเปราะบาง แตกหกั งา่ ย 2) มรี าคาสูง เมือ่ เทยี บกับสายเคเบิลทวั่ ไป 3) การตดิ ตง้ั จาเป็นต้องพ่ึงพาผ้เู ช่ยี วชาญเฉพาะ 4.3.2 สื่อกลางประเภทไม่มสี าย ส่อื ท่ไี มใ่ ช้สาย ส่ือประเภทนี้เปน็ ระบบตวั กลางท่สี ่งเปน็ คลืน่ วทิ ยุ เชน่ อากาศทีเ่ ราใชส้ ่งคลื่นวทิ ยุ คลน่ื ไมโครเวฟ (Microwave) รวมท้ังการสื่อสารผา่ นดาวเทียม

ดาวเทียม การใช้ดาวเทยี มสาหรับการสง่ ขอ้ มูลแบบดิจิตอลก็เหมอื นกับการสง่ แบบไมโครเวฟนัน่ เองค่ะ ดาวเทียมน้นั จะต้องรับและสง่ สญั ญาณแบบสนั ตรง ดาวเทียมจะชว่ ยส่งสญั ญาณในระยะไกลซ่ึงทาได้มากข้นึ ใน ลักษณะของการข้ามภมู ิภาค ข้ามทวีป ซ่งึ สญั ญาณไมโครเวฟน้นั ไม่สามารถทาได้เน่ืองจาก ดาวเทียมน้ันจะมีฟตุ พรนิ้ (Footprint)สาหรบั ฟุตพรนิ้ (Footprint) ก็คอื จานวนพ้ืนทบ่ี นผวิ โลกท่ดี าวเทียมหนงึ่ ครอบคลมุ การส่งสัญญาณได้ นนั่ เองค่ะ ในปัจจบุ ันน้ีมีการใชส้ ัญญาณดาวเทียมทโ่ี คจรแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ก็คือ • ดาวเทียมแบบจอี ีโอ (Geostationary Earth Orbit : GEO) ดาวเทียมชนิดนี้ จะเหมาะกบั การ ส่งสัญญาณโทรทัศน์ • ดาวเทียมแบบโคจรระดบั กลาง (Medium Earth Orbit : MEO) ดาวเทยี มชนิดน้ีในการโคจร จะโน้มเอียงไปยังส้นศนู ย์สตู รนนั่ เอง • ดาวเทียมแบบระดบั ตา่ (Low Earth Orbit : LEO) ดาวเทยี มชนิดน้จี านวนมากสามารถ ครอบคลุมการสง่ สัญญาณบนโลกให้ท่วั ถึงได้ ทจี่ ริงดาวเทยี มก็คือสถานีไมโครเวฟลอยฟ้านั่นเอง ซง่ึ ทาหน้าท่ขี ยายและทบทวนสัญญาณข้อมูล รบั และสง่ สญั ญาณข้อมลู กบั สถานีดาวเทียมทอ่ี ย่บู นพ้ืนโลก สถานดี าวเทียมภาคพ้ืนจะทาการส่งสญั ญาณขอ้ มลู ไป ยังดาวเทยี มซง่ึ จะหมุนไปตามการหมนุ ของโลกซ่งึ มตี าแหน่งคงที่เมอ่ื เทยี มกับตาแหน่งบนพืน้ โลก ดาวเทียมจะถกู ส่ง ขน้ึ ไปให้ลอยอยูส่ ูงจากพื้นโลก เคร่อื งทบทวนสญั ญาณของดาวเทยี ม (Transponder) จะรับสัญญาณข้อมลู จาก สถานีภาคพืน้ ซึ่งมกี าลงั อ่อนลงมากแลว้ มาขยาย จากนนั้ จะทาการทบทวนสญั ญาณ และตรวจสอบตาแหนง่ ของ สถานีปลายทาง แล้วจงึ สง่ สัญญาณข้อมลู ไปดว้ ยความถใี่ นอกี ความถ่หี น่ึงลงไปยังสถานีปลายทาง การสง่ สัญญาณ ข้อมูลขนึ้ ไปยังดาวเทยี มเรยี กวา่ \"สญั ญาณอปั ลิงก์\" (Up-link) และการสง่ สัญญาณขอ้ มลู กจ็ ะกลับลงมายงั พนื้ โลก เรียกว่า \"สัญญาณ ดาวน์-ลิงก์ (Down-link) ลักษณะของการรับสง่ สญั ญาณขอ้ มูลอาจจะเป็นแบบจุดต่อจดุ (Point- to-Point) หรอื แบบแพรส่ ญั ญาณ น่ันเอง ขอ้ ดี-ขอ้ เสีย ของการสง่ สัญญาณแบบดาวเทียม ข้อดี การส่งข้อมลู หรอื การส่งสัญญาณแบบดาวเทยี มจะสามรถรบั -ส่ง ข้อมลู ไดเ้ ร็ว สะดวกตอ่ การ ติดต่อส่อื สาร และสามารถส่งขอ้ มลู ไดใ้ นระยะทางทไ่ี กล ขอ้ เสีย การสง่ สัญญาณขอ้ มลู ทางดาวเทยี มก็คอื ระบบดาวเทียมนนั้ คล้ายกับไมโครเวฟ คือ อาจจะถกู กระทบ โดยสภาพอากาศ ดังน้ัน มกี ารลา่ ช้าของสัญญาณในการส่งขอ้ มูลแต่ละชว่ ง ดงั นัน้ การเช่ือมโยงข้อมลู จดั การกับ ปัญหาความลา่ ชา้ สญั ญาณขอ้ มลู สามารถถกู รบกวนจากสญั ญาณ ภาคพน้ื อนื่ ๆ ได้ อกี ในการส่งสัญญาณเนอื่ งจาก ระยะทางขนึ้ -ลง ของสัญญาณ และท่ีสาคัญคือ มีราคาสงู ในการลงทนุ ทาให้ค่าบรกิ ารสงู ตามขึน้ มา

คล่นื วิทยุ คลื่นวิทยุทกี่ ระจายออกจากสายอากาศ จะเดินทางไปทกุ ทิศทาง ในทุกระนาบ การกระจายคลน่ื นีม้ ี ลักษณะเปน็ การขยายตัวของพลงั งานออกเปน็ ทรงกลม ถา้ จะพจิ ารณาในส่วนของพื้นทแ่ี ทนหนา้ คลื่นจะเห็นได้วา่ มนั พุ่งออกไปเร่อื ย ๆ จากจุดกาเนดิ และสามารถเขยี นแนวทศิ ทางเดนิ ของหนา้ คล่นื ได้ดว้ ยเสน้ ตรงหรือเสน้ รงั สี เสน้ รังสที ี่ลากจากสายอากาศออกไปจะทามมุ กบั ระนาบแนวนอน มุมนเ้ี รยี กว่า มุมแผ่คลน่ื อาจมีค่าเปน็ บวก ( มุมเงย ) หรือมีคา่ เปน็ ลบ ( มุมกดลง ) ก็ได้ มมุ ของการแผ่คล่นื นี้อาจนามาใช้เปน็ ตวั กาหนดประเภทของคล่ืนวทิ ยุได้ โดยทั่วไปคล่ืนวทิ ยอุ าจแบ่งออกเปน็ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คอื คล่ืนดนิ (GROUND WAVE ) กบั คลื่นฟา้ (SKY WAVE ) พลงั งานคลน่ื วิทยสุ ว่ นใหญจ่ ะเดนิ ทางอย่ใู กล้ ๆ ผวิ โลกหรอื เรยี กว่าคลนื่ ดิน ซ่งึ คล่ืนน้ีจะเดนิ ไปตามส่วนโคง้ ของ โลก คลน่ื อีกส่วนทอ่ี อกจากสายอากาศ ดว้ ยมมุ แผ่คล่นื เป็นค่าบวก จะเดนิ ทางจากพ้ืนโลกพงุ่ ไปยังบรรยากาศจนถงึ ช้นั เพดานฟ้าและจะสะทอ้ นกลบั ลงมายังโลกนี้เรียกวา่ คลน่ื ฟา้ ผลของคลน่ื วิทยุทม่ี ีต่อรา่ งกาย คลนื่ วทิ ยุสามารถทะลุเขา้ ไปในร่างกายมนษุ ยไ์ ดล้ ึกประมาณ 1/10 ของความยาวคล่นื ที่ตกกระทบ และ อาจทาลายเนื้อเยื่อของอวัยวะภายในบางชนดิ ได้ ผลการทาลายจะมากหรอื นอ้ ย ขนึ้ อยู่กับความเขม้ ช่วงเวลาท่ี รา่ งกายไดร้ ับคลืน่ และชนิดของเน้อื เยอื่ อวัยวะที่มีความไวต่อคล่นื วทิ ยุ ไดแ้ ก่ นัยนต์ า ปอด ถุงน้าดี กระเพาะ ปัสสาวะ อัณฑะ และบางส่วนของระบบทางเดินอาหาร โดยเฉพาะนยั นต์ า และอณั ฑะ เป็นอวยั วะท่ีอ่อนแอทสี่ ดุ เมื่อได้รบั คล่นื วทิ ยชุ ่วงไมโครเวฟ คลน่ื วทิ ยุชว่ งความถ่ีตา่ ง ๆ อาจมผี ลตอ่ ร่างกายดงั น้ี 1. คล่ืนวทิ ยุที่มีความถ่ีน้อยกว่า 150 เมกะเฮิรตซ์ (มีความยาวคลื่นมากกวา่ 2 เมตร) คล่นื จะทะลุผา่ น รา่ งกายโดยไมก่ อ่ ใหเ้ กิดผลใด ๆ เนอื่ งจากไมม่ ีการดูดกลืนพลงั งานของคลื่นไว้ รา่ งกายจงึ เปรียบเสมอื นเปน็ วตั ถุ โปรง่ ใสตอ่ คลนื่ วทิ ยุช่วงน้ี 2. คล่นื วิทยุทมี่ ีความถร่ี ะหว่าง 150 เมกะเฮริ ตซ์ ถึง 1.2 จิกะเฮิรตซ์ (มีความยาวคลื่น ระหว่าง 2.00 ถึง 0.25 เมตร) คลนื่ วทิ ยุช่วงนีส้ ามารถทะลุผ่านเขา้ ไปในร่างกายได้ลกึ ประมาณ 2.5 ถงึ 20 เซนตเิ มตร เนื้อเยื่อของอวัยวะภายในบริเวณนัน้ จะดดู กลนื พลังงานของคล่ืนไวถ้ งึ รอ้ ย ละ 40 ของพลงั งานท่ีตกกระทบ ทาให้เกดิ ความร้อนข้นึ ในเนื้อเย่ือ โดยทรี่ า่ งกายไม่สามารถร้สู ึกได้ ถา้ ร่างกายไม่ สามารถกระจายความรอ้ นออกไปในอตั ราเทา่ กับทร่ี บั เขา้ มา อุณหภมู ิหรือระดับความรอ้ นของร่างกายจะสงู ข้นึ เป็น อนั ตรายอยา่ งยง่ิ ต่อร่างกาย ความร้อนในร่างกายท่สี งู กว่าระดับปกติอาจก่อให้เกดิ ผลหลายประการ เชน่ - เลอื ดจะแข็งตัวช้ากวา่ ปกติ ผลอนั น้ถี ้ามีการเสยี เลือดเกิดข้ึน อาการจะมคี วามรุนแรง - การหมนุ เวียนของเลอื ดเร็วขึ้น - ฮโี มโกลบินของเมด็ เลอื ดแดงจะมคี วามจุออกซิเจนลดลง ทาให้เลือดมอี อกซเิ จนไมเ่ พยี งพอเล้ียงเนื้อเย่ือต่าง ๆ เมอื่ เนอ้ื เยอ่ื ขาดออกซิเจนจะทาใหเ้ ซลลส์ มอง ระบบประสาทส่วนกลางและอวัยวะภายในขาดออกซิเจนด้วย อาจ ทาให้มกี ารกระตกุ ของกล้ามเน้ือจนถงึ ชัก ถา้ สภาพเชน่ นดี้ าเนินต่อไป ผลที่ตามมากค็ อื ไม่รูส้ กึ ตวั และอาจเสียชวี ิต ได้ 3. คลนื่ วิทยุท่ีมีความถรี่ ะหวา่ ง 1-3 จิกะเฮิรตซ์ (มคี วามยาวคลื่นระหว่าง 30 ถึง 10เซนตเิ มตร) ทงั้ ผวิ หนงั และเนอื้ เยอ่ื ลกึ ลงไปดูดกลืนพลังงานได้ราวรอ้ ยละ 20 ถงึ รอ้ ยละ100 ขน้ึ อยกู่ บั ชนิดของเนอื้ เยือ่ คลื่นวทิ ยเุ ช่นนีเ้ ป็น อนั ตรายอย่างยง่ิ ต่อนัยน์ตา โดยเฉพาะเลนส์ตาจะมคี วามไวเป็นพเิ ศษต่อคล่นื วทิ ยุความถี่ประมาณ 3 จกิ ะเฮริ ตซ์ เพราะเลนส์ตามีความแตกตา่ งจากอวยั วะอืน่ ตรงทีไ่ ม่มเี ลอื ดมาหลอ่ เลยี้ งและไมม่ ีกลไกซ่อมเซลล์ ดังนั้นเม่ือนัยน์ตา ไดร้ บั คลืน่ อย่างต่อเนื่องจะทาใหข้ องเหลวภายในตามอี ุณหภูมิสงู ขึน้ โดยไม่สามารถถ่ายโอนความรอ้ นเพือ่ ให้ อณุ หภูมลิ ดลงไดเ้ หมอื นเนือ้ เยื่อของอวัยวะอน่ื ๆ จงึ จะก่อใหเ้ กิดอนั ตรายอย่างรนุ แรงตามมา พบว่าถ้าอุณหภมู ิของ ตาสูงขึ้นเซลล์เลนสต์ าบางส่วนอาจถูกทาลายอย่างช้า ๆ ทาใหค้ วามโปรง่ แสงของเลนสต์ าลดลง ตาจะขุ่นลงเรอื่ ย ๆ ในทีส่ ุดจะเกดิ เป็นต้อกระจก สายตาผิดปกติ และสดุ ท้ายอาจมองไม่เหน็

4. คล่ืนวิทยุทมี่ ีความถ่รี ะหวา่ ง 3-10 จกิ ะเฮิรตซ์ (มีความยาวคลื่นระหวา่ ง 10 ถึง 3เซนติเมตร) ผวิ หนงั ช้ัน บนสามารถดดู กลืนพลงั งานมากท่สี ดุ เราจะรู้สกึ ว่าเหมอื นกบั ถกู แสงอาทิตย์ 5. คลื่นวทิ ยุท่มี ีความถี่สงู กวา่ 10 จกิ ะเฮิรตซ์ (มคี วามยาวคลน่ื นอ้ ยกว่า 3 เซนตเิ มตร) ผิวหนังจะสะท้อนให้ กลับออกไป โดยมกี ารดูดกลนื พลงั งานเล็กนอ้ ย ข้อดี : ตดิ ตัง้ เพอื่ เช่ือมโยงการติดตอ่ ได้สะดวก เพยี งตอ่ อุปกรณเ์ ครอ่ื งรบั -สง่ วิทยุกับอุปกรณ์คอมพวิ เตอร์ แล้วตรวจสอบความเรยี บร้อยของระบบก็สามารถจะส่อื สารขอ้ มูลท้ังภายในและภายนอกอาคารได้ เน่ืองจากในการ สอ่ื สารดว้ ยระบบวทิ ยจุ ะมีระบบความพรอ้ มกอ่ นทาการรบั สง่ ข้อมูล จงึ ไมค่ ่อยมปี ญั หาเรอื่ งสญั ญาณรบกวน ข้อเสยี : มอี ตั ราเร็วในการสง่ ขอ้ มูลต่า นอกจากนี้ยงั ตอ้ งทาการขออนุญาตใช้ความถ่ีวทิ ยุกับกรมไปรษณยี ์ โทรเลขเสยี ก่อน สาหรบั คา่ ใช้จ่ายในเรื่องของอุปกรณ์สือ่ สารนัน้ คอ่ นข้างจะมรี าคาแพงกว่าการสือ่ สารดว้ ย สายสัญญาณ ไมโครเวฟ (Microwave) สญั ญาณคล่ืนความถ่ปี ระมาณ 100 เมกะเฮริ ตซ์ เดนิ ทางเป็นเส้นตรง ทาให้สามารถปรับทิศทางการสง่ ได้ แน่นอน การบบี สัญญาณสง่ ให้เปน็ ลาแคบ ๆ จะทาใหม้ พี ลังงานสูง สญั ญาณรบกวนตา่ การปรบั จานรับและจานสง่ สญั ญาณให้ตรงกนั พอดี จะทาให้สามารถส่งสญั ญาณไดห้ ลายความถไ่ี ปในทิศทางเดียวกนั ได้ โดยไม่รบกวนกนั ข้อเสียคือ คลื่นไมโครเวฟไมส่ ามารถเดนิ ผ่านวัตถทุ ี่กีดขวางได้ สญั ญาณอาจเกิดการหักเหในระหวา่ งเดนิ ทาง ทาให้มาถึงจาน รบั สญั ญาณช้ากว่าปกติและสัญญาณบางสว่ นอาจสูญหายได้ เรยี กวา่ เกดิ “multipath fading” จากสภาพภูมอิ ากาศ และความถ่ีสัญญาณ คลน่ื ความถ่ตี ัง้ แต่ 8 กิกะเฮิรตซ์ขึ้นไป จะถกู ดูดซึมโดยพ้นื นา้ หรือเม่อื ผา่ นพายุฝนเพราะมคี วามยาวคลนื่ เพียงไม่ก่เี ซนติเมตร การตงั้ สถานรี ับ-สง่ สัญญาณไมโครเวฟ (relay station) สามารถตง้ั ใหอ้ ยู่หา่ งกนั ได้ถงึ 30-50 กิโลเมตร นิยมนามาใชใ้ นธุรกิจ งานให้บรกิ ารเช่น โทรศพั ท์ทางไกล โทรศัพท์มอื ถือ การแพรภ่ าพโทรทัศน์ เป็นตน้ เพื่อหลกี เลย่ี งการวางสายเคเบิล ระบบไมโครเวฟจึงมรี าคาถูกกว่า ระบบอืน่ คลื่นอนิ ฟราเรดและคล่ืนส้นั (Infrared and millimeter wave) นยิ มใช้สาหรบั การส่ือสารระยะใกล้ คุณสมบตั ขิ องคล่ืนคือ เดินทางเป็นแนวตรง ราคาถูก และง่ายต่อ การผลิตใช้งานแต่ไม่สามารถเดินทางผ่านวัตถุหรือส่ิงกดี ขวางได้ เชน่ รโี มทสาหรบั ควบคุมวิทยุ วดิ ีโอโทรทัศน์ เครื่องเล่นบังคบั ตา่ ง ๆ เปน็ ต้น สามารถใช้คล่นื อนิ ฟราเรดเพอ่ื การสื่อสารในระบบเครือข่ายทอ้ งถน่ิ (LAN) ไดด้ ี เพราะคณุ สมบตั ิของคลื่นท่ีไมส่ ามารถเดนิ ทาง ผ่านส่งิ กีดขวางได้ การใช้ระบบเครอื ข่ายในห้องทางานที่มอี ุปกรณ์ใช้ คล่นื อินฟราเรดในการรับ-สง่ สญั ญาณแบบหลาย ทศิ ทางตดิ ตัง้ อยู่ ทาให้สะดวกต่อการใชเ้ ครอ่ื งคอมพวิ เตอรแ์ บบ พกพาซงึ่ ใช้อุปกรณ์รับ-สง่ ดว้ ยคลน่ื อนิ ฟราเรด สามารถตดิ ต่อกบั ระบบเครอื ข่ายของสานกั งานได้ และยังนา คณุ สมบตั ขิ องคล่นื อนิ ฟราเรดไปใช้ในการจัดประชมุ ทกุ คนสามารถสอื่ สารข้อมูลด้วยเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ ผ่าน อปุ กรณ์สื่อสารคลื่นอนิ ฟราเรดโดยไมต่ อ้ งเสียเวลาในการวาง สายเชอ่ื มต่อระบบเครือข่ายใหห้ ้องประชุม สัญญาณแสงเลเซอร์ (Laser beams) เปน็ ระบบการสอื่ สารแบบทางเดียว ผรู้ บั และผู้สง่ สัญญาณข้อมลู จงึ ต้องมอี ปุ กรณท์ ้งั ในการรบั และส่ง ข้อมลู ดว้ ย จงึ จะสามารถส่อื สารไดส้ องทาง การส่งข้อมลู ด้วยแสงเลเซอร์มรี าคาถูกและชว่ งความกว้างของ ชอ่ งสัญญาณสูงมาก เมือ่ เทียบกับการใช้สัญญาณไมโครเวฟ ลาแสงเลเซอรม์ ขี นาดเสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง เพียง 1 มลิ ลเิ มตร อปุ กรณ์รบั สัญญาณมขี นาดโตกวา่ เพียงเล็กนอ้ ย การติดตั้งอุปกรณ์รับ-สง่ สัญญาณ ต้องเปน็ ผทู้ ม่ี ี ความละเอยี ด ขอ้ เสียของลาแสงเลเซอรค์ อื ไม่สามารถส่องผา่ นสายฝนหรือหมอกหนา ๆ ได้รวมท้ังคลื่นความรอ้ น จากแสงแดดอาจทาใหแ้ สงเลเซอรเ์ กดิ การหักเหได้ เชน่ การสง่ สัญญาณแสงเลเซอรร์ ะหว่างอาคาร เป็นต้น

4.4 เครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ ธรรมชาตมิ นษุ ยต์ ้องอย่รู วมกันเปน็ กลมุ่ มีการตดิ ตอ่ ส่อื สารระหว่างกนั ร่วมกนั ทางานสรา้ งสรรสงั คม เพื่อให้ ความเปน็ อย่โู ดยรวมดีขน้ึ จากการดาเนินชวี ิตร่วมกนั ท้งั ในดา้ นครอบครวั การทางานตลอดจนสังคมและ การเมอื ง ทาใหต้ ้องมกี ารพบปะแลกเปล่ียนขอ้ มลู ระหว่างกนั เมือ่ มนุษยม์ คี วามจาเปน็ ทจี่ ะติดตอ่ สอ่ื สารระหว่างกัน พฒั นาการ ทางดา้ นคอมพิวเตอรจ์ ึงตอ้ งตอบสนองเพอ่ื ให้ใชง้ านไดต้ ามความต้องการ แรกเรมิ่ มีการพฒั นา คอมพวิ เตอรแ์ บบ รวมศนู ย์ เช่น มนิ คิ อมพวิ เตอร์ หรือ เมนเฟรม โดยให้ผู้ใช้งานใชพ้ รอ้ มกันได้หลายคน แต่ละคน เปรียบเสมือน เปน็ สถานีปลายทาง ท่เี รยี กใช้ทรพั ยากร การคานวณจากศูนย์คอมพวิ เตอรแ์ ละให้คอมพิวเตอร์ ตอบสนองต่อ การทางานน้ัน ต่อมามีการพัฒนาไมโครคอมพิวเตอร์ทที่ าใหส้ ะดวกต่อการใช้งานส่วนบุคคล จนมกี าร เรยี กไมโครคอมพิวเตอร์ ว่า พซี ี (Personal Competer:PC) การใชง้ านคอมพวิ เตอร์จึงแพร่หลายอย่างรวดเรว็ เพราะการใช้งานง่ายราคา ไม่สูงมาก สามารถจดั หามาใชไ้ ดไ้ มย่ าก เมอ่ื มีการใช้งานกนั มาก บริษทั ผู้ผลิต คอมพวิ เตอร์ต่างๆ กป็ รบั ปรงุ และพัฒนาเทคโนโลยใี ห้ตอบสนองความตอ้ งการทจี่ ะทางานร่วมกันเป็นกลุ่มใน รูปแบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จงึ เป็นวธิ กี ารหน่งึ และกาลังไดร้ ับความนยิ มสงู มาก เพราะทาให้ตอบสนองตรงความ ต้องการท่ีจะตดิ ตอ่ ส่ือสาร ข้อมูลระหวา่ งกัน เทคโนโลยีคอมพวิ เตอรไ์ ด้รับการพฒั นาเร่ือยมาจากเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ขนาดใหญไ่ ด้แก่ เมนเฟรม มินคิ อมพิวเตอร์ มาเป็นไมโครคอมพิวเตอร์ ท่มี ีขนาดเล็กลงแตม่ ีประสิทธภิ าพสงู ข้นึ ไมโครคอมพิวเตอรก์ ็ได้รบั การพฒั นาให้มขี ีดความสามารถและทางานได้มากขึ้น จนกระทง่ั คอมพวิ เตอร์สามารถ ทางานรว่ มกนั เป็นกลุ่มได้ ดังน้ันจงึ มกี ารพัฒนาให้คอมพวิ เตอร์ทางานในรูปแบบ เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ คอื นาเอา เครือ่ งคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญม่ าเปน็ สถานีบรกิ าร หรอื ท่เี รียกว่า เคร่ืองใหบ้ รกิ าร (Server )และให้ ไมโครคอมพิวเตอร์ตาม หน่วยงานต่างๆ เปน็ เครือ่ งใช้บริการ (Client) โดยมีเครือขา่ ย(Network) เป็นเสน้ ทาง เชอ่ื มโยงคอมพิวเตอรจ์ าก จุดต่างๆ ในท่สี ุดระบบเครือข่ายกจ็ ะเข้ามาแทนระบบคอมพวิ เตอรเ์ ดมิ ทีเ่ ปน็ แบบรวมศนู ยไ์ ด้ เครอื ขา่ ย คอมพิวเตอร์ทวคี วามสาคัญและไดร้ บั ความนิยมมากขึน้ เพราะสามารถสรา้ งระบบคอมพิวเตอรใ์ ห้ พอเหมาะกบั งาน ในธรุ กิจขนาดเล็กทไ่ี มม่ ีกาลังในการลงทุนซ้อื เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ที่มรี าคาสงู เชน่ มินิคอมพิวเตอร์ ก็สามารถใช้ ไมโครคอมพิวเตอร์หลายเครื่องตอ่ เชื่อมโยงกันเป็นเครือข่าย โดยให้ไมโครคอมพวิ เตอรเ์ ครื่องหน่งึ เป็นสถานบี ริการ ท่ีทาให้ใชง้ านข้อมลู รว่ มกันได้ เม่อื กจิ การเจรญิ ก้าวหนา้ ข้ึนกส็ ามารถขยายเครอื ข่ายการใช้ คอมพวิ เตอร์โดยเพ่มิ จานวนเครอ่ื งหรือขยายความจขุ อ้ มูลใหพ้ อเหมาะกบั องค์กร ในปัจจบุ นั องคก์ ารขนาดใหญ่กส็ ามารถลดการลงทนุ ลง ได้ โดยใช้เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์เช่ือมโยงจากกลุ่มเล็ก ๆ หลาย ๆ กลุม่ รวมกันเป็นเครือข่ายขององค์การ โดยสภาพ การใชข้ ้อมลู สามารถทาได้ดเี หมือน เชน่ ในอดตี ท่ีต้องลงทนุ จานวนมาก เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรม์ บี ทบาทท่ีสาคญั ต่อ หนว่ ยงานตา่ งๆ ดังน้ี 1. ทาให้เกดิ การทางานรว่ มกันเป็นกลุ่ม และสามารถทางานพร้อมกนั 2. ให้สามารถใช้ข้อมูลตา่ งๆ รว่ มกัน ซ่ึงทาให้องคก์ ารได้รับประโยชน์มากขน้ึ

3. ทาให้สามารถใช้ทรพั ยากรได้คมุ้ ค่า เชน่ ใช้เครื่องประมวลผลรว่ มกัน แบง่ กันใช้แฟม้ ขอ้ มูล ใชเ้ คร่อื งพมิ พ์ และอปุ กรณท์ ี่มรี าคาแพงรว่ มกัน 4. ทาให้ลดตน้ ทุน เพราะการลงทุนสามารถลงทุนให้เหมาะสมกับหนว่ ยงาน 4.5 โพรโทคอล โปรโตคอล ( Protocol) หมายถงึ ขอ้ กาหนดหรือขอ้ ตกลงในการสือ่ สารระหว่างคอมพวิ เตอรซ์ ึ่งมอี ยู่ ด้วยกนั มากมายหลายชนิด แต่ละชนิดกม็ ีขอ้ ดี ข้อเสีย และใช้ในโอกาสหรือสถานการณ์แตกต่างกันไป คล้ายๆ กับ ภาษามนษุ ยท์ มี่ ที งั้ ภาษาไทย จนี ฝรงั่ หรอื ภาษาใบ้ ภาษามอื หรอื จะใช้วิธยี ักคิว้ หลิ่วตาเพอ่ื ส่งสัญญาณก็จดั เป็น ภาษาได้เหมือนกนั ซึ่งจะส่อื สารกนั รเู้ รอ่ื งไดจ้ ะตอ้ งใช้ภาษาเดยี วกนั ในบางกรณถี ้าคอมพวิ เตอร์2 เครื่องสอ่ื สารกนั คนละภาษากนั และตอ้ งการนามาเชอ่ื มต่อกัน จะต้องมตี ัวกลางในการแปลงโปรโตคอลกลับไปกลับมาซงึ่ นิยม เรียกว่า Gateway ถา้ เทียบกับภาษามนษุ ย์ก็คือ ล่าม ซึ่งมอี ยูท่ ้งั ทเ่ี ป็นเครื่องเซิรฟ์ เวอร์แยกตา่ งหากสาหรับทาหนา้ ที่ นโี้ ดยเฉพาะ หรือาจะเป็นโปรแกรมหรอื ไดรฟ์ เวอรท์ ่สี ามารถติดตงั้ ในเคร่ืองคอมพิวเตอรน์ ั่นๆไดเ้ ลย การท่ีคอมพวิ เตอรเ์ คร่ืองหนึง่ จะส่งขอ้ มูลไปยังคอมพวิ เตอรอ์ กี เครื่องหนึ่งไดน้ ้นั จะตอ้ งอาศัยกลไกหลายๆ อย่างรว่ มกนั ทางานต่างหนา้ ที่กัน และเชือ่ มตอ่ เป็นเครอื ข่ายเข้าดว้ ยกัน ปญั หาท่ีเกิดข้ึนคือ การเชอ่ื มต่อมีความ แตกต่างระหวา่ งระบบและอุปกรณ์หรอื เปน็ ผผู้ ลติ คนละรายกัน ซึง่ เป็นสิ่งที่ทาให้การสรา้ งเครอื ข่ายเปน็ เร่อื งยาก มาก เน่ืองจากขาดมาตรฐานกลางที่จาเปน็ ในการเชอ่ื มต่อ จงึ ไดเ้ กดิ หน่วยงานกาหนดมาตรฐานสากลข้ึนคือ International Standards Organization และทาการ กาหนดโครงสร้างทัง้ หมดท่จี าเปน็ ต้องใช้ในการส่ือสารข้อมูลและเป็นระบบเปิด เพ่ือให้ผู้ผลิตตา่ งๆ สามารถแยก ผลติ ในสว่ นท่ีตวั เองถนดั แต่สามารถนาไปใช้รว่ มกันได้ ระบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรส์ มยั ใหมจ่ ะถกู ออกแบบให้มี โครงสรา้ งทีแน่นอน และเพ่ือเปน็ การลดความซับซอ้ น ระบบเครือขา่ ยสว่ นมากจงึ แยกการทางานออกเป็นชัน้ ๆ ( layer) โดยกาหนดหน้าทใ่ี นแตล่ ะชัน้ ไวอ้ ยา่ งชดั เจน แบบจาลองสาหรบั อ้างองิ แบบ OSI (Open System Interconnection Reference Model) หรอื ทนี่ ิยมเรียกกันทวั่ ไปว่า OSI Reference Model ของ ISO เปน็ แบบจาลองท่ีถกู เสนอและพัฒนาโดยองค์กร International Standard Organization (ISO) โดยจะบรรยายถึง โครงสรา้ งของสถาปตั ยกรรมเครอื ขา่ ยในอดุ มคติ ซึง่ ระบบเครือข่ายท่เี ป็นไปตามสถาปตั ยกรรมนจ้ี ะเปน็ ระบบ เครือข่ายแบบเปดิ และอุปกรณท์ างเครือข่ายจะสามารถติดต่อกันไดโ้ ดยไม่ขนึ้ กับวา่ เป็นอปุ กรณข์ องผขู้ ายรายใด OSI 7-Layer Reference Model (OSI Model) โดยโครงสรา้ งการส่ือสารข้อมูลท่ีกาหนดขึน้ มี คุณสมบตั ดิ ังนี้ คือ ในแต่ละช้ันของแบบการส่ือสารขอ้ มลู เราจะเรยี กวา่ Layer หรอื \"ชัน้ \" ของแบบการสอื่ สารข้อมูล ประกอบดว้ ยช้ันย่อยๆ 7 ชน้ั ในแต่ละช้ันหรือแต่ละ Layer จะเสมือนเช่อื มตอ่ เพ่ือสง่ ขอ้ มลู อยู่กับชั้นเดยี วกันใน คอมพวิ เตอรอ์ ีกด้านหนึ่ง แต่ในการเช่อื มกันจรงิ ๆ นน้ั จะเปน็ เพยี งการเช่ือมในระดับ Layer1 ซ่งึ เป็นชั้นลา่ งสดุ

เท่าน้ัน ทมี่ กี ารรบั สง่ ข้อมูลผ่านสายส่งขอ้ มลู ระหว่างคอมพิวเตอรท์ ง้ั สองโดยที่Layer อนื่ ๆ ไม่ไดเ้ ชือ่ มตอ่ กนั จรงิ ๆ เพียงแตท่ างานเสมือนกบั ว่ามีการตดิ ต่อรับส่งขอ้ มูลกับชัน้ เดยี วกนั ของคอมพวิ เตอร์อีกดา้ นหนึง่ คุณสมบตั ิข้อที่สองของ OSI Model คอื แตล่ ะชัน้ ทรี่ ับส่งข้อมลู จะมีการตดิ ต่อรับส่งข้อมูลกับช้ันทอ่ี ยู่ตดิ กับ ตวั เองเทา่ นัน้ จะตดิ ต่อรับสง่ ข้อมูลข้ามกระโดดไปชน้ั อนื่ ๆ ในคอมพิวเตอร์ของตวั เองไมไ่ ด้ เชน่ คอมพวิ เตอรด์ ้านสง่ ขอ้ มูลออกไปให้ผรู้ ับใน Layer ที่7 ซ่ึงอยู่ท่ดี า้ นบนสุดของด้านส่งข้อมลู จะมกี ารเชอ่ื มตอ่ กับ Layer 6 เท่านนั้ ในสว่ น Layer 6 จะมกี ารเชอื่ มต่อรบั ส่งขอ้ มูลกับ Layer 5 และ Layer 7 เท่านั้น Layer 7 จะไม่มีการกระโดดไป Layer 4 หรอื 5 ได้ จะมกี ารส่งขอ้ มลู ไล่ลาดับลงมา จากบนลงล่าง จนถึงLayer 1 แล้วเชอ่ื มตอ่ กบั Layer 1 ในดา้ นการรบั ข้อมูล ไลข่ นึ้ ไปจนถึง Layer 7 ในทางปฏบิ ัติ OSI Model ได้แบง่ ลกั ษณะการทางานออกเป็น 2 กลมุ่ กล่มุ แรก ได้แก่ 4 ชัน้ สือ่ สารด้านบน คือ Layer ท่ี 7, 6, 5 และ 4 ทาหน้าทเ่ี ชอ่ื มตอ่ รบั ส่งข้อมลู ระหว่าง ผ้ใู ช้กับโปรแกรมประยกุ ต์ เพ่อื ใหร้ บั สง่ ข้อมูลกบั ฮารด์ แวรท์ ่อี ยู่ชนั้ ล่างได้อย่างถูกต้อง เรียกว่า Application- oriented layers ซึ่งจะเกี่ยวขอ้ งกับซอฟทแ์ วร์เปน็ หลกั โดยใน 4 ชน้ั บนมักจะเปน็ ซอฟทแ์ วร์ของบรษิ ัทใดบริษัท หน่งึ ในโปรแกรมเดียว กลุ่มทส่ี อง จะเป็นชนั้ ลา่ ง ไดแ้ ก่ Layer ที่ 3, 2 และ 1 ทาหนา้ ทีเ่ ก่ยี วกบั การรบั สง่ ข้อมลู ผา่ นสายสง่ และ ควบคมุ การรบั ส่งข้อมูล ตรวจสอบขอ้ ผิดพลาด รวมทง้ั เลอื กเสน้ ทางในการรบั ส่งข้อมูล ซึ่งจะเก่ียวกับฮารด์ แวร์เป็น หลักเรียกว่า Network-dependent layers ซ่ึงในส่วนของ 3 ชัน้ ลา่ งสุด หรือ Layer ที่ 1, 2 และ 3 นนั้ มักจะเกย่ี วข้องกบั ฮาร์ดแวรแ์ ละ โปรแกรมควบคมุ ฮาร์ดแวรเ์ ป็นหลกั ทาให้สามารถแยกแตล่ ะชน้ั ออกจากกนั ไดง้ ่าย และผลิตภัณฑ์ของต่างบรษิ ัทกนั ในแตล่ ะชนั้ ได้อย่างไมม่ ีปญั หา

OSI Model แบ่งเปน็ 7 ชัน้ แต่ละช้ันจะมชี อ่ื เรียกและหน้าท่กี ารทางาน ดงั น้ี Layer ท่ี 7 Application Layer Application Layer เปน็ ชัน้ ทอี่ ยบู่ นสดุ ของขบวนการับสง่ ข้อมูล ทาหนา้ ทต่ี ดิ ตอ่ กบั ผู้ใช้ โดยจะ รบั คาส่งั ต่างๆ จากผใู้ ชส้ ง่ ให้คอมพวิ เตอร์แปลความหมาย และทางานตามคาส่ังทไ่ี ด้รบั ในระดบั โปรแกรมประยุกต์ เช่น การแปลความหมายของการกดปมุ่ บนเมาส์ให้เป็นคาส่งั ในการกอ็ ปปไี ฟล์ หรือ ดึงข้อมูลมาแสดงบนจอภาพ เป็นตน้ ซ่งึ การแปลคาสง่ั จากผใู้ ช้สง่ ให้กบั คอมพวิ เตอร์รบั ไปทางานนี้ จะต้องแปลออกมาถูกตอ้ งตามกฎ ( Syntax) ทใ่ี ช้ในระบบปฏิบัติการของคอมพวิ เตอร์นั้นๆ ตัวอย่างเช่น ถ้ามกี ารก็อปปี้ไฟลเ์ กดิ ข้ึนในระบบ คาสงั่ ทใี่ ช้ จะตอ้ งสร้างไฟล์ไดถ้ กู ต้อง มีชื่อไฟลย์ าวไมเ่ กินจานวนท่ีระบบปฏบิ ตั ิการนัน้ กาหนดไว้ รปู แบบของช่อื ไฟลต์ รงตาม ข้อกาหนด เปน็ ต้น Layer ท่ี 6 Presentation Layer Presentation Layer เป็นช้ันที่ทาหนา้ ทต่ี กลงกับคอมพวิ เตอร์อกี ด้านหนง่ึ ในระดบั ช้ันเดียวกัน วา่ การรับสง่ ข้อมูลในระดบั โปรแกรมประยุกตจ์ ะมขี นั้ ตอนและขอ้ บังคบั อย่างไร ขอ้ มลู ท่รี ับสง่ กนั ใน Layer ที่ 6 จะ อยูใ่ นรปู แบบของขอ้ มูลชัน้ สูงมีกฏ ( Syntax)บงั คบั แน่นอน เช่น ในการกก็อปปี้ไฟลจ์ ะมขี ้ันตอนย่อยประกอบกนั คือสรา้ งไฟลท์ ี่กาหนดขึ้นมาเสยี กอ่ น จากน้ันจึงเปดิ ไฟล์ แล้วทาการรบั ข้อมูลจากปลายทางลงมาเก็บลงในไฟลท์ ่ี สรา้ งขึ้นใหมน่ ้ี โดยเน้อื หาของข้อมลู ที่ทาการรบั ส่งระหว่างกัน ก็คือคาส่งั ของขั้นตอนย่อยๆข้างต้นนนั่ เอง นอกจากนี้ Layer ท่ี 6 ยงั ทาหน้าทแ่ี ปลคาสง่ั ทไ่ี ด้รับจากLayer ที่ 7 ให้เปน็ คาสัง่ ระดบั ปฏิบัตกิ ารส่ง ให้ Layer ท่ี 5 ต่อไป Layer ท่ี 5 Session Layer Session Layer ทาหน้าที่ควบคมุ \"จังหวะ\" ในการรบั สง่ ข้อมลู ของคอมพิวเตอร์ทัง้ สองดา้ น ท่ี รับส่งแลกเปลีย่ นขอ้ มูลกันใหม้ ีความสอดคลอ้ งกัน ( Synchronization) และกาหนดวธิ ที ่ใี ช้ในการรับส่งข้อมูล เช่น อาจจะเปน็ ในการสลับกันส่ง ( Half Duplex)หรือการรับสง่ ข้อมูลพร้อมกันท้ังสองดา้ น ( Full Duplex) ขอ้ มูลที่ รับสง่ ใน Layer ที่ 5จะอยู่ในรปู dialog หรือประโยคสนทนาโต้ตอบกนั ระหวา่ งดา้ นรบั และดา้ นส่งข้อมลู เช่น เม่อื ได้รับข้อมลู สว่ นแรกจากผู้ส่ง กจ็ ะตอบโต้กลับให้ผู้ส่งได้รู้วา่ ได้รบั ข้อมลู สว่ นแรกแล้ว พร้อมท่ีจะรบั ข้อมลู สว่ นถัดไป ซง่ึ คลา้ ยกบั การสนนาโต้ตอบกนั ระหวา่ งผู้รับและผสู้ ง่ น่นั เอง Layer ท่ี 4 Transport Layer Transport Layer ทาหนา้ ทีเ่ ชอ่ื มตอ่ การรบั สง่ ข้อมลู ระดบั สงู ของ Layer ที่ 5 มาเปน็ ข้อมูลที่

รบั ส่งในระดบั ฮารด์ แวร์ เชน่ แปลงค่าหรอื ชอ่ื ของเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ในเครือข่ายให้เปน็ network address พร้อม ทัง้ เป็นชนั้ ที่ควบคุมการรับส่งขอ้ มลู จากปลายด้านส่งถึงปลายดา้ นรับข้อมูล ให้ข้อมูลมกี ารไหลล่นื ตลอดเสน้ ทางตาม จังหวะทีค่ วบคมุ จาก Layerท่ี 5 โดยใน Layer ที่ 4 น้ี จะเปน็ รอยตอ่ ระหว่างการรบั สง่ ขอ้ มูลซอฟทแ์ วรก์ ับฮารด์ แวร์ การรับสง่ ขอ้ มูลของระดับสงู จะถกู แยกจากฮาร์ดแวร์ทใ่ี ชร้ บั สง่ ข้อมูลที่ Layer ท่ี 4 และจะไมม่ สี ว่ นใดผกู ตดิ กบั ฮาร์ดแวร์ทใ่ี ช้รับสง่ ข้อมูลในระดบั ลา่ ง ดังน้ันฮาร์ดแวร์และซอฟทแ์ วร์ทใี่ ช้ควบคุมการรับส่งขอ้ มลู ในระดบั ลา่ งลงไป จาก Layer ท่ี 4 จงึ สามารถสับเปลยี่ น และใช้ข้ามไปมากบั ซอฟท์แวรร์ ับส่งขอ้ มลู ในระดับทอี่ ยขู่ า้ งบน (ตัง้ แต่ Layer ที่4 ขึ้นไปถงึ Layer ท่ี 7) ไดง้ ่าย หนา้ ที่อกี ประการหน่ึงของ Layer ท่ี 4 คือ การควบคุมคุณภาพการ รับส่งขอ้ มลู ให้มมี าตรฐานในระดับทต่ี กลงกันทง้ั สองฝ่าย และการตดั ข้อมูลออกเป็นสว่ นยอ่ ย ๆ ใหเ้ หมาะกับ ลกั ษณะการทางานของฮาร์ดแวรท์ ่ใี ช้ในเครือขา่ ย เชน่ หาก Layer ท่ี 5 ต้องการสง่ ขอ้ มลู ท่มี คี วามยาวเกินกวา่ ท่ี ระบบเครอื ข่ายท่จี ะส่งให้ Layerท่ี 4 กจ็ ะทาหน้าที่ตัดข้อมูลออกเปน็ ส่วนย่อย ๆ แลว้ ส่งไปใหผ้ ูร้ ับ ขอ้ มลู ที่ได้รบั ปลายทางก็จะถกู นามาตอ่ กนั ที่ Layer ที่ 4 ของด้านผ้รู ับ และส่งไปให้ Layer ท่ี 5 ตอ่ ไป Layerท่ี 3 Network Layer Network Layer ทาหนา้ ทเ่ี ช่ือมต่อคอมพิวเตอรด์ ้านรับ และด้านส่งเข้าหากันผ่านระบบ เครือข่าย พรอ้ มทง้ั เลือกหรือกาหนดเส้นทางที่จะใชใ้ นการรับสง่ ขอ้ มลู ระหวา่ งกัน และส่งผา่ นข้อมลู ท่ีไดร้ บั ไปยัง อุปกรณใ์ นเครือขา่ ยต่าง ๆ จนกระทงั่ ถงึ ปลายทาง ใน Layerที่ 3 ขอ้ มลู ที่รับส่งกนั จะอยู่ในรูปแบบของกลมุ่ ข้อมลู ท่ี เรียกวา่ Packet หรือ Frameขอ้ มูล Layer ท่ี 4, 5, 6 และ 7 มองเหน็ เป็นคาสง่ั และ Dialog ตา่ ง ๆ น้นั จะถกู แปลงและผนึกรวมอยใู่ นรูปของ Packet หรือ Frame ทม่ี เี พียงแอดเดรสของผูร้ ับ , ผู้สง่ , ลาดบั การรบั สง่ และสว่ น ของขอ้ มูลเท่านัน้ หน้าทอ่ี ีกประการหนง่ึ คือ การทา Call Setup หรือเรียกติดต่อคอมพิวเตอรป์ ลายทางกอ่ นการ รบั สง่ ข้อมูล และการทา Call Cleaning หรือการยกเลิกการติดตอ่ คอมพวิ เตอร์เมื่อการรบั ส่งข้อมูลจบลงแล้ว ใน กรณที ่ีมกี ารรับส่งข้อมูลนั้นตอ้ งมีการตดิ ต่อกันก่อ Layer ท่ี 2 Data link Layer Data link Layer เป็นชั้นที่ทาหน้าทีเ่ ช่ือมตอ่ การรบั สง่ ขอ้ มูลในระดับฮาร์ดแวร์ โดยเม่ือมกี าร สัง่ ใหร้ ับข้อมูลจากใน Layer ท่ี 3 ลงมา Layer ท่ี 2 จะทาหนา้ ทแ่ี ปลคาสัง่ นั้นใหเ้ ป็นคาส่งั ควบคมุ ฮารด์ แวร์ทีใ่ ช้ รับสง่ ข้อมลู ทาการตรวจสอบข้อผดิ พลาดในการรบั ส่งข้อมูลของระดับฮารด์ แวร์ และทาการแกข้ ้อผิดพลาดท่ไี ด้ ตรวจพบ ข้อมูลท่อี ยใู่ น Layer ที่ 2จะอยู่ในรปู ของ Frame เชน่ ถ้าฮารด์ แวร์ท่ีใช้เปน็ Ethernet LAN ข้อมลู จะมี รปู ร่างของFrame ตามท่ีระบไุ ว้ในมาตรฐานของ Ethernet หากว่าฮารด์ แวรท์ ใี่ ชร้ บั ส่งข้อมลู เป็นชนิดอืน่ รูปรา่ ง ของ Frame ก็จะเปลยี่ นไปตามมาตรฐานน่ันเอง Layer ท่ี 1 Physical Layer Physical Layer เปน็ ชัน้ ล่างสดุ และเป็นช้นั เดียวทม่ี กี ารเช่ือมตอ่ ทางกายภาพระหวา่ งคอมพิวเตอร์ สองระบบท่ที าการรบั สง่ ขอ้ มูล ใน Layer ที่ 1 นี้จะมีการกาหนดคณุ สมบัติทางกายภาพของฮารด์ แวร์ท่ีใชเ้ ช่อื มต่อ ระหวา่ งคอมพิวเตอรท์ ้ังสองระบบ เช่น สายท่ใี ช้รบั ส่งขอ้ มูลจะเปน็ แบบไหน ข้อต่อทีใ่ ช้ในการรบั ส่งข้อมูลมี มาตรฐานอย่างไร ความเรว็ ในการรับสง่ ขอ้ มลู เท่าใด สัญญาณที่ใช้ในการรับสง่ ข้อมูลมรี ูปร่างอย่างไร ข้อมูลใน Layer ท่ี 1 นจ้ี ะมองเห็นเปน็ การรบั สง่ ขอ้ มลู ทลี ะบิตเรยี งต่อไป 4.6 อุปกรณเ์ ครือขา่ ย คงมหี ลายๆทา่ นทีค่ ิดจะติดตั้งระบบเครอื ข่ายเพื่อใชง้ านภายในบ้านหรอื ในสานักงานของตวั เอง เพราะตอ้ งการแชร์ ทรัพยากรที่มีอยู่เช่นเคร่อื งพิมพ์ ขอ้ มูล เครอื่ งสแกนและอนื่ ๆ ใหเ้ ครื่องคอมฯหลายๆเคร่ืองใช้ รว่ มกัน อีกทัง้ ต้องการความสะดวกในการตดิ ต่อสอื่ สารภายในองคก์ รทางอีเมล์ ซ่งึ ทา่ นกล็ องคิดดวู ่าถ้าทา่ นทางาน อยู่ชั้นส่ีแลว้ เครือ่ งพมิ พอ์ ยูช่ ้ันสามถ้าไม่มีระบบเครอื ข่ายจะทายังไงถา้ ต้องพิมพ์งาน กค็ งต้อง Saveงานใสแ่ ผ่นแลว้ ก็ เดินลงไปพมิ พ์ทช่ี นั้ สาม เปน็ ยังงยั ครบั แค่คิดก็เหนอ่ื ยใชม่ ้ยั ครบั แลว้ ถา้ อยากมีระบบเครือขา่ ยจะทายงั งัย ? มีสอง ทางเลอื กครับ ทางเลอื กแรก คือ “จ้างเขาทา”ง่ายครบั ขอแตม่ เี งนิ เป็นพอกท็ าได้ และอกี ทางคอื “ทาเอง” ซึ่งกต็ ้อง

ลงแรง ศกึ ษาหาข้อมลู ทาการบ้านกนั เหน่อื ยหนอ่ ยละครบั แต่สิง่ ท่ไี ด้กลับมาก็คอื ความรู้ ไดพ้ ฒั นาความสามารถ และยงั ไดค้ วามภมู ิใจ แต่กอ็ ย่าลืมเง่อื นไขเรอ่ื งเวลานะครับ เพราะถา้ ตอ้ งการใชง้ านอย่างเร่งด่วน กค็ วรวา่ จา้ ง ผูร้ บั เหมาวางระบบ มาจัดการใหด้ กี วา่ แต่เรอ่ื งการศกึ ษาหาความรู้ก็ไมค่ วรทิ้ง เพราะระบบเม่ือตดิ ต้ังเสรจ็ ใชว่ า่ จะ จบเลย ยงั ตอ้ งการ การดแู ลรกั ษาเพื่อให้สามารถทางานรับใช้ท่าน โดยไมม่ ปี ญั หา และสมมุตินะครบั สมมุติ ถ้าท่าน จะทาเองแลว้ จะทายงั ไง? ไม่ตอ้ งกงั วลครับ ทกุ ปัญหามีคาตอบ เมอื่ ทา่ นคิดจะทาเอง กต็ อ้ งหาข้อมลู กันกอ่ น เรอ่ื ง แรกทีจ่ ะพดู ถึงเรามาพดู ถึงอปุ กรณ์เครอื ขา่ ยกัน สาหรบั อุปกรณเ์ ครือข่ายนั้นก็จะมีอย่หู ลายๆ แบบไม่วา่ จะเปน็ Lan Card, Hub, Switch, Firewalls & Filters, Internet Gateway Routers & LAN Modems, Network Management, Print Server หรืออปุ กรณ์ Wireless การเลอื กใชอ้ ปุ กรณใ์ นระบบเครือข่ายพวกนีก้ ็เป็นอกี ปญั หา หนึ่งทีม่ หี ลายคนบ่นกันมากว่าอยากติดต้ังระบบเครือขา่ ยไว้ใช้แตต่ ิดท่ีตรงเลอื กอุปกรณ์ในการใชง้ านไม่ถูก ไม่ยาก ครับข้ันแรกท่านผ้อู า่ นจะตอ้ งทราบถงึ คุณสมบัติของอปุ กรณแ์ ตช่ นิดกอ่ น การด์ แลน เป็นอุปกรณ์ทท่ี าหน้าที่ในการรบั ส่งข้อมูลจากเคร่อื งคอมฯเครือ่ งหน่งึ ไปสู่อีกเคร่อื งโดยผา่ นสาย แลน การด์ แลนเป็นอปุ กรณ์ทีส่ ามารถต่อพว่ งกบั พอร์ตแทบทกุ ชนดิ ของเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ ไม่วา่ จะเป็น ISA, PCI, USB, Parallel, PCMCIA และ Compact Flash ซึง่ ท่เี ห็นใช้กนั มากท่ีสุดก็จะเป็นแบบ PCI เพราะถ้าเทยี บราคากบั ประสิทธภิ าพแล้วถอื วา่ คอ่ นข้างถกู มีหลายราคา ตัง้ แตไ่ มก่ ร่ี ้อยบาทจนถงึ หลักพัน ส่วนแบบ USB, Parallel, PCMCIA ส่วนใหญ่จะเห็นใช้กนั มากกบั เครื่องโนต๊ บ๊คุ เพราะกอ็ ยา่ งทท่ี ราบกนั อยู่ว่าการติดอุปกรณ์ลงในพอร์ต ภายใน ของเคร่ืองโนต๊ บคุ๊ เปน็ เรอื่ งยาก ดงั นนั้ การต่ออปุ กรณ์ตอ่ พว่ งจงึ ต้องอาศยั พอรต์ ภายนอกดังท่ีกลา่ วมา ฮับ เปน็ อุปกรณ์ที่ทาหนา้ ที่เสมอื นกับชมุ ทางข้อมลู มหี นา้ ทเี่ ปน็ ตัวกลาง คอยสง่ ขอ้ มูลใหค้ อมพวิ เตอรใ์ น เครือขา่ ย ซ่ึงลักษณะการทางาน ให้ลองนกึ ถงึ ภาพการออกอากาศโทรทัศน์ ท่ีเมือ่ มเี ครอื่ งคอมพิวเตอรเ์ คร่อื งใด เครื่องหนึง่ กาลงั ส่งข้อมูล เครอ่ื งทีอ่ ยู่บนเครอื ขา่ ยทกุ เคร่อื งจะไดร้ ับขอ้ มลู เหมอื นๆ กนั ทุกเคร่ือง ซ่ึงเมือ่ แต่ละเครอ่ื ง ได้รับข้อมลู กจ็ ะดวู า่ เปน็ ข้อมูลของตวั เองไหม ถา้ ใช่กจ็ ะรับเขา้ มาประมวลผล ถ้าไม่ใชก่ ็ไม่รบั เข้ามา ซง่ึ จากากร ทางานในลกั ษณะนี้ ในเครือข่ายทใ่ี ช้ฮับเปน็ ตัวกระจ่ายสญั ญาณ จะสามารถส่งขอ้ มลู สู่เครือขา่ ยไดท้ ีละเครือ่ ง ถา้ มี คอมพวิ เตอร์เครอื่ งใดเครื่องหนงึ่ กาลงั ส่งข้อมลู เครอ่ื งอื่นๆ ก็ตอ้ งรอให้การสง่ ข้อมลู เสร็จสนิ้ เสยี กอ่ น เมือ่ ช่องสัญญาณว่าง จึงจะสามารถส่งข้อมูลได้ สวติ ซ์ สวิตซ์จะทาหนา้ ทีค่ ลา้ ยฮับ แตจ่ ะเก่งกวา่ ตรงทเ่ี มอ่ื มีการร้องขอโดยเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ในเครอื ข่ายเพอ่ื ส่งขอ้ มูล สวิตซ์กจ็ ะสร้างวงจรเสมอื นขึ้นมาใหเ้ ครื่องสองเครื่องนี้ส่งขอ้ มลู ถงึ กนั ซง่ึ ช่องสัญญาณกลางก็จะว่างไว้ รองรบั การร้องขอส่งข้อมูลจากเครือ่ งอนื่ ๆ ตอ่ ไป ถ้านึกภาพไม่ออกใหน้ ึกถงึ การทางานของสายโทรศพั ท์ ที่หลายๆ คู่สายสามารถพูดคยุ พรอ้ มๆ กนั ได้ จากคณุ ลักษณะน้ที าใหส้ ามารถส่งข้อมลู ได้เรว็ กว่าฮับ เพราะแทบจะไม่มีการรอ ใช้ชอ่ งสญั ญาณเกดิ ขึ้นในเครอื ข่ายที่ใช้สวติ ซเ์ ป็นตัวกระจายสญั ญาณ และแน่นอนราคาของสวิตซ์ย่อมแพงกวา่ ฮบั โมเดม็ เป็นอปุ กรณ์ท่ีทาหน้าทแ่ี ปลงสัญญาณใหส้ ามารถส่งผ่านทางสายโทรศัพท์ สายเชา่ และสายไฟเบอรอ์ อ ฟติก แล้วแต่ประเภทของโมเด็ม ทาให้สามารถสง่ สญั ญาณไปไดไ้ กล ยกตัวอย่างเช่น การทคี่ ุณใช้โมเดม็ หมนุ โทรศพั ท์หาไอเอสพีท่ีอยู่ห่างออกไปหลายกิโลเมตร เพื่อจะเขา้ ส่รู ะบบอินเตอรเ์ น็ต เราเตอร์ เป็นอปุ กรณ์ที่ทาหนา้ ทีเ่ ลือกเสน้ ทางในการสง่ ผ่านข้อมูล ทาหน้าที่ในการหาเส้นทางทดี่ ที ่ีสุดในขณะนัน้ เพือ่ ลดความเสย่ี งจากการล้มเหลวในการสง่ ขอ้ มูล และเราเตอรย์ ังสามารถชว่ ยเช่ือมเครอื ข่ายสองเครอื ขา่ ย หรอื มากกวา่ เข้าดว้ ยกัน เพราะเราเตอร์เปน็ อปุ กรณ์ที่สามารถทางานบนเครือข่ายอย่างน้อยสองเครือขา่ ยขึน้ ไป ถา้ จะ พูดถึงราคา พูดแบบนา่ รกั ๆ กต็ ้องพดู ว่า โห...แพงจงั เลย

สายแลน เม่ือมีวงแลนกต็ อ้ งมสี ายแลน สายแลนมีหลายแบบไม่ว่าจะเป็นสายโคแอคเชยี น ยทู พี ี เอสทพี ี และ ไฟ เบอร์ออปติก หรอื แมก้ ระทั่งแบบทีไ่ มใ่ ช้สาย (Wireless LAN ) และแบบท่เี หน็ ไดบ้ ่อยที่สุดในปจั จุบันที่นิยมใชก้ นั ก็ ไดแ้ ก่สายแบบ ยูทีพี ท่ีใชก้ ับหัวต่อแบบ RJ 45 ซึ่งจะคลา้ ยๆกับหวั ต่อของสายโทรศพั ท์ ( ของโทรศัพทเ์ ป็น แบบ RJ11 ) ซง่ึ สายประเภทน้จี ะไม่มกี าร ชลี ด์ ป้องกนั สญั ญาณรบกวน แต่จะใช้วธิ ีตเี กลยี วสายเป็นคๆู่ 4 คู่ ปอ้ งกันสัญญาณรบกวน อกี แบบก็คือการใช้วิธีสง่ สญั ญาณด้วยคลน่ื วทิ ยุย่านความถส่ี ูงบางแบบก็ใช้อนิ ฟราเรด จดุ เด่นทเี่ ห็นได้ชัดคือเม่ือไมต่ ้องเดนิ สายทาให้สามารถตดิ ตง้ั ไดง้ า่ ย ย้ายก็สะดวก แต่ขอ้ ด้อยก็คอื ปัญหาจากการถูก รบกวน และสัญญาณถกู บัง แถมความเรว็ ในการส่งข้อมลู ยังดอ้ ยกว่าระบบแลนแบบใช้สายอยู่ ราคากส็ งู กว่า และท่ี กาลังมาแรงในขณะนคี้ อื เทคโนโลยแี บบ Ethernet over VDSL น่าสนใจกนั ข้ึนมาบ้างแล้วไหมครบั ถา้ สนใจเรากไ็ ป ลยุ กนั ต่อเลยครับ ในการเช่ือมตอ่ ระบบเครือข่ายท่ีใชๆ้ กนั ก็มอี ยู่ 2 แบบ คือ แบบระยะใกล้ และแบบระยะไกล เอา เป็นวา่ เรามาเริ่มตน้ การเลือกใช้อุปกรณ์ระบบเครอื ขา่ ยแบบระยะใกล้ 4.7 รปู ร่างเครือขา่ ย โทโพโลยี หมายถึง รปู แบบการเชอ่ื มตอ่ คอมพวิ เตอร์และอุปกรณค์ อมพิวเตอร์ เขา้ ด้วยกนั ใหเ้ ป็น เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ ซงึ่ ในการกลา่ วถงึ โทโพโลยีจะกลา่ วถึงใน 2 ลักษณะ คอื โทโพโลยีทางตรรกะ (logical topology) และโทโพโลยีทางกายภาพ (Physical Topology) โทโพโลยที างตรรกะ แสดงถึงการเชอื่ มโยงระหว่างอปุ กรณ์ต่างๆของเครือข่ายเปน็ แผนภาพ ส่วนโทโพโลยที าง กายภาพ หมายถงึ การเช่อื มโยงทางกายภาพของเคร่อื งคอมพวิ เตอร์และอปุ กรณ์ต่างๆ ซึ่งเปน็ การเช่อื มโยงทางวงจร อิเล็กทรอนกิ ส์ โทโพโลยีทั่วไปในเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรม์ กั จะหมายถึงโทโพโลยที างตรรกะ ซ่งึ มีรูปแบบการเชอื่ มโยง หลายรปู แบบรปู แบบทส่ี าคญั มีดังนี้ การเชื่อมโยงแบบสมบูรณ์ (Complete Interconnect) การเช่ือมโยงแบบสมบูรณ์ เป็นการเชอ่ื มโยง คอมพิวเตอรท์ ุกเครือ่ งในเครือข่ายเข้าด้วยกันแบบจุดต่อจุด ดังแสดงในรูปภาพการเชอื่ มโยงแบบน้ีทาใหม้ ีความเรว็ ในการส่อื สารข้อมูลสูงโปรแกรมทใ่ี ช้ในการควบคุม การสื่อสารก็เป็นแบบพ้ืนฐานไม่ซับซ้อนมากนัก และไม่ จาเปน็ ตอ้ งมีหนว่ ยประมวลผลกลาง การสอื่ สารในการเลอื กเสน้ ทางสอื่ สารเนอื่ งจากเปน็ การเชอ่ื มโยงโดยตรงถงึ เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ ทกุ เคร่อื ง การเชอื่ มโยงแบบนี้มีความเชอื่ ม่นั ในการสื่อสารสูง และหากไดเ้ พม่ิ หน่วยประมวลผล การสื่อสารเข้าไปในระบบอีก จะทาใหก้ ารสอื่ สารเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพมากยงิ่ ขนึ้

โครงสรา้ งเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ (TOPOLOGY) การนาเครอื่ งคอมพิวเตอร์มาเช่อื มต่อกันเพือ่ ประโยชน์ของการสื่อสารน้ัน สามารถกระทาไดห้ ลายรูปแบบ ซงึ่ แตล่ ะแบบกม็ ีจดุ เดน่ ท่ีแตกต่างกนั ไป โดยทึว่ ไปแล้วโครงสร้างของเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์สามารถจาแนกตาม ลกั ษณะของการเชอื่ มต่อดังตอ่ ไปนี้ 1. โครงสร้างเครือข่ายคอมพวิ เตอรแ์ บบบัส (bus topology) 2. โครงสร้างเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรแ์ บบวงแหวน (ring topology) 3. โครงสร้างเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์แบบดาว (star topology) 1. โครงสร้างเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์แบบบัส (bus topology) โครงสร้างเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์แบบบสั จะประกอบดว้ ย สายสง่ ขอ้ มูลหลกั ที่ใช้ส่งข้อมูลภายในเครือข่าย เครือ่ งคอมพวิ เตอร์แต่ละเครอื่ ง จะเชอื่ มตอ่ เข้ากบั สายข้อมลู ผ่านจดุ เช่ือมต่อ เม่อื มกี ารสง่ ขอ้ มูลระหวา่ งเคร่ือง คอมพิวเตอรห์ ลายเครอื่ งพร้อมกนั จะมสี ญั ญาณขอ้ มูลสง่ ไปบนสายเคเบิล้ และมีการแบ่งเวลาการใช้สายเคเบล้ิ แต่ ละเครอ่ื ง ข้อดขี องการเชื่อมตอ่ แบบบัส คือ ใช้ส่ือนาข้อมูลนอ้ ย ชว่ ยให้ประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ย และถา้ เครื่อง คอมพวิ เตอร์เคร่ืองใดเครื่องหนึ่งเสยี ก็จะไมส่ ่งผลต่อการทางานของระบบโดยรวม แต่มขี ้อเสยี คือ การตรวจจุดทมี่ ี ปญั หา กระทาไดค้ ่อนข้างยาก และถา้ มีจานวนเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ในเครอื ข่ายมากเกนิ ไป จะมีการส่งข้อมลู ชนกัน มากจนเปน็ ปัญหา 2. โครงสรา้ งเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรแ์ บบวงแหวน (ring topology) โครงสรา้ งเครือขา่ ยคอมพิวเตอรแ์ บบวงแหวน มกี ารเชอื่ มตอ่ ระหว่างเครอื่ งคอมพิวเตอร์โดยที่แต่ละการ เชอ่ื มตอ่ จะมีลักษณะเป็นวงกลม การส่งขอ้ มลู ภายในเครือขา่ ยนกี้ จ็ ะเป็นวงกลมดว้ ยเช่นกนั ทิศทางการส่งขอ้ มูลจะ เปน็ ทศิ ทางเดียวกันเสมอ จากเครื่องหน่งึ จนถงึ ปลายทาง ในกรณที ่มี ีเครื่องคอมพวิ เตอร์เคร่อื งใดเคร่อื งหนง่ึ ขดั ขอ้ ง การส่งข้อมลู ภายในเครือข่ายชนิดน้ีจะไม่สามารถทางานตอ่ ไปได้ ขอ้ ดขี องโครงสร้าง เครอื ขา่ ยแบบวงแหวนคือ ใช้ สายเคเบิล้ นอ้ ย และถ้าตัดเครื่องคอมพวิ เตอร์ทเี่ สียออกจากระบบ ก็จะไม่สง่ ผลตอ่ การทางานของระบบเครือข่ายน้ี และจะไมม่ กี ารชนกนั ของขอ้ มลู ที่แตล่ ะเครือ่ งสง่

3. โครงสรา้ งเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์แบบดาว (star topology) โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอรแ์ บบดาว ภายในเครือข่ายคอมพวิ เตอรจ์ ะตอ้ งมีจกุ ศนู ยก์ ลางในการควบคุม การเช่อื มต่อคอมพิวเตอร์ หรือ ฮับ (hub) การส่อื สารระหว่างเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ต่างๆ จะส่ือสารผ่านฮับกอ่ นทจ่ี ะ ส่งขอ้ มูลไปสเู่ คร่อื งคอมพวิ เตอร์เครือ่ งอืน่ ๆ โครงสรา้ งเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ แบบดาวมีข้อดี คือ ถา้ ต้องการ เชอ่ื มตอ่ คอมพวิ เตอรเ์ ครือ่ งใหมก่ ส็ ามารถทาได้งา่ ยและไมก่ ระทบต่อเครอื่ งคอมพิวเตอรอ์ ่นื ๆ ในระบบ สว่ นข้อเสีย คือ คา่ ใช้จา่ ยในการใช้สายเคเบิ้ลจะคอ่ นขา้ งสงู และเม่ือฮบั ไม่ทางาน การส่ือสารของคอมพวิ เตอรท์ ้ังระบบกจ็ ะหยดุ ตามไปด้วย 4. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอรแ์ บบเมช (mesh topology) โครงสรา้ งเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์แบบเมช มีการทางานโดยเคร่อื งคอมพิวเตอร์แตล่ ะเครอ่ื งจะมชี ่องสัญญาณ จานวนมาก เพื่อที่จะเชอื่ มต่อกบั เครอื่ งคอมพิวเตอร์เคร่ืองอน่ื ๆทุกเครื่อง โครงสรา้ งเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรน์ ้เี ครื่อง คอมพวิ เตอรแ์ ต่ละเครอ่ื งจะสง่ ข้อมลู ได้อิสระไมต่ อ้ งรอการส่งข้อมลู ระหว่างเครือ่ งคอมพิวเตอรเ์ ครอ่ื งอื่นๆ ทาให้ การส่งขอ้ มลู มคี วามรวดเรว็ แต่ค่าใช้จ่ายสายเคเบิ้ลก็สูงดว้ ยเชน่ กัน 5. โครงสรา้ งเครือข่ายคอมพวิ เตอรแ์ บบผสม (hybrid topology) เปน็ โครงสรา้ งเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ที่ผสมผสานความสามารถของโครงสรา้ งเครือขา่ ยคอมพิวเตอรห์ ลาย ๆ แบบรวมกัน ประกอบดว้ ยเครอื ขา่ ย คอมพวิ เตอร์ยอ่ ยๆ หลายเครอื ข่ายที่มีโครงสร้างแตกตา่ งกันมาเช่อื มต่อกันตาม ความเหมาะสม ทาให้เกดิ เครอื ข่ายท่ีมีประสทิ ธิภาพสงู ในการส่ือสารข้อมูล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook