Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580)

แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580)

Published by รัตนา อนันต์ชื่น, 2021-05-21 01:38:53

Description: แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580)

Search

Read the Text Version

87 แผนงาน : บทบาท สกอ. ในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของหลักสูตรท่ีเป็นวิทยาศาสตร์ หลักสูตรที่ตอบโจทย์ การพัฒนาขีดความสามารถด้านการแข่งขัน เพ่ือเพิ่มสัดส่วนการผลิตบุคลากรสายวิทยาศาสตร์ การสนับสนุนให้เกิด หลกั สูตรทตี่ อ่ ยอดสาหรับประชากรนอกวยั เรียน (Non-age group) เพมิ่ สัดส่วนหลกั สูตรนานาชาตทิ ่มี กี ารเรียนการสอน โดยเน้นภาษาอังกฤษเป็น Working Language การสนับสนุนให้เกิดรูปแบบการเรียนรู้ท่ีเน้นการเรียนควบคู่ไปกับ การทางาน เพื่อรกั ษากาลังคนท่สี าคัญในตลาดแรงงาน สถาบันการศึกษาควรปรับปรุงสัดส่วนการผลิตของตนเองให้เหมาะสม (Re-profiling) เน้นหลักสูตร ที่มีคุณภาพ และตรงกับศักยภาพของสถาบัน ลดความซ้าซ้อนของหลักสูตรภายในสถาบันรวมท้ังลดสัดส่วนการผลิต ในบางหลักสูตรลง สร้างหลักสูตรที่ทันสมัยเน้นทักษะท่ีเป็นท่ีต้องการ ปรับหลักสูตรเน้นสมรรถนะตอบสนอง ความต้องการในระยะส้ัน ปรับเส้นทางการเข้าถึงบริการอุดมศึกษาท่ีหลากหลาย ( Multiple Tracks) ปรับปรุง ความสามารถด้านภาษาอังกฤษของบัณฑิตอย่างเป็นรูปธรรม รวมท้ังประเมินขีดความสามารถด้านทักษะภาษาอังกฤษ ของบัณฑิตก่อนสาเร็จการศึกษา ปรับปรุงทุกหลักสูตรเพ่ือให้ทันกับทิศทางของการพัฒนาประเทศไทยในยุคเทคโนโลยี ดิจิทลั แผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

88 ยุทธศาสตร์ การพฒั นาศักยภาพและคุณภาพนกั ศึกษา เสริมสรา้ งความรู้ และทกั ษะทางอาชพี ให้พรอ้ มรองรับการเปลีย่ นแปลง ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต บรบิ ท การพฒั นานักศกึ ษาเปน็ หวั ใจสาคัญในการผลิตบัณฑิต เพราะเป็นการสะทอ้ นถึงคุณภาพของหลักสูตร และปรัชญาในการศึกษาของแต่ละสถาบัน เป็นส่วนสาคัญท่ีแสดงถึงความสาเร็จในระบบการผลิตบัณฑิตและกาลังคน ท่ีตรงความต้องการออกไปสู่ตลาดแรงงาน และสร้างคุณค่าให้กับสังคม การพัฒนานักศึกษาจึงต้องครอบคลุมทักษะ ท่ีจาเป็นทั้งวิชาการ วิชาชีพ ความคิด การแก้ปัญหา รวมท้ังการปลูกฝังหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเป็นรากฐาน ของการพัฒนาท่ีย่ังยืน ฝึกทักษะการแก้ปัญหาและความคิดวิเคราะห์เพ่ือเตรียมพร้อมสาหรับการเปล่ียนแปลงท่ีจะเกิด ในอนาคต การพัฒนามีท้ังในส่วนท่ีเป็นหลักสูตร และในส่วนของกิจกรรมนอกหลักสูตร เพ่ือส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง อีกมติ หิ น่งึ ของการพัฒนานักศึกษาคือการเปดิ โอกาสใหเ้ กิดความเทา่ เทยี มในการเขา้ ถึงของกลุ่มต่าง ๆ ทั้งกลุ่มท่ีมีข้อจากัดในด้านต่าง ๆ และการพัฒนากลุ่มท่ีมีความสามารถพิเศษเพ่ือให้นักศึกษาทุกกลุ่มได้มีโอกาสพัฒนา ศักยภาพของตนอย่างเตม็ ที่ ประเด็นความทา้ ทายในยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 : การพัฒนาทักษะในด้านต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง (3R8C) การเปิดโอกาสให้เกดิ ความเท่าเทียมและการเข้าถึงของกลมุ่ ทม่ี ขี อ้ จากัด การพฒั นาทักษะและความร้คู วามสามารถเพ่อื ตอบสนองความตอ้ งการของตลาดแรงงานและ การพัฒนาเศรษฐกิจในด้านการสรา้ งนวตั กรรมและความเปน็ ผปู้ ระกอบการ การสรา้ งจิตสานกึ ด้านสิง่ แวดลอ้ มและความเปน็ ประชากรโลก การพฒั นาศักยภาพเพอ่ื อนาคต กจิ กรรมนักศึกษาท่บี รู ณาการกับหลกั สูตร  ความสามารถและเทคนคิ ในการถา่ ยทอดวชิ าความรูแ้ ละทักษะของอาจารย์ เพือ่ ให้นักศึกษา รูจ้ ักคิดแก้ไขปัญหา และมคี วามคิดสร้างสรรค์ เป้าหมาย 2.1 ปรับปรุงกจิ กรรมการพฒั นานักศึกษาให้ทนั สมัย ไดม้ าตรฐาน ครอบคลมุ ความรแู้ ละทกั ษะในศตวรรษที่ 21 2.2 พัฒนาทกั ษะการทางานและการแก้ปญั หา (3R8C) 2.3 การพัฒนาศกั ยภาพนักศกึ ษาเพ่ือสนับสนนุ การสรา้ งนวตั กรรมและวจิ ัย แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

89 ตัวช้ีวัดหลกั (Core KPI) 21st Century KPI 4 : การประเมนิ ทักษะและสมรรถนะของบัณฑติ ดา้ น Soft Skill และ Critical Thinking Soft Skill และ Soft Skill และ Critical Thinking Critical Thinking KPI 5 : Innovative Universities 10 แห่ง Innovation Education Talent Scholarship แผนงาน : บทบาท สกอ. ในการกาหนดคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิต เสริมสร้างทักษะท่ีเป็นที่ต้องการ ของอุตสาหกรรมและผู้ใช้บัณฑิต การให้ทุนสนับสนุนนักศึกษาที่มีความสามารถด้านการสร้างสิ่งประดิษฐ์และวิจัย การประเมินสมรรถนะนักศึกษาระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และการสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับต่างประเทศ ให้เกิด การแลกเปลี่ยนและเปิดโลกทัศน์ในการเป็นประชากรโลก ในขณะเดียวกันวางมาตรการลดความเหลื่อมล้าและการเพ่ิม ของโอกาสในการเข้าถึงอุดมศกึ ษาของทกุ กลุ่มผูเ้ รยี น สถาบันการศึกษาควรบูรณาการหลักสูตรและการใช้ชีวิตของนักศึกษาในสถาบันให้เกิดประโยชน์และ สร้างคุณค่า กาหนดกิจกรรมที่สนับสนุนการเรียนรู้ของนักศึกษาในทุกด้าน ทั้งวิชาการ ความคิด คุณธรรม และสังคม ประเมินผลการพัฒนาทักษะในด้านต่าง ๆ เพื่อให้เกิดประสิทธิผลในเชิงรูปธรรม เปิดโอกาสให้เกิดความเท่าเทียมและ การเข้าถึงของทุกกลุ่ม สร้างจิตสานึกด้านส่ิงแวดล้อม ปลูกฝังหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ควบคู่กับการพัฒนาทักษะ และสมรรถนะทเี่ ปน็ Soft Skill และการตดิ ตามประเมนิ ผลความพงึ พอใจของนายจา้ ง นอกจากนีค้ วามสามารถและความทนั สมยั ในเทคนิคการถ่ายทอดวิชาความรขู้ องอาจารย์เป็นสิ่งสาคัญ ที่สถาบันการศึกษาควรพจิ ารณา โดยเฉพาะการใหก้ ารอบรมเพิม่ เตมิ กับอาจารยผ์ ้สู อน การจดั ให้มกี ารรบั ฟังขอ้ คิดเหน็ (Feedback) จากนักศึกษาผเู้ รยี นถึงทศั นคติและความต้องการของแตล่ ะ Generation เพื่อความเหมาะสมในการปรบั ปรงุ วธิ สี อนให้เหมาะสมกับยคุ สมัย แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

90 เสริมสรา้ งสมรรถนะหลักของอดุ มศึกษาไทยใหเ้ ป็นแหล่งพัฒนา ยุทธศาสตร์ ตอ่ ยอดความสามารถในการใชค้ วามรู้ สร้างผลงานวิจยั คน้ หาคาตอบท่ีจะนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นการแก้ปญั หา และพัฒนาเศรษฐกิจท้ังระดับทอ้ งถน่ิ และระดบั ประเทศ บรบิ ท การวิจัยเป็นภารกิจหลักหน่ึงของสถาบันอุดมศึกษา เพราะอุดมศึกษาเป็นศูนย์รวมของความรู้และ ศาสตร์ต่าง ๆ ที่ทันสมัย และทรัพยากรที่สามารถสร้างผลงานวิจัยได้อย่างมากมาย จากการวิเคราะห์พบว่า กว่า 90% ของผลงานตีพิมพ์ใน SciVal ระหว่างปี พ.ศ. 2554 – 2559 มาจากมหาวิทยาลัยของรัฐ โดยเฉพาะใน 9 มหาวิทยาลัย วิจัยของรัฐมีสูงถึง 79% แม้การวิจัยจะมีการนาไปสู่การแก้ปัญหาและพัฒนาต่อยอด แต่ขาดการรวมพลังเพื่อนาไปสู่ การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันในระดับประเทศ โดยเฉพาะในกลุ่มอุตสาหกรรมที่เป็นกลุ่มเป้าหมายหลักของ ยุทธศาสตร์ชาติ นอกจากน้ีมหาวิทยาลัยท่ีมีศักยภาพด้านงานวิจัย แต่ไม่มีระบบการบริหารงานวิจัยที่บูรณาการ เพอ่ื นาผลงานวิจัยไปส่อู ุตสาหกรรม และการสรา้ งนกั วิจัยที่เป็นกลุ่มก้อนมากพอ ทั้งนี้สถาบันอุดมศึกษาทุกแห่งมีโอกาส ในการสร้างผลงานวิจยั ในหลากหลายสาขา แต่ต้องกาหนดจุดเด่นหรือความเช่ียวชาญของตนเอง และจัดสรรทรัพยากร เพื่อใหเ้ กิดผลจากงานวิจยั ของตนเองอยา่ งแท้จริง โอกาสในการสรา้ งผลงานวิจัยอาจนาไปใชป้ ระโยชน์ได้ท้ังระดบั ทอ้ งถน่ิ และในระดบั สากล รวมทงั้ การพัฒนาใหม้ หาวทิ ยาลัยทมี่ ีความสามารถไปสูก่ ารจัดอนั ดบั ทีด่ ขี ึน้ ใน World Class Ranking ประเด็นความทา้ ทายในยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 : การเพิม่ ขดี ความสามารถดา้ นงานวจิ ยั และนวตั กรรมทีน่ าไปสูก่ ารพัฒนาประเทศ (Thailand 4.0) การสรา้ งขีดความสามารถในการวิจยั ท่ีเปน็ แนวหนา้ การค้นหาคาตอบเพือ่ สนบั สนุนการพฒั นาสงั คมและเศรษฐกิจของประเทศ การนาผลงานวจิ ัยมาตอ่ ยอดเพ่ือพฒั นากลมุ่ อตุ สาหกรรมเปา้ หมายตามยทุ ธศาสตร์ประเทศ การพฒั นาศักยภาพของนกั วจิ ัย ท้งั กล่มุ หลกั กลุ่มสนับสนุน และนักวิจยั มืออาชพี การพัฒนาขดี ความสามารถสมู่ หาวทิ ยาลยั วิจยั และการเปน็ Global University แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

91 เป้าหมาย 3.1 พฒั นาสถาบนั อุดมศึกษาตามความสามารถและศกั ยภาพดา้ นการวจิ ยั และการบริการทีม่ ีตอ่ สังคม (Research Hubs, Innovation Center) 3.2 พัฒนาสมรรถนะและความสามารถบคุ ลากรวิจัยเพ่ือสร้างความรู้ใหมแ่ ละนวัตกรรมที่มีคณุ ภาพสูง (ผลงานวจิ ยั /จานวนอาจารย์, จานวนนกั วิจัย, Impact Factor, Citation) 3.3 การสร้างขดี ความสามารถในการวิจยั ทนี่ าไปสู่การใชง้ านจรงิ แก้ไขปญั หา และชน้ี าสงั คม (จานวน นวตั กรรมที่ใช้งานและเกดิ ผลกระทบต่อเศรษฐกจิ /สงั คม) 3.4 พฒั นาขีดความสามารถไปสมู่ หาวิทยาลัยชั้นนาของโลก (University 4.0, World Class / Global University Ranking) ตวั ชว้ี ดั หลกั (Core KPI) KPI 6 : จานวนนกั วิจยั ต่อประชากร 60 คน 50 คน 60 คน 25 คน 35 คน 13.6 คน พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2564 พ.ศ. 2569 พ.ศ. 2574 พ.ศ. 2579 (ทมี่ า : เปา้ หมายนกั วิจัยในระยะ 20 ปี ของ สวนช.) นกั วิจยั : ประชากร 10,000 คน KPI 7 : รายไดท้ ไ่ี ด้จากการให้สิทธใิ นการใชท้ รัพยส์ ินทางปญั ญาของมหาวทิ ยาลัย 50 ลา้ นบาทตอ่ ปี Global Innovation Index 2017 ประเทศไทยอยูท่ ่ีอนั ดบั 51 จาก 127 ประเทศ ที่มา : https://www.globalinnovationindex.org/gii-2017-report# จานวนคาขอสิทธบิ ตั รทส่ี ถาบันอดุ มศกึ ษายนื่ รวมทั้งสนิ้ 646 ชิ้นในปี พ.ศ. 2558 ทมี่ า : สวทน. KPI 8 : World Class Ranking at 200 7 แห่ง 7 แห่ง ทม่ี า : แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 5 แหง่ 2 แหง่ 4 แห่ง พ.ศ. 2574 พ.ศ. 2579 0 แหง่ พ.ศ. 2564 พ.ศ. 2569 พ.ศ. 2560 แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

92 แผนงาน : บทบาท สกอ. ในการกาหนดนโยบายที่สนับสนุนให้เกิดนักวิจัย งานวิจัย และการนางานวิจัยไป ขยายผลเชิงพาณิชย์และต่อยอดทางธุรกิจ การสนับสนุนด้านกฎระเบียบ ภาษี แรงจูงใจในการสร้างคู่ความร่วมมือ ด้านงานวิจัยท้ังในประเทศ และในระดับนานาชาติ กาหนดตาแหน่งนักวิจัยรวมทั้งผลตอบแทนที่จูงใจ ไม่ซ้าซ้อน กาหนดเกณฑ์ของบัณฑิตศึกษาที่สนับสนุนงานวิจัย การสร้างนวัตกรรม ตลอดจนผลงานนวัตกรรมในรูปแบบอ่ืน กาหนดกรอบในการประเมนิ ขีดความสามารถดา้ นงานวจิ ัย ส ถ า บั น ก า ร ศึ ก ษ า ค ว ร ก า ห น ด ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น น วั ต ก ร ร ม แ ล ะ ง า น วิ จั ย ข อ ง ต น เ อ ง (Re-positioning) ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานที่เอื้อต่อการสร้างผลงานวิจัย และจูงใจให้เกิดจานวนนักวิจัยมืออาชีพ เพม่ิ ขน้ึ ปรบั ปรงุ ห้องปฏบิ ตั ิการวิจัยใหไ้ ดม้ าตรฐานสากลเพือ่ รองรับงานวิจยั ทีม่ ีคุณภาพและเป็นที่ยอมรับในระดบั สากล สร้างระบบการบริหารจัดการงานวิจัยและสร้างระบบนิเวศนวัตกรรม (Innovative Ecosystem) ของการถ่ายทอด เทคโนโลยี และการอนุญาตให้ใช้สิทธใิ นทรัพย์สินทางปัญญา ท่ีมีประสิทธิภาพและสร้างคุณค่าต่อภาคเศรษฐกิจ สังคม ชมุ ชน แผนอดุ มศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

93 ยุทธศาสตร์ อุดมศึกษาเป็นแหล่งสนับสนนุ การสรา้ งงานและนาความรู้ ไปแกป้ ัญหาผ่านความรว่ มมือกบั ภาคเอกชนและทอ้ งถ่ิน บรบิ ท การนาความรู้สู่สังคมในรูปแบบการบริการวิชาการเป็นอีกหน่ึงพันธกิจท่ีสาคัญของสถาบันอุดมศึกษา ทั้งน้ีเพราะอุดมศึกษาเป็นศูนย์รวมของความรู้และศาสตร์ต่าง ๆ ที่ทันสมัยและถูกสังคมชุมชนมองดูว่าเป็นท่ีพ่ึง ในการแก้ไขปัญหา และการถ่ายทอดความรู้ ซ่ึงสถาบันอุดมศึกษาทุกแห่งได้ทามาอย่างต่อเนื่อง ท้ังการอบรมวิชาชีพ การถา่ ยทอดความรูไ้ ปจนถงึ การเป็นแหล่งความรู้ในการแก้ปัญหา บทบาทดังกล่าวเพ่ิมความสาคัญมากยิ่งข้ึนในยุคสมัย ของการเปลยี่ นแปลงเทคโนโลยดี ้านสื่อ และการผลิตทล่ี ดตน้ ทนุ ลงอย่างมากมาย ในขณะทเ่ี ปดิ โอกาสสู่การค้าในรปู แบบใหม่ บน Internet นอกจากนี้บทบาทสาคัญของสถาบันอุดมศึกษาควรรักษาไว้ซ่ึงวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถ่ิน ที่ดี เพอ่ื ไมใ่ หถ้ กู ทาลายจากการพัฒนาทีก่ ้าวเขา้ มาอยา่ งรวดเรว็ บทบาทอีกอันหนึ่งในการถ่ายทอดความรู้สู่สังคมจึงควรเป็น การสร้างความม่ันคงและมั่งคัง่ ทางเศรษฐกจิ ให้กบั ชุมชนตา่ ง ๆ ประเด็นความทา้ ทายในยุทธศาสตร์ที่ 4 :  การนาความรแู้ ละทรัพยากรทม่ี ไี ปสู่การบรกิ ารทางสงั คมทีเ่ กดิ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ แกช่ มุ ชน  สถาบนั การศกึ ษาควรมบี ทบาทในการสรา้ งงานและโอกาสทางธรุ กิจ  ความเช่อื มโยงระหวา่ งศาสตร์ทสี่ อนและการนาไปใช้ เป้าหมาย 4.1 เปดิ โอกาสในการพฒั นาวชิ าการส่สู งั คม (University Social Engagement) 4.2 ส่งเสรมิ การนาความรไู้ ปส่กู ารสรา้ งโอกาสทางธุรกจิ (Start-up, Spin-off, Incubator และ Accelerator) 4.3 แหลง่ สนับสนุนการพฒั นาฐานรากเศรษฐกิจและชมุ ชนทอ้ งถน่ิ (โครงการความร่วมมือกับเอกชน/ ท้องถิน่ ประชารัฐ Community University) 4.4 โครงการพัฒนาทต่ี อบสนองความตอ้ งการของชุมชน (Demand Driven) แผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

ตัวช้วี ดั หลกั (Core KPI) 94 KPI 9 : จานวน Technology-based startups ไม่นอ้ ยกว่า 300 แหง่ Global Entrepreneurship Index อยใู่ นเปอรเ์ ซ็นไทลท์ ่ี 70 ที่มา : แผนยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี ไมน่ ้อยกวา่ 800 แห่ง KPI 10 : นาองคค์ วามร้เู พ่อื พัฒนาและสรา้ งความเขม้ แข็งให้กับ SMEs แผนงาน : บทบาท สกอ. ในการส่งเสริมให้เกิดคณะกรรมการร่วมรัฐ-เอกชน -ท้องถ่ิน การเป็นตัวกลาง ในการสร้างเครือข่ายความรว่ มมอื ของกลมุ่ มหาวิทยาลัยในโครงการตา่ ง ๆ เพ่ือลดความซ้าซ้อน และใช้ทรัพยากร อย่างคุ้มค่า ส่งเสริมความร่วมมือท้ังในระดับประเทศและระดับพ้ืนที่ในสาขาวิชาต่าง ๆ กาหนดนโยบาย ทสี่ นบั สนุนให้เกดิ ธรุ กิจใหม่ และตอ่ ยอดเครอื ข่ายทางธุรกจิ สถาบันการศึกษาควรค้นหาความต้องการของชุมชนท่ีตนอาจไปช่วยพัฒนา ค้นหาโอกาส ในการพัฒนาธุรกิจใหม่ ๆ ร่วมกับชุมชน และเครือข่ายความร่วมมือ นาความรู้ไปสู่ชุมชนผ่านกลไกการแก้ไข ปัญหาและการพัฒนาร่วมกัน เพื่อสร้างความเช่ือม่ันในการเป็นแหล่งสนับสนุนด้านวิชาการ สถาบันการศึกษา ควรพัฒนา Incubator และ Accelerator ในการบ่มเพาะทั้งเทคโนโลยีและธุรกิจ เพื่อเอ้ือประโยชน์กับการนา นวตั กรรมไปทาให้เกิดรายไดก้ บั ภาคธรุ กิจและชุมชน แผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

95 ยทุ ธศาสตร์ ปรับปรุงระบบการบริหารจัดการให้เกิดประสิทธิภาพ มีประสิทธิผล และมีระบบการกากับดูแลที่รับผิดชอบ ต่อผลการดาเนินการของมหาวทิ ยาลัยในทุกด้าน บริบท แม้สถาบนั อุดมศึกษาจะมีทง้ั ที่เปน็ หน่วยงานราชการ มหาวิทยาลยั ในกากับ และภาคเอกชน แต่ระบบ การบริหารจัดการและระบบการกากับดูแลก็เป็นส่วนสาคัญที่จาเป็นต้องปรับปรุงให้มีความทันสมัย รับผิดชอบ โปร่งใส ตรวจสอบได้ ความมปี ระสทิ ธิภาพและประสิทธิผลตามพันธกิจเปน็ เรื่องทเี่ ก่ยี วข้องกับความรับผิดชอบของผู้บริหาร และ ระบบกากับดูแลของสถาบัน การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและประหยัด การดูแลการบริหารไม่ให้เกิดการทุจริต มีความ โปร่งใส สอดคล้องกับหลักนิติธรรมและมีจริยธรรมในการดาเนินการตามพันธกิจทุกด้าน หรือแม้นโยบาย ด้านผลประโยชนท์ ับซอ้ นลว้ นเป็นความรบั ผิดชอบของระบบการบริหารจัดการของสถาบัน การรายงานผลประกอบการ สู่สังคมก็เป็นความรับผิดชอบร่วมกันของ สกอ. และสถาบันการศึกษาทุกแห่ง การบริหารความเส่ียง และการสร้าง ความเข้มแข็งดา้ นการเงนิ ประเดน็ ความทา้ ทายในยทุ ธศาสตร์ที่ 5 :  ความโปร่งใสของระบบการบริหารของอุดมศกึ ษา  การบรหิ ารจดั การทขี่ าดประสิทธภิ าพและความรบั ผดิ ชอบในการใชท้ รพั ยากรตา่ ง ๆ  การติดตามประเมนิ ผลทขี่ าดประสทิ ธิภาพและขาดบทลงโทษ  การยกระดบั ขดี ความสามารถของมหาวิทยาลยั ทุกกลมุ่  ระบบการกากบั ดแู ลทีม่ ปี ระสิทธภิ าพ มีการรายงาน ตรวจสอบได้ สอดคลอ้ งกับหลักนิติธรรมและ จรยิ ธรรมจรรยาบรรณ เปา้ หมาย 5.1 การปรบั โครงสรา้ งการบรหิ ารจดั การและบทบาทของระบบอดุ มศึกษา (HE Restructure, Governance Roles and Responsibility) 5.2 ปรบั ปรุงการบรหิ ารจดั การของสถาบันอดุ มศกึ ษาเพอ่ื เพ่มิ ประสิทธภิ าพในการใชท้ รัพยากร และเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขนั (การลดตน้ ทุนต่อหนว่ ย/ความรบั ผิดชอบดา้ นการเงนิ ) 5.3 ระบบฐานข้อมูลและการรายงานทถี่ ูกตอ้ ง (ความครบถ้วนของการรายงานข้อมลู ตอ่ สกอ. และตอ่ สาธารณะ) 5.4 สร้างระบบการกากบั ดแู ลทโ่ี ปร่งใส ความรับผิดและตรวจสอบได้ (Governance Accountability/ Organizational Assessment) โดยเฉพาะอย่างย่ิงเกี่ยวขอ้ งกบั บทบาทของสภามหาวทิ ยาลยั แผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

ตัวช้ีวดั หลัก (Core KPI) 96 ร้อยละ 90 KPI 11 : รอ้ ยละการประเมินความโปรง่ ใสและความรบั ผิด การประเมนิ ความโปร่งใสในการดาเนินงานของหนว่ ยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment : ITA ) https://www.nacc.go.th/main.php?filename=ITA KPI 12 : การประเมนิ ผลสัมฤทธิ์ทางเศรษฐกิจและสงั คม Economic and Social Outcome แผนงาน : แผนงาน : การรายงานข้อมูลและสถิติภาพรวมของอุดมศึกษาเพ่ือให้สาธารณะได้รับรู้ เช่น สัดส่วนการผลิต บณั ฑิตในสาขาต่าง ๆ อัตราการไดง้ านทา ความนิยมของสถาบนั เปน็ ตน้ บทบาท สกอ. ในการสง่ เสริมใหเ้ กดิ ธรรมาภิบาล และความโปร่งใสทงั้ ระบบ การพฒั นาระบบการประเมินความโปร่งใสของการจดั การและระบบการกากบั ดูแล สถาบันการศึกษาควรปรับปรุงคุณภาพและประสิทธิภาพของระบบการบริหารจัดการของสถาบัน อยา่ งตอ่ เน่อื ง จดั ทารายงานผลการดาเนินการของตนเอง และประกาศนโยบายผลประโยชน์ทับซ้อน รวมทั้งสร้างระบบ การประเมินผู้บริหาร การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน และระบบการติดตามตรวจสอบที่ทันกาลและ มีประสิทธผิ ล แผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

97 ยุทธศาสตร์ ปรับระบบโครงสร้างการตรวจสอบ การจัดสรรงบประมาณ และการติดตามรายงานผลท่ีมีประสทิ ธิภาพ บรบิ ท การรายงานและการติดตามประเมินผลของ สกอ. ในอดีตมุ่งเน้นไปในเร่ืองของการประกันคุณภาพ การศกึ ษา ซงึ่ ไม่อาจสะทอ้ นปญั หาทกี่ าลงั เกิดข้ึนในภาพรวม ต้ังแต่หลกั สตู รท่ีมกี ารเปดิ เกนิ ความต้องการ และการหดตัว ของจานวนผเู้ ข้าเรียนในระดับอดุ มศกึ ษา นอกจากน้ีการจดั สรรงบประมาณในภาครัฐท่ีลงไปยังสถาบันการศึกษาโดยตรง ไม่อาจบอกได้ว่าภาพรวมในการผลิตได้ตอบสนองทิศทางการพัฒนาเพียงใด ท้ังน้ีเพราะการติดตามข้อมูลและ การประเมินผลการใช้งบประมาณของ สกอ. ยังไมม่ ีประสทิ ธิภาพ ประเดน็ ความทา้ ทายในยุทธศาสตร์ที่ 6 :  การตดิ ตามประเมนิ ผลทขี่ าดประสทิ ธิภาพ  การจัดสรรงบประมาณทไี่ มส่ อดคล้องกบั ทิศทางการผลติ บณั ฑติ และยังไม่เป็น Performance-based  มาตรการกระตนุ้ ใหม้ หาวิทยาลยั พัฒนาใหร้ วดเรว็ และตรงตามความต้องการของประเทศ  การยกระดับขดี ความสามารถของหนว่ ยงานท่กี ากบั ดูแล และการตดิ ตามประเมนิ ผลระบบคณุ ภาพ ในทกุ มิตไิ ดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิผล  กลไกการตดิ ตามและระบบฐานข้อมูลกลางท่ีมีประสิทธภิ าพ เป้าหมาย 6.1 การปรบั ระบบการจดั สรรงบประมาณตามการพฒั นาขีดความสามารถของสถาบนั อดุ มศกึ ษา (Financial Incentive: Demand Pull, Performance-based, PA) 6.2 ปรับระบบการตดิ ตามประเมินผลทกุ ระดบั ของ สกอ. ให้เกิดประสิทธภิ าพ และให้เชือ่ มกบั การใหค้ ณุ ใหโ้ ทษตาม Performance 6.3 สร้างกลไกการประเมินคณุ ภาพทีม่ ุ่งเนน้ ประสทิ ธิผล การสรา้ งความรู้ และทกั ษะของบัณฑติ (Quality System: Accreditation System, QA System, Learning Outcome, Ranking) 6.4 สง่ เสริมใหส้ รา้ งกลไกในการกระต้นุ ใหเ้ กดิ การพัฒนาเพื่อยกระดบั คุณภาพในพนั ธกิจทุกดา้ น (Resource and Support Centers, Benchmark Partners) 6.5 สร้างระบบการติดตามรายงานผลทม่ี ีประสิทธิภาพ ระบบขอ้ มลู สารสนเทศและสถิตอิ ดุ มศกึ ษา การรายงานผลระบบอดุ มศกึ ษาสสู่ าธารณะ แผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

ตวั ชว้ี ดั หลกั (Core KPI) 98 รอ้ ยละ 80 KPI 13 : ร้อยละการสาเรจ็ การศึกษาตามเวลาทก่ี าหนดในหลักสูตร 60 % พ.ศ. 80 % 2580 100 % 2560 พ.ศ. KPI 14 : ความสามารถในการปฏบิ ัติงานภายหลังจบการศึกษา แผนงาน : สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาควรกาหนดนโยบายระดับมหภาค และมาตรฐานการบริหาร จัดการ จัดตั้งศูนย์ข้อมูลด้านอุดมศึกษาเพ่ือการรวบรวมข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องและสะดวกต่อการจัดทารายงานสู่สาธารณะ และการทาดัชนีเทยี บเคยี ง (Benchmark) ป รั บ ป รุ ง รู ป แ บ บ ก า ร จั ด ส ร ร ง บ ป ร ะ ม า ณ โ ด ย พิ จ า ร ณ า จ า ก คุ ณ ภ า พ ข อ ง ก า ร ผ ลิ ต บั ณ ฑิ ต ขีดความสามารถดา้ นการวิจยั ผลติ ภาพจากผลงานวิจยั และศกั ยภาพของการบริหารจดั การของสถาบนั การศึกษา ใช้กลไกของงบประมาณการเงนิ เพ่อื ปรับสดั สว่ นการผลติ ให้สนับสนุนการพัฒนาตามกรอบยุทธศาสตร์ ระยะยะยาวของประเทศ รวมท้ังการสร้างสมดุลของเป้าหมายการผลิตระหว่าง Planned Approach กบั Market Approach สนับสนุนให้ระบบการประกันคุณภาพภายในสถาบันสามารถขับเคลื่อนการบริหารจัดการให้เกิด ประสิทธิผล ในขณะท่ีสร้างกลไกการเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพให้เกิดข้ึนในทุกพันธกิจและระบบการบริหารของ สถาบัน แผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

การวางแผน เพอื่ การเปลี่ยนแปลง 000

100 การวางแผนเพือ่ การเปลยี่ นแปลง หลักการสาคัญของการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ระยะยาวของอุดมศึกษา (พ.ศ. 2561 - 2580) ให้มีระยะเวลา 20 ปี และกาหนดแผนเพื่อการเปล่ียนแปลง (Blueprint for Changes) ซ่ึงเป็นการเปลี่ยนแปลง เชิงระบบ ทั้งนี้ เพ่ือให้ระบบอุดมศึกษาใหม่ (New Higher Education System) สามารถดาเนินการได้อย่าง มีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ท่ีกาหนด โดยมีสมมติฐานว่า “ถ้าระบบอุดมศึกษามีความเหมาะสม มีประสทิ ธภิ าพ ไมว่ ่าความต้องการในการพัฒนาประเทศจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรก็ตาม สถาบันอุดมศึกษาจะสามารถ ตอบสนองและเป็นกลไกของรัฐ เพ่ือการพัฒนาประเทศให้บรรลุเป้าหมายได้” ท้ังน้ีให้แยกบทบาทของรัฐและ สถาบันอุดมศึกษาไว้ดงั ต่อไปน้ี บทบาทของรฐั บทบาทของสถาบนั อุดมศึกษา รัฐมีอานาจหน้าที่เป็นผู้กากับดูแลระบบอุดมศึกษา สถาบันอุดมศึกษามีอิสระในการบริหารกิจการภายในของ (Regulator) โดยใช้กลไกเชิงนโยบายและมาตรฐาน สถาบันตามที่กฎหมายกาหนด ภายใต้การกากับของสภา อุดมศึกษาที่แสดงถึงความคาดหวังของรัฐที่มีต่อ สถาบันอุดมศึกษา รวมทั้งความรับ ผิดชอบต่อผล สถาบันอุดมศึกษาในการปฏิบัติตามอานาจหน้าที่ การดาเนินงานตามกรอบนโยบายและงบประมาณท่ีได้รับ ให้สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาประเทศ สนบั สนนุ จากภาครัฐ ให้การสนับสนุนทรัพยากรโดยวิธีการท่ีเหมาะสมและ เพียงพอต่อการดาเนินงานตามนโยบายของรัฐอย่างมี ประสิทธิภาพ และการติดตาม ตรวจสอบประเมินผล โดยเน้นผลิตภาพ และผลสัมฤทธ์ิมิใช่กระบวนการ เพ่ือให้ ได้ข้อมูล ข้อเท็จจริงท่ีแสดงให้เห็นความสาเร็จของการใช้ กลไกเชงิ นโยบายและมาตรฐานอุดมศึกษา ซ่ึงจะเป็นข้อมูล ย้อนกลบั ไปส่กู ลไกเชิงนโยบายและการสนับสนุนทรัพยากร ต่อไป แผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

101 การจัดระบบอดุ มศกึ ษาใหม่ ปรบั บทบาทภาครัฐ (Regulator) สรา้ งสภาพแวดลอ้ ม บรู ณาการภารกจิ และเงอื่ นไขท่ีเอ้ืออานวย แผนภาพ 5.1 การจดั ระบบอดุ มศึกษาใหม่ การกาหนดนโยบาย ระบบการสนับสนนุ ระบบการประเมนิ ผล (Policy Formulation) (Support System) (Assessment System) การกาหนดนโยบาย หมายถึง การ การจัดสรรเงนิ อดุ หนุนตามนโยบาย ก า ร ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ภ า พ แ ล ะ ก า ห น ด เ ป้ า ป ร ะ ส ง ค์ แ ล ะ แ น ว ท า ง ทกี่ าหนดในลักษณะ Block Grant โดยยดึ ประสิทธิภาพ ผลการดาเนินงานของ ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ อุ ด ม ศึ ก ษ า ที่ มี หลกั Results-based / Performance- สถาบัน ความชัดเจนเฉพาะเจาะจงในที่น้ีรวมถึง การกาหนดมาตรฐานการอดุ มศึกษาดว้ ย based (Value-based) และ Demand การพัฒนาระบบขอ้ มลู และการวิจัย Side Financing มาตรฐานอุดมศึกษา หมายถึง ระบบอดุ มศึกษา และการเปิดเผยข้อมูล ระดับคณุ ภาพท่ียอมรับได้ท่สี ถาบันจะต้อง ปฏิบัติเป็นส่วนสาคัญของการบริหารท่ีมี การสร้างสภาพแวดล้อมและ ตอ่ สาธารณะของสถาบัน ธรรมาภบิ าล เงื่อนไขที่เอื้ออานวย การปรับปรุง กลยุทธ์ หมายถึง วิธีปฏิบัติเพ่ือให้ บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ท่จี ะไดร้ ับการสนบั สนุน กฎระเบียบ การประสานความร่วมมือ จากรฐั การสนับสนุนข้อมูล และองค์ความรู้ การกาหนดเส้นทางยุทธศาสตร์ ของสถาบัน หมายถึง การจัดกลุ่ม จากภายนอก สถาบันตามศักยภาพท่ีแตกต่างกันและ การตอบสนองความต้องการของประเทศ แผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

102 แผนเพื่อการเปลีย่ นแปลง (Blueprint for Changes) แผนเพอ่ื การเปลี่ยนแปลง หมายถึง การกาหนดประเดน็ หลกั เชิงนโยบายทั้งในส่วนของผลลัพธ์ของระบบอุดมศึกษาใหม่ ท่ีพึงประสงคแ์ ละในสว่ นของประเด็นระบบการขบั เคลือ่ นอดุ มศกึ ษาท่ีเป็นบทบาทของผู้กาหนดและกากับนโยบาย (Regulators) จะต้องเป็นผู้ริเร่ิมดาเนินการ ทั้งการส่ือสารนโยบายให้สังคมเกิดความเข้าใจและการเป็นผู้นาในการปรับเปลี่ยนระบบต่าง ๆ ที่ กาลงั ขับเคลอ่ื นการอุดมศกึ ษาของประเทศ แผนภาพ 5.2 แผนเพื่อการเปลย่ี นแปลง (Blueprint for Changes) ประเดน็ ผลลัพธข์ องระบบอุดมศกึ ษา (H.E. Outcomes) ประกอบด้วย 1. โอกาสการเขา้ ถงึ อดุ มศึกษาและความเปน็ ธรรม (Accessibility and Equity) 2. สมรรถนะของบณั ฑิต (Graduate Competencies) 3. การวิจยั นวตั กรรมและการถ่ายทอดเทคโนโลยี (Research Innovation and Technology Transfer) ประเด็นระบบการขบั เคลือ่ นอดุ มศึกษา (H.E. Driving System) ประกอบด้วย 4. การสรา้ งเสรมิ บคุ ลากรคุณภาพสูง (Concentration of Talents) 5. การบรหิ ารและธรรมาภิบาล (Management and Good Governances) 6. ความมน่ั คงทางการเงนิ ในระบบอุดมศกึ ษา (Financial Security) 7. ภาคีภาครฐั ภาคเอกชนและภาคชุมชน (Public Private Community Partnership) 8. อุดมศกึ ษาดจิ ิทลั (Digital Higher Education) แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

103 1 โอกาสการเขา้ ถงึ อดุ มศกึ ษาและความเปน็ ธรรม (Higher Education Access and Equity) ความสาคัญ กลยทุ ธก์ ารเปลีย่ นแปลง ถ้าพิจารณาในภาพรวมแล้วจะพบว่าระบบอุดมศึกษา กลยุทธ์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนา ของประเทศสามารถให้บริการแก่ผู้เรียนได้กว้างขวางจากอัตรา (Development Education) การเข้าเรียนระดับอุดมศึกษาสูงถึงร้อยละ 51 (เม่ือเทียบกับ ท่ีมีศักยภาพและมีความพร้อมรับผู้เรียนท่ีมาจากครอบครัว ประชากรวัยเรียนอายุ 18-22 ปี) แต่เม่ือพิจารณาใน ผู้มีรายได้น้อย (B40) เข้าเรียนในกรณีน้ีผู้เรียนจานวนมากมักมี รายละเอียดจะพบวา่ มนี ักศกึ ษาท่มี าจากครอบครัวผมู้ รี ายได้ต่า ปัญหาความพร้อมด้านวิชาการ โดยสถาบันอุดมศึกษาจะต้องจัด จานวนมากไม่สามารถเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ การศึกษาเสริมเพ่ือให้ความช่วยเหลือในระยะแรกของ ท่ีมีคุณภาพสูงซึ่งมีค่าใช้จ่ายต่าได้ แต่ต้องเข้าศึกษาใน การเข้าศึกษาและจัดระบบการติดตามดูแลช่วยเหลือให้สาเร็จ สถาบันอุดมศึกษาท่ีมีคุณภาพต่ากว่าซ่ึงต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง กา ร ศึ ก ษ า อย่ า ง มี คุ ณ ภา พ ทั้ ง น้ี รัฐ ค ว ร จั ด เงิ น อุ ด หนุ น ทาให้เกิดความเหลื่อมล้าทางสังคมอย่างต่อเนื่อง จากการที่ การดาเนนิ งานทัง้ ในสว่ นของสถาบนั อดุ มศกึ ษาและผเู้ รยี น ในสว่ น ประเทศไทยกาลงั เขา้ สู่สภาวะสังคมผู้สูงวัย เน่ืองจากการหดตัว ของผู้เรียนอาจจัดเงินทุนการศึกษา ทุนเงินให้กู้ยืม การให้ทางาน ของประชากรวัยเรียนและวัยทางาน ทาให้ประชากรสูงวัย ระหวา่ งเรียน รวมทงั้ ทุนผกู พันเมอ่ื สาเรจ็ การศึกษาในรปู แบบตา่ ง ๆ มีสัดสว่ นเพ่ิมมากข้ึน จงึ เป็นท่ีคาดการณ์ได้วา่ อตั ราการเข้าเรียน กลยทุ ธ์ท่ี 2 การปรับระบบการศึกษาเพ่ือรองรับผู้เรียน ในระดับอุดมศึกษาจะสูงข้ึนเป็นประมาณร้อยละ 60 แต่จะมี นอกวัยเรียน (Non-Aged Group) ผู้เรียนนอกวัยเรียนจะเป็น จานวนผู้เรยี นลดลงเหลอื ประมาณ 2.2 ล้านคนในปี พ.ศ. 2575 กลุ่มเป้าหมายท่ีสาคัญของระบบอุดมศึกษาในอนาคต ซึ่งบุคคล ดังนน้ั การพิจารณาโอกาสการเข้าถงึ การศึกษาระดับอุดมศึกษา กลุ่มน้ีกาลังเผชิญกับการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีที่มีผลต่อ และความเป็นธรรมในอนาคตจึงมีความซับซ้อนสูง ทาให้ ความต้องการความรูแ้ ละทกั ษะใหม่ ดงั นัน้ การจดั ระบบการศึกษา สถาบันอุดมศึกษามีการแข่งขันสูง มีการพัฒนาหลักสูตรใหม่ จึงมีความยืดหยุ่นสูง ประกอบด้วยการเทียบโอนประสบการณ์ ให้ทนั สมยั สอดคลอ้ งกับการใชช้ ีวิตและความตอ้ งการของผเู้ รียน การทางานกับการเรียนรู้เชิงวิชาการ การสะสมหน่วยกิต (Credit ท่ีหลากหลาย ประกอบกับนโยบายของรัฐทีม่ ุ่งลดความเหลอื่ มล้า Bank) และเป็นการศึกษาที่เน้นสมรรถนะและการเพิ่มพูนทักษะ ทางสังคมและเศรษฐกิจ จึงมีความจาเป็นที่ต้องปรับกลไก แบบจาเพาะเปน็ หลกั การจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนท่ีมีศักยภาพสามารถ เข้าถงึ ระบบอุดมศึกษาอย่างเปน็ ธรรม กล ยุ ท ธ์ ที่ 3 ก าร จั ด ก าร ศึก ษ าส า ห รั บผู้ สู ง วั ย การจัดการศึกษาสาหรับผู้สูงวัยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพ วัตถปุ ระสงค์ ของกลมุ่ ผสู้ งู อายุวัยต้นให้มีความรู้และทักษะการประกอบอาชีพท่ี เหมาะสมกับวัยและสมรรถนะทางกาย ลักษณะงาน และส่งเสริม การเปล่ียนแปลงด้านโอกาสทางการเข้าถึงอุดมศึกษา ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต นอกจากน้ัน การศึกษาสาหรับผู้สูงวัย และความเป็นธรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนที่มาจาก ยังมีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตและให้สามารถดูแล ครอบครัวผมู้ ีรายได้น้อย ผู้พิการ ตลอดจนผู้สูงวัยและผู้ท่ีอยู่ใน ตนเองได้โดยไม่เป็นภาระของสงั คม ดังนั้นการจดั การศึกษาสาหรับ ตลาดแรงงานหรืออยู่ในกลุ่มนอกวัยเรียน (Non-Aged Group) ผู้สงู วัยจงึ ต้องการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรระยะสั้น ตลอดจน สามารถเข้าถึงบริการการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มีคุณภาพสูง มาตรฐานการศึกษาทีแ่ ตกต่างจากระบบการศกึ ษาปกติ เม่ือสาเร็จการศึกษาสามารถประกอบอาชีพและมีรายได้สูง กลยุทธ์ท่ี 4 การเรียนรู้ตลอดชวี ติ (Lifelong Learning) เพียงพอท่ีจะช่วยเหลือยกระดับคุณภาพชีวิตของตนเองและ การเรียนรู้เป็นปัจจัยสาคัญของการดารงชีวิตในอนาคต ระบบ ครอบครัวทีด่ ีขึ้นในอนาคต อุดมศึกษาต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึง องค์ความรู้และบริการทางวิชาการของสถาบันโดยไม่มีขีดจากัด ความสัมพนั ธร์ ะหว่างครกู ับศิษย์มิได้จากัดเฉพาะในช่วงเวลาท่ีเป็น นักศึกษา แต่จะเป็นอย่างต่อเน่ืองตลอดเวลาไม่ว่าศิษย์ผู้น้ันจะอยู่ ในสถานภาพใด สถาบันตอ้ งให้บรกิ ารตลอดชัว่ ชีวิต แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

104 แนวทางการดาเนินงาน 1. การสง่ เสรมิ การจัดการศึกษาเพือ่ กลมุ่ เปา้ หมายเฉพาะ  การจัดการศึกษาเพ่ือการพัฒนา (Development Education) สาหรับผู้เรียนท่ีมาจากครอบครัว ผู้มรี ายได้นอ้ ยดว้ ยการสนบั สนุนทรพั ยากรพเิ ศษแกส่ ถาบันอุดมศึกษาที่มีศักยภาพสูงในสาขาวิชาหลัก ๆ ให้รับนักศึกษา ที่มาจากครอบครัวผู้มรี ายได้ตา่ รอ้ ยละ 40 (B40) เข้าศึกษาต่อจนสาเรจ็ การศึกษา  จัดการศึกษาสาหรับผู้เรียนนอกวัยเรียน (Non-Aged Group Learners) สถาบันอุดมศึกษาออกแบบ และพัฒนาหลกั สูตรใหมใ่ ห้สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการผู้เรยี นนอกวัยเรยี นหรือผู้ท่ีอยู่ในตลาดแรงงาน เพื่อเสริมศักยภาพ ให้มีความรู้และทักษะใหม่สอดคล้องกับตลาดแรงงานในอนาคตด้วยการปรับระบบการรับนักศึกษา ระบบการจัด การเรยี นการสอน การเทยี บโอนประสบการณ์ การวัดและประเมินผล ตลอดจนระบบธนาคารหนว่ ยกิต  จัดการศกึ ษาสาหรับผู้สูงวยั (Aged Learners) สถาบันอุดมศึกษาออกแบบและพัฒนาหลักสูตรระยะสั้น ให้เหมาะสมกบั ผสู้ ูงวัย ครอบคลุมท้ังกลุม่ ผู้สงู อายวุ ยั ต้นทต่ี อ้ งการความรู้และทกั ษะในการประกอบอาชีพทเ่ี หมาะสมและ กล่มุ ผูส้ ูงวัยท่ัวไปทีต่ อ้ งการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ  จัดการศึกษาสาหรับผู้ต้องการความช่วยเหลือพิเศษ (Handicapped Learners) สถาบันอุดมศึกษา จัดการศึกษาสาหรับผู้ต้องการความช่วยเหลือพิเศษหรือผู้พิการท่ีมีศักยภาพแตกต่างกันด้วยวิธีการท่ีต่างกัน จัดให้มี ศูนยบ์ รกิ ารให้ความชว่ ยเหลอื พิเศษ จดั โควตาการเขา้ ศึกษาพิเศษเพ่อื ให้บุคคลเหล่าน้ันสามารถศึกษาร่วมกับผู้เรียนปกติ ไดจ้ นประสบความสาเรจ็ 2. จัดระบบการสง่ เสรมิ การบริหารเพ่อื รองรับการเปล่ียนแปลง  จัดระบบข้อมูลติดตามการเปลีย่ นแปลงด้านประชากรอนั อาจเกิดผลกระทบต่อการบริหารงานอุดมศึกษา ท้ังในระดับสถาบันและระดับชาติ  เสนอแนะมาตรการการปรับระบบบริหารสถาบันอุดมศึกษาเพ่ือรองรับการปรับตัวให้เหมาะสม กบั สถานการณ์ท่ีเปล่ยี นแปลงไป  เสนอแนะมาตรการรองรับผลกระทบที่จะเกิดข้ึนแก่คณาจารย์ บุคลากร และนิสิตนักศึกษา อันเน่ืองมาจากการปรับระบบบริหารของสถาบนั อุดมศึกษา  สนับสนนุ การจดั ตง้ั กองทุนการเงนิ เพ่ือความเสมอภาคทางการศกึ ษา แผนอดุ มศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

105 2 สมรรถนะของบัณฑิต (Graduate Competencies) ความสาคัญ กลยุทธก์ ารเปลยี่ นแปลง การเตรียมบัณฑิตให้มีความพร้อมและสามารถปรับตัว กลยุทธ์ที่ 1 ปรับปรุงระบบการกากับคุณภาพและ ได้ในสถานการณ์ท่ีมิอาจคาดเดาได้ในอนาคต เป็นประเด็น มาตรฐานหลักสูตรให้เกิดการเชื่อมโยงอย่างชัดเจนระหว่าง สาคัญของการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาในปัจจุบัน แนวคิด การออกแบบและพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และความท้าทายเก่ียวกบั ทักษะและการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการวัดและประเมินผล หลักสูตรต้องกาหนดคุณลักษณะ มี อิ ท ธิ พ ล ต่ อ นั ก ก า ร ศึ ก ษ า ท่ั ว โ ล ก แ ล ะ เ ป็ น ปั จ จั ย ผ ลั ก ดั น ของบัณฑิตในลักษณะของผลการเรียนรู้ (Learning Out- การปฏิรูปการศึกษาในหลาย ๆ ประเทศ สาหรับประเทศไทย comes) อยา่ งชดั เจน ตามอัตลกั ษณ์ของสถาบันอดุ มศกึ ษา และ อาจตอ้ งมองข้ามปัญหาคณุ ภาพของบณั ฑติ ในอดตี จนถึงปัจจุบัน ตอบสนองความต้องการของสังคมในการพัฒนาประเทศ แล้ววางแผนเพื่อเปล่ียนแปลงกลไกการกากับ และการผลิต การจัดการเรียนการสอน ต้องปรับให้สอดคล้องการใช้ชีวิตของ บัณฑิตใหม่ โดยมุง่ เปา้ หมายให้สถาบนั อุดมศึกษาสามารถปฏิบัติ ผู้เรียนยคุ ใหม่ โดยมุง่ เนน้ ให้ผ้เู รยี นบรรลุผลการเรียนรทู้ ่กี ้าวหน้า หนา้ ท่ีในการพฒั นาสร้างสรรค์ สมรรถนะของบัณฑิตยุคใหม่ ให้ และการวัดและประเมินผลต้องเป็นระบบท่ีมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศของรัฐบาล ตอบสนอง สามารถแสดงผลการเรียนรู้ และพัฒนาการของผู้เรียน ตาม ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ รวมท้ัง ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล ทัง้ นี้ รัฐตอ้ งกาหนดกลไกสนับสนุน การขับเคล่ือนโครงการสาคัญต่าง ๆ ในนโยบาย Thailand 4.0 การดาเนนิ งานรว่ มกบั สถาบนั อุดมศกึ ษาได้ตามความจาเปน็ เช่น โครงการระเบยี งเศรษฐกจิ ภาคตะวันออก เปน็ ต้น กลยุทธ์ที่ 2 วางแผนการผลิตบัณฑิตกาลังคน วตั ถุประสงค์ ท้ังด้านปริมาณและคุณภาพให้สอดคล้องตามศักยภาพของ สถาบันอุดมศึกษา และตอบสนองความต้องการเพ่ือ ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ด้ า น ส ม ร ร ถ น ะ ข อ ง บั ณ ฑิ ต การพัฒนาประเทศ รัฐควรสร้างกลไกการติดตาม และ มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือพฒั นาบณั ฑติ ทุกคน ให้มีค่านิยมตามบรรทดั ฐาน ตรวจสอบความต้องการกาลังคน ความต้องการของสมรรถนะ ท่ีดีทางสังคม มีทักษะดารงชีวิตสาหรับโลกในศตวรรษที่ 21 ท่ีจาเป็นในการทางาน การเปลี่ยนแปลงของอาชีพตลอดจน ไดร้ ับการศกึ ษาทม่ี คี ุณภาพสูง ตามมาตรฐานสากล และสามารถ การประเมินศักยภาพของบัณฑิตในการประกอบอาชีพ แผน เรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเน่ือง เป็นบัณฑิตท่ีประกอบด้วย การผลิตบัณฑิตต้องประกอบด้วย กลไกการกากับปริมาณและ ก) สมรรถนะเชิงวิชาการ ข) สมรรถนะการประกอบอาชีพ คุณภาพกาลังคนให้สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนา ซึ่งประกอบด้วยทักษะการปฏิบัติงาน และทักษะการเป็น ประเทศ โดยทสี่ ถาบันอดุ มศึกษามอี ิสระในการวางแผนการผลิต ผู้ประกอบการ และ ค) สมรรถนะการเป็นพลเมืองและพลโลก บัณฑติ ของตนเอง การวางแผนการผลติ กาลงั คนจะต้องเช่อื มโยง สมรรถนะเหล่านี้จะช่วยให้บัณฑิตสามารถพัฒนาตนเอง กั บ ร ะ บ บ แ ล ะ ก ล ไ ก ก า ร จั ด ส ร ร ง บ ป ร ะ ม า ณ อุ ด ห นุ น ครอบครัว ตลอดจนสังคม และมีส่วนร่วมอันสาคัญต่อ สถาบันอุดมศึกษาตามหลักการ การสนองทุนผ่านด้านอุปสงค์ การพัฒนาประเทศ (Demand Side Financing) ตลอดจนการยกระดับคุณภาพ และประสิทธภิ าพการผลติ บัณฑิต แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

106 กลยุทธ์ที่ 3 การเรียนรู้เชิงบูรณาการกับการทางาน กลยุทธ์ที่ 5 การบูรณาการสร้างศาสตร์ใหม่ ความรู้ (Work Integrated Learning) การพัฒนาบัณฑิตให้เกิด ของมนุษย์เกิดข้ึน พัฒนา และนาไปใช้ประโยชน์อย่างต่อเน่ือง ส ม ร ร ถ น ะ เ ชิ ง วิ ช า ก า ร แ ล ะ เ ชิ ง วิ ช า ชี พ อ ย่ า ง ส ม บู ร ณ์ นั้ น ไม่มีวันหยุด ไม่มีส้ินสุด ความรู้เทคโนโลยีนวัตกรรมที่เกิดจาก ไมส่ ามารถบรรลุผลได้จากการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน การบรู ณาการศาสตรแ์ ขนงตา่ ง ๆ เป็นจุดกาเนิดของศาสตร์ใหม่ เพียงอย่างเดียว แนวโน้มในอนาคตโลกของการทางาน ท่ีเร็วที่สุดและง่ายที่สุด อุดมศึกษายุคใหม่ต้องเปิดเสรีภาพ มีความเปล่ียนแปลงสูงมาก ความรู้ ทักษะใหม่ท่ีเป็นประโยชน์ ทางวิชาการสูงสุด เพื่อให้คณาจารย์แต่ละสาขาวิชาได้ทางาน ต่อการดารงชีพอย่างก้าวหน้าในอนาคตจะเกิดข้ึนในโลกของ ร่วมกัน พัฒนางานวิจยั นวตั กรรม และเทคโยโลยีร่วมกัน อันจะ การทางานเปน็ สว่ นใหญ่ รัฐจึงควรสนบั สนนุ การเรยี นรู้เชงิ บรู ณาการ ก่อให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ก่อให้เกิดภูมิปัญญา และ กับการทางานให้เป็นกลไกหลักในการพัฒนาสมรรถนะของ ความสามารถในการแข่งขัน ตลอดจนความร่วมมือระหว่าง บัณฑิต และสมรรถนะเชิงวิชาการ สมรรถนะเชิงวิชาชีพ และ สถาบันและความรว่ มมือของนักวิชาการระหวา่ งประเทศทว่ั โลก สมรรถนะการเป็นพลเมืองและพลโลก ทั้งน้ีสถาบันอุดมศึกษา จะต้องเป็นผู้ออกแบบและวางแผนการจัดการศึกษา โดย กลยุทธ์ท่ี 6 การปรับเปล่ียนกระบวนการจัด ความร่วมมือของสถานประกอบการ ท้ังองค์กรภาครัฐ การเรียนรู้ในระบบศึกษา นับเป็นการเปล่ียนแปลงครั้งสาคัญ ภาคเอกชน และชุมชน การจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการกับ ที่มวลมนุษยชาติได้สร้างสรรค์กระบวนการเรียนรู้จากวิธีการ การทางาน จึงเป็นกลไกที่ต้องดาเนินการด้วยความระมัดระวัง ด้ังเดิมไปสู่วิธีการที่มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับวิถีชีวิตและ โดยการบูรณาการการเรียนรู้ในช้ันเรียนและการเรียนรู้ใน ความกา้ วหน้าของเทคโนโลยีในปัจจุบันและอนาคต ซ่ึงจะส่งผล สถานประกอบการใหเ้ หมาะสม กระทบกับกระบวนการจัดการเรียนรู้ในสถาบันอุดมศึกษา โดยตรง การเปล่ียนแปลงครง้ั นเี้ ปน็ ความทา้ ทายขดี ความสามารถ กลยุทธ์ที่ 4 การยึดหลักการทฤษฎีพหุปัญญา ของคณาจารย์ว่าจะสามารถก้าวข้ามมิติใหม่ของการเรียนรู้ (Multiple Intelligence Theory) หมายถึง การมุ่งส่งเสริม ในโลกของความจริงได้หรือไม่ ยิ่งในระยะ 20 ปี ข้างหน้า ความสามารถของผู้เรียนในทุกด้าน โดยคานึงถึงศักยภาพของ การเปลย่ี นแปลงจะรวดเรว็ และทรงพลงั ต่อสติปัญญาของมนุษย์ ผู้เรียนที่มีความแตกต่างกัน ความสามารถดังกล่าว ได้แก่ มากย่ิงข้ึน ความสามารถด้านภาษา ความสามารถในการใช้เหตุผล การคิดคานวณ ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ ความสามารถ ในการเคล่ือนไหวร่างกา ย ความสามารถด้านดนต รี ความสามารถด้านมนุษยสัมพันธ์ ความสามารถในการเข้าใจ ตนเอง และความสามารถในการเข้าใจธรรมชาติ นักศึกษา ทุ ก ค น ย่ อ ม มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ เ ฉ พ า ะ ที่ แ ต ก ต่ า ง กั น สถา บันอุ ดมศึ กษ าจะ ต้อง ค้นหาแ ละพั ฒนา ให้ทุ กค น ได้แสดงศักยภาพท่ีแทจ้ ริงอย่างเต็มท่ี การพัฒนาประเทศจะมิได้ เกดิ ข้ึนเฉพาะผ้มู ีความสามารถกลมุ่ ใดกล่มุ หนึง่ เท่านนั้ แผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

107 แนวทางการดาเนินงาน 1. มาตรฐานการศึกษาระดับอุดมศึกษา เกณฑ์ 2. การพฒั นาระบบการประเมนิ สมรรถนะนกั ศกึ ษา มาตรฐานหลักสูตร และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ การศึกษา ระดับอุดมศกึ ษา  รัฐควรกาหนดสมรรถนะของบัณฑิตที่เป็นมาตรการ ร่วมกันในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก โดย  รัฐควรทบทวน ปรับปรุงมาตรฐานการศึกษา อาจกาหนดเป็น 3 ลกั ษณะ ระดับอุดมศกึ ษา เกณฑม์ าตรฐานหลักสูตร และกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษา ให้เป็นกลไกสนับสนุน สมรรถนะเชิงวิชาการ คือ ความสามารถในการนา การปรับตัวของสถาบันอุดมศึกษาท่ีมีความเชี่ยวชาญ และ ความร้ไู ปใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ าน การแก้ปัญหา การเรียนรู้ตลอดชีวิต จุ ด เ น้ น ใ น ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ พั ฒ น า นั ก ศึ ก ษ า ใ ห้ ต อ บ ส น อ ง และการสร้างสรรคน์ วตั กรรม ความต้องการในการพัฒนาประเทศท่แี ตกต่างกนั สมรรถนะการประกอบอาชีพ ประกอบด้วยทักษะ  กลไกดังกล่าวต้องสามารถพัฒนาและยกระดับ สาคญั 2 ประการ คือ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง ส ถ า บั น อุ ด ม ศึ ก ษ า ใ ห้ มี ร ะ ดั บ สู ง ข้ึ น ต า ม แ ผ น พั ฒ น า ข อ ง ส ถ า บั น อุ ด ม ศึ ก ษ า ใ น ร ะ ย ะ ย า ว แ ล ะ ทักษะการปฏิบัติงาน (Employability Skills) เทยี บเคียงกับสถาบันอุดมศกึ ษาสากล หมายถึง ทักษะการใชภ้ าษาตา่ งประเทศ ทักษะเทคโนโลยดี ิจิทัล และทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์และสร้างสรรค์ รวมถึงทักษะ  ปรับระบบประกันคุณภาพภายใน ให้สอดคล้องกับ ทีจ่ าเป็นอน่ื ๆ การปรับปรุงมาตรฐานการศึกษาระดับอุดมศึกษา เกณฑ์ มาตรฐานหลักสูตร และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษา ทั ก ษ ะ ก า ร เ ป็ น ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ระดบั อดุ มศึกษา (Entrepreneurial Skills)  มหาวิทยาลัยควรทบทวน คุณภาพและหาหลักสูตร สมรรถนะการเป็นพลเมืองและพลโลก หมายถึง และความตอ้ งการของสงั คม ตลอดจน Return on Investment การมีจิตสานึกท่ีถูกต้องต่อการเมือง การปกครองระบอบ การพจิ ารณาระบบการก้เู งนิ เพอ่ื การศึกษา (Contingent Loan) ประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิและหน้าที่ เสรีภาพ การรักษา และระบบสนับสนุนอ่ืน ๆ ผลประโยชน์ของส่วนรวม สร้างสรรค์ประโยชน์แก่สังคม ดารง ตนในสงั คมพหุวัฒนธรรมภายใตก้ ระแสโลกาภวิ ฒั น์ จัดให้มีการประเมินสมรรถนะของนักศึกษา ในด้านต่าง ๆ เป็นประจาทุกปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งทักษะ ภาษาอังกฤษ โดยกาหนดสมรรถนะที่พึงประเมินไว้ล่วงหน้า ด า เ นิ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น จ า ก ก ลุ่ ม ตั ว อ ย่ า ง ท่ี ค ร อ บ ค ลุ ม สถาบันอุดมศึกษาท่ีมีลักษณะแตกต่างกัน และอยู่ในสาขาวิชา และชนั้ ปีแตกต่างกัน กาหนดให้มีการสอบเพื่อสาเร็จการศึกษา (Exit Exam) เป็นส่วนสาคัญของการกากับมาตรฐานการศึกษา ระดบั อุดมศึกษา แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

108 3. การวางแผนการผลิตกาลังคนให้สอดคล้อง 4. การสนับสนุนสถาบันอุดมศึกษาในการพัฒนา ศั ก ย ภ า พ ข อ ง ส ถ า บั น อุ ด ม ศึ ก ษ า แ ล ะ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ใ น คณุ ภาพนกั ศึกษาและบณั ฑิต การพฒั นาประเทศ  ส่งเสริมการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทางาน  จาแนกการผลติ กาลงั คนตามสาขาวิชา International (Work Integrated Education) ใ ห้ ส ถ า บั น อุ ด ม ศึ ก ษ า Standard Classification of Education (ISCED 1997) วางแผนการจัดหลกั สตู รและการเรยี นร้มู งุ่ เน้นผลการเรียนรู้และ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนร่วมกับสถานประกอบการ  ประเมินแผนการผลิตกาลังคนตามสภาพจริงใน ที่มีคุณภาพ จัดสัดส่วนการเรียนรู้ในห้องเรียน และใน ปัจจบุ ัน จาแนกตาม ISCED 1997 สถานประกอบการให้เหมาะสม เพียงพอที่จะสร้างให้เกิด การเปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรมของผ้เู รยี นสู่เป้าหมายที่พงึ ประสงค์  พัฒนาระบบการประสานความร่วมมือระหว่าง มหาวิทยาลัย องค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคชุมชน และ  ส่งเสรมิ การพฒั นาหลกั สตู รตอบสนองความต้องการ สถาบันอุดมศึกษาในการกาหนดความต้องการกาลังคนเพื่อ ของอุตสาหกรรมเป้าหมาย โดยการนาของผู้เช่ียวชาญใน ตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศ ภาคอตุ สาหกรรมนั้น ๆ (Industry-led Curriculum)  ปรับฐานการผลิตกาลังคนระดับสถาบันให้  ส่งเสริมการศึกษาเพื่อการเป็นผู้ประกอบการ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ แ น ว ท า ง ก า ร ป รั บ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ (Entrepreneurial Education) มุ่งสร้างสรรค์สภาพแวดล้อม ของสถาบันอุดมศึกษาแต่ละแห่ง รวมถึงเพิ่มความร่วมมือใน ทางการศึกษาและการประกอบอาชีพท่ีส่งเสริมการคิดริเริ่ม การพัฒนาหลักสูตรเพ่ือการผลิตกาลังคนข้ามศาสตร์กับ สร้างสรรค์ การบริหารจัดการเทคโนโลยีสมัยใหม่ การลงทุน มหาวิทยาลยั คคู่ วามร่วมมือ และการบริหารทรัพยากรเพื่อสร้างมูลค่าเพ่ิม เพื่อให้ผู้เรียน ปรบั เปลีย่ นแนวคิด (Mindset) สู่โลกของการทางานสมัยใหม่  ใช้แผนการผลิตกาลังคนเป็นกลไกการจัดสรรเงิน อุดหนุนสถาบนั อดุ มศกึ ษาในลักษณะ Demand Side Financing  ส่งเสริมการศึกษาเชิงนวัตกรรม ( Innovation ท่ีกากับดว้ ยคณุ ภาพและปรมิ าณการผลติ Education) มุ่งสร้างสรรค์โอกาสและประสบการณ์ของผู้เรียน ให้เกิดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับนวัตกรรม กระตุ้นให้  ประเมินผลแผนการผลิตกาลังคนเป็นประจาทุกปี ผู้เรียนสามารถแสดงศักยภาพสูงสุดของตนเองในการแก้ไข เพื่อการเจรจาปรับแผนการผลิตกาลงั คนกบั สถานศึกษาในระยะ ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ การจนิ ตนาการและการนาไปใชใ้ นโลกของ ตอ่ ไป ความเป็นจริง แผนอดุ มศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)  ส่งเสริมการแลกเปล่ียนประสบการณ์ของนักศึกษา ในภูมิภาคและระดับโลก (Student Mobility) เป็นการพัฒนา นกั ศึกษา สมั ผสั กบั วิถีชวี ิตจรงิ ในสังคมนานาชาติ เพือ่ การพัฒนา คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ เ ฉ พ า ะ แ ล ะ ก า ร แ ล ก เ ป ลี่ ย น เ ชิ ง วั ฒ น ธ ร ร ม สถาบันอุดมศึกษาอาจกาหนดเป็นเง่ือนไขให้หลักสูตรให้ นักศึกษาตอ้ งไปเรยี นรู้ หรือเสรมิ ประสบการณจ์ ากการทางานใน ต่างประเทศ และถา่ ยโอนประสบการณ์ดังกล่าวให้เป็นส่วนหน่ึง ของการศึกษาในหลกั สตู ร  ส่งเสริมกิจกรรมการกีฬา เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ และความเป็นเลิศสู่มืออาชีพ ควบคู่กิจกรรมแลกเปล่ียน เชิงวฒั นธรรม ให้เปน็ สว่ นสาคญั ในระบบการศึกษา  ส่ ง เ ส ริ ม กิ จ ก ร ร ม ท่ี ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ก า ร ใ ช้ ทั ก ษ ะ ภาษาอังกฤษ หรือภาษาต่างประเทศอ่ืน ๆ มุ่งสร้างทักษะใน การปฏิสัมพันธ์ เพื่อการสื่อสารที่มีความเป็นมืออาชีพ (Professionalism)

109 การสร้างบณั ฑติ พนั ธ์ใุ หม่ (กรณีตัวอย่าง) วตั ถุประสงค์ กระบวนการจัดการเรยี นการสอน  เพื่อสร้างบณั ฑิตพันธใุ์ หมแ่ ละกาลังคนที่มีสมรรถนะสูง  การบูรณาการการเรียนร้ขู ้ามศาสตร์ส่กู ารปฏบิ ตั ิงาน สาหรบั ทางานในอตุ สาหกรรมไปสู่ New S-Curve จรงิ ทักษะชวี ิตสงั คมดิจทิ ลั และตอบสนองความ ต้องการการเรียนรรู้ ายบคุ คล  เพ่ือสรา้ งฐาน (Platform) การพัฒนาการศกึ ษา ระดบั อุดมศกึ ษาแห่งอนาคต โดยการปรับเปล่ียน  การรว่ มมือกับภาคอตุ สาหกรรมแบบครบวงจร รปู แบบการผลติ บณั ฑติ หลักสูตรการเรยี นการสอน (50 : 50 , 3+1 , 2+2) เพอื่ ให้ผเู้ รียนมีศกั ยภาพและสมรรถนะสงู  เน้นการพัฒนาสมรรถนะของผูเ้ รียน  ใช้เทคโนโลยีเป็นฐานการเรยี นรู้ แผนภาพ 5.3 กรณตี ัวอย่าง การสรา้ งบณั ฑติ พนั ธใุ์ หม่ แผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

110 3 การวิจยั นวตั กรรมและการถา่ ยทอดเทคโนโลยี (Research Innovation and Technology Transfer) ความสาคัญ วตั ถปุ ระสงค์ บ ท บ า ท ข อ ง ส ถ า บั น อุ ด ม ศึ ก ษ า ใ น ฐ า น ะ ก ล ไ ก การเปล่ียนแปลงด้านการวิจัย นวัตกรรม และ การขับเคลื่อนการขยายตัวทางเศรษฐกิจใหม่ (New Growth การถ่ายทอดเทคโนโลยีในระบบอุดมศึกษามีวัตถุประสงค์เพ่ือ Engine) ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี หมายถึง ก า ร ข ย า ย ข อ บ เ ข ต แ ล ะ ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง ก า ร วิ จั ย ใ น บทบาทด้านการวิจัย นวัตกรรมและการถ่ายทอดเทคโนโลยี สถาบันอุดมศึกษาให้กว้างขวางครอบคลุม การวิจัยบริสุทธิ์ จากพัฒนาการในอดีตซ่ึงสถาบันอุดมศึกษาประสบผลสาเร็จ การวิจัยประยุกต์ การสร้างสรรค์นวัตกรรม และการถ่ายทอด เป็นอย่างดีในการสื่อสารกับประชาคมโลกให้รับรู้ ผลงาน เทคโนโลยี ให้เป็นกลไกขับเคลอ่ื นการขยายตวั ทางเศรษฐกิจใหม่ ทางวิชาการท่ีตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ ของประเทศ ซ่ึงเป็นการดาเนินงานอย่างมีเป้าหมายเฉพาะ ตลอดจนการพัฒนาสร้างสรรค์นวัตกรรมทางด้านการเกษตร ที่สอดคล้องกบั นโยบายประเทศไทย 4.0 แ ล ะ ส า ธ า ร ณ สุ ข จ น เ ป็ น ท่ี ย อ ม รั บ ข อ ง ส า ก ล ก า ร ที่ ส ถ า บั น อุ ด ม ศึ ก ษ า จ ะ ท า ห น้ า ท่ี เ ป็ น ก ล ไ ก ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น กลยทุ ธ์การเปลีย่ นแปลง การขยายตัวทางเศรษฐกิจใหม่ภายใต้แนวคิดประเทศไทย 4.0 จึงเป็นมูลเหตุให้ระบบอุดมศึกษาต้องเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง กลยุทธ์ท่ี 1 กาหนดจุดเน้นและเป้าหมายข อง เชิงนโยบาย การกากับ และการสนับสนุนงบประมาณ เพ่ือให้ เทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมของสถาบันอุดมศึกษา บรรลุเป้าหมายดังกล่าว ด้านการวิจัย ( Research) แม้ ให้ชัดเจนและสอดคล้องกับโมเดลประเทศไทย 4.0 สถาบันอุดมศึกษายังให้ความสาคัญต่อการวิจัยบริสุทธิ์ หรือ การวิจัยเพื่อขยายขอบเขตองค์ความรู้ในศาสตร์ที่ตนเอง ประสานความร่วมมอื กบั ภาคอตุ สาหกรรมอยา่ งใกล้ชิด เชย่ี วชาญ แต่ต้องมีจุดเน้นหรือเป้าหมายท่ีจะนาไปสู่การพัฒนา ในการกาหนดความต้องการเทคโนโลยเี พือ่ อนาคต (Development) เพ่ือประยุกต์ให้เกิดคุณค่าทางเศรษฐกิจใน ลักษณะของกิจการเชิงพาณิชย์ (Commercialization) และ ประสานความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษาที่มี สอดคล้องกับอุตสาหกรรมหรือเทคโนโลยีเป้าหมายเพ่ือ จุดแข็งและศักยภาพในด้านต่าง ๆ ท่ีหลากหลายในการกาหนด การพัฒนาประเทศในกรอบแนวคิดประเทศไทย 4.0 นวัตกรรม ความรบั ผดิ ชอบรว่ มกัน (Innovation) คือกลไกขบั เคลอื่ นการขยายตวั ทางเศรษฐกิจของ ประเทศที่พิสูจน์แล้ว การสร้างสรรค์นวัตกรรมให้เกิดประโยชน์ ป ร ะ ส า น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ อ ง ค์ ก ร ภ า ค รั ฐ เ พ่ื อ ใ ห้ ในทางเศรษฐกิจอย่างแท้จริงจะต้องสร้างสภาพแวดล้อม การสนับสนนุ สง่ เสรมิ และการอานวยความสะดวกในการเขา้ ถึง (Ecosystem) ให้เหมาะสมทั้งภาควิชาการ ภาคอุตสาหกรรม ขอ้ มลู และแผนการดาเนินงานตามนโยบายของรัฐ ภาครัฐ และภาคชุมชนในฐานะผู้บริโภค และยังต้องได้รับ การสนับสนุนด้านการเงินและการลงทุน ดา้ นกระบวนการพัฒนา กลยุทธ์ท่ี 2 สร้างรูปแบบความร่วมมือเพ่ือการวิจัย สู่เป้าหมาย และการมีบุคลากรระดับมันสมองสนับสนุน นวัตกรรม และการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้เกิดประสิทธิภาพ เปน็ จานวนมาก สงู สุด ความรว่ มมือในลกั ษณะศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการ และนวัตกรรมเฉพาะทาง (Center of Excellence) โดยความ ร่วมมือของสถาบันอุดมศึกษา และสถานประกอบการ ภาคอุตสาหกรรม ความร่วมมือในลักษณะศูนย์ประสานการดาเนินการ ด้านนวัตกรรม (Innovation Hubs) โดยมีสถาบันอุดมศึกษาที่มี ศักยภาพสูงเป็นแกนนาในเชิงบริหาร และมีสถาบันอุดมศึกษา กลมุ่ ต่าง ๆ เขา้ ร่วมเปน็ เครอื ข่ายรับผดิ ชอบการพฒั นานวัตกรรม ในสาขาท่ีมีความเช่ยี วชาญ ส่ ง เส ริ ม ค ว า ม ร่ ว ม มื อ อย่ า ง เป็ น ท า ง ก า ร ข อ ง สถาบันอดุ มศึกษาท่ีมีความเช่ียวชาญและความสนใจในประเด็น การวิจยั ร่วมกนั ใหต้ อบสนองความต้องการของประเทศ แผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

111 กลยุทธ์ท่ี 3 ระดมทรัพยากรและความเช่ียวชาญ แนวทางการดาเนินงาน ตา่ งประเทศ 1. จดั ทาแผนบูรณาการดา้ นการวิจยั นวัตกรรม และ เชิญชวนสถาบันอุดมศึกษาระดับโลก (World Class การถา่ ยทอดเทคโนโลยขี องสถาบนั อุดมศกึ ษาระยะ 5 ปี University) ที่มีความเช่ียวชาญเฉพาะด้านในสาขาที่สถาบัน อุดมศึกษาในประเทศยังอยู่ในระยะของการพัฒนา แต่มี  กาหนดเป้าหมายการพัฒนาเทคโนโลยีเพ่ือ ความสาคัญ และจาเป็นต้องเร่งรัดพัฒนาเพ่ืออนาคตโดยรัฐ อตุ สาหกรรมหลกั ตามโมเดลประเทศไทย 4.0 กาหนดเงื่อนไขการสนับสนุนและผ่อนคลายกฎระเบียบให้ สถาบันอุดมศึกษาระดับโลกสนใจมาดาเนินการท้ังการผลิต  กาหนดรูปแบบและวิธีการดาเนินโครงการร่วมกัน บัณฑิต และการวิจัยในประเทศ ท้ังนี้อาจดาเนินการผ่าน ของสถาบนั อดุ มศกึ ษาในลกั ษณะ Center of Excellence และ ความร่วมมือกับสถาบนั อุดมศึกษา หรือภาคอุตสาหกรรมใน Innovation Hubs และรปู แบบอ่ืน ประเทศกไ็ ด้  การบรู ณาการความร่วมมือของภาควิชาการ ภาครัฐ ส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษาสร้างความร่วมมือกับ ภาคอตุ สาหกรรม และภาคชุมชน นักวิจัยหรือห้องปฏิบัติการวิจัยท่ีมีสมรรถนะสูงในระดับ นานาชาตทิ ัง้ ภาครฐั และเอกชนในตา่ งประเทศ เพื่อการวิจัยและ 2. พัฒนาวิธีการจัดสรรเงินอุดหนุนการวิจัย พัฒนา และนวตั กรรมทีส่ อดคล้องกับโมเดลประเทศไทย 4.0 นวัตกรรมและการถ่ายทอดเทคโนโลยี เพื่อสร้างแรงจูงใจให้ สถาบันอุดมศึกษามีส่วนรว่ มในการพฒั นาประเทศ กลยุทธ์ท่ี 4 พัฒนาวิธีการจัดสรรงบอุดหนุนด้าน การวิจัย นวัตกรรม และการถ่ายทอดเทคโนโลยีท่ีสามารถ  การจัดสรรเงินอุดหนุนให้คานึงถึงหลักเกณฑ์ท่ี สร้างแรงจูงใจให้คณาจารย์ นักวิจัย นิสิตนักศึกษา และ สะท้อนผลการดาเนนิ งานและความสามารถทีจ่ ะบรรลุเป้าหมาย สถาบันอุดมศึกษาทุ่มเทกาลังความสามารถเพ่ือการพัฒนา และเกดิ ผลกระทบต่อแผนงานและโครงการทก่ี าหนด ประเทศ  ใช้วธิ กี ารและหลักเกณฑ์ทีห่ ลากหลายตามเปา้ หมาย พัฒนาหลักเกณฑ์การจัดสรรเงินอุดหนุนการวิจัย ผลผลิตที่แตกต่างกัน ท้ังการวิจัยบริสุทธิ์ การวิจัยประยุกต์ นวัตกรรม และการถ่ายทอดเทคโนโลยีบนพ้ืนฐานของผล การพัฒนานวตั กรรม และการถา่ ยทอดเทคโนโลยี การดาเนินงาน (Performance) และผลกระทบต่อการพัฒนา อุตสาหกรรมตามโมเดลประเทศไทย 4.0 และให้อิสระใน  พัฒนาระบบการประเมินผลงานด้านการวิจัย การบริหารงบประมาณดว้ ยความคล่องตัว นวัตกรรม และการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพ่ือเป็นเครื่องมือใน การสนบั สนนุ งบประมาณและการกาหนดนโยบาย พั ฒ น า ร ะ บ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ง า น ด้ า น ก า ร วิ จั ย นวัตกรรม และการถ่ายทอดเทคโนโลยี ซ่ึงเป็นส่วนหนึ่งของ 3. สนับสนุนสถาบันอุดมศึกษาให้ดาเนินการใน ระบบการประเมนิ ผลของสถาบนั อดุ มศึกษา การพัฒนาการวิจัย นวัตกรรม และการถ่ายทอดเทคโนโลยี ให้มีประสทิ ธิภาพ กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนานักวิช าการ นักวิจัยระดับ มันสมองให้สามารถตอบสนองความต้องการในปัจจุบันและ  จัดสรรทุนพฒั นานกั วจิ ัยรุน่ ใหม่ อนาคต  จัดสรรทนุ การศกึ ษาระดับปรญิ ญาเอกทัง้ ในประเทศ และตา่ งประเทศ พัฒนานักวิชาการและนักวิจัยระดับปริญญาเอกใน  การสนับสนุนการพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยระดับโลก สาขาวิชาที่ขาดแคลนและเป็นความต้องการเพ่ือการพัฒนา (World Class University) ประเทศ ท้ังในประเทศและตา่ งประเทศอย่างต่อเนอ่ื ง  การสนับสนุนวิสาหกิจของสถาบันอุดมศึกษา อนั เน่อื งมาจากการวิจัย นวัตกรรม และการถ่ายทอดเทคโนโลยี พัฒนานักวิจยั รุ่นใหม่ให้สามารถพัฒนาตนเองและเป็น  การสนับสนุนให้เกิด ระบบนิเวศนวัตกรร ม ผนู้ าการวจิ ยั ในด้านต่าง ๆ อย่างตอ่ เน่ือง (Innovative Ecosystem) เพ่ือให้เกิดการถ่ายทอดเทคโนโลยี และองค์ความร้ไู ด้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ส่งเสรมิ การขยายหลักสูตรระดับปริญญาโทและเอกใน  การสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมโดยระบบ สาขาวชิ าทสี่ อดคลอ้ งกับโมเดลประเทศไทย 4.0 นวตั กรรมเปดิ (Open Innovation) แผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

112 4 การสร้างเสรมิ บคุ ลากรคุณภาพสงู (Concentration of Talent) ความสาคัญ วตั ถปุ ระสงค์ คุณภาพของระบบอุดมศึกษาขึ้นอยู่กับคุณภาพ 1. ระบบอดุ มศกึ ษาสามารถพัฒนาสภาพแวดล้อมให้ดึงดูด ของสถาบันอุดมศึกษาที่ร่วมมือกันปฏิบัติภารกิจตาม ผู้มีความสามารถสูงเข้ามาปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้ง ความเช่ียวชาญ ความสอดคล้องของพื้นท่ีและโอกาสใน คณาจารย์ นักวิจัย ผู้นา และผู้บริหาร ตลอดจนผู้ปฏิบัติสนับสนุน การสร้างคุณประโยชนแ์ ก่ประเทศชาติ คุณภาพของสถาบัน การดาเนินงานของสถาบันอดุ มศึกษาใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย อุดมศึกษาก็ขึ้นอยู่กับคุณภาพของชุมชนวิชาการในสถาบัน น้ัน ๆ ตั้งแต่คณาจารย์ นักวิจัย นักศึกษา นักปฏิบัติ และ 2. ระบบอุดมศึกษาเป็นชุมชนทางวิชาการท่ีมีศักยภาพสูง ผู้นาในการบริหาร ในสภาวะของความเปลี่ยนแปลงและ มีความหลากหลาย มีจุดเน้น จุดแข็งที่แตกต่างกัน ล้วนสร้างสรรค์ ความคาดหวังที่จะให้สถาบันอุดมศึกษาเป็นหัวรถจักร ประโยชนใ์ ห้แกป่ ระเทศชาติ ในการพัฒนาประเทศ ระบบอุดมศึกษาต้องสร้างโอกาส ให้ศูนย์รวมของบุคลากรคุณภาพสูงมีมากย่ิงขึ้นกว่าท่ีเคยมี 3. ระบบอุดมศึกษามีขีดความสามารถในการแข่งขัน ในอดีต การกาหนดเส้นทางอาชีพและการพัฒนาของ สู่สากลเป็นสถาบันอุดมศึกษาระดับโลก เป็นจุดดึงดูดนักวิชาการ บุคลากรในสถาบันอุดมศึกษาจะต้องไม่เป็นอุปสรรคต่อ จากท้งั โลกมาร่วมพฒั นาประเทศ การระดมสรรพกาลังท่ีมีความสามารถสูงต้ังแต่การสร้าง สภาพแวดล้อมให้ดึงดูดผู้มีศักยภาพสูง การคัดเลือก และ กลยุทธ์การเปล่ียนแปลง การดารงรักษาให้เจรญิ เตบิ โต ก ล ยุ ท ธ์ ท่ี 1 ก า ห น ด จุ ด เ น้ น เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ในสภาพปจั จุบนั สถาบนั อดุ มศกึ ษาใหค้ วามสาคัญ สถาบันอุดมศึกษาที่หลากหลายให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนา กับการสรรหาคณาจารย์เพื่อปฏิบัติการสอนเป็นหลัก ป ร ะ เท ศ ใ น มิ ติ ต่ า ง ๆ ก ล ยุ ท ธ์ น้ี เรี ย ก ว่ า University Re- การปฏิบัติหน้าท่ีอื่นท้ังในด้านการวิจัย การพัฒนา positioning Framework คือการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาให้ทา เทคโนโลยี นวัตกรรม ตลอดจนการพัฒนาท้องถ่ินและ หน้าท่ีเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ การถ่ายทอดเทคโนโลยีจึงเป็นภาระงานที่ต้องสร้างสรรค์ ในอนาคตอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ สร้างความสอดคล้องในแนวเดียวกัน ฝึกฝนขึ้นมาใหม่ท้ังหมด เส้นทางอาชีพและการพัฒนามิได้ ระหว่างความต้องการของประเทศ นโยบาย ทิศทางของสถาบัน เอ้ือให้บุคลากรเหล่าน้ันได้เจริญก้าวหน้า สร้างสรรค์ การกากับดูแล การจัดสรรทรัพยากร และการจัดการทรัพยากร นวัตกรรมอย่างเต็มความสามารถ บุคคล การสร้างจุดเน้นของการดาเนินการของสถาบันในเรื่องท่ีเป็น ความตอ้ งการของประเทศและประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากรที่มี คุณค่าอย่างแทจ้ รงิ (กรณตี ัวอยา่ ง) แผนภาพ 5.4 กรณตี ัวอย่าง University Re-positioning Building blocks แผนอดุ มศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

113 กลยทุ ธท์ ี่ 2 สนับสนนุ กรอบการบรหิ ารงานบุคลากร 2. กาหนดกรอบส่งเสริมการพัฒนาระบบบริหารงาน ในสถาบันอุดมศึกษา เพื่อกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาเส้นทาง บุคคลท่ีมปี ระสิทธิภาพ อาชีพท่ีหลากหลายในระบบอุดมศึกษา เพ่ือสร้างแรงจูงใจให้ บุคลากรคุณภาพสูงท้ังในประเทศและต่างประเทศเข้ามาร่วม  กาหนดแนวทางการพัฒนาและเส้นทางอาชีพของ ปฏิบัติหน้าท่ีในชุมชนวิชาการ ชักจูงผู้ประสบความสาเร็จใน บุคลากรในสถาบันอุดมศึกษาท่ีหลากหลายและสามารถดึงดูด ภาคเอกชน-ภาครัฐ มโี อกาสมาช่วยงานวชิ าการและงานวิชาชพี ผ้เู ชี่ยวชาญจากทว่ั โลก ในสถาบันอุดมศึกษาอย่างต่อเน่ือง และสอดคล้องกับจุดเน้น ของสถาบนั แต่ละแหง่  การกาหนดวิธีการและผลงานวิชาการเพ่ือเข้าสู่ ตาแหน่งทางวิชาการท่ีหลากหลาย ท้ังในสายคณาจารย์ผู้สอน กลยุทธ์ท่ี 3 ส่งเสริมพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา และนักวจิ ัย ตลอดจนนักสร้างสรรคน์ วัตกรรม สู่ระดับโลก (World Class University) ในสงั คมวชิ าการระดับ โลกต่างยอมรับบทบาทของนักวิชาการด้วยกันว่าเป็นผู้ที่  การกาหนดหลักเกณฑ์การสนับสนุน ชักจูงและ สรา้ งสรรค์ พัฒนาความรหู้ รือวิชาการท่ีส่งผลกระทบต่อแวดวง คัดสรรบุคลากรผู้มีความสามารถทางวิชาการระดับชาติและ วิชาการท้ังโลก ชุมชนวิชาการนั้นอยู่ในสถาบันใดมากที่สุด ระดับนานาชาติ พัฒนาระบบเชิดชูเกียรติให้เป็นที่ยอมรับ สถาบนั นั้นจะเปน็ ที่ร้จู ักเปน็ ทย่ี อมรับและยกย่องให้เป็นสถาบัน ระดับชาติและนานาชาติ ระดับโลก การพัฒนาไปสู่จุดน้ันเป็นเร่ืองยาก จึงเป็นสิ่งที่รัฐ ต้องเข้ามามีบทบาทผลักดันอย่างจริงจังต่อเน่ือง โดยเลือกสรร 3. การส่งเสรมิ การพฒั นาสถาบนั อดุ มศึกษาสรู่ ะดับโลก สถาบันทีม่ ีความพร้อมเหมาะสม มคี วามเป็นไปได้สูงเทา่ นน้ั  ศึกษา วเิ คราะห์ ตดิ ตามความเคลอื่ นไหวของการจัด กลยุทธ์ท่ี 4 พัฒนาระบบการส่งเสริมและเชิดชู อันดับสถาบันอุดมศึกษาของโลกที่มีความหลากหลายมิติและ เกียรติบุคลากรคุณภาพสูงในระดับสากล มุ่งส่งเสริมชุมชน เกิดประโยชน์ต่อการพฒั นาระบบอุดมศึกษาของประเทศ วชิ าการระดบั ชาติและระดับนานาชาติ การประกวดการแข่งขนั ผลงานวิชาการ การสนับสนุนผลักดันให้เป็นบุคลากร  รัฐร่วมมือกับสถาบันอุดมศึกษาท่ีมีศักยภาพและ ผมู้ ชี ื่อเสียงของประเทศและของโลก ความพร้อมสูง เพ่ือให้การสนับสนุน สร้างแรงจูงใจและกาหนด เปา้ หมายการพัฒนาแบบมเี งอื่ นไขรว่ มกนั ในระยะสนั้ และระยะยาว แนวทางการดาเนนิ งาน  รั ฐ ใ ช้ ม า ต ร ก า ร จั ด อั น ดั บ ห รื อ จั ด ร ะ ดั บ สถาบันอุดมศึกษาในประเทศ ท้ังนี้เพื่อการพัฒนาและ การส่งเสรมิ ใหเ้ ปน็ ไปตามจุดเน้นทก่ี าหนด 1. การกาหนดจุดเน้นเชิงยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา (Re-positioning Framework)  กาหนดกรอบแสดงจุดเน้นของสถาบันอุดมศึกษา ท่ีตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศ ประกอบด้วย ความหมาย คุณลักษณะ และแนวทางการวเิ คราะห์ คณุ ลักษณะ เหล่านน้ั เพือ่ เปน็ แนวทางการดาเนินงานของสถาบัน (Strategic Profiles) พร้อมระบบฐานข้อมูลเพ่ือการตรวจสอบอย่างมี ประสทิ ธิภาพ  พัฒนาระบบการเงินอุดมศึกษาฐานคุณค่า (Value- based Financing)  พัฒนาระบบธรรมาภิบาลในการกากับดูแลและ การบริหารสถาบนั อดุ มศกึ ษาให้มีประสิทธภิ าพ แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

114 5 การบรหิ ารและธรรมาภบิ าล (Management and Good Governance) ความสาคญั  ป รั บ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร บ ริ ห า ร ธ ร ร ม า ภิ บ า ล ข อ ง สถาบันอุดมศึกษา ที่มาและระบบการสรรหานายกสภา อุดมศึกษาเป็นการศึกษาข้ันสูงสุดท่ีสร้างประโยชน์ สถาบัน สัดส่วนกรรมการสภาจากบุคคลภายนอกและ ทางสังคมและเศรษฐกิจให้แก่ปัจเจกบุคคลและการพัฒนา ภายในสถาบัน การจัดตั้งสานักงานสภาสถาบัน การมี ประเทศโดยส่วนรวม บคุ คลจงึ มีความพยายามท่ีจะเข้าศึกษาต่อ เลขานุการสภาสถาบันปฏิบัติหน้าที่เต็มเวลา ปรับจานวน ใ น ร ะ ดั บ อุ ด ม ศึ ก ษ า อ ย่ า ง ต่ อ เ น่ื อ ง จึ ง เ ป็ น เ ห ตุ ใ ห้ กรรมการสภามหาวิทยาลัยให้กะทัดรัดแต่มีการทางาน สถาบันอุดมศึกษาใช้กลยุทธ์ในการบริหารจัดการเพ่ือขยาย อย่างมีประสิทธิภาพ ปฏิรูปการประชุมสภาให้มีเนื้อหา ปริมาณอุดมศึกษารองรับความต้องการดังกล่าว เม่ือ เชงิ นโยบายมากกว่าเชิงบริหาร ตลอดจนการทดลองระบบ ความต้องการเร่ิมอ่ิมตัวประกอบกับโครงสร้างประชากร บริหารใหม่ ๆ ท่ีมีผู้ปฏิบัติงานต่อเนื่องในการกากับทิศทาง เริ่มเปล่ียนแปลงและส่งผลกระทบต่อภาระงานด้านการเรียน และยุทธศาสตร์ การสอนและรายได้ของสถาบันอุดมศึกษาบางแห่งเริ่มลดลง ปรากฎการณ์น้ีมีแนวโน้มรุนแรงย่ิงข้ึน จากการเปล่ียนแปลง  การประเมนิ สถาบันอุดมศึกษาเชิงธรรมาภิบาลอยา่ งครบ ดังกลา่ วจงึ ส่งผลกระทบกับคุณภาพ ประสทิ ธิภาพ ความโปร่งใส วงจร ประกอบด้วยการกาหนดตวั ชี้วดั ธรรมาภบิ าล และความสอดคล้องสนองตอบต่อการพัฒนาประเทศของ ทเี่ หมาะสม รวมทั้งการประเมินนายกสภา อธิการบดี สถาบนั อุดมศึกษาโดยรวม ถงึ ผูบ้ รหิ ารระดับภาควิชา ธรรมาภิบาลในระบบอุดมศึกษาคือแนวความคิดหรือ  สร้างเวทีการถ่ายทอดนโยบายและแลกเปลี่ยน หลักการพืน้ ฐาน และวิธกี ารบริหารสถาบันอุดมศึกษาโดยยึดถือ ประสบการณ์การบริหารนโยบาย ระหว่างรัฐมนตรี ระบบคุณธรรมและจริยธรรม เป็นแนวทางในการจัดการ กากับ ท่ีกากับการอุดมศึกษา รัฐมนตรีกากับเศรษฐกิจและสังคม ดูแลการดาเนินงานต่าง ๆ ให้เป็นไปตามครรลองธรรม ภายใต้ กบั นายกสภาสถาบนั และคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา ความคาดหวังจะบรรลุผลอย่างมีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ ความสุจริตโปร่งใส และคุ้มค่าเงิน ดังน้ันธรรมาภิบาลในระบบ อุดมศึกษาจึงเป็นปัจจัยสาคัญท่ีส่งผลกระทบโดยตรงต่อ การพัฒนาอุดมศึกษา แผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551  ปรับโครงสร้างคณะกรรมการการอุดมศึกษาให้เป็น – 2565) ได้ให้ความสาคัญกับธรรมาภิบาลและการบริหาร คณะมนตรีหรือคณะกรรมการ (Commission) โดยมี จัดการอุดมศึกษา และได้เสนอแนะแนวทางการพัฒนาไว้ มนตรีหรือกรรมาธิการ (Commission) ทาหน้าท่ีเต็มเวลา 4 ประเดน็ สาคัญ ประกอบดว้ ย และจัดโครงสร้างการบริหารของ สกอ. ให้เอื้ออานวยต่อ การปฏบิ ตั ิหน้าที่ของคณะกรรมาธิการ แผนอดุ มศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

115 ใ น ร ะ ย ะ เ ว ล า ที่ ผ่ า น ม า ไ ด้ มี ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ต า ม ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ข อ ง ส ถ า บั น อุ ด ม ศึ ก ษ า เ ห ล่ า น้ี แนวทางการพัฒนาดังกล่าวมาอย่างต่อเน่ือง โดยสถาบัน จึงไม่สอดคล้องกับหลักธรรมาภิบาลและส่งผลกระทบต่อ คลังสมองของชาติได้ปฏิบัติหน้าท่ีเป็นกลไกพัฒนาผู้กากับ คุณภาพการศกึ ษาของประเทศโดยตรง ดังนนั้ หวั หน้าคณะรักษา น โ ย บ า ย แ ล ะ ผู้ บ ริ ห า ร ด้ ว ย ห ลั ก สู ต ร ธ ร ร ม า ภิ บ า ล ข อ ง ความสงบแห่งชาติ โดยความเห็นชอบของคณะรักษาความสงบ สถาบันอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาอย่างย่ังยืน สาหรับกรรมการสภา แหง่ ชาตจิ ึงมีคาสั่งพอสรุปได้ดังนี้ สถาบันและผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาทุกระดับ ส่วนการปรับ โครงสร้างการบริหารธรรมาภิบาลของสถาบันอุดมศึกษาได้มี 1. ให้อานาจรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการใน การปรับปรุงตามบริบทและวัฒนธรรมองค์กรของแต่ละสถาบัน การยับย้ังการแต่งต้ังหรือการดาเนินการให้ได้มาซ่ึงผู้ดารง อยู่เปน็ ประจา ตาแหน่งนายกสภา หรืออธิการบดีในกรณีที่เกิดความขัดแย้ง หรือฝา่ ฝืนกฏหมาย คาสง่ั หัวหน้าคณะรกั ษาความสงบแห่งชาติท่ี 39/2559 เ รื่ อ ง ก า ร จั ด ร ะ เ บี ย บ แ ล ะ แ ก้ ปั ญห า ธ ร ร ม า ภิ บ า ล 2. กาหนดจานวนสถาบันอุดมศึกษาท่ีซึ่งบุคคลจะ ในสถาบันอุดมศึกษา วันที่ 12 กรกฎาคม 2559 ด้วยปรากฏ ปฏบิ ตั หิ น้าท่นี ายกสภา และ/หรือกรรมการสภา รวมทั้งกาหนด ข้ อ เ ท็ จ จ ริ ง ว่ า ส ถ า บั น อุ ด ม ศึ ก ษ า บ า ง แ ห่ ง เ ปิ ด ส อ น แ ล ะ สิทธิในการได้รับค่าตอบแทนเม่ือประชุม และสิทธิประโยชน์ จัดการศึกษาทั้งในและนอกสถานท่ีตั้ง โดยใช้หลักสูตร อนื่ ใดจากสภาสถาบันอุดมศกึ ษานนั้ ๆ ที่ไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ผลิตบัณฑิตที่มีปัญหา ด้านคุณภาพและไม่สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ ซึ่ง 3. ให้คณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) มีหน้าท่ี สภาสถาบนั อดุ มศกึ ษาแห่งนัน้ ไม่สามารถแก้ไขปัญหาท่เี กิดข้นึ ได้ รายงานต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการเมื่อปรากฏว่า อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ สภาสถาบันอุดมศึกษาบางแห่ง สภาสถาบันอุดมศึกษาแห่งใดดาเนินการจัดการศึกษาไม่เป็นไป อาศัยอานาจและช่องว่างทางกฎหมายดาเนินการในลักษณะ ตามมาตรฐานการอุดมศึกษา หรือมาตรฐานหลักสูตร จงใจ ท่ีสอ่ เจตนาแสวงหาผลประโยชนส์ ่วนตัว หรอื เพื่อใหต้ นเองอยู่ใน หลีกเลี่ยงการปฏิบัติตามกฎหมายหรือคาส่ัง ผู้บริหารมี ตาแหนง่ ตอ่ ไป มกี ารกลน่ั แกล้งฝา่ ยตรงขา้ มจนกระทั่งเกิดปัญหา พฤติการณ์ส่อไปในทางทุจริต ก่อให้เกิดความขัดแย้งภายใน ร้องเรียนและฟ้องร้องทางคดีเป็นจานวนมาก จ น ส ภ า ส ถ า บั น ไ ม่ ส า ม า ร ถ แ ก้ ไ ข ไ ด้ รั ฐ ม น ต รี ว่ า ก า ร กระทรวงศึกษาธิการมีคาส่ังให้สถาบันอุดมศึกษาน้ัน ๆ ยับยั้ง การรับนักศึกษา ปิดหลักสูตร ยุติการจัดการศึกษา ตลอดจน ส่ังการในเรื่องเก่ียวกับการได้มาซึ่งผู้บริหารในระยะเวลา ที่กาหนด 4. ให้อานาจรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ โดย คาแนะนาของ กกอ. มีอานาจส่ังให้ผู้ดารงตาแหน่งใด ในสถาบันอุดมศึกษาหรือนายกสภาหรือคณะกรรมการสภา สถาบันอุดมศึกษาหยุดการปฏิบัติหน้าที่หรือพ้นจากตาแหน่ง และแตง่ ต้ังผปู้ ฏิบัตหิ น้าท่แี ทนตาแหน่งดงั กล่าวได้ แผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

116 วัตถปุ ระสงค์  ปฏิรูปสภาสถาบันอุดมศึกษา จัดให้มีสานักงาน สภาสถาบันอุดมศึกษา แต่งต้ังรองอธิการบดีฝ่ายกิจการ 1. เพ่ือส่งเสริมธรรมภิบาลในระบบอุดมศึกษาให้มี สภาสถาบันทาหน้าท่ีเลขานุการสภาสถาบันเป็นการเฉพาะ ความเข้มแข็ง สมดุล ก่อเกิดประโยชน์ในการบริหารและบรรลุ จัดระบบการประชุมสภาสถาบนั ท่ีโปร่งใส มีความก้าวหน้า เน้น เป้าหมายอย่างมีคุณภาพและประสทิ ธิภาพ การพิจารณาเชิงนโยบายและการพัฒนาความก้าวหน้าของ สถาบันอย่างต่อเนื่อง ติดตามการปฏิบัติตามมติของสภา 2. เพื่อลดและขจัดปัญหาและสาเหตุของปัญหา โดยแยกบทบาทการกากับดูแลและการบริหารสถาบันให้เกิด ก า ร ด า เนิ น ก า ร ที่ ไ ม่ ส อด ค ล้ อ ง กั บ หลั ก ธ ร ร ม า ภิ บ า ล ความเขา้ ใจอย่างชัดเจน ปอ้ งกนั มิให้เกดิ ความขัดแยง้ ในสถาบันอุดมศกึ ษา กลยุทธ์การเปลย่ี นแปลง กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนากลไกการส่งเสริมธรรมาภิบาล ในสถาบันอุดมศึกษา กลยุทธ์ท่ี 1 พัฒนาสมรรถนะสภาสถาบันอุดมศึกษา และผูบ้ รหิ าร มุ่ ง ส ร้ า ง ผู้ น า ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง พั ฒ น า น วั ต ก ร ร ม การบริหารและการจัดการสถาบันอุดมศึกษาให้สอดคล้องกับ สนับสนุน สง่ เสรมิ และกระตุ้นให้สังคมเห็นความสาคัญ การบริหารงานยุคดิจิทัล ท้ังผู้กากับนโยบายและผู้บริหาร และบทบาทของสภาสถาบนั อดุ มศึกษาในการสรา้ งสรรคธ์ รรมาภบิ าล จาเป็นต้องปรับตวั นาเทคโนโลยมี าช่วยในการบริหาร ซง่ึ จะทาให้ สนับสนุนองค์กรอิสระต่าง ๆ ให้จัดระบบการสื่อสารให้เกิด การเข้าถึงข้อมูลข้อเท็จจริงมีความโปร่งใส การตัดสินใจ ความรู้ ความเข้าใจทั้งด้านข้อกฎหมายและความรับผิดชอบต่อ เชิงบริหารเป็นไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ การพัฒนาหลักสูตรใหม่ สังคมของผู้ปฏิบัติหน้าท่ีกรรมการสภาสถาบัน จัดการฝึกอบรม การจัดการเรยี นการสอน การวิจัยและการสร้างสรรค์นวัตกรรม วิธีแลกเปล่ียนเรียนรู้ในหมู่สภาสถาบัน การวิเคราะห์บทบาท จะเป็นไปเพ่อื ประโยชน์ของสังคมและประเทศชาติอย่างแท้จริง การทาหน้าท่ีและการแก้ไขปัญหาทั้งสภาและผู้บริหารจะต้อง รัฐพึงสนับสนุนการจัดต้ังสมาคมหรือสมาพันธ์ของนายกสภา ปฏิบัติหนา้ ท่ีระดับมืออาชพี และกรรมการสภาสถาบันให้เป็นแหล่งรวมและแลกเปลี่ยน ความรู้ ขอ้ เสนอแนะในการพฒั นาธรรมาภิบาลตอ่ ไป กลยุทธ์ที่ 2 ปรับโครงสร้างธรรมาภิบาลในระบบ กลยุทธ์ที่ 4 การประเมินสถาบันอุดมศึกษาเชิง อดุ มศึกษา ธรรมาภิบาล  สนับสนุนการศึกษาวิจัยเพ่ือความรู้และความเข้าใจ มุ่ ง เ น้ น ก า ร ก า ห น ด ม า ต ร ฐ า น ธ ร ร ม า ภิ บ า ล ใ น อย่างลึกซ้ึงถึงปัญหาธรรมาภิบาล พร้อมมุ่งแสวงหาแนวทาง สถาบันอุดมศึกษา เพ่ือใช้เป็นเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติใน ในการปรับโครงสร้างอานาจหน้าท่ีและองค์ประกอบที่เหมาะสม การกากับดูแลและการใช้อานาจเชิงบริหาร โดยยึดหลัก กับการปฏิบัติหน้าที่ กาหนดและกากับนโยบาย การตรวจสอบ ความเป็นธรรมเพ่ือให้การบริหารจัดการของสถาบันบรรลุ การดาเนินงานของสถาบัน การควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน วัตถุป ระส งค์ มา ต รฐา น ดังก ล่า ว ยังใ ช้เป็ น เก ณฑ์ใ น ของสถาบัน และสร้างเสรมิ ดลุ ยภาพในการปฏบิ ตั ิหน้าที่ควบคู่กับ การประเมินผลธรรมาภิบาลท้ังระดับสภาสถาบันและผู้บริหาร สภาวชิ าชีพและสภาคณาจารย์ของสถาบันอดุ มศกึ ษา ต้ังแต่อธิการบดีจนถึงระดับคณะหรือเทียบเท่าและเปิดเผยต่อ สาธารณะ การกาหนดมาตรฐานธรรมาภิบาลต้องกาหนด  ปรับระบบการสรรหานายกสภา กรรมการสภา และ ให้ ส อ ด คล้ อ ง กั บ ภา ร กิ จ หลั ก ข อ ง สถ า บั น อุด ม ศึ ก ษ า อธิการบดี เปิดโอกาสการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประกอบด้วย ธรรมาภิบาลในการผลิตบัณฑิต การวิจัย การเข้าถึงข้อมูลเก่ียวกับการสรรหาและการรับฟังความคิดเห็น การบริการวิชาการ การบารุงศิลปวัฒนธรรมตลอดจน อย่างกว้างขวาง ธรรมาภิบาลในระบบบริหารงานบุคคล แผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

117 แนวทางการดาเนินงาน 1 . ก า ร ก า ห น ด ม า ต ร ฐ า น ธ ร ร ม า ภิ บ า ล ใ น 3. การสง่ เสริมกจิ กรรมเพื่อพฒั นาสภาและผูบ้ ริหาร สถาบันอุดมศึกษา ปัจจบุ ันสถาบนั คลังสมองของชาติภายใต้มูลนิธิส่งเสริม รัฐจัดให้มีการระดมสมองเพื่อวิเคราะห์ปัจจัยและ ทบวงมหาวิทยาลัยได้ดาเนินกิจกรรมเพ่ือการพัฒนาผู้บริหาร อง ค์ ป ร ะ ก อ บ ส า คั ญ ท่ี ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อธ ร ร ม า ภิ บ า ล และกรรมการสภาสถาบันมาอย่างต่อเน่ือง รัฐควรให้ ในสถาบันอุดมศึกษา ตลอดจนการประมวลผลจากการวิจัย ความสาคัญและให้การสนับสนุนการดาเนินงานของสถาบัน บทความทางวิชาการ การสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ การกาหนด คลังสมองของชาติ โดยการกาหนดคุณสมบัติของกรรมการสภา มาตรฐานธรรมาภิบาลจะเป็นพื้นฐานของการดาเนินงาน เพ่ือ และผู้บริหารจะต้องผ่านการพัฒนาหลักสูตรธรรมาภิบาลหรือ สนับสนุนส่งเสริมธรรมาภิบาลในลาดับต่อไป เช่น การพัฒนา หลักสูตรอ่ืนท่ีใกล้เคียงกัน นอกจากน้ี รัฐควรส่งเสริมการจัด สมรรถนะสภาและผู้บริหาร การประเมินธรรมาภบิ าล เปน็ ตน้ กิจกรรมเชิงสังคมหรือเชิงวิชาการ เพ่ือให้เกิดการแลกเปลี่ยน เรียน รู้เก่ียวกับ ธ รรมา ภิบ า ลของอ งค์กรอื่น ๆ ท่ีมิใ ช่ 2. การสง่ เสรมิ งานวจิ ัยเชิงนโยบายดา้ นธรรมาภิบาล สถาบันอดุ มศึกษา มาต รก าร ส่งเสริ มธ รรม าภิ บา ลที่ผ่ าน มา เป็ น 4. กาหนดกรอบและแนวทางการปฏริ ูปสภาสถาบัน การตัดสินใจจากสภาวะแวดลอ้ ม สังคมยังขาดข้อมูลองค์ความรู้ หรือหลักฐานเชิงประจักษ์ที่ได้จากการวิจัยอย่างเป็นระบบ รัฐควรให้ความสาคัญกับการปฏิรูปสภาสถาบัน เพื่อ รัฐควรส่งเสริมกาหนดเป้าหมายการวิจัยเพื่อแสวงหาหลักฐาน สร้างความเข้มแข็งและประสิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าท่ี เชิงวิชาการและเชิงปฏิบัติ เพื่อประกอบการกาหนดนโยบายและ ของสภาตามทกี่ ฎหมายกาหนด แนวทางการดาเนนิ งานท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ แผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

118 6 ความม่นั คงทางการเงนิ ในระบบอดุ มศกึ ษา (Financial Security) ระบบการเงนิ อุดมศกึ ษาเปน็ ปัจจัยสาคญั ทแี่ สดงให้เห็น จากการวิเคราะห์พบว่า เงินงบประมาณแผ่นดินท่ีรัฐ นโยบายของรัฐท่ีให้ความสาคัญกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา จัดสรรให้ในระยะ 10 ปี ทผี่ า่ นมาไมส่ มั พันธ์กับจานวนนักศึกษา ในอดตี ท่ีผา่ นมารัฐจดั สรรเงนิ อุดหนุนอุดมศกึ ษามาอย่างตอ่ เนอ่ื ง รวมของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ เนื่องจากในระยะเวลา 10 ปี เพราะเห็นว่าการศึกษาคือการลงทุนในทรัพยากรมนุษย์ เพื่อ ที่ผ่านมา จานวนนักศึกษามีการเปลี่ยนแปลงในระดับต่าหรือ ประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ คงท่ีประมาณ 1,800,000 คน แต่ได้รับงบจัดสรรงบประมาณ ในขณะเดยี วกนั การศึกษาระดับอุดมศึกษายังช่วยเพ่ิมพูนรายได้ เพิ่มข้ึนทกุ ปี และยกสถานภาพทางสงั คมใหแ้ ก่ผ้สู าเร็จการศึกษา ทาให้ในช่วง 20 ปีที่ผ่านมามีการขยายตัวของบัณฑิตศึกษาระดับอุดมศึกษา เม่ือพิจารณาเงินรายได้ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ อย่างต่อเน่ืองและด้วยการสนับสนุนของกองทุนเงินให้กู้ยืมเพ่ือ พบวา่ แม้จานวนนกั ศกึ ษารวมจะมอี ัตราคงทแี่ ต่เงนิ รายได้กลบั มี การศึกษา (กยศ.) ทาให้โอกาสการเข้าถึงอุดมศึกษามีสูงขึ้น จานวนเพ่ิมข้ึนทุกปี ย่อมสะท้อนให้เห็นว่าสถาบันอุดมศึกษา ทั้งสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน แต่ในอนาคตอีก 20 ปี พยายามปรับตัวในด้านต่าง ๆ ทาให้แหล่งรายได้ของ ต่อจากนี้ ระบบอุดมศึกษาที่มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องกาลัง สถาบันอุดมศึกษามิได้ขึ้นอยู่กับค่าเล่าเรียนท่ีเรียกเก็บจาก จะประสบปัญหาการหดตวั ของจานวนนกั ศกึ ษา อันเนื่องมาจาก นักศึกษาแต่เพียงอย่างเดียว รายได้จากการดาเนินภารกิจ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร ซึง่ จะส่งผลกระทบโดยตรง ด้านอื่น ๆ เช่น การวิจัย และบริการวิชาการในรูปแบบต่าง ๆ กับรายไดแ้ ละภาระงานของสถาบันอุดมศกึ ษา นา่ จะเปน็ แหล่งรายได้ท่ีเพิ่มข้นึ ของสถาบันอดุ มศกึ ษาด้วย สถาบันอุดมศึกษาของรัฐตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550-2559 ได้รับจัดสรรงบประมาณแผ่นดินจานวน 57,152 ล้านบาทในปี พ.ศ. 2550 และเพิ่มข้ึนเป็น 111,755 ล้านบาท ในปี พ.ศ. 2559 หรือมีอัตราการเพ่ิมข้ึนประมาณเท่าตัว (ร้อยละ 93.49) ในขณะทเี่ งนิ รายไดเ้ พม่ิ ขน้ึ จาก 45,536 ล้านบาท ในปี พ.ศ. 2550 เป็น 98,617 ล้านบาทในปี พ.ศ. 2559 หรือมี อัตราการเพ่ิมข้ึนประมาณเท่าตัว (ร้อยละ 96.92) เช่นเดียวกัน ถ้าพิจารณาเฉพาะงบประมาณแผ่นดินประเภทงบดาเนินการ จะมีเงินใกล้เคียงกับเงินรายได้ของสถาบันอุดมศึกษา แสดงให้ เห็นว่าในภาพรวมคา่ ใช้จ่ายของสถาบันอดุ มศึกษาของรฐั ผู้เรียน มสี ว่ นรว่ มรับผิดชอบเฉลี่ยร้อยละ 50 แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

119 ความม่ันคงทางการเงนิ ของระบบอดุ มศกึ ษาจงึ มีปจั จัยสาคัญทเ่ี กีย่ วข้องอยู่ 4 ประเดน็ คือ  การจัดสรรงบประมาณอดุ หนนุ สถาบนั อุดมศึกษา หมายถึง จานวนเงินงบประมาณที่อุดหนุนสถาบันอุดมศึกษาและวิธีการจัดสรรเงินอุดหนุนดังกล่าวด้วย เนื่องจาก การจัดสรรเงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดินเป็นอานาจหน้าที่ของสานักงบประมาณ ซึ่งมีวิธีการจัดสรรงบประมาณและ มาตรฐานการจัดสรรงบประมาณสาหรับส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐเป็นหลกั หรือทเ่ี รยี กว่า การจัดสรรงบประมาณอุดหนุน ผ่านด้านอุปทาน (Supply Side Financing) เป็นหลัก ทาให้สถาบันอุดมศึกษาจัดการศึกษาตามความพร้อมและความต้องการ ของสถาบันเป็นหลัก จึงไม่ทาให้เกิดการแข่งขันเพ่ือพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาและทาให้การผลิตบัณฑิตไม่ตอบสนอง ความต้องการกาลงั คนในสาขาวชิ าทข่ี าดแคลนหรือเป็นความตอ้ งการในการพฒั นาประเทศ  การมสี ่วนร่วมรบั ผดิ ชอบคา่ ใช้จ่ายของผเู้ รียน ปัจจุบันผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบค่าใช้จ่ายเพื่อการศึกษาระดับอุดมศึกษาอยู่แล้ว ซึ่งมีความแตกต่างกันทั้งในระดับ สถาบนั และในระดับสาขาวิชาท่ีศึกษา กองทนุ เงินใหก้ ้ยู ืมเพื่อการศกึ ษา (กยศ.) มีสว่ นชว่ ยเหลอื ผูเ้ รยี นที่มาจากครอบครวั รายไดน้ อ้ ย ให้ได้รับการศกึ ษาระดับอุดมศึกษาเป็นจานวนมากในแตล่ ะปีการศึกษา แต่อัตราการมีส่วนร่วมรับผิดชอบของผู้เรียนน้ันขึ้นอยู่กับ ปจั จัยหลายประการ เชน่ ต้นทุนตอ่ หนว่ ย (Unit Costs) อตั ราคา่ เล่าเรยี น (Tuition and Fees) และอัตราสว่ นเงินอุดหนุนจากรฐั เนือ่ งจากรายละเอยี ดทั้ง 3 สว่ นนย้ี งั ไมม่ กี ารวิเคราะห์ศักยภาพในรายละเอยี ดและนาไปสูก่ ารกาหนดนโยบายท่เี หมาะสม จงึ ทาให้ เกิดความเหลื่อมล้าของการมีส่วนร่วมรับผิดชอบของผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนบางคนได้ศึกษาในสถาบันที่มีคุณภาพสูง โดยจ่ายค่า เลา่ เรยี นต่า เม่อื เปรยี บเทยี บกับบางคนท่ีเรยี นในสถาบนั ท่มี คี ณุ ภาพต่ากวา่ แตต่ ้องมสี ่วนรว่ มรบั ผิดชอบสงู กวา่ เป็นต้น  ความหลากหลายของแหล่งรายไดข้ องสถาบนั อุดมศึกษา จากข้อมูลเบื้องต้นพบว่า แหล่งรายได้ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐมีความหลากหลายมากข้ึน มิได้ขึ้นอยู่กับจานวน นักศกึ ษาแตเ่ พียงอยา่ งเดยี ว การท่สี ถาบันอดุ มศกึ ษาจะรักษาระดบั เงินรายได้จากแหล่งรายได้ต่าง ๆ ให้คงท่ีหรือเพ่ิมข้ึนจะต้องมี มาตรการหลายอย่างประกอบกัน ท้ังในเร่ืองการพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรให้สามารถพัฒนาหลักสูตรและการจัด การเรียนรู้ใหม่ท่ีสอดคล้องกับความต้องการและวิธีการเรียนรู้ของผู้เรียนในยุคใหม่ การสร้างสรรค์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม ทน่ี าไปสู่สินคา้ และบรกิ ารใหม่ ตลอดจนการปรับตัวและประสานความรว่ มมือกบั ภาคอุตสาหกรรมหรอื ภาคผู้ใชบ้ ริการ นอกจากนี้ รัฐบาลควรพจิ ารณามาตรการการให้โอกาสมหาวิทยาลัยในการใชพ้ ้นื ทรี่ าชพัสดุใหเ้ กิดประโยชน์ในการหารายได้ นอกเหนือไปจาก รายไดจ้ ากการจัดการการเรยี นการสอนเท่านน้ั  ประสิทธิภาพในการจดั การศกึ ษา ประสทิ ธิภาพเป็นประเด็นที่ท้าทายในระบบอุดมศึกษาจากความไม่ชัดเจนในเรื่องต้นทุนต่อหน่วย ระดับหรือมาตรฐาน คุณภาพบัณฑิต มาตรฐานการผลิตท่ีมีคุณภาพ ตลอดจนการผลิตบัณฑิตท่ีตอบสนองความต้องการเพื่อการพัฒนาประเทศ และ ความสูญเปล่าทางการศึกษาระดับอุดมศึกษา ประเด็นเหล่านี้จาเป็นต้องมีการศึกษา วิเคราะห์ และวิจัยอย่างละเอียด เพื่อ แสวงหาข้อมูลประกอบการกาหนดนโยบายตอ่ ไป แผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

120 วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อสรา้ งความมั่นคงทางการเงินในระบบอดุ มศกึ ษาในสภาวะทม่ี กี ารเปล่ยี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ 2. เพ่ือพัฒนาระบบการเงินอุดมศึกษาให้เป็นกลไกของรัฐในการเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพทางการศึกษา ของสถาบนั อุดมศึกษา กลยุทธก์ ารเปลยี่ นแปลง ก ล ยุ ท ธ์ ท่ี 1 ก า ร ป ฏิ รู ป ร ะ บ บ ก า ร เ งิ น เ พื่ อ กลยทุ ธ์ท่ี 3 การส่งเสรมิ ความหลากหลายของแหล่ง การอดุ มศึกษา รายไดข้ องสถาบนั อุดมศึกษา มุ่งเน้นการแก้ปัญหาระดับมหภาคเพ่ือให้ระบบการเงิน รัฐสนับสนุนให้สถาบันอุดมศึกษาศึกษาวิเคราะห์ อุดมศกึ ษาเปน็ การลงทุนเพื่อการพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ การวิจัย ทบทวนแหล่งรายได้ของสถาบันอย่างกว้างขวาง โดยการสร้าง และนวัตกรรมที่มปี ระสิทธิภาพคมุ้ คา่ โดยท่ภี าครัฐยังเป็นผู้ลงทุน สิ่งจูงใจต่าง ๆ เช่น การใช้ประโยชน์จากที่ดินอันเป็นทรัพย์สิน เพื่อการอุดมศึกษาไม่ต่ากว่าเดิม การปรับระบบการเงินเพื่อ ของรัฐ การออกกฎหมายส่งเสริมการใช้ประโยชน์จาก การอุดมศึกษาให้ตอบสนองผ่านด้านอุปสงค์ (Demand Side ผลงานวิจัยและนวัตกรรม (Bayh-Dole Act) การส่งเสริม Financing) ให้สถาบันอุดมศึกษา และกาหนดค่าเล่าเรียนให้ ให้สถาบันอุดมศึกษาจัดต้ังวิสาหกิจจากนวัตกรรม การส่งเสริม สะท้อนต้นทุนคุณภาพตามมาตรฐานการอุดมศึกษาท่ีเก่ียวข้อง ใ ห้ ส ถ า บั น อุ ด ม ศึ ก ษ า พั ฒ น า ส ร้ า ง ส ร ร ค์ น วั ต ก ร ร ม ต า ม รัฐพึงจัดสรรเงินเพื่อสนับสนุนกองทุนการเงินเพ่ือการศึกษาและ ความตอ้ งการของภาครฐั เ ปิ ด โ อ ก า ส ใ ห้ นั ก ศึ ก ษ า ทุ ก ค น ส า ม า ร ถ กู้ ยื ม เ งิ น ก อ ง ทุ น เพ่ือประโยชน์ในการพัฒนาศักยภาพและการประกอบอาชีพของ แนวทางการดาเนนิ งาน ตนเองด้วยเง่ือนไขท่รี ัฐสนับสนุน 1 . รั ฐ ยั ง ค ง น โ ย บ า ย รั บ ภ า ร ะ ค่ า ใ ช้ จ่ า ย เพื่ อ กลยทุ ธท์ ่ี 2 การปรบั ปรงุ ระบบการจัดสรรงบประมาณ การอุดมศึกษาไมน่ ้อยกวา่ เดมิ แต่มุ่งเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการใชจ้ า่ ย เพ่ือการอุดมศกึ ษา ง บ ป ร ะ ม า ณ เ พ่ื อ ก า ร อุ ด ม ศึ ก ษ า ใ ห้ เ ป็ น ก ล ไ ก ก า ร พั ฒ น า ทรัพยากรมนุษย์ การวิจัยและนวัตกรรม เพ่ือการพัฒนา การจัดสรรงบประมาณเพ่ือการอุดมศึกษาเป็นกลไก ประเทศ สาคัญท่ีสะท้อนนโยบายของรัฐว่ามีความคาดหวังต่อการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ในสาขาใด ระดับใด ด้วยคุณภาพมาตรฐาน 2. ศึกษาวิจัยเชิงนโยบายเพื่อปรับการสนองทุน ในระดับใด จึงจะตอบสนองต่อทิศทางการพัฒนาประเทศ ผ่านด้านอุปสงค์ การวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยของการจัด ในอนาคต การจัดสรรงบประมาณจึงต้องมีความสอดคล้องกับ การศกึ ษาระดับอุดมศึกษาท่ีมีคุณภาพ การวิเคราะห์โครงสร้าง นโยบายและแผนพัฒนากาลังคนของรัฐ วงเงินท่ีกาหนดจะ รายได้ตลอดชีวิต การทางานของผู้สาเร็จการศึกษา กลไก สะท้อนจุดเน้นของนโยบายการลงทุนเพ่ือการอุดมศึกษา แม้ว่า การผลิตกาลังคนสาขาขาดแคลนตอบสนองความต้องการ ในความเป็นจริงยังไม่สามารถอธิบายตามหลักการดังกล่าวได้ ของประเทศ แก้ปัญหาการผลิตบณั ฑติ เชงิ พาณิชย์ อย่างชัดเจน การปรับปรุงระบบจัดสรรงบประมาณเพื่อ การอุดมศึกษามีหลักการ 3 ประการ คือ ประการท่ี 1 3. ศึกษา วิเคราะห์ แก้ไขกฎหมาย กฎระเบียบ เพื่อ งบประมาณต้องสะท้อนผลผลิตท่ีคาดหวังอย่างมีคุณภาพ เพิ่มแหล่งทุนให้สถาบันอุดมศึกษา เช่น การใช้ท่ีราชพัสดุ ประการที่ 2 การกระจายงบประมาณคอื การกระจายความรบั ผดิ ชอบ ที่สถาบันอุดมศึกษาครอบครอง การจัดต้ังวิสาหกิจของ หรือความร่วมมือในการผลิตบัณฑิตของประเทศ ประการที่ 3 สถาบันอุดมศึกษา การใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญา สถาบันอุดมศึกษาต้องมีอิสระในการบริหารงบประมาณภายใต้ และการสรา้ งสรรค์นวัตกรรมตอบความตอ้ งการของภาครัฐ หลกั เกณฑ์ท่ีกาหนด แผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

121 7 ภาคีภาครฐั ภาคเอกชน และชนุ ชน (Public Private Community Partnership) ความสาคญั วตั ถปุ ระสงค์ ก า ร พั ฒ น า อุ ด ม ศึ ก ษ า ใ น ร ะ ย ะ ท่ี ผ่ า น ม า ไ ด้ ใ ห้ 1. เพ่ือจัดระบบเครือข่ายภาครัฐ ภาคเอกชน และภาค ความสาคัญกับบทบาทขององค์กรภายนอก ทั้งภาครัฐ ชุมชน เพ่ือพัฒนาอุดมศึกษาให้มีส่วนร่วมในการกาหนดอุปสงค์ ภาคเอกชนและชุมชน ซ่ึงเข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินการ และอุปทานด้านอุดมศึกษาและมีส่วนร่วมรับผิดชอบดาเนินการ ของสถาบันอุดมศึกษาเพิ่มมากข้ึน โดยมีพัฒนาการจาก ของสถาบนั เพือ่ ตอบสนองความต้องการในการพฒั นาประเทศ การเปน็ ผู้รับบริการไปสู่ผู้กาหนดความตอ้ งการและผู้มีส่วนร่วม 2. เพื่อส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษาสามารถพัฒนา รับผิดชอบภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา ในขณะที่ จุดแขง็ ซึ่งเปน็ ความสามารถเฉพาะทางให้ตอบสนองและทางาน สถาบนั อุดมศึกษากาลังปรับบทบาทและภารกิจให้ตอบสนอง รว่ มกับภาคีเครอื ข่ายอย่างมีประสิทธภิ าพ ต่อทิศทางการพัฒนาประเทศ ซ่ึงต้องสามารถกาหนด ความตอ้ งการ (Demand) ท้งั ในด้านการผลิตบณั ฑิต การวิจัย กลยุทธ์การเปลย่ี นแปลง และพัฒนา ตลอดจนการบริการวิชาการ หรือการถ่ายทอด กลยุทธ์ที่ 1 สร้างภาคีกึ่งทางการภาครัฐ ภาคเอกชน เ ท ค โ น โ ล ยี ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม ชั ด เ จ น ม า ก ท่ี สุ ด เ ท่ า ท่ี จ ะ ท า ไ ด้ การปฏิบตั ภิ ารกจิ อยา่ งมีส่วนร่วมของภาคีภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคชุมชน ภาคีก่ึงทางการหมายถึงการรวมตัวกันเพื่อดาเนิน และชุมชนจะเป็นปัจจัยสาคัญท่ีทาให้สถาบันอุดมศึกษา ภารกิจให้บรรลุเป้าหมายร่วมกัน โดยการจัดทาข้อตกลงร่วมกัน ดาเนนิ การปรับตัวเข้าสคู่ วามต้องการอยา่ งแท้จรงิ มากยิ่งขนึ้ ในหมู่สมาชิกภาคีนั้น ๆ เป้าหมายสาคัญของภาคีคือการสะท้อน ให้เห็นสภาวะความต้องการของภาคส่วนต่าง ๆ ท่ีประสงค์จะให้ ในขณะเดียวกันสถาบันอุดมศึกษาจานวนมากมีที่ตั้ง สถาบนั อดุ มศกึ ษารบั รแู้ ละมงุ่ ตอบสนองความต้องการอย่างถูกต้อง กระจายไปตามภมู ภิ าคต่าง ๆ การปฏิบัติภารกิจให้ตอบสนอง เทย่ี งตรง ภาคดี ังกล่าวอาจประกอบด้วยสมาชกิ จากภาคสว่ นตา่ ง ๆ ความต้องการในเชิงพื้นที่ (Area based) จึงมีความจาเปน็ ในพื้นที่ท่ีมีสภาวะความต้องการท่ีแตกต่างกัน เช่น ความต้องการ มากยง่ิ ข้ึน ซึง่ อาจสะท้อนให้เห็นอตั ลักษณค์ วามเชี่ยวชาญและ ในการพัฒนาเศรษฐกิจ การมีงานทา เทคโนโลยีและนวัตกรรม ความรับผดิ ชอบต่อพนื้ ที่บริการอกี ดว้ ย การพัฒนาสังคมและส่ิงแวดล้อม ตลอดจนการแก้ปัญหา ความเหลือ่ มลา้ ทางสังคม ปัจจบุ ันโครงการประชารัฐนับไดว้ ่าเป็นกลไกส่งเสริม กลยุทธ์ที่ 2 ปรับกลไกการจัดสรรงบประมาณ เพ่ือ การมีส่วนร่วมของภาคีภาครัฐ ภาคเอกชนและชุมชนใน ส่งเสริมสถาบันอุดมศึกษาให้สามารถปรับพันธกิจที่ตอบสนอง การปฏิรูปการศึกษาท่ีมีความเข้มแข็งในฐานะผู้มีส่วนร่วม ความต้องการและสามารถทางานร่วมกับภาคีเครือข่ายอย่างมี รับผิดชอบ สามารถนาเสนอแนวคิดใหม่ท่ีจะทาให้การจัด ประสิทธิภาพ การดาเนินงานตามพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา การศึกษาเป็นไปเพื่อผลิตบุคลากรที่มีคุณภาพตอบสนอง จะได้รับการสนับสนุนงบประมาณ เพื่อการทางานร่วมกันในภาคี ความตอ้ งการไดใ้ นอนาคต หรอื แม้แตก่ ารสง่ เสริมการลงทนุ รว่ ม เครือข่ายรูปแบบต่าง ๆ และก่อให้เกิดการระดมทรัพยากรและ ระหว่างคู่ความร่วมมือกับภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชม การแลกเปล่ียนเรียนรู้ในลักษณะพันธกิจสัมพันธ์กับสังคม (Social ในการประกอบธุรกิจที่เกิดจากนวัตกรรมและองค์ความรู้ Engagement) ของมหาวทิ ยาลยั กลยุทธ์ที่ 3 เส ริม ส ร้า ง จุด เน้นเฉ พ า ะทา ง ข อง สถาบันอุดมศึกษาในพ้ืนท่ีแตกต่างกัน เพื่อให้การตอบสนอง ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ใ น ภ า คี เ ค รื อ ข่ า ย อ ย่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ สถาบันอุดมศึกษาแต่ละแห่งจะต้องกาหนดจุดเน้นหรือจุดแข็ง ของตนเองท่ีสามารถตอบสนองความต้องการเฉพาะทางของภาคี เครือข่ายได้ จะทาให้ลดการลงทุนที่ซ้าซ้อนและการแข่งขัน โดยไมจ่ าเป็น แผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

122 แนวทางการดาเนินงาน 1. รฐั ส่งเสรมิ การสร้างภาคีเครอื ข่ายภาครฐั ภาคเอกชน และ ภาคชุมชน ด้วยการกาหนดกรอบแนวทางการดาเนินงานเพื่อให้ ภาคีต่าง ๆ ยึดถือเป็นหลักการ รายละเอียดอุปสงค์และอุปทาน จะขึ้นอยู่กับข้อตกลงร่วมกันของสมาชิกในภาคี เช่น ภาคี ความต้องการกาลังคนในระดับพื้นท่ี-ท้องถ่ิน ภาคีการพัฒนา นวตั กรรมเพือ่ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ภาคีการเรยี นรเู้ ชงิ บรู ณาการ กบั การทางาน 2. รัฐจัดสรรเงินอุดหนุนพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา ท่ีดาเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่าย เพื่อตอบสนองปัญหา ทั้งในระดับพ้ืนที่ ระดับชาติ และระดบั นานาชาติ 3. รัฐสนับสนุนการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา ( Re- positioning) เพ่ือปรับพันธกิจและขีดความสามารถเฉพาะทาง ให้ตอบสนองการทางานร่วมกับภาคีเครือข่ายท่ีเกิดประโยชน์ต่อ การพัฒนาประเทศ แผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

123 8 อุดมศึกษาดจิ ิทลั (Digital Higher Education) ความสาคัญ ความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษา แม้ว่าสมาชิก ในสังคมแต่ละคนจะมีโอกาสเรียนรู้ในยุคดิจิทัลได้เท่าเทียมกัน เ ท ค โ น โ ล ยี ดิ จิ ทั ล ( Digital Technology) แต่ก็มิใช่ว่าสมาชิกทุกคนจะสามารถเข้าถึงความรู้ท่ีตนเอง ก่อใหเ้ กดิ ความเปล่ียนแปลงอย่างมหาศาลต่อระบบเศรษฐกิจ ต้องการอยา่ งเสมอภาคเทา่ เทียมกนั เพราะการเข้าถึงเทคโนโลยี และโครงสร้างทางสังคมในยุคสังคมแห่งความรู้ วิวัฒนาการ จะมีต้นทุนและศักยภาพพ้ืนฐานท่ีแตกต่างกัน ในขณะท่ีสภาพ ของเทคโนโลยีดิจิทลั ยังเกยี่ วข้องโดยตรงกับการดารงชีวิตของ สังคมปจั จบุ ันยังมีความเหลอื่ มล้า จงึ เป็นบทบาทของรฐั ที่จะต้อง มนุษยชาติ เกิดวิวัฒนาการทางการเรียนรู้ของมนุษย์ ลดความเหล่ือมล้าและเพ่ิมโอกาสให้สมาชิกในสังคมสามารถ สร้างสรรค์กิจกรรมการดารงชีพที่แตกต่างไปจากอดีตและ เข้าถึงองค์ความรู้โดยเท่าเทียมกัน การเปล่ียนแปลงระบบ เ ท ค โ น โ ล ยี ดิ จิ ทั ล จ ะ ยั ง ค ง เ ป็ น เ ท ค โ น โ ล ยี ท่ี ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด อุดมศึกษาจึงมีความสาคัญเพ่ือสร้างโอกาส ความเสมอภาค การเปลี่ยนแปลงในโลกนี้อย่างต่อเน่ืองและรุนแรงมากย่ิงขึ้น คณุ ภาพ และประสิทธิภาพของอดุ มศึกษา ในด้านการศึกษาเทคโนโลยีดิจิทัลกาลังเข้ามาทาหน้าท่ีแทน มนุษย์ ตั้งแต่การศึกษาข้ันพื้นฐานจนถึงระดับอุดมศึกษา วตั ถปุ ระสงค์ ผลกระทบอย่างใหญ่หลวงในอนาคตสามารถสังเกตได้ใน ปัจจบุ ัน การเปลีย่ นแปลงของระบบอดุ มศึกษาเพอ่ื รองรับหรือ 1. เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา ซ่ึง ใช้ประโ ยชน์จาก วิวัฒนา การของ เทคโนโ ลยีดิจิทั ล เป็นการเสริมสร้างกระบวนการเข้าถึงแหล่งความรู้ การกระจาย จึงจาเป็นต้องพิจารณาและกาหนดบทบาทของภาครัฐ ความรู้ และการปฏริ ปู การเรียนรู้ในระดับอดุ มศึกษา ภาคสถาบนั และภาคประชาชนอยา่ งชดั เจน 2. เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ การเรียน การเรียนรู้ท่ีไร้ขีดจากัดในสังคม หมายถึงสภาวะ การสอน และการบริหารจัดการทางการศึกษาให้สามารถขยาย ท่ีทุกคนในสงั คมสามารถเข้าถึงความรู้ไดไ้ มว่ ่าจะอยู่ในสถานะใด บริการทางการศึกษาไดเ้ พม่ิ มากข้ึน ความรู้ไม่มีข้อจากัดเรื่องวัย เพศ สถานที่ และเวลา แต่เกิด จากความสามารถของแต่ละคนในการติดต่อเชื่อมโยง 3. เพ่ือส่งเสริมความเสมอภาคทางการศึกษา (Connectivity) กับแหล่งความรู้ท้ังหลายได้โดยอิสระเสรี เปิดโอกาสให้ผู้เรียนทุกคนสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีดิจิทัล องค์ความรูใ้ นโลกกาลงั เปลีย่ นแปลงจากความรู้เชิงทฤษฎีหรือ สามารถใช้ประโยชน์และพัฒนากลไกการเรียนรู้ของตนเอง หลกั การไปสู่ความรู้ทส่ี ามารถนามาใช้ประโยชน์ในการดารงชพี ได้ โดยอสิ ระ ใช้เพิ่มประสิทธภิ าพ เพ่มิ ศกั ยภาพของมนษุ ยชาติได้ กลยุทธก์ ารเปลย่ี นแปลง การปฏิรูปการเรียนรู้ เทคโนโลยีดิจิทัลสร้างปัจจัย เกื้อหนุนให้การเรียนรู้ของมนุษย์เปล่ียนแปลงไป การเรียนรู้ กลยุทธ์ท่ี 1 การกาหนดมาตรฐานการอุดมศึกษาใหม่ และการเข้าถึงแหล่งความรู้ มีความเป็นเฉพาะบุคคล อันเป็นการส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษามีโอกาสปรับปรุง มากยิ่งข้ึน ความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างผู้สอนหรืออาจารย์ เปล่ียนแปลงการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับวิวัฒนาการของ กับผู้เรียนหรือศิษย์เปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เทคโนโลยดี ิจิทลั ในระดับอุดมศึกษา เทคโนโลยีดิจิทัลสร้างความอิสระให้แก่ ผู้เรียน แต่สร้างความท้าทายให้กับสถาบันอุดมศึกษา 1.1 กาหนดมาตรฐานศักยภาพพื้นฐานด้านดิจิทัล โดยเฉพาะคณาจารย์ท่ีจะต้องแสวงหาวิธีการเรียนรู้ใหม่ (Digital Literacy) เพอ่ื สนับสนุนให้นักศึกษาแต่ละคนสามารถใช้ ให้สอดคล้องกับความอิสระของผู้เรียนและวิธีการเรียนรู้ ดิจิทัลเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนรู้ การสืบค้น การสื่อสาร การใช้ ท่ีจะนาไปสู่ทักษะ สมรรถนะ หรือขีดความสามารถของ ชีวิตประจาวัน รู้เท่าทันการเปล่ียนแปลงและก่อประโยชน์ นักศึกษาแต่ละคน ต่อสังคม ศักยภาพพ้ืนฐานนี้จะแตกต่างกันไปตามสาขาวิชาชีพ และความสนใจของแต่ละบคุ คล แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

124 1.2 กาหนดมาตรฐานศักยภาพพื้นฐานด้านดิจิทัล ก ล ยุ ท ธ์ ที่ 3 โ ค ร ง ส ร้ า ง พ้ื น ฐ า น ดิ จิ ทั ล เ พ่ื อ (Digital Literacy) ส า ห รั บ ค ณ า จ า ร ย์ แ ล ะ บุ ค ล า ก ร การอดุ มศกึ ษาและวิจัย ในสถาบันอุดมศึกษา เพ่ือส่งเสริมให้คณาจารย์มีศักยภาพ 3.1 กาหนดมาตรฐานการให้บริการเทคโนโลยีดิจิทัล ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ปฏิรูปการพัฒนาหลักสูตรและ ระดบั สถาบัน เพื่อใหท้ กุ สถาบนั สามารถสง่ เสริมการจัดการศึกษา การจัดการเรียนการสอน การพัฒนาการวิจัย ตลอดจน และการวิจัยได้อย่างเสมอภาค ตลอดจนการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต การใหบ้ รกิ ารทางวิชาการและการถ่ายทอดเทคโนโลยสี ูส่ ังคมให้มี และเครือขา่ ยอย่างมีประสิทธภิ าพ สามารถเชือ่ มโยงแหล่งความรู้ ประสิทธิภาพ คณาจารย์ยุคใหม่ต้องมีทักษะคอมพิวเตอร์และ ได้จากทัง้ โลก รัฐตอ้ งจดั ใหส้ ถาบนั อดุ มศกึ ษาใช้บริการเทคโนโลยี การส่อื สารท่ีสูงขึน้ และแตกต่างกนั ตามสาขาวชิ าชีพ ดิจทิ ัลในอตั ราเพือ่ การศกึ ษา (Education Rate) หรอื อตั ราท่ีมิใช่ 1.3 ปรับเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรและกรอบคุณวุฒิ เพอื่ ประโยชนท์ างการค้า (Non-Commercial Rate) อุดมศึกษาในสาขาวิชาตา่ ง ๆ เพื่อสนับสนุนส่งเสริมให้คณาจารย์ 3.2 รัฐควรมีมาตรการสนับสนุนให้นักศึกษาแต่ละคน สามารถศึกษา วิจัย ทดลอง พัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียน สามารถเป็นเจ้าของหรือมีอุปกรณ์สื่อสารเฉพาะบุคคล การสอน การเรียนรู้ในยุคดิจิทัล โดยไม่มีขอบเขตหรือข้อจากัด ด้วยมาตรการทางการเงินถือว่าเป็นสื่อหรืออุปกรณ์การเรียนรู้ ทางความคดิ โดยมงุ่ เนน้ ความสาเรจ็ ทักษะ ขีดความสามารถของ ทจ่ี าเป็น นักศึกษาเป็นสาคัญ สามารถช่วยให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้ 3.3 รัฐกาหนดมาตรฐานการเข้าถึงแหล่งข้อมูลดิจิทัล ได้ตามความแตกต่างของบุคคล (Individualized Learning) เพ่อื การเรียนรแู้ ละการวิจยั (Digital Contents) จากท่ัวโลก ขยายปรบั ปรงุ ขอบเขตสาขาวชิ าสาหรับหลักสูตรโดยไม่ติดยึดกับ ศาสตร์ใดศาสตร์หนึ่ง แต่เน้นความสาเร็จในการประกอบอาชีพ - ส่งเสริมการพัฒนา Online Course, Digital และการพัฒนาสรา้ งสรรค์นวัตกรรม Content, Digital Collections - ส่งเสริมการพัฒนาห้องสมุดดิจิทัลให้เป็น ศูนย์กลางการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล การสืบค้นข้อมูล และแหล่ง กลยุทธ์ท่ี 2 ส่งเสริมการปฏิรูปการเรียนรู้ รัฐส่งเสริม กระต้นุ สง่ เสริมการเรยี นรู้ในรูปแบบใหม่ที่หลากหลาย ให้เกิดการปฏิรูปการเรียนรู้อย่างกว้างขวาง พัฒนาองค์ความรู้ - รัฐเป็นผู้ประสานการเจรจาต่อรองการจัดการ การเรียนรู้ในยุคดิจิทัล ปฏิรูปการเรียนการสอน ปฏิสัมพันธ์ ฐานข้อมูลความรู้และการวิจัยท้ังในระดับชาติและระดับ ระหว่างผู้เรียนและผู้สอน ทาให้เกิดการศึกษาแบบไร้พรมแดน นานาชาติ เพ่ือให้การจัดสรรทรัพยากรเพ่ือการศึกษา ไร้ขีดจากดั แตข่ น้ึ อยกู่ บั ความตอ้ งการของผู้เรยี นเป็นสาคัญ มีความเหมาะสมสอดคลอ้ งกับยคุ ดิจิทลั 2.1 ส่งเสริมการวิจัยและนวัตกรรมการเรียนรู้ในยุค แนวทางการดาเนนิ งาน ดิจิทลั จดั ตั้งสถาบันวิจยั นวตั กรรมการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล พัฒนา เครือข่ายการเรียนรู้ การแลกเปล่ียนผลงานวิจัยระดับชาติและ 1. รฐั กาหนดมาตรฐานการอดุ มศกึ ษาใหม่ นานาชาติ 1.1 มาตรฐานทักษะดิจิทัลสาหรับนักศึกษา 2.2 การคัดเลือก เผยแพร่ และการแลกเปล่ียนเรียนรู้ (Digital Literacy) นวตั กรรม การจดั การเรยี นรู้ในยุคดิจทิ ลั 2.3 ใช้กลไกทางการเงินกระตุ้นให้เกิดการพัฒนา 1.2 มาตรฐานทักษะดิจิทัลสาหรับคณาจารย์ และ หลักสตู รใหม่ท่เี น้นทักษะดจิ ิทัลและนวตั กรรมการเรียนรู้ การปฏิรปู การจัดการเรียนการสอน 2.4 ส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถออกแบบการเรียนรู้ 1.3 ปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรและกรอบ และสามารถเข้าถึงความรู้ ทักษะที่เป็นความต้องการของตนเอง มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาให้เอ้ืออานวยต่อการปฏิรูป การเรียนรู้ ท้งั ในสถาบนั และข้ามสถาบนั ในประเทศและตา่ งประเทศ แผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

125 2. รฐั ส่งเสรมิ การปฏิรูปการเรยี นรู้สู่ยุคดจิ ิทลั 3. ส่งเสริมการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานดิจิทัลเพื่อ การอุดมศกึ ษาและการวจิ ยั 2.1 จัดต้ังสถาบันวิจัยและนวัตกรรมการเรียนรู้ ในยคุ ดิจิทลั 3.1 กาหนดมาตรฐานเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือ การเรียนรู้และการวจิ ยั สาหรับสถาบันอุดมศึกษาที่มีจุดเน้น 2.2 ปรับการจัดสรรเงินอุดหนุนเพื่อสนับสนุน แตกตา่ งกัน การพัฒนาหลกั สตู ร เน้นสมรรถนะไม่เนน้ ปรญิ ญา 3.2 รัฐกาหนดมาตรการส่งเสริมการเข้าถึงดิจิทัล 2.3 ส่งเสริมการเรียนรู้ข้ามศาสตร์ การเรียน เทคโนโลยีสาหรับนักศึกษาเฉพาะบุคคล ถือว่าเป็นอุปกรณ์ ข้ามคณะ และการเรียนรู้ข้ามสถาบัน ให้นักศึกษามีโอกาส การเรยี นการสอนทีม่ ีความจาเปน็ เลือกเรียนได้ตามความสนใจและความต้องการผ่าน Digital Contents 3.3 รัฐกาหนดมาตรการการเงินส่งเสริมการสร้าง และการเข้าถึง Digital Contents 3.4 รัฐส่งเสริมการพัฒนาฐานข้อมูล ความรู้ และ การวิจัยในประเทศใหม้ คี ณุ ภาพในระดบั สากล 3 . 5 รั ฐ มี บ ท บ า ท ส า คั ญ ใ น ก า ร ป ร ะ ส า น การเลือกสรรค์ และการใช้ประโยชน์ฐานข้อมูลการศึกษาและ การวจิ ยั ระดับนานาชาติเพ่ือประโยชนส์ าธารณะ แผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

126 บรรณานกุ รม กระทรวงศึกษาธิการ. (2558). จานวนนกั เรยี น นกั ศึกษา ในระบบ จาแนกรายสถานศกึ ษา รายจังหวัด ปีการศกึ ษา 2558. (ออนไลน์). แหล่งท่ีมา : http://www.mis.moe.go.th/index.php? option=com_content&view=article&id=557&Itemid=113. . (2557). จานวนนักเรียน นกั ศึกษา ในระบบ จาแนกรายสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2557. (ออนไลน)์ . แหล่งที่มา : http://www.mis.moe.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=557&Itemid=113. . (2556). จานวนนกั เรียน นักศึกษา ในระบบ จาแนกรายสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2556. (ออนไลน์). แหล่งท่ีมา : http://www.mis.moe.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=557&Itemid=113. . (2555). จานวนนกั เรยี น จาแนกตามสังกดั ชนั้ ปี ปีการศกึ ษา 2555 (ประมวลผลลา่ สุด 25 ธ.ค.55). (ออนไลน์). แหล่งทมี่ า : http://www.mis.moe.go.th/index.php? option=com_content&view=article&id=557&Itemid=113. . (2554). จานวนนกั เรียนทุกชนั้ ปี จาแนกรายสงั กดั ปกี ารศกึ ษา 2554. (ออนไลน)์ . แหล่งทม่ี า : http:// www.mis.moe.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=557&Itemid=113. . (2553). จานวนนักเรยี น รายสงั กัด รายจงั หวดั ปกี ารศึกษา 2553. (ออนไลน)์ . แหลง่ ที่มา : http:// www.mis.moe.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=557&Itemid=113. . (2552). จานวนนกั เรยี นนักศึกษา อาจารย์ รายสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2552. (ออนไลน์). แหลง่ ทม่ี า : http://www.mis.moe.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=557&Itemid=113. ราชกจิ จานเุ บกษา. (2560). รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560. (ออนไลน์). แหล่งที่มา http:// www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/A/040/1.PDF. มูลนิธพิ ฒั นางานผสู้ ูงอายุ. (2558). สังคมผสู้ ูงอายโุ ดยสมบูรณ์ (Aging Society). (ออนไลน)์ . แหล่งท่ีมา : https:// fopdev.or.th/สังคมผสู้ ูงอายโุ ดยสมบู/ ธนาคารแหง่ ประเทศไทย. (2561). เครอื่ งช้เี ศรษฐกจิ มหภาคของไทย 1. (ออนไลน์). แหลง่ ที่มา : http:// www2.bot.or.th/statistics/ReportPage.aspx?reportID=409 พงศน์ คร โภชากรณ.์ (2559). New S-Curve/Startup เมลด็ พนั ธุแ์ หง่ อนาคต. (ออนไลน)์ . แหล่งท่ีมา : http:// m.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1468684014. ศนู ยเ์ ทคโนโลยอี ิเลก็ ทรอนิกส์และคอมพิวเตอร.์ (2560). โครงการสารวจข้อมูลอินเตอร์เน็ทและศึกษามลู คา่ ตลาดสือ่ สาร ประเทศไทย. (ออนไลน์). แหล่งทมี่ า : http://webstats.nbtc.go.th/netnbtc/INTERNETUSERS.php สานกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา. (2559). นกั ศึกษารวม 2559 ภาคเรียนที่ 1 ในสถาบนั อดุ มศึกษาท้งั หมด จาแนกตาม สถาบนั / กลุ่มสถาบนั / เพศ / ระดบั การศึกษา / ชอ่ื สาขาวชิ า / กลมุ่ สาขาวชิ าของ UNESSCO / (ISCED_NAME). (ออนไลน์). แหลง่ ท่มี า : http://www.info.mua.go.th/information/index.php. . (2558). นกั ศึกษารวม 2558 ภาคเรียนที่ 1 ในสถาบนั อดุ มศึกษาท้งั หมด จาแนกตาม สถาบนั / กล่มุ สถาบัน / เพศ / ระดับการศึกษา / ช่ือสาขาวชิ า / กลุ่มสาขาวชิ าของ UNESSCO / (ISCED_NAME). (ออนไลน)์ . แหลง่ ที่มา : http://www.info.mua.go.th/information/index.php.

127 บรรณานุกรม (ต่อ) . (2557). นักศึกษารวม 2557 ภาคเรียนท่ี 1 ในสถาบันอุดมศึกษาทงั้ หมดจาแนกตาม สถาบนั / กล่มุ สถาบนั / เพศ / ระดบั การศึกษา / คณะ / ชือ่ สาขาวิชา. (ออนไลน์). แหล่งทมี่ า : http://www.info.mua.go.th/ information/index.php. . (2556). นกั ศกึ ษารวม 2556 ภาคเรยี นที่ 1 ในสถาบนั อดุ มศึกษาทง้ั หมดจาแนกตาม สถาบนั / กล่มุ สถาบนั / เพศ / ระดับการศกึ ษา / คณะ / ชอื่ สาขาวชิ า / กลุม่ สาขาวชิ าของ UNESSCO. (ออนไลน์). แหลง่ ที่มา : http:// www.info.mua.go.th/information/index.php. . (2555). นักศกึ ษารวม 2555 ภาคเรียนท่ี 1 ในสถาบันอุดมศกึ ษาทง้ั หมดจาแนกตาม สถาบนั / กลุม่ สถาบนั / เพศ / ระดบั การศึกษา / คณะ / ชอ่ื สาขาวชิ า / กลมุ่ สาขาวชิ าของ UNESSCO. (ออนไลน)์ . แหล่งที่มา : http:// www.info.mua.go.th/information/index.php. . (2554). นกั ศกึ ษารวม 2554 ภาคเรียนที่ 1 ในสถาบันอุดมศกึ ษาทง้ั หมดจาแนกตาม สถาบนั / เพศ / ระดบั การศกึ ษา / คณะ / กล่มุ สาขาวชิ าของ UNESSCO. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.info.mua.go.th/ information/index.php. . (2553). นกั ศกึ ษารวม 2553 ภาคเรียนที่ 1 ในสถาบนั อุดมศกึ ษาทงั้ หมด จาแนกตาม สถาบนั / กลุ่มสถาบนั / ระดับการศึกษา / คณะ / กลุ่มสาขาวชิ าของ UNESSCO. (ออนไลน์). แหลง่ ที่มา : http:// www.info.mua.go.th/information/index.php. . (2552). นกั ศึกษารวม 2552 ภาคเรยี นที่ 1 ในสถาบนั อุดมศกึ ษาท้งั หมดจาแนกตาม สถาบนั / กลมุ่ สถาบนั / เพศ / ระดับการศึกษา / คณะ / ชือ่ สาขาวิชา. (ออนไลน)์ . แหล่งทม่ี า : http://www.info.mua.go.th/ information/index.php. สานักงานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา. สานักนโยบายและแผนการอดุ มศึกษา. (2558). การจัดทาแผนพฒั นาการศึกษา ระดับอดุ มศกึ ษา. การประชุมคณะอนุกรรมการกอบแผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 15 ปี (พ.ศ. 2560 –2574) และ แผนพัฒนาการศกึ ษาระดับอดุ มศกึ ษา ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 260 –2564). กรงุ เทพมหานคร. . (2559). การจัดทาแผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 15 ปี ฉบบั ที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2574). การประชุมคณะอนุกรรมการ จดั ทาแผนรา่ งแผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 15 ปี ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2560 – 2574). กรุงเทพมหานคร. . สานกั สง่ เสรมิ และพฒั นาศักยภาพนกั ศึกษา. (2559). รายงานผลการสารวจข้อมูลเกย่ี วกบั การส่งเสรมิ และพัฒนา ระบบบริการเพื่อรองรับนักเรียน นิสิต นักศึกษาพิการในสถาบันอุดมศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการ อุดมศกึ ษา. กรงุ เทพมหานคร. สานกั งานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมแหง่ ชาติ. (2560). ดชั นวี ิทยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยีของประเทศไทย ปี 2559 - 2560. (ออนไลน์). แหลง่ ท่มี า : http://stiic.sti.or.th/wp-content/ uploads/2017/10/PDFsam_merge.pdf. สานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาต.ิ (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564). (ออนไลน)์ . แหล่งทม่ี า : http://www.nesdb.go.th/ewt_dl_link.php? nid=6422. สานกั งานเพอ่ื การพัฒนาระเบียงเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวันออก. (2561). โครงการพฒั นาระเบียงเศรษฐกจิ พเิ ศษภาค ตะวันออก (EEC). (ออนไลน์) แหลง่ ท่มี า : http://www.eeco.or.th. สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579. (ออนไลน)์ . แหล่งท่ีมา : http://www.onec.go.th/index.php/page/category/CAT0000018.

128 บรรณานกุ รม (ต่อ) สานักงานสถติ แิ หง่ ชาติ. (2560). การสารวจภาวะการทางานของประชากร มถิ นุ ายน 2560. (ออนไลน)์ . แหลง่ ทีม่ า : http://www.nso.go.th/sites/2014/Lists/Infographic/Attachments/25/เดือนมถิ ุนายน60เผยแพร.่ jpg. Thailand Competitiveness. (2560). ผลการจัดอันดบั ขดี ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ประจาปี 2560 โดย IMD World Competitiveness Center. (Online). from : http://thailandcompetitiveness.org/ topic_detail.php?lang=Th&ps=70. IMD. (2017). IMD World Digital Competitiveness Yearbook 2017. (Online). from : https://www.imd.org/ wcc/world-competitiveness-center-rankings/world-digital-competitiveness-rankings-2017/. KOF Swiss Economic Institute. (2018). KOF Globalization Index. (Online). from : http:// globalization.kof.ethz.ch/media/filer_public/2017/04/19/rankings_2017.pdf. The World Bank. (2017). World Bank Open Data. (Online). from : http://www.worldbank.org/. United Nation DESA /Population Division. (2017). World Population Prospects. (Online). from : https:// esa.un.org/unpd/wpp/Publications/Files/ WPP2017_KeyFindings.pdf. World Economic Forum. (2016). What are the 21st-century skills every student needs?. (Online). from : https://www.weforum.org/agenda/2016/03/21st-century-skills-future-jobs-students/. . (2016). Is online learning the future of education?. (Online). from : https://www.weforum.org/ agenda/2016/09/is-online-learning-the-future-of-education/. . (2016). The Networked Readiness Index 2016. (Online). from : http://reports.weforum.org/ global-information-technology-report-2016/1-1-the-networked-readiness-index-2016/. Worldometers. (2017). Countries in the world by population. (Online). from : http:// www.worldometers.info/world-population/population-by-country/. Committed to connecting the world. (2016). Measuring The Information Society Report 2016. (Online). from : http://www.itu.int/en/ITU-D/Statistics/Documents/publications/misr2016/MISR2016- w4.pdf. Internet World Stats. (2018). World Internet Users and 2018 Population Stats. (Online). from : http:// www.internetworldstats.com/stats.htm.

129 ภาคผนวก

130 คำส่ังคณะกรรมกำรกำรอุดมศกึ ษำ ที่ 1/2558 เรอ่ื ง กำรแตง่ ตั้งคณะอนกุ รรมกำรกรอบแผนอดุ มศกึ ษำระยะยำว 15 ปี ฉบบั ท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2574) และแผนพฒั นำกำรศกึ ษำระดับอุดมศึกษำ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ................................. ด้วยคณะกรรมกำรกำรอดุ มศึกษำ ในกำรประชมุ คร้งั ที่ 2/2558 เมื่อวันที่ 11 กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2558 ได้มี มติแต่งต้ังคณะอนุกรรมกำรกรอบแผนอุดมศึกษำระยะยำว 15 ปี ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2574) และแผนพัฒนำ กำรศึกษำระดบั อุดมศึกษำ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) เป็นอนุกรรมกำรเฉพำะกจิ เพอ่ื ปฏบิ ัตหิ นำ้ ที่ดังตอ่ ไปน้ี 1. ทบทวนกรอบแผนอดุ มศกึ ษำระยะยำว 15 ปี ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2551 - 2565) และดำเนินกำรจัดทำร่ำง กรอบแผนอดุ มศึกษำระยะยำว 15 ปี ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2574) รวมทั้งแผนพัฒนำกำรศึกษำระดับอุดมศึกษำ ฉบับ ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) โดยคำนึงถึงหลกั กำรอุดมศึกษำและกำรเปลี่ยนแปลงบริบทอดุ มศึกษำและบรบิ ทโลก 2. เสนอแต่งตงั้ คณะอนุกรรมกำรทำงำนเพ่อื ปฏิบตั ภิ ำรกิจใหบ้ รรลวุ ตั ถุประสงคต์ ำมควำมจำเปน็ 3. ปฏบิ ตั ิหนำ้ ที่อืน่ ๆ ตำมทีค่ ณะกรรมกำรกำรอดุ มศึกษำมอบหมำย ฉะนั้น อำศัยอำนำจตำมควำมในมำตรำ 18 แห่งพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำร กระทรวงศกึ ษำธิกำร พ.ศ. 2546 จงึ แต่งตัง้ คณะอนุกรรมกำรกรอบแผนอดุ มศึกษำระยะยำว 15 ปี ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2574) และแผนพัฒนำกำรศึกษำระดับอุดมศึกษำ ฉบับท่ี 12 (พ. ศ. 2560 - 2564) เพื่อปฏิบัติหน้ำท่ีดังกล่ำว โดยมี องค์ประกอบดังน้ี 1. นำยสุเมธ แยม้ นุ่น ประธำนอนกุ รรมกำร 2. รองเลขำธกิ ำรคณะกรรมกำรกำรอดุ มศกึ ษำ รองประธำนอนกุ รรมกำร 3. ศำสตรำจำรยว์ ชิ ยั ริ้วตระกลู อนกุ รรมกำร 4. ศำสตรำจำรยว์ ีระศกั ด์ิ จงสวู่ วิ ัฒนว์ งศ์ อนุกรรมกำร 5. ศำสตรำจำรย์สุริชยั หวนั แก้ว อนกุ รรมกำร 6. ศำสตรำจำรยเ์ กียรติคุณกิตติชยั วัฒนำนกิ ร อนุกรรมกำร 7. ศำสตรำจำรย์พงษ์รกั ษ์ ศรีบัณฑิตมงคล อนุกรรมกำร 8. ศำสตรำจำรยส์ วุ ิมล ว่องวำณชิ อนกุ รรมกำร 9. ศำสตรำจำรยก์ ฤษณะ สำครกิ อนุกรรมกำร 10. ศำสตรำจำรยว์ ุฒิชัย ธนำพงศธร อนุกรรมกำร 11. ศำสตรำจำรย์ศันสนยี ์ ไชยโรจน์ อนุกรรมกำร 12. รองศำสตรำจำรยน์ ำยุทธ สงค์ธนำพทิ ักษ์ อนกุ รรมกำร 13. รองศำสตรำจำรย์ก้องกติ ิ พูสวัสดิ์ อนุกรรมกำร 14. รองศำสตรำจำรยป์ ัทมำวดี โพชนุกลู อนกุ รรมกำร 15. รองศำสตรำจำรย์รัชตว์ รรณ กำญจนปญั ญำคม อนกุ รรมกำร

131 16. ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ทศพล อำรีนจิ อนกุ รรมกำร 17. ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ธติ ิ บวรรตั นำรกั ษ์ อนุกรรมกำร 18. นำยชวลิต หมน่ื นุช อนุกรรมกำร 19. นำยธนติ สรณ์ จิระพรชยั อนกุ รรมกำร 20. ผอู้ ำนวยกำรสำนักนโยบำยและแผนกำรอุดมศกึ ษำ อนุกรรมกำรและเลขำนุกำร 21. เจำ้ หนำ้ ทีส่ ำนักนโยบำยและแผนกำรอดุ มศึกษำ ผชู้ ว่ ยเลขำนุกำร 22. เจ้ำหนำ้ ทส่ี ำนักนโยบำยและแผนกำรอดุ มศึกษำ ผูช้ ่วยเลขำนุกำร ท้งั น้ี ตงั้ แต่วันท่ี 11 กุมภำพนั ธ์ พ.ศ. 2558 เปน็ ต้นไป สัง่ ณ วันที่ 27 กมุ ภำพันธ์ พ.ศ. 2558 (รองศำสตรำจำรย์ คณุ หญงิ สุมณฑำ พรหมบญุ ) ประธำนกรรมกำร คณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ

132 คำส่ังคณะกรรมกำรกำรอดุ มศกึ ษำ ที่ 5/2559 เร่ือง แตง่ ตงั้ คณะอนุกรรมกำรกรอบแผนอุดมศกึ ษำระยะยำว 15 ปี ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2574) และแผนพฒั นำกำรศกึ ษำระดับอุดมศึกษำ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) (เพ่ิมเติม) ................................. อนุสนธิคำสั่งคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำที่ 1/2558 ลงวันที่ 27 กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2558 เรื่อง แต่งต้ังคณะอนุกรรมกำรกรอบแผนอุดมศึกษำระยะยำว 15 ปี ฉบบั ที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2574) และแผนพัฒนำ กำรศกึ ษำระดบั อดุ มศกึ ษำ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) และมตคิ ณะกรรมกำรกำรอดุ มศึกษำครงั้ ที่ 2/2559 เมอื่ วนั ท่ี 10 กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2559 ใหค้ วำมเห็นชอบแต่งตง้ั เลขำธกิ ำรคณะกรรมกำรกำรอุดมศกึ ษำ เป็นอนุกรรมกำร และท่ปี รกึ ษำ เพ่ิมเตมิ อำศยั อำนำจตำมควำมในมำตรำ 18 แห่งพระรำชบัญญตั ิระเบยี บบรหิ ำรรำชกำรกระทรวงศึกษำธิกำร พ.ศ. 2546 จงึ แตง่ ตั้งเลขำธกิ ำรคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ เป็นอนกุ รรมกำรและทีป่ รกึ ษำ เพ่มิ เติม ทง้ั น้ี ตั้งแตว่ ันที่ 10 กมุ ภำพนั ธ์ พ.ศ. 2559 สัง่ ณ วนั ท่ี 26 กุมภำพนั ธ์ พ.ศ. 2559 รองศำสตรำจำรย์ คุณหญงิ สุมณฑำ พรหมบุญ) ประธำนกรรมกำร คณะกรรมกำรกำรอดุ มศกึ ษำ

133 คำส่งั คณะกรรมกำรกำรอดุ มศึกษำ ที่ 27/2559 เร่ือง แตง่ ตั้งคณะอนุกรรมกำรกรอบแผนอดุ มศึกษำระยะยำว 15 ปี ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2574) และแผนพฒั นำกำรศกึ ษำระดบั อุดมศึกษำ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) (เพม่ิ เติม) ................................. อนุสนธคิ ำส่ังคณะกรรมกำรกำรอดุ มศกึ ษำท่ี 1/2558 ลงวันท่ี 27 กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2558 เรื่อง แต่งต้ัง คณะอนุกรรมกำรกรอบแผนอุดมศึกษำระยะยำว 15 ปี ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2574) และแผนพัฒนำกำรศึกษำ ระดับอุดมศึกษำ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) และมติคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำครั้งที่ 7/2559 เม่ือวันท่ี 13 กรกฎำคม พ.ศ. 2559 ให้ควำมเห็นชอบแต่งต้ังอนุกรรมกำรกรอบแผนอุดมศึกษำระยะยำว 15 ปี ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2574) และแผนพัฒนำกำรศกึ ษำระดับอดุ มศกึ ษำ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) เพ่ิมเตมิ ดงั นี้ 1. รองศำสตรำจำรย์ปำริฉตั ร หงสประภำส อนุกรรมกำร 2. รองศำสตรำจำรยเ์ อกสทิ ธิ์ สมสขุ อนกุ รรมกำร 3. ผู้ช่วยศำสตรำจำรยณ์ รงค์ พุทธิชวี นิ อนกุ รรมกำร 4. ผู้ชว่ ยศำสตรำจำรย์รฐั ชำติ มงคลนำวิน อนุกรรมกำร 5. นำยณฐั พงษ์ พัฒนพงษ์ อนกุ รรมกำร 6. ผ้แู ทนสำนักงำนเลขำธิกำรสภำกำรศกึ ษำ อนกุ รรมกำร 7. ผูแ้ ทนสำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรอำชีวศกึ ษำ อนกุ รรมกำร 8. ผแู้ ทนสำนกั งบประมำณ อนุกรรมกำร อำศยั อำนำจตำมควำมในมำตรำ 18 แห่งพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรกระทรวงศึกษำธิกำร พ.ศ. 2546 จึงแต่งตั้งอนุกรรมกำรกรอบแผนอุดมศึกษำระยะยำว 15 ปี ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2574) และ แผนพฒั นำกำรศึกษำระดบั อุดมศึกษำ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) เพมิ่ เตมิ จำนวน 8 รำย ขำ้ งตน้ ท้งั น้ี ตง้ั แต่วนั ที่ 13 กรกฎำคม พ.ศ. 2559 ส่ัง ณ วันท่ี 5 สงิ หำคม พ.ศ. 2559 (รองศำสตรำจำรย์ คณุ หญิงสุมณฑำ พรหมบญุ ) ประธำนกรรมกำร คณะกรรมกำรกำรอดุ มศกึ ษำ

134 คำส่ังคณะกรรมกำรกำรอดุ มศึกษำ ท่ี 16/2558 เรื่อง กำรแต่งต้งั คณะอนุกรรมกำรจดั ทำร่ำงแผนอุดมศึกษำระยะยำว 15 ปี ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2574) ................................. ด้วยคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ ในกำรประชุมคร้ังที่ 12/2558 เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกำยน พ.ศ. 2558 ได้มมี ติแต่งตั้งคณะอนุกรรมกำรจัดทำร่ำงแผนอุดมศึกษำระยะยำว 15 ปี ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2574) เป็นอนุกรรมกำร เฉพำะกิจ เพื่อปฏบิ ัตหิ นำ้ ทด่ี งั ต่อไปนี้ 1. สงั เครำะห์ข้อมูลแนวโน้มกำรเปลี่ยนแปลงสภำพแวดล้อมภำยนอกและสภำพแวดลอ้ มภำยในที่ กระทบอดุ มศกึ ษำ 2. ดำเนนิ กำรจัดทำรำยละเอียดร่ำงแผนอดุ มศกึ ษำระยะยำว 15 ปี ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2574) 3. ปฏิบัติหนำ้ ท่อี ่นื ๆ ตำมทไ่ี ดร้ ับมอบหมำย ฉะนั้น อำศัยอำนำจตำมควำมในมำตรำ 18 แห่งพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำร กระทรวงศึกษำธิกำร พ.ศ. 2546 จงึ แต่งต้งั คณะอนกุ รรมกำรจดั ทำรำ่ งแผนอุดมศึกษำระยะยำว 15 ปี ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2574) โดยมีองคป์ ระกอบ ดงั นี้ 1. ศำสตรำจำรยว์ ิชัย ริ้วตระกลู ประธำนอนกุ รรมกำร 2. ศำสตรำจำรยศ์ ันสนยี ์ ไชยโรจน์ อนุกรรมกำร 3. ศำสตรำจำรย์ก้องกิติ พูสวสั ด์ิ อนกุ รรมกำร 4. รองศำสตรำจำรย์รัชต์วรรณ กำญจนปัญญำคม อนุกรรมกำร 5. รองศำสตรำจำรย์ปำริฉัตร หงสประภำส อนกุ รรมกำร 6. ผูช้ ว่ ยศำสตรำจำรย์ธติ ิ บวรรตั นำรกั ษ์ อนุกรรมกำร 7. ผชู้ ่วยศำสตรำจำรยร์ ัฐชำติ มงคลนำวิน อนกุ รรมกำร 8. นำยณัฐพงษ์ พัฒนพงษ์ อนุกรรมกำร 9. ผอู้ ำนวยกำรสำนักนโยบำยและแผนกำรอดุ มศึกษำ อนุกรรมกำรและเลขำนกุ ำร 10. เจ้ำหน้ำที่สำนักนโยบำยและแผนกำรอดุ มศกึ ษำ ผูช้ ่วยเลขำนกุ ำร 11. เจ้ำหนำ้ ทส่ี ำนักนโยบำยและแผนกำรอุดมศึกษำ ผ้ชู ่วยเลขำนุกำร ทั้งน้ี ตง้ั แต่วันท่ี 26 พฤศจิกำยน พ.ศ. 2558 เป็นต้นไป สงั่ ณ วันท่ี 18 ธนั วำคม พ.ศ. 2558 (รองศำสตรำจำรย์ คณุ หญิงสมุ ณฑำ พรหมบญุ ) ประธำนกรรมกำร คณะกรรมกำรกำรอดุ มศกึ ษำ

135 คำส่ังคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ ท่ี 28/2559 เรอื่ ง แตง่ ตั้งอนกุ รรมกำรจัดทำรำ่ งแผนอดุ มศึกษำระยะยำว 15 ปี ฉบบั ท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2574) (เพิม่ เตมิ ) ................................. อนุสนธิคำสั่งคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำที่ 16/2558 ลงวันที่ 18 ธันวำคม พ.ศ. 2558 เร่ือง แต่งตั้ง คณะอนุกรรมกำรจัดทำร่ำงแผนอุดมศึกษำระยะยำว 15 ปี ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2574) และมติคณะกรรมกำร กำรอุดมศึกษำ คร้ังที่ 7/2559 เม่ือวันท่ี 13 กรกฎำคม พ.ศ. 2559 ให้ควำมเห็นชอบแต่งตั้งอนุกรรมกำรจัดทำร่ำงแผน อดุ มศึกษำระยะยำว 15 ปี ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2574) เพมิ่ เติม ดงั น้ี 1. รองศำสตรำจำรย์เอกสิทธ์ิ สมสขุ อนกุ รรมกำร 2. ผชู้ ว่ ยศำสตรำจำรย์ณรงค์ พทุ ธิชวี นิ อนุกรรมกำร 3. ผ้แู ทนสำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำกำรศกึ ษำ อนุกรรมกำร 4. ผแู้ ทนสำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรอำชวี ศกึ ษำ อนุกรรมกำร 5. ผู้แทนสำนกั งบประมำณ อนุกรรมกำร ฉะนั้น อำศัยอำนำจตำมควำมในมำตรำ 18 แห่งพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำร กระทรวงศึกษำธิกำร พ.ศ. 2546 จึงแต่งตั้งอนุกรรมกำรจัดทำร่ำงแผนอุดมศึกษำระยะยำว 15 ปี ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2574) เพ่ิมเติม จำนวน 5 รำยข้ำงต้น ทัง้ นี้ ต้ังแตว่ นั ท่ี 13 กรกฎำคม พ.ศ. 2559 สง่ั ณ วนั ที่ 5 สิงหำคม พ.ศ. 2559 (รองศำสตรำจำรย์ คุณหญงิ สมุ ณฑำ พรหมบญุ ) ประธำนกรรมกำร คณะกรรมกำรกำรอุดมศกึ ษำ