Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore kotset

kotset

Published by saharat5822040, 2018-06-04 03:15:26

Description: kotset

Search

Read the Text Version

องค์ประกอบคอมพวิ เตอร์(Computer System Components) จดั ทาโดย นาย สหรฐั ออ้ มแกว้ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชนั้ สูง ชนั้ ปที ่ี 1 เลขที่ 36 นาเสนอ อาจารย์ ทวศี ักดิ์ หนทู มิ รายวชิ า การประกอบเครื่องคอมพวิ เตอร์ วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2561

องค์ประกอบคอมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอร์ทางานอย่างเป็นระบบ(System) หมายถึงภายในระบบงานคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยองค์ประกอบย่อยที่มีหน้าที่เฉพาะ ทางานประสานสัมพันธ์กัน เพ่ือให้งานบรรลุตามเป้าหมาย ในระบบงานคอมพิวเตอร์ การท่ีมีเคร่ืองคอมพิวเตอร์เพียงอย่างเดียว จะยังไม่สามารถทางานได้ด้วยตัวเอง ซ่ึงหากจะให้คอมพิวเตอร์ทางานได้อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพแล้ว ระบบคอมพิวเตอร์ควรจะประกอบไปด้วยองค์ประกอบคือ ฮาร์ดแวร์ ( HARDWARE) ซอฟต์แวร์ (SOFTWARE) บุคลากร (PEOPLEWARE) ข้อมูล(DATA) สารสนเทศ (INFORMATION) กระบวนการทางาน (PROCEDURE) 1. ฮาร์ดแวร์ (HARDWARE) ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบของตัวเคร่ืองท่ีสามารถจับต้องได้ ได้แก่ วงจรไฟฟ้า ตัวเครื่อง จอภาพเครื่องพมิ พ์ ครี บ์ อร์ด เปน็ ต้นซึ่งสามารถแบง่ ส่วนพน้ื ฐานของฮาร์ดแวรเ์ ป็น 4 หนว่ ยสาคญั 1.1 หน่วยรับข้อมูลหรืออินพุต (Input Unit) ทาหน้าท่ีรับข้อมูลและโปรแกรมเข้า เครื่อง ได้แก่คยี บ์ อรืดหรือแปน้ พิมพ์ เมาส์ เครื่องสแกน เครือ่ งรูดบัตร Digitizer เปน็ ต้น 1.2 ระบบประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU : Central Processing Unit) ทาหน้าท่ีในการทางานตามคาสั่งที่ปรากฏอยู่ในโปรแกรม ปัจจุบันซีพียูของเคร่ืองพีซี รู้จักในนามไมโครโปรเซสเซอร์( MicroProcessor) ไมโครโปรเซสเซอร์ มีหน้าท่ใี นการประมวลผลข้อมูล ในลักษณะของการคานวณและเปรียบเทียบโดยจะทางานตามจังหวะเวลาท่ีแน่นอน เรียกว่าสัญญาณClockเมื่อมีการเคาะจังหวะหนึ่งครั้ง ก็จะเกิดกิจกรรม1ครั้ง เราเรียกหนว่ ยทีใ่ ช้ในการวดั ความเรว็ ของซีพียูว่า “เฮริ ท์ ”(Herzt)

1.3 หนว่ ยเก็บข้อมูล (Storage) ซึง่ สามารถแยกตามหนา้ ท่ีได้เป็น 2 ลักษณะ คือ1.3.1 หน่วยเก็บข้อมูลหลักหรือความจาหลัก(Primary Storage หรือ Main Memory) ทาหน้าท่ีเก็บโปรแกรมหรอื ขอ้ มูลท่รี บั มาจากหน่วยรบั ขอ้ มูลเพื่อเตรียมส่งใหห้ นว่ ยประมวลผลกลางทาการประมวลผล และรับผลลัพธ์ท่ไี ด้จากการประมวลผลเพอื่ สง่ ออกหนว่ ยแสดงข้อมลู ต่อไป1.3.2 หน่วยเก็บข้อมูลสารอง(Secondary Storage) เป็นหน่วยที่ทาหน้าที่เก็บข้อมูล หรือโปรแกรมท่ีจะปอ้ นเขา้ สู่หน่วยความจาหลกั ภายในเครอื่ งก่อนทาการประมวลผลโดยซพี ียูและเก็บผลลัพธ์จากการประมวลผลนัน้ ดว้ ย ปจั จบุ ันรู้จกั ในนามฮารด์ ดิสก(์ Hard disk) หรือแผ่นฟรอ็ ปปดี ิสก(์ Floppy Disk) 1.4 หน่วยแสดงข้อมูลหรือเอาต์พุต(Output Unit) ทาหน้าที่ในการแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล ไดแ้ ก่ จอภาพ และเคร่อื งพิมพ์ เป็นต้น ท้งั 4ส่วนจะเชือ่ มต่อกันดว้ ยบัส (Bus)ere to edit.

2. ซอฟตแ์ วร์ (SOFTWARE) ซอฟต์แวร์ คือโปรแกรมหรือชุดคาสั่ง ที่ส่ังให้ฮาร์ดแวร์ทางาน รวมไปถึงการควบคุมการทางาน ของอปุ กรณแ์ วดลอ้ มตา่ งๆ เชน่ ฮาร์ดดสิ ก์ ดิสก์ไดร์ฟ ซีดีรอม การ์ดอินเตอร์เฟสต่าง ๆ เป็นต้น ซอฟต์แวร์ เป็นสิ่งท่ีมองไม่เห็นจับต้องไม่ได้ แต่รับรู้การทางานของมันได้ ซึ่งต่างกับ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ท่ีสามารถจับต้องได้ซ่ึงแบ่งเป็น 2 ประเภทคอื 2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) คอื โปรแกรม ท่ีใช้ในการควบคุมระบบการ ทางานของเคร่ืองคอมพิวเตอรท์ ง้ั หมด เช่น การบตู เคร่อื ง การสาเนาข้อมูล การจัดการระบบของดิสก์ ชุดคาส่ังท่ีเขียนเป็นคาส่ังสาเร็จรูป โดยผู้ผลิตเคร่ืองคอมพิวเตอร์ และมีมาพร้อมแล้วจากโรงงานผลิต การทางานหรือการประมวลผลของซอฟตแ์ วรเ์ หล่าน้ี ขึ้นกับเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ระบบของซอฟต์แวร์เหล่านี้ ออกแบบมาเพื่อการปฏิบัติควบคุม และมีความสามารถในการยืดหยุ่น การประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 4ประเภทคือ 2.1.1 โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (Operating System) เป็นโปรแกรมท่ีใช้ควบคุมและติดต่อกับอปุ กรณต์ า่ งๆของเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะการจัดการระบบของดิสก์ การบริหารหน่วยความจาของระบบถ้าขาดซอฟต์แวร์ชนิดน้ี จะทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทางานได้ ตัวอย่างของซอฟต์แวร์ประเภทน้ีได้แก่ โปรแกรมระบบปฏิบัติการ Unix Linux DOS และ Windows (เวอร์ชั่นต่าง ๆ เช่น 95 98 XP Vista )เป็นต้น

2.1.2 ตัวแปลภาษา (Translator) จาก Source Code ให้เป็น Object Code (แปลจากภาษาที่มนุษย์เข้าใจ ให้เป็นภาษาที่เครื่องเข้าใจ) เป็นซอฟต์แวร์ท่ีใช้ในการแปลภาษาระดับสูง ซึ่งเป็นภาษาใกล้เคียงภาษามนุษย์ ให้เป็นภาษาเคร่ืองก่อนที่จะนาไปประมวลผล ตัวแปลภาษาแบ่งออกเป็นสองประเภทคือคอมไพเลอร์ (Compiler) และอินเตอร์พีทเตอร์ (Interpeter) คอมไพเลอร์จะแปลคาสั่งในโปรแกรมท้ังหมดก่อน แลว้ ทาการล้ิง(Link) เพอ่ื ให้ไดค้ าส่ังทีเ่ ครอื่ งคอมพิวเตอร์เขา้ ใจ สว่ นอินเตอร์พีทเตอร์จะแปลทีละประโยคคาสั่ง แล้วทางานตามประโยคคาส่ังน้ัน การจะเลือกใช้ตัวแปลภาษาแบบใดน้ัน จะขึ้นอยู่กับภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม 2.1.3 ยูติลิตี้ โปรแกรม (Utility Program) คือซอฟต์แวร์เสริมช่วยให้เคร่ืองทางานมีประสิทธิภาพมากขนึ้ เชน่ ช่วยในการตรวจสอบดสิ ก์ ช่วยในการจัดเก็บข้อมลู ในดิสก์ ช่วยสาเนาขอ้ มูล ช่วยซ่อมอาการชารุดของดสิ ก์ ชว่ ยคน้ หาและกาจดั ไวรัส ฯลฯ เปน็ ต้น 2.1.4 ติดตั้งและปรับปรุงระบบ (Diagonostic Program) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการติดต้ังระบบเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถติดต่อและใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่นามาติดตั้งระบบ ได้แก่ โปรแกรมSetupและDriver ตา่ ง 2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ทาให้คอมพิวเตอร์ทางานต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์สามารถจาแนกไดเ้ ป็น 2 ประเภท คอื

2.2.1 ซอฟตแ์ วรส์ าหรับงานเฉพาะด้าน(Special Purpose Software) คือ โปรแกรมซ่ึงเขียนขึ้นเพื่อการทางานเฉพาะอยา่ งทเ่ี ราตอ้ งการ บางทเี่ รียกว่า User’s Program เช่น โปรแกรมการทาบัญชีจ่ายเงินเดือนโปรแกรมระบบเช่าซื้อ โปรแกรมการทาสินค้าคงคลัง เป็นต้น ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็มักจะมีเง่ือนไข หรือแบบฟอรม์ แตกต่างกันออกไปตามความต้องการหรือกฏเกณฑ์ของแต่ละหนว่ ยงานทีใ่ ช้ 2.2.2 ซอฟต์แวร์สาหรับงานท่ัวไป(General Purpose Software) เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทาไว้ เพื่อใช้ในการทางานประเภทต่างๆ ทั่วไป โดยผู้ใช้คนอ่ืนๆ สามารถนาโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้ แตจ่ ะไมส่ ามารถทาการดดั แปลง หรือแก้ไขโปรแกรมได้ ผู้ใชไ้ ม่จาเปน็ ต้องเขยี นโปรแกรมเอง ซ่ึงเป็นการประหยัดเวลา แรงงาน และค่าใช้จ่ายในการเขียนโปรแกรม ดังนั้นการใช้โปรแกรมสาเร็จรูปจึงเป็นส่ิงที่อานวยความสะดวกและเป็นประโยชนอ์ ยา่ งยงิ่ ตวั อยา่ งโปรแกรมสาเร็จรูปที่นิยมใช้ได้แก่ MS-Office, AdobePhotosho, Internet Explorer และ เกมสต์ า่ งๆ เป็นตน้ ซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะด้าน เช่น โปรแกรมการทาบัญชีจ่ายเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่าซือ้ โปรแกรมการทา สินค้าคงคลงั

3 .บคุ ลากร (PEOPLEWARE) บุคลากรจะเป็นสิ่งสาคัญที่จะเป็นตัวกาหนดถึงประสิทธิภาพถึงความสาเร็จและความคุ้มค่าในการใช้งานคอมพิวเตอร์ ซ่ึงสามารถแบง่ บุคลากรตามหน้าท่ีเก่ยี วข้องตามลกั ษณะงานได้ 6 ดา้ น ดงั นี้ 3.1 นักวเิ คราะห์และออกแบบระบบ (Systems Analyst and Designer : SA) ทาหน้าที่ศึกษาและรวบรวมความต้องการของผู้ใช้ระบบ และทาหน้าที่เป็นสื่อกลางระหว่างผู้ใช้ระบบและนักเขียนโปรแกรมหรือปรับปรุงคุณภาพงานเดิม นักวิเคราะห์ระบบต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ พื้นฐานการเขียนโปรแกรม และควรจะเป็นผมู้ ีความคิดริเรม่ิ สร้างสรรคม์ ีมนษุ ย์สัมพนั ธท์ ี่ดี 3.2 โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือบุคคลท่ีทาหน้าที่เขียนซอฟต์แวร์ต่างๆ(Software) หรือเขียนโปรแกรมเพื่อส่ังงานให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังท่ีนกั วเิ คราะหร์ ะบบไดเ้ ขยี นไว้ 3.3 ผู้ใช้ (User) เป็นผู้ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ซ่ึงจะเป็นผู้ปฏิบัติหรือกาหนดความต้องการในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ว่าทางานอะไรได้บ้าง ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ท่ัวไป จะต้องเรียนรู้วิธีการใช้เคร่ือง และวธิ กี ารใช้งานโปรแกรม เพ่ือใหโ้ ปรแกรมทมี่ ีอยู่สามารถทางานไดต้ ามทตี่ ้องการ

3.4 ผู้ปฏิบัติการ (Operator) สาหรับระบบขนาดใหญ่ เช่น เมนเฟรม จะต้องมีเจ้าหน้าท่ีคอมพิวเตอร์ท่ีคอยปิดและเปิดเครื่อง และเฝ้าดูจอภาพเมื่อมีปัญหาซ่ึงอาจเกิดขัดข้อง จะต้องแจ้ง SystemProgrammer ซึ่งเป็นผดู้ ูแลตรวจสอบแก้ไขโปรแกรมระบบควบคมุ เคร่อื งอีกทหี นง่ึ 3.5 ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator : DBA) บุคคลท่ีทาหน้าท่ีดูแลข้อมูลผ่านระบบจัดการฐานขอ้ มูล ซง่ึ จะควบคุมให้การทางานเป็นไปอย่างราบร่ืน นอกจากนี้ยังทาหน้าท่ีกาหนดสิทธิการใชง้ านขอ้ มูล พรอ้ มทง้ั ดแู ลดาต้าเบสเซริ ฟ์ เวอรใ์ ห้ทางานอย่างปกติด้วย 3.6 ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหนว่ ยงาน เป็นผูท้ ม่ี ีความหมายต่อความสาเร็จหรอื ล้มเหลวของการนาระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาใชง้ านเปน็ อย่างมาก

3. ข้อมูลและสารสนเทศ4.1 ขอ้ มลู (DATA)Picture หมายถงึ ขอ้ เทจ็ จรงิ หรอื เหตุการณท์ เ่ี กิดขึน้ แลว้ ใช้ตวั เลขตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ ต่างๆ ทาความหมายแทนสิง่ เหล่านน้ั เช่น  คะแนนสอบวชิ าภาษาไทยของนกั เรียน  อายขุ องพนกั งานในบริษัทชนิ วัตรจากัด  ราคาขายของหนังสือในรา้ นหนังสือดอกหญา้  คาตอบทผี่ ู้ถกู สารวจตอบในแบบสอบถาม4.2 สารสนเทศ (INFORMATION)Picture หมายถงึ ข้อสรุปตา่ งๆ ทีไ่ ด้จากการนาขอ้ มูลมาทาการวเิ คราะห์ หรือผ่านวิธีการท่ี ได้กาหนดข้ึน ทง้ั นเ้ี พอ่ื นาข้อสรปุ ไปใช้งานหรอื อา้ งองิ เช่น  เกรดเฉล่ียของวชิ าภาษาไทยของนักเรยี น  อายุเฉลย่ี ของพนกั งานในบรษิ ทั ชนิ วัตรจากัด  ราคาขายสูงสุดของหนงั สอื ในรา้ นหนังสือดอกหญ้า  ขอ้ สรปุ จากการสารวจคาตอบในแบบสอบถาม

5 .กระบวนการทางาน (PROCEDURE) กระบวนการทางานหรือโพรซีเยอร์ หมายถึงข้ันตอนที่ผู้ใช้จะต้องทาตามเพ่ือให้ได้งานเฉพาะอย่างจากคอมพิวเตอร์ซ่ึงผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทุกคนต้องรู้การทางานพื้นฐานของเคร่ืองคอมพิวเตอร์เพ่ือท่ีจะสามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง ตัวอย่างเช่น การใช้เคร่ืองฝาก-ถอนเงินอัตโนมัติถ้าต้องการถอนเงินจะต้องผ่านกระบวนการตา่ ง ๆดงั นี้ 1. จอภาพแสดงขอ้ ความเตรียมพร้อมทจ่ี ะทางาน 2. สอดบตั ร และพมิ พร์ หัสผู้ใช้ 3. เลอื กรายการ 4. ใสจ่ านวนเงนิ ที่ตอ้ งการ 5. รับเงิน 6. รับใบบนั ทึกรายการ และบัตร การใช้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานในส่วนต่าง ๆนั้นมักจะมีขั้นตอนท่ีสลับซับซ้อน และเกี่ยวข้องกับช่วงเวลาต่าง ๆในการปฏิบัติงานด้วย จึงต้องมีคู่มือการปฏิบัติงานที่ชัดเจน เช่นคู่มือสาหรับผู้ควบคุมเครือ่ ง (Operation Manual) คู่มอื สาหรับผใู้ ช้ (User Manual) เปน็ ต้น กระบวนการทางาน (PROCEDURE)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook