Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580)

แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580)

Published by รัตนา อนันต์ชื่น, 2021-05-21 01:38:53

Description: แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580)

Search

Read the Text Version

37 แผนภาพ 2.30 ข้อมูลผลงานตีพมิ พ์ระดับนานาชาตขิ อง 20 มหาวทิ ยาลัย ตาราง 2.4 ข้อมลู ผลงานตพี ิมพร์ ะดบั นานาชาตขิ อง 20 มหาวิทยาลัย แผนอดุ มศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

38 นอกจากน้ี แผนภาพ 2.30 สะท้อนให้เห็นถึง คุณภาพของผลงานวิจัย โดยดูจาก Citation Count และ Field-weighted citation ซึ่งตัวช้ีวัดประเภทหลังน้ี เป็นการวิเคราะห์คุณภาพโดยเปรียบเทียบกับ World Average ซ่ึงคือ 1.0 ในแต่ละสาขาวิชาที่มีการตีพิมพ์ผลงาน สาหรับมหาวิทยาลัยไทยนั้น มีเพียง 3 มหาวิทยาลัยท่ี Field- weighted Citation สูงกว่า World Average คือ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าธนบุรี และ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาถึงศักยภาพการวิจัยตาม QS World University Ranking และ U.S. News Ranking ตามลาดับ จะพบว่า มีเพียง 2 มหาวิทยาลัยที่ติดอันดับหน่ึงในร้อยในระดับนานาชาติ ได้แก่ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ อยอู่ นั ดบั ที่ 47 จากท้งั หมด 50 มหาวทิ ยาลัย ในสาขาเกษตรศาสตร์ และมหาวทิ ยาลัยมหิดล ติดอนั ดับหน่งึ ในร้อย ในสาขา Biomedical Science (Microbiology & Immunology) สาหรับฐานขอ้ มูลอ่ืน เช่น TCI ซ่งึ เป็นฐานขอ้ มลู ระดบั ชาติ (แผนภาพ 2.31) พบว่า มหาวิทยาลัยระดับกลาง ส่วนใหญ่เผยแพรง่ านวิจยั ผ่านวารสารทอี่ ยู่บนฐานขอ้ มลู น้ี อยา่ งไรก็ตามสาหรับมหาวทิ ยาลยั ไทยท้ังหมดมีเพียงไม่ถึง 10 มหาวทิ ยาลัยทม่ี ผี ลงานตีพมิ พท์ งั้ ส้ินมากกว่า 2,000 ฉบับในฐานข้อมูล TCI (ปี พ.ศ. 2559) และมหาวิทยาลัยเหล่าน้ีเป็น สมาชิกของมหาวิทยาลัยในกลุ่มของสมาคมท่ีประชุมมหาวิทยาลัย (สมาคม ทปอ.) ส่วนมหาวิทยาลัยราชภัฏ และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลน้ัน ยังมีผลงานตีพิมพ์จานวนน้อยเช่นกันในฐานข้อมูล TCI มหาวิทยาลัยกลุ่มใหม่ ดงั กลา่ วมักนยิ มเผยแพรง่ านวิจัยในรปู ของรายงานผลงานวจิ ยั ซ่งึ ไม่ไดผ้ ่านระบบ Peer Review ในส่วนของ Citation Index ซ่ึงเป็นตัวช้ีวัดที่บ่งช้ีถึงคุณภาพของผลงานวิจัยน้ัน พบว่ามีเพียง 9 มหาวิทยาลัย วิจัยเท่าน้ันท่ีมีจานวน Cumulative Citation Index เกิน 10,000 ในฐานข้อมูล SCOPUS ในปี พ.ศ. 2559 (แผนภาพ 2.32) มหาวิทยาลัยอื่น นั้นยังมี Citation index ท่ีไม่สูงนัก ทาให้เห็นถึงโอกาสพัฒนาของมหาวิทยาลัยไทยในเร่ือง ของคุณภาพผลงานซ่ึงทั้งจานวนและคุณภาพผลงานวิจัยส่งผลถึงการจัดอันดับมหาวิทยาลัยและการจัดอันดับ ขีดความสามารถในการแขง่ ขันของ Intentional Institute for Management (IMD) และ World Economic Forum อกี ด้วย แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

39 แผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนภาพ 3.31 ผลการเปรยี บเทยี บจานวนส่งิ ตพี มิ พ์ทางวชิ าการของมหาวทิ ยาลัยของไทยจากฐานขอ้ มลู ISI, SCOPUS และ TCI (ธนั วาคม 2559)

40 แผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนภาพ 3.32 ผลการเปรยี บเทียบจานวนการอา้ งองิ ของสิ่งตพี มิ พ์ทางวชิ าการของมหาวทิ ยาลัยไทยจากฐานขอ้ มูล ISI, SCOPUS และ TCI (ธนั วาคม 2559)

41 หากพิจารณาในแง่การเผยแพร่งานวิจัยในรูปของการจดทะเบียนสิทธิบัตรไทยจากรายงานของกรมทรัพย์สิน ทางปญั ญา กระทรวงพาณชิ ย์ เม่ือปี พ.ศ. 2559 พบว่า มหาวิทยาลยั ทม่ี สี ทิ ธบิ ัตรมากท่ีสุด ได้แก่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รองลงมาเป็น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าธนบุรี และ มหาวิทยาลัยมหิดล ตามลาดับ (แผนภาพ 2.33) อย่างไรก็ตาม จานวนสิทธิบัตรเหล่าน้ีมีสิทธิบัตรประเภทสิทธิบัตร การออกแบบปะปนอยู่ และการใช้ประโยชน์จากสิทธิบัตรเหล่านี้ยังอยู่ในระดับต่า เมื่อทาการค้นหาข้อมูลสิทธิบัตร ระดบั นานาชาตขิ องมหาวทิ ยาลัยไทยแล้ว พบว่า ยงั มจี านวนผลงานการจดทะเบียนจานวนน้อยมาก และ มหาวิทยาลัย ท่ีมีสิทธิบัตรระดับนานาชาติมากที่สุด ได้แก่ มหาวิทยาลัยมหิดล รองลงมาเป็น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ตามลาดับ (แผนภาพ 2.34) อย่างไรก็ตาม สิทธิบัตรอาจไม่ใช่ตัวช้ีวัดท่ีดีสาหรับงานวิจัย ที่สามารถถ่ายทอดเทคโนโลยีทางด้านการเกษตรและอาหารซึง่ มหาวิทยาลยั ส่วนใหญม่ กั ถา่ ยทอดเทคโนโลยีท่ีมีทรัพย์สิน ทางปัญญาอยใู่ นประเภทความลับทางการค้า (Trade Secret) ใหก้ บั บรษิ ัทเอกชนในสาขาดังกลา่ ว แผนภาพ 2.33 ข้อมูลการยื่นจดสิทธบิ ตั รจากกรมทรัพยส์ ินทางปญั ญา กระทรวงพาณชิ ย์ (พ.ศ. 2559) แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

42 จานวนคาขอสทิ ธิบตั รและสิทธิบตั รที่รบั จดทะเบยี นแล้วในตา่ งประเทศของมหาวทิ ยาลัยไทย แผนภาพ 2.34 รายละเอยี ดดา้ นคาขอสทิ ธิบตั ร จานวนสทิ ธบิ ตั รที่ได้รบั การจดทะเบยี นและความหลากหลายของประเภทสทิ ธบิ ตั รท่ยี ื่นคาขอ (ขอ้ มูลจากฐานขอ้ มูลนานาชาติ Patent Lens มกราคม 2560) จากการพิจารณาศักยภาพงานวิจัยและศักยภาพของมหาวิทยาลัยจากการจัดอันดับทางสาขาวิชา (Fields/ Subjects) ตามที่กลา่ วมาข้างตน้ จะพบว่า 3 มหาวิทยาลัยท่ีมีผลงานวิจัยท่ีได้รับการยอมรับในระดับสากลคือ มหาวิทยาลัยมหิดล (อันดับที่ 86 และ 87 ตามลาดับในสาขา Immunology และ Microbiology โดย U.S. News Ranking) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (อันดับที่ 47 ในสาขา Agriculture โดย QS Ranking) และจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย อย่างไรก็ตาม ในยุคท่ีการวิจัยเป็น Multidisciplinary / Transdisciplinary เช่นในปัจจุบัน ทั้ง 3 มหาวิทยาลัยยังต้องทางานวิจัยร่วมกับสถาบันการศึกษาอ่ืน ท่ีมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านเช่นกัน เช่น มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เชี่ยวชาญในสาขาวิชาฟิสิกส์ พลังงานและมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นเชี่ยวชาญ ด้านปศุสัตว์และอาหาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เชี่ยวชาญในด้านวัสดุศาสตร์ เร่ืองท่ีมีความจาเพาะกับพื้นที่ และ กลมุ่ ชาติพนั ธ์ุ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรเี ชยี่ วชาญในสาขาวิชาหุ่นยนตแ์ ละเคมีวิศวกรรม มหาวิทยาลัย สุรนารีเช่ียวชาญในสาขาฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยศิลปากรเช่ียวชาญในสาขาวิชาศิลปะและ Creative Arts มหาวิทยาลัย สวนดุสิตเชี่ยวชาญในสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรเช่ียวชาญในสาขาการทดสอบสารสกัดจาก ธรรมชาติท่ีมีฤทธิ์ทางชีวภาพ และความเป็นพิษในสัตว์ทดลองรวมถึงด้านวิศวกรรมทางการแพทย์ และมหาวิทยาลัย แม่โจ้เชี่ยวชาญในสาขาเกษตรกรรมท่ีมีผลกระทบทางเศรษฐกิจสูง เป็นต้น ท่ีสาคัญท่ีสุดซ่ึงเป็นประเด็นท่ีจะทาให้ การกระจายการศึกษาและการถา่ ยทอดองค์ความรตู้ ลอดจนเทคโนโลยไี ปส่ภู าคส่วนตา่ ง ในประเทศ คอื มหาวทิ ยาลัย ควรทางานแบบ Agenda-based > Program-based > Projected-based ในรูปของ “Hub and Spokes” โดยมี มหาวิทยาลัยท่ีมีความเข้มแข็งเป็น Hub และทางานร่วมกับมหาวิทยาลัยกลุ่มใหม่ (มหาวิทยาลัยราชภัฏและ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล) ในพ้ืนที่เพื่อสร้างนวัตกรรมและแก้ปัญหาให้ตรงกับอุปสงค์ (Demand) ตอบสนอง นโยบาย “Inclusive Society” ของรฐั บาล (แผนภาพ 2.35) แผนอดุ มศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

43 แผนภาพ 2.35 Platfrom ตามวาระของชาติ นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยยังมีความร่วมมือกับภาคการผลิตน้อยมาก เน่ืองจากมีปัญหาจากการส่ือสาร (Communication Gap) และบุคลากรวิจัยของมหาวิทยาลัยยังมิได้มีปฏิสัมพันธ์กับภาคเอกชนเพื่อสร้างโจทย์ร่วมกัน ต้ังแต่ต้นน้า อีกท้ังมหาวิทยาลัยและภาคเอกชนมีความเช่ียวชาญน้อยมากใน Translation Research Technology ซึ่งทาให้ประเทศไทยยังไม่สามารถก้าวผ่าน “Valley of Death” ไปได้ในหลายอุตสาหกรรม อีกท้ังประเทศไทยยังต้อง พฒั นา Ecosystem สาหรับการสร้างนวตั กรรมอกี มาก แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

44 การสร้างเครือข่ายการวิจัยของมหาวิทยาลัยไทยเพื่อสร้างนวัตกรรมและตอบสนอง ตอ่ ปัญหาเศรษฐกิจและสังคม จากการทโ่ี ลกยุคปจั จุบนั ผลักดันให้ผลงานวจิ ยั ของมหาวทิ ยาลัยปรับเปล่ยี นจากการสร้างผลงานวิชาการในรูปแบบ การตีพิมพ์ในวารสาร การจดสิทธิบัตร ไปเป็นการถ่ายทอดเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมเพ่ือส่งเสริมภาคการผลิตนั้น ทาให้มหาวิทยาลัยไทยปรับตัวในยุคหลัง “โครงการมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ” ของสกอ. โดยมีการสร้างเครือข่ายการวิจัย ในรูปแบบของการทางานเป็นคลสั เตอรก์ ารวิจยั และตอบโจทย์ในลักษณะ Agenda-based และ Program-based เครือข่าย ของมหาวิทยาลัยท่ีสร้างผลกระทบ (Impact) อย่างแท้จริงได้แก่ เครือข่าย Research University Network หรือ RUN (แผนภาพ 2.36 และแผนภาพ 2.37) ซึ่งประกอบด้วยมหาวิทยาลัยใหญ่ 7 มหาวิทยาลัย ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยเม่ือวนั ที่ 7 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2558 ไดม้ กี ารลงนามความรว่ มมอื พรอ้ มทงั้ ไดม้ กี ารลงทนุ รว่ ม จากงบประมาณเงินรายได้มหาวิทยาลัยเพ่ือการจัดการเครือข่าย RUN มหาวิทยาลัยละ 5 ล้านบาท ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา RUN ไดม้ ีการสร้างคลัสเตอร์การวจิ ัย 9 ดา้ น คือ คลสั เตอรก์ ารวิจยั ด้านการเกษตร ด้านอาหาร ด้านสขุ ภาพ ด้านวัสดุศาสตร์ ด้านการเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศและภัยพิบัติ ด้านหุ่นยนต์ ด้านการศึกษาทางภูมิภาค ASEAN ด้านพลังงาน และด้านดิจิทัล ต่อมา ในต้นปี พ.ศ. 2560 มหาวทิ ยาลัยนเรศวรยน่ื ความจานงขอเข้าร่วมเป็นสมาชกิ ใหม่ โดยใน MOU ท่ีลงนามเม่ือวนั ที่ 12 มีนาคม 2561 จงึ ทาให้ RUN Phase II เป็นเครอื ข่ายของ 8 มหาวทิ ยาลัย และเพมิ่ เติมคลสั เตอร์โลจิสติกส์เป็นคลัสเตอร์ใหม่ ของการวิจัย แผนภาพ 2.36 เครอื ขา่ ย Research University Network หรือ RUN แผนอดุ มศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

45 แผนภาพ 2.37 ความร่วมมือด้านการวจิ ยั ของเครือข่ายมหาวทิ ยาลัย Research University Network การดาเนนิ การของ RUN นี้มีวัตถปุ ระสงคท์ ่ีประสานความร่วมมอื และสร้างความเข้มแข็งในการวิจัยและพัฒนา เพ่ือเพิ่มศักยภาพด้านการศึกษา สร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน สร้างความร่วมมือกับทุกภาคส่วน และถ่ายทอด องค์ความรู้และเทคโนโลยีสู่ภาคการผลิต ภาคการบริการและสังคม โดยการแบ่งปันทรัพยากรและมุ่งสู่ความเป็นเลิศ ด้านคุณภาพ RUN ยังมีการสร้างเครือข่ายวิจัยกับต่างประเทศ ได้แก่ มหาวิทยาลัยในประเทศนิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย และมาเลเซีย และการรวมตัวของ RUN ในช่วง 3 ปีแรก ส่งผลให้เกิดการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและ การประมูลเงินทุนวิจัยจากโครงการใหญ่ ของรัฐบาล ได้แก่ โครงการ Thailand Grand Challenges โครงการ Supercluster และโครงการ Innovation Hub ของกลมุ่ ประชารัฐ D1 (ทั้งน้ีเปน็ การทางานรว่ มกบั สกอ. และ ทปอ.วจิ ัย) สิ่งสาคัญที่ RUN แตกต่างจากการสร้างเครือข่ายวิจัยปกติท่ีทาเฉพาะในรูปความร่วมมือในด้านการวิจัยและ Resource Sharing นั้น คือ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในด้านการบริหาร ไม่ว่าจะเป็นระดับผู้บริหารระดับสูงของ มหาวทิ ยาลยั หรือบุคลากรสายสนับสนุนทาให้เกิดการพัฒนาการบริหารจัดการด้านวิจัยอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน ในกลมุ่ มหาวทิ ยาลยั เครือขา่ ย มกี ารสรา้ งขีดความสามารถดา้ นการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญาไปจนถึง การสร้าง เครือข่าย University Social Responsibility เมื่อวิเคราะห์ความเข้มแข็งด้านการวิจัยเพื่อสร้างนวัตกรรมแล้วโดยพิจารณาจากการสืบค้นสิทธิบัตร พบว่า มหาวทิ ยาลยั ทเ่ี ปน็ สมาชกิ ของ RUN มศี กั ยภาพสูง โดย 8 มหาวิทยาลยั อยู่ใน 10 อนั ดับแรกของมหาวิทยาลัยท่ีมีจานวน สิทธบิ ัตรสงู สุดในประเทศไทย (แผนภาพ 2.38 - 2.39 กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ ปี พ.ศ. 2560) และ เมือ่ พจิ ารณาจานวนคาขอและสิทธบิ ัตรท่ีจดทะเบียนในตา่ งประเทศของมหาวิทยาลัยไทย จะเห็นว่า มหาวิทยาลัยท่ีเป็น สมาชกิ ของ RUN อยใู่ น อันดบั 4 มหาวทิ ยาลยั แรกทม่ี กี ารจดทรัพยส์ นิ ทางปญั ญาในต่างประเทศมากท่สี ุด อยา่ งไรก็ตาม จานวนทรัพยส์ ินทางปัญญาที่ถกู นาไปใช้จรงิ ของมหาวิทยาลัยไทยยงั อยใู่ นระดับไม่สงู นกั ดูได้จากรายได้ของมหาวทิ ยาลยั ทไ่ี ด้จากการให้ใชส้ ิทธิ์ทางทรัพยส์ นิ ทางปัญญา ซึง่ มหาวิทยาลัยท่ีมรี ายได้สงู สดุ เชน่ มหาวิทยาลัยมหดิ ล หรือจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั ยงั มรี ายไดเ้ ฉล่ียไมถ่ ึง 50 ล้านบาทตอ่ ปี แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

46 แผนภาพ 2.38 จานวนสิทธิบตั รจาแนกตามประเภทท่ีย่นื จดทะเบียนในประเทศไทยโดยมหาวิทยาลยั แผนภาพ 2.39 อตั ราสว่ นร้อยละของสทิ ธบิ ตั ร อนสุ ิทธิบตั ร และสิทธบิ ตั รการออกแบบทย่ี ่นื จดทะเบยี นโดยมหาวทิ ยาลัย แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

47 จากเครือข่าย RUN ส่โู ครงการ Innovation Hub ตามนโยบาย Thailand 4.0 จากการท่ีรัฐบาลได้มีโครงการส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมผ่านทางโครงการประชารัฐ ทาให้มหาวิทยาลัยสามารถ ขอการสนบั สนุนการวิจัยเพื่อสร้างนวัตกรรม โดยผ่านกลุ่มประชารัฐ D1 และมีนโยบายที่จะส่งเสริม 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย จากที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยด้านวิจัย (ทปอ.วิจัย) ซึ่งประกอบด้วยสมาชิก 33 มหาวิทยาลัยภายใต้การนาของ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยกลุ่ม RUN จึงได้อาศัยโมเดล “Hub and Spoke” โดยอาศัยมหาวิทยาลัยท่ีเข้มแข็งเป็น Hub และ รวบรวมนักวจิ ยั ท่ีมคี วามเช่ยี วชาญใน 33 มหาวิทยาลัยและไดเ้ สนอโครงการ Innovation Hub เพ่ือของบประมาณสนับสนนุ จาก กลุ่มพลังประชารัฐ D1 ภายใต้การนาของคุณกานต์ ตระกูลฮุน และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ดร.พิเชฐ ดรุ งคเวโรจน,์ ดร.อรรชกา สบี ุญเรือง และ ดร.สวุ ิทย์ เมษินทรยี ์) โครงการ Innovation Hub ปี พ.ศ. 2560 - 2561 จากการที่รัฐบาล พลเอกประยุทธ์ จันทรโอชา ได้มีดาริให้มีการยกระดับการวิจัยพัฒนาเพ่ือสร้างนวัตกรรม เพ่ิมความสามารถในการแข่งขันของประเทศสู่ Thailand 4.0 นั้น ทางโครงการประชารัฐกลุ่ม D1 จึงได้ให้การสนับสนุน งบประมาณเพอ่ื การวจิ ยั ในระดับ Technology Readiness Level 4 ขึ้นไป (แผนภาพ 2.40) เพ่ือกระตุ้นให้มีการนาผลงานวิจัย ประยุกต์ Proof-of-Concept ไปผลิตเป็น Laboratory Prototype เพ่ือกระตุ้นภาคอุตสาหกรรมให้มาร่วมต่อยอดผลงานวิจัย ไปสู่ผลงานวิจัยเชิงพาณิชย์ งบประมาณทั้งสิ้น 1,416,923,900 บาท สาหรับผู้บริหารโครงการ Innovation Hub น้ี ทางที่ประชุมอธกิ ารบดแี หง่ ประเทศไทยร่วมกับสานกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษาได้มอบหมายใหม้ ีประธานและคณะทางาน ประจา Innovation Hub 5 กลุ่มสาขา ดังน้ี คอื 1. Agriculture and Food 2. Ageing Society 3. Smart City 4. Smart Energy 5. Creative Economy ซ่ึงมีระยะเวลาดาเนินการเพียงปีเศษ โครงการ Innovation Hub นี้เป็นตัวอย่างท่ีดีของการให้ Block Grant แก่ผู้ที่ มีศักยภาพในการบริหารจัดการวจิ ยั ทาใหเ้ กดิ ผลิตผลทมี่ ีนวตั กรรมชนดิ Technology-based จานวนมาก แผนภาพ 2.40 ระดับของ Technology Readiness ในห่วงโซ่การผลิตรวมถึงหนว่ ยงานท่ีเกยี่ วขอ้ ง แผนอดุ มศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

48 การบริหารโครงการ Innovation Hub กระทาในรูปแบบเดียวกันคือ จัดให้มีผู้บริหารโครงการจากมหาวิทยาลัยท่ีมี ความเข้มแข็งที่สุดในกลุ่มสาขา 5 สาขา และให้มีมหาวิทยาลัยภูมิภาคเป็นมหาวิทยาลัยศูนย์ ในการช่วยดูแลโครงการ จากมหาวิทยาลัยอ่ืน ท่ีอยู่ในภูมิภาคเดียวกัน เช่น Ageing Society จะมีมหาวิทยาลัยมหิดลเป็นแกนนา และมีมหาวิทยาลัย อีก 6 แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ และจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั เป็นแกนของแตล่ ะภูมิภาค โดยในแผนภาพ 2.41 แสดงถึงการทางานประสานแบบเครือข่าย “Hub and Spokes” ของโครงการ Innovation Hub นี้ ทง้ั น้ีโครงการจะแบ่งออกเปน็ 2 รูปแบบ คอื โครงการจาพวก Translational Research และ โครงการ Startup แผนภาพ 2.41 เครอื ขา่ ยของระบบบริหารการวจิ ัยของแต่ละ Innovation Hub แผนอดุ มศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

49 แผนภาพ 2.42 ครือขา่ ยของระบบบรหิ ารการวิจัยกล่มุ Agriculture and Food แผนภาพ 2.43 เครอื ขา่ ยของระบบบริหารการวจิ ัยกลุ่ม Ageing Society แผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

50 แผนภาพ 2.44 เครือข่ายของระบบบรหิ ารการวจิ ัยกลุ่ม Smart City แผนภาพ 2.45 เครือขา่ ยของระบบบรหิ ารการวิจัยกลุม่ Smart Energy แผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

51 แผนภาพ 2.46 เครือขา่ ยของระบบบริหารการวจิ ัยกลมุ่ Creative Economy จากผลการดาเนินการในชว่ งแรกนี้ จึงสรปุ เปน็ ผลงานโดยรวมในสนิ้ ปีงบประมาณแรกตาม Key Performance Indicator ดังตารางด้านลา่ ง แผนภาพ 2.47 ผลการดาเนินงานในชว่ ง 1 ปแี รก หลงั จากได้รับทนุ สนับสนนุ การวิจยั ประเภท Translational Research และบริษทั Startup แผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

52 งานเด่น การเคลอื่ นย้ายผปู้ ่วยทัง้ ในโรงพยาบาล นอกโรงพยาบาล และที่บ้าน หนุ่ ยนตแ์ พทย์เคล่ือนที่อจั ฉริยะเพื่อการ วนิ ิจฉัยและรกั ษาผ่านระบบโทรเวช งานเดน่ เกษตร  ชวี ภณั ฑ์จลุ ินทรยี ส์ าเร็จรปู เพื่อการผลิตพริกปลอดภยั (P-มอ.)  วัคซีนป้องกนั เช้ือ Tilapia Lake Virus (P-มก.) อาหาร  ซุปผงใบหม่อน/ชาใบหม่อน ผลิตภณั ฑ์เพ่ือสุขภาพและความงาม + มะเขือเทศใบเตย (มข.)  การพัฒนาและยกระดบั สารสกดั จากข้าวไทย  ผลติ ภณั ฑข์ ้าวไรซเ์ บอรร์ ่ี ส่มู าตรฐานเครอื่ งสาอางสากล (S-มก.) ขา้ วกา่ ขา้ วหอมมะลิแดง (มข.)  เบต้ากลแู คนจากยสี ตเ์ พ่ือยกระดับคุณภาพ  นา้ พริกหนุ่มอบแห้ง โดยแคบหมแู มแ่ ชม่ (S-มช.) ผลติ ภัณฑ์สุขภาพและเวชสาอาง (S-มก.)  กลว้ ยน้าว้าบดและผลิตภัณฑ์ (P-มก.)  ผงพฤกษเคมจี ากต้นกลา้ ข้าวเหนียวสันป่าตอง (P-มช.)  Snack จากขา้ วท้องถ่ิน (P-มก.)  เครอ่ื งสาอางสาหรบั ผิวหน้าจากขา้ วเหนยี วดา (S-มฟล.)  น้ามะกรดู อัดลมแคลอรีต่ ่าเสริมใยอาหารสงู (S-มก.)  ผลิตภณั ฑเ์ สริมอาหารสารสกัดเน้ือผลกาแฟเพอื่ ลด และดักจับไขมัน (S-มช.) งานเด่น โครงการประเภท Translational Research และประเภท Startup Company กลุ่มเรอื่ งสังคมผสู้ งู อายุไดส้ นับสนนุ โครงการประเภท Translational Research จานวน 59 โครงการ และประเภท Startup Company จานวน 31 โครงการ ทั้งนี้หลังจากคณะกรรมการฯ ไดล้ งพืน้ ทเ่ี พอื่ การประเมินการดาเนินงานของโครงการ ได้พบว่า บางโครงการได้รบั การสนบั สนนุ ในประเภท Startup Company มกี ารดาเนินการถ่ายทอดเทคโนโลยใี หก้ ับบริษัท SMEs จงึ ไดม้ ีการเปลีย่ นประเภทสญั ญา จึงทาให้มี การสนนั สนนุ โครงการประเภท Translational Research จานวน 68 โครงการ และประเภท Startup Company จานวน 22 โครงการ  ขอรบั การสนับสนุนงบประมาณเพอ่ื ตอ่ ยอดโครงการ ทม่ี ศี กั ยภาพเชิงพาณิชย์จานวน 30 โครงการ งบประมาณ 75 ลา้ นบาท  ขอรับประมาณสนับสนุนโครงการท่ตี ้องมีการวิจยั ต่อ ยอดจานวน 30 โครงการ งบประมาณ 50 ลา้ นบาท  ขอรบั การสนับสนุนโครงการใหมท่ มี่ ีศักยภาพ จานวน 50 ล้านบาท รวมงบประมาณทีข่ อรบั การสนับสนุนในปี 2561 จานวน 175 ลา้ นบาท แผนภาพ 2.48 ผลงานวจิ ัยเด่นของโครงการ Innovation Hub แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

งานเด่น Solid Biofuels 53 Pyrolysis Oil Compressed Biomethane (CBG) ผลกระทบสาคญั ผลกระทบสาคญั ผลกระทบสาคญั  เกดิ ตน้ แบบเชงิ พาณชิ ย์ ในการเปลี่ยนกา๊ ซ  เกิดตน้ แบบเชิงพาณชิ ย์ เครอื่ งผลิตถ่าน  เกดิ ตน้ แบบเชิงพาณชิ ย์ เครอ่ื งผลิตนา้ มนั ไพโรไลซิส ชีวภาพให้เปน็ กา๊ ซ CBG ซ่งึ เป็นพลังงาน คุณภาพสงู และถา่ นกมั มนั ต์ ในการเปล่ียนชวี (เทยี บน้ามันดเี ซล) จากวสั ดุ 2 ประเภท คือ ขยะ ทดแทนมูลค่าสงู สามารถทดแทนนา้ มนั มวลชนดิ ต่าง ใหเ้ ปน็ เชอื้ เพลิงแขง็ สามารถ พลาสตกิ และ นา้ มนั ปาลม์ เหลอื ท้ิง โดยมกี าลงั เชอื้ เพลงิ ฟอสซิลได้ ทดแทนเชอ้ื เพลิงถ่านหินได้ โดยมีกาลงั ผลติ ผลติ นา้ มนั ไพโรไลซิส 4,000 ลิตร/วนั /โรง ถา่ นแทนถา่ นหนิ 200 ตนั /เดอื น ถา่ นอดั แท่ง  เป็นศูนยก์ ลางถา่ ยทอดเทคโนโลยที ่ีเก่ยี วกับ ไรค้ วนั 100 ตนั /เดอื น ถา่ นกัมมนั ต์ 30 ตัน/  เปน็ ศูนยก์ ลางถา่ ยทอดเทคโนโลยีทเ่ี ก่ียวกับการ กา๊ ซ CBG และกอ่ ให้เกดิ บรษิ ทั ใหม่ ใน เดือน ผลิตน้ามนั ไพโรไลซสิ จากกองขยะขององคก์ าร อนาคต (Start Up) ตลอดชว่ ง Value Chain บรหิ ารส่วนตาบล (อบต.) และนา้ มนั เหลอื ทง้ิ ของ ของการผลติ และจาหน่ายกา๊ ซ CBG ตาม  เปน็ ศนู ยก์ ลางถา่ ยทอดเทคโนโลยที เี่ ก่ียวกับ อุตสาหกรรมปาลม์ แผน AEDP ของประเทศ การผลิตเชอ้ื เพลงิ แข็ง โดยใช้วสั ดเุ หลอื ทง้ิ ของ วสิ าหกจิ ชมุ ชน งานเด่น ...สร้างอาชพี และธุรกิจใหม่ ผลผลิต • Hubs 9 แห่ง • Premium OTOP 71 โครงการ • High Value Services 29 โครงการ • Start ups 27 โครงการ แผนภาพ 2.48 ผลงานวจิ ัยเดน่ ของโครงการ Innovation Hub (ต่อ) โดยสรุป เพียงในปีแรกของการเกิด Innovation Hub ซ่ึงเป็นโครงการของรัฐบาลโครงการแรกท่ีให้ทุนกับ มหาวิทยาลัยเพื่อต่อยอดผลงานวิจัยท่ีมีระดับสูงกว่า Technology Readiness Level 3 นั้น ได้เกิด Technology-based Startups ขึ้นในมหาวิทยาลัย 172 บริษัท มีการทางานร่วมกับ SME ถึง 446 ราย และมีผลผลิต รวมถึงการยกระดับ ผลิตภัณฑ์ด้วยนวัตกรรม เพ่ิมยอดขายได้ถึง 1,012 ล้านบาท และยังผลให้มีการลงทุนด้าน Infrastructure ในเอกชนโดยมี การสรา้ งโรงงานใหมถ่ ึง 18 โรงงาน และการลงทนุ ระดับโรงงานตน้ แบบในทกุ ภมู ิภาคไม่ต่ากว่า 12 แหง่ แผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

ปจั จยั ทม่ี ผี ลต่อ การพัฒนาอดุ มศึกษา 000

55 ปัจจัยทมี่ ผี ลต่อการพฒั นาอุดมศกึ ษา การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อม อุดมศึกษาเป็นกลไกสาคัญท่ีทุกประเทศในโลกยอมรับ เขตเศรษฐกิจพิเศษ เป็นต้น ที่เช่ือมโยงกับบทบาทของ ในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างสรรค์องค์ความรู้ นวัตกรรม อุดมศึกษาในการสร้างนวัตกรรม และกาลังคนที่สอดคล้องกับ และผลิตกาลังคนที่มีคุณภาพ มีปริมาณที่เพียงพอท้ังทางด้าน ทิศทางการพัฒนาตามกรอบนโยบายที่กาหนด เพ่ือยกระดับ วิชาการ และปฏิบัติการระดับสูงให้กับประเทศ รวมถึงบทบาท ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศในเวทีโลก ซึ่ง ในการเสนอแนะและให้ข้อคิดเห็นเพ่ือชี้นาสังคมที่อยู่บนหลัก การขับเคล่ือนพันธกิจเพ่ือตอบโจทย์ดังกล่าว จะสะท้อนไปยัง วิชาการ พันธกิจของอุดมศกึ ษาจึงเป็นกลไกหนง่ึ ของการขับเคล่ือน ปัจจัยภายในสถาบันอุดมศึกษาด้านต่าง ๆ ทั้งคุณภาพ การพัฒนาประเทศในหลากหลายมิติท้ังทางเศรษฐกิจ สังคม มาตรฐาน ในการผลิตบัณฑิต การวิจัย โอกาสในการเข้าถึง ภายใต้บริบทของการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นทั้งจากภายใน และ อุดมศึกษา การบริหารจัดการที่ยึดหลักธรรมาภิบาล เพื่อ ภายนอกประเทศ ล้วนส่งผลกระทบกับอุดมศึกษาอย่างหลีกเล่ียง สามารถตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม และ ไม่ได้ทั้งกระแสโลกาภิวัตน์ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ส่งผลต่อความคาดหวัง รวมท้ังพันธกิจของอุดมศึกษาสามารถ การเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากร หรือปัจจัยเชิงนโยบาย สร้างมูลค่าเพ่ิมที่คุ้มค่ากับการลงทุนของรัฐบาล ให้เกิด ท่ี ภ า ค รั ฐ ก า ห น ด ขึ้ น ซึ่ ง ท้ า ท า ย ต่ อ บ ท บ า ท ใ ห ม่ ข อ ง การพัฒนาอย่างยง่ั ยนื สถาบันอุดมศกึ ษา เช่น Thailand 4.0 ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี และ 10 แนวโน้มทม่ี ผี ลกระทบตอ่ อุดมศึกษา แผนภาพ 3.1 10 แนวโนม้ ท่ีมีผลกระทบตอ่ อุดมศกึ ษา แผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

56 สภาพแวดลอ้ มภายนอกที่มอี ทิ ธพิ ลตอ่ การอุดมศกึ ษา การเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรและสังคม แผนภาพ 3.3 ร้อยละของการขยายตวั ของประชากรโลก ตัง้ แต่ ค.ศ. 1951 - 2015 ปัจจุบันท่ัวโลกมีประชากรรวมท้ังส้ิน 7.5 พันล้านคน ในอีก 20 ปี จะมีประชากรเพ่ิมข้ึนเป็น 8.9 พันล้านคน โดยมี แผนภาพ 3.4 ร้อยละของการขยายตวั ของประชากรไทย อัตราการขยายตัวของประชากรที่เพิ่มข้ึนในสัดส่วนท่ีลดลง ต้งั แต่ ค.ศ. 1952 - 2017 อย่างต่อเน่ือง ส่งผลให้หลายประเทศในโลกกาลังเผชิญ สถานการณ์ของการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรจากอัตรา การเรียนรู้ยังอยู่ในระดับต่าเมื่อเทียบกับมาตรฐานสากล และ การเกิดลดลงและแนวโน้มประชากรผู้สูงอายุมีจานวนเพิ่มข้ึน ผลกระทบเชิงปริมาณท่ีเกิดจากการเปล่ียนแปลงโครงสร้าง หากพิจารณาในส่วนของประเทศไทยปัจจุบันมีประชากรรวม ประชากรเช่นกนั กับหลายประเทศในโลก ท่ีถือได้ว่ามีแนวโน้มที่ ประมาณ 68 ล้านคน เม่ือเปรียบเทียบจานวนประชากรแล้ว ค่อนขา้ งรุนแรงประเทศหนึง่ จากอัตราการเกิดเฉลี่ยท่ีลดลงจาก ประเทศไทยจัดอยู่ในอนั ดบั ท่ี 20 จาก 233 ประเทศท่ัวโลก โดย 4.9 คนต่อมารดา 1 คน ไปเป็น 1.6 คนต่อมารดา 1 คน ในปี มีขนาดใกล้เคียงกับประเทศฝรั่งเศส และอังกฤษ แต่หาก พ.ศ. 2560 ส่งผลให้ประเทศไทยมีอัตราการขยายตัวของ เปรียบเทียบในเชิงคุณภาพจากการจัดอันดับ Human capital ประชากรอยู่ท่ีร้อยละ 0.25 ต่อปี และคาดว่าในปี พ.ศ. 2561 index 2016 ของ WEF ทั้งสองประเทศดังกล่าวอยู่ในอันดับที่ จะเป็นปีแรกที่ประชากรอายุต่ากว่า 15 ปี มีจานวนน้อยกว่า 17 และ 19 ตามลาดับ ขณะที่ประเทศไทยถูกจัดอยู่ในอันดับที่ ประชากรอายุ 60 ปี ขึ้นไป สานักงานสถิติแห่งชาติสรุปว่า 48 จาก 130 ประเทศ ซ่ึงดีขึ้นจากปี 2015 ที่อยู่ในอันดับท่ี 57 ประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุต้ังแต่ปี พ.ศ. 2548 โดยมี และเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศในภูมิภาคอาเซียนอย่าง ประชากรผู้สูงอายุร้อยละ10.4 ของประชากรท้ังประเทศและ ประเทศมาเลเซยี ซง่ึ มปี ระชากรประมาณคร่งึ หนึ่งของประเทศไทย คาดวา่ จะเขา้ ส่สู ังคมผูส้ ูงอายโุ ดยสมบูรณ์ ในช่วงปี พ.ศ. 2567 - กลับมี Human capital index 2016 อยู่ในอันดับที่ 42 2568 และประมาณการว่าประชากรสูงอายุจะเป็น 1 ใน 3 ของ ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าคุณภาพของประชากรไทยอยู่ในระดับ ประชากรไทยทั้งประเทศในปี พ.ศ. 2583 ปานกลาง และยังต้องการการพัฒนา ถ้าหากจะต้องขับเคล่ือน นโยบายของรัฐบาลให้ก้าวผ่าน กั บ ดั ก ร า ย ไ ด้ ป า น ก ล า ง เ ป็ น ประเทศที่มีรายได้สูง จาเป็นต้องยกระดับคุณภาพของคน ให้สูงข้ึน และกลายเป็นสภาวการณ์ท่ีควรให้ความสาคัญ เป็ นอั น ดับ แร ก เนื่ อง จา กประเทศไทยได้รับผลกระทบ ทง้ั ในเชิงคุณภาพของผู้เรียนจากคณุ ภาพของการศึกษาและ แผนภาพ 3.2 สัดส่วนของประชากรไทยอายุต่ากว่า 15 ปี เปรยี บเทียบกับ ประชากรอายุ 60 ปี ขน้ึ ไป ระหว่างปี ค.ศ. 2010 - 2040 แผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

57 อัตราทดแทนประชากรวยั 18–22 ปี ที่อยใู่ นประชากร แผนภาพ 3.6 ขอ้ มลู เปรยี บเทยี บระยะเวลาของแต่ละประเทศท่เี ขา้ สสู่ งั คม วัยอุดมศึกษาจะลดลงอย่างเห็นได้ชัด รวมท้ังแนวโน้มท่ี ผูส้ งู อายุอย่างสมบรู ณ์ ความแตกต่างของท้ังสองช่วงอายุจะเพ่ิมและมีความรุนแรงข้ึน จากขอ้ มูลเปรียบเทยี บระยะเวลาของแต่ละประเทศท่ีเข้าสู่สังคม ผลกระทบต่ออดุ มศึกษา การเปลี่ยนแปลงโครงสรา้ งประชากร ผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์จะพบว่าประเทศไทยใช้เวลาทั้งส้ิน ส่งผลให้จานวนประชากรวัยอุดมศึกษา ท่ีอยู่ในช่วงอายุระหว่าง ประมาณ 22 ปี ซ่ึงเป็นช่วงระยะเวลาที่ค่อนข้างส้ัน 18-22 ปี ลดลงจนอาจมีปริมาณเท่ากับขีดความสามารถ หากเปรียบเทียบกับประเทศพัฒนาแล้ว ประเทศไทยศูนย์เสีย ในการรับนักศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา ย่อมส่งผลผลกระทบ กาลังแรงงานออกจากระบบการทางานอย่างรวดเร็ว ทาให้ อย่างรุนแรงจากการลดลงของจานวนนักศึกษา โดยเฉพาะ ไม่สามารถสร้างมูลคา่ เพ่ิมให้กับประเทศ เป็นสภาวะจนตอนแก่ สถาบันอุดมศึกษาท่ีอาศัยค่าใช้จ่ายจากค่าเล่าเรียนเป็นหลัก จนนาไปสู่ภาวะพ่ึงพิง รัฐจะเผชิญกับค่าใช้จ่ายจากผลกระทบ อาจได้รับผลกระทบเป็นอันดับแรกจากรายได้ที่ลดลง ดังนั้น การเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยเพิ่มสูงขึ้น นอกจากน้ีสังคมไทยยังเผชิญ การเตรียมความพร้อมของสถาบันอุดมศึกษา รวมทั้งการปรับ กับปัญหาความเหลื่อมล้าที่ทวีความรุนแรง เพราะโอกาสท่ีมีอยู่ ยุทธศาสตร์ เพ่ือรองรับการลดลงของจานวนนักศึกษา โดย อย่างจากัด จากรายงานของ The Global Wealth Report กาหนดมาตรการต้ังแต่การปิดหลักสูตร การปิดคณะ ภาควิชา 2016 ประเทศไทยถูกจัดอันดับความเหลื่อมล้าอยู่ท่ีอันดับ 3 การยุบรวมหรือปิดสถาบัน หรือกาหนดกลุ่มเป้าหมายใหม่ ของโลก โดยมีประชากรเพียงร้อยละ 1 ของประเทศ การพัฒนาความรู้และทักษะใหม่ให้กับคณาจารย์ รวมท้ัง ที่ครอบครองความมงั่ คั่งถึงร้อยละ 58 และจากข้อมูลของ สศช. สถาบันอุดมศึกษาต้องเพิ่มระดับคุณภาพ ทักษะ และ ประชากรไทยร้อยละ 40 สามารถครอบครองความมั่งคั่งของ ขีดความสามารถให้กับบัณฑิตยุคใหม่ ให้พร้อมกับสภาวะ ประเทศเพียงรอ้ ยละ 14 เทา่ น้ัน ที่เปล่ียนแปลงไป มีสมรรถนะท่ีสูงข้ึนสามารถทดแทน การขาดแคลนแรงงานไดอ้ ย่างเต็มประสิทธิภาพ รวมทั้งบทบาท แผนภาพ 3.5 การจัดอันดบั ความเหล่อื มล้าของโลก ปี ค.ศ. 2016 ของอุดมศึกษาต้องเป็นกลไกในการลดปัญหาความเหล่ือมล้า ทางสงั คมและสงั คมผสู้ งู วัย แผนภาพ 3.7 นยิ าม คาว่า “ผสู้ ูงอาย”ุ องค์การสหประชาชาติได้ให้นิยาม ผู้สูงอายุ (Older Person) หมายถึง ประชากรท้ังเพศชายและหญิงที่มีอายุมากกว่า 60 ปีข้ึนไป และ ไดแ้ บง่ ระดับการเขา้ สู่สงั คมผ้สู งู อายุ เป็น 3 ระดับ ไดแ้ ก่ 1. ระดับการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging society) หมายถึง สังคมหรือประเทศท่ีมีประชากรอายุ 60 ปีข้ึนไป มากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทง้ั ประเทศหรอื มปี ระชากรอายตุ งั้ แต่ 65 ปีมากกวา่ รอ้ ยละ 7 ของประชากรท้งั ประเทศ แสดงวา่ ประเทศนน้ั กาลังเข้าสู่สงั คมผสู้ ูงอายุ 2. ระดับสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged society) หมายถึง สังคมหรือประเทศที่มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป มากกว่าร้อยละ 20 ของประชากรทั้งประเทศหรือมีประชากรอายุตั้งแต่ 65 ปี มากกว่าร้อยละ 14 ของประชากรทั้งประเทศ แสดงว่าประเทศนั้นเข้าสู่สังคมผู้สูงอ ายุโดย สมบูรณ์ 3. ระดับสังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มที่ (Super-aged society) หมายถึง สังคมหรือประเทศที่มีประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไปมากกว่า ร้อยละ 20 ของประชากรท้งั ประเทศ แสดงว่าประเทศน้นั เขา้ สูส่ ังคมผ้สู งู อายอุ ย่างเต็มท่ี แผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

58 แนวโน้มและโอกาสทางเศรษฐกจิ ของประเทศ แผนภาพ 3.10 ภาพรวมการพัฒนาประเทศในช่วงแผนพฒั นา ฯ ฉบบั ท่ี 1-10 การพัฒนาประเทศในช่วง 50 กว่าปีที่ผ่านมานับจาก แผนภาพ 3.11 การจดั อนั ดบั ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ของ IMD แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2504 – พ.ศ. 2560 2509) จนถึงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559) เศรษฐกิจของประเทศมีการขยายตัว อยา่ งต่อเนือ่ ง แม้จะเผชิญกับผลกระทบจากปญั หาเศรษฐกจิ โลก และปัญหาทางการเมืองภายในประเทศเป็นคร้ังคราว แต่ยัง สามารถพัฒนาและสร้างความม่ังค่งั ให้กบั ประเทศ ยกระดับจาก ประเทศด้อยพัฒนาท่ีเน้นเกษตรกรรมพื้นฐาน ไปสู่ประเทศ กาลังพัฒนาท่ีเน้นอุตสาหกรรมหนัก โดยมี GDP เพิ่มข้ึนจาก 4.7 ล้านล้านบาทในปี พ.ศ. 2540 ไปเป็น 13.6 ล้านล้านบาท ในปี พ.ศ. 2558 และมีขนาด GDP อยู่ในอันดับ 26 จาก 188 ประเทศ สดั สว่ น GDP ภาคเกษตรกรรมตอ่ นอกภาคเกษตรกรรม เป็น 0.6 : 9.4 สง่ ผลใหเ้ กดิ การเคลอ่ื นยา้ ยแรงงานภาคเกษตรกรรม สู่ภาคอตุ สาหกรรมอยา่ งต่อเนอ่ื ง ทาให้รายได้เฉลี่ยต่อประชากร ไทยในปี พ.ศ. 2540 จาก 6,400 บาท/คน/เดือน เพิ่มข้ึนเป็น 16,000 บาท/คน/เดือน ในปี พ.ศ. 2558 สถานะของประเทศ ขยบั มาอยู่ในระดบั ประเทศรายได้ปานกลางคอ่ นขา้ งสูง แผนภาพ 3.8 ผลิตภัณฑม์ วลรวม ณ ราคาปัจจบุ ัน พ.ศ. 2540 - 2558 (พนั ลา้ นบาท) GDP ขยายตัวเพ่ิมขี้น 3 เท่าตวั ในช่วงระยะเวลา 18 ปี แผนภาพ 3.9 อันดบั GDP ประเทศไทยเปรยี บเทียบกับประเทศตา่ ง ๆ การจัดอนั ดบั ขีดความสามารถในการแขง่ ขันโดย IMD ในปี พ.ศ. ปี พ.ศ. 2558 2560 ประเทศไทยขยับขึ้นมาอยู่ในอันดับท่ี 27 จาก 63 ประเทศ จัดได้ว่าประเทศไทยประสบความสาเร็จในการพัฒนา เศรษฐกิจในระดับท่ีน่าพอใจ แต่ยังเผชิญกับปัญหาการพัฒนา ประเทศไม่สามารถข้ามพ้นกับดักประเทศรายได้ประเทศ ปานกลางสู่ประเทศรายได้สูง และทรัพยากรส่วนใหญ่ยังอยู่ ในมือของคนส่วนน้อย โดยเฉพาะผู้ที่อยู่ในเขตเมือง ประชาชน ส่วนใหญ่ยังขาดโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากรของประเทศ ทาให้เกิดความเหล่อื มลา้ ทางสงั คมและเศรษฐกจิ ตามมา อย่างไร ก็ตามรัฐบาลตั้งเป้าหมายภายในระยะ 20 ปี ประเทศจะต้อง ข้ามผ่านกับดักรายได้ปานกลางเป็นประเทศรายได้สูง ใช้กลไก การสร้างมูลค่าเพ่ิมจากนวัตกรรมภายในประเทศท่ีเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม ลดความเหล่ือมล้าทางสังคมและเศรษฐกิจ ให้เกิด การกระจายรายได้อย่างท่ัวถึง โดยขับเคล่ือนแนวคิดของ การพัฒนาผ่านยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และ Thailand 4.0 หน่วย : MUSD แผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

59 มาตรการสาคัญของรัฐบาลภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี แผนภาพ 3.12 5 อตุ สาหกรรมเดิม และ 5 อุตสาหกรรมใหม่แห่งอนาคต และ Thailand 4.0 คือการใช้ศักยภาพท่ีมีอยู่ภายในประเทศ ทั้งความหลากหลายทางชีวภาพ และความหลากหลายทาง 13 กจิ การเปา้ หมายสาหรับการลงทนุ ในเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ วัฒนธรรม มาเป็นกลไกของการขับเคลื่อนการพัฒนาเพื่อให้ ประเทศหลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลาง ซ่ึงประเทศจะข้าม 1.อตุ สาหกรรมการเกษตร ประมง 7.อุตสาหกรรมยานยนต์ เครื่องจักร ผ่านไปได้จาเป็นต้องพัฒนากาลังคนด้านวิทยาศาสตร์และ และกจิ การทเ่ี กีย่ วข้อง และชนิ้ สว่ น เทคโนโลยี ควบคู่กับการลงทุนด้านการวิจัยให้เกิดนวัตกรรม 2.เซรามิกส์ 8.อตุ สาหกรรมเครอ่ื งใช้ไฟฟ้าและ ที่สามารถสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับทรัพยากรท่ีมีอยู่ของประเทศ 3.อุตสาหกรรมสงิ่ ทอ เคร่อื งนงุ่ หม่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ โดยรัฐบาลมีเป้าหมายในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม และเครอื่ งหนัง 9.การผลิตพลาสติก แห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) จะเพิ่มงบประมาณ 4.อุตสาหกรรมผลิตเครอื่ งเรอื น 10.การผลิตยา ค่าใช้จ่ายการลงทุนด้าน R&D เป็นร้อยละ 1.5 ของ GDP และ 5.อตุ สาหกรรมอัญมณแี ละ 11.กิจการโลจิสติกส์ เพิ่มบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาเป็น 25 คนต่อประชากร เคร่อื งประดบั 12.นิคมหรือเขตอุตสาหกรรม 10,000 คน เพื่อประกันว่าประเทศจะต้องมีทรัพยากรมนุษย์ 6.การผลิตเครอ่ื งมอื แพทย์ 13.กจิ การเพือ่ สนบั สนนุ การทอ่ งเทยี่ ว และผลงานวิจัยที่มีคุณภาพเพียงพอรองรับนโยบายและ ทิศทางการพัฒนาที่ต้องใช้องค์ความรู้ และเทคโนโลยีชั้นสูง ผ ล ก ร ะ ท บ ที่ เ กิ ด ข้ึ น กั บ ส ถ า บั น อุ ด ม ศึ ก ษ า ใ น ฐ า น ะ สามารถรองรับโครงการลงทุนขนาดใหญ่ของรัฐ หรือรองรับ หน่วยงานซ่ึงทาหน้าที่สร้างองค์ความรู้ และสร้างบุคลากรช้ันสูง การถา่ ยทอดองคค์ วามรจู้ ากนกั ลงทนุ ตา่ งชาติ ทัง้ ระบบโลจิสติกส์ ของประเทศ จะต้องขับเคล่ือนพันธกิจของอุดมศึกษา ในการสร้าง ระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้า เป็นต้น ซ่ึงเมื่อวางทิศทาง ผลงานวิจัย นวัตกรรม ผลิตกาลังคน รวมท้ังการบริการวิชาการ ยกระดับเพ่ือขยับศักยภาพของประเทศแล้ว ยังได้กาหนด ท่ีได้รับการยอมรับ มีคุณภาพอย่างเพียงพอ เพ่ือตอบโจทย์ นโยบายกระจายการพัฒนาไปยังพ้ืนท่ีต่าง ๆ ทั่วประเทศ การพัฒนาของรัฐบาล รองรับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ โดยเฉพาะบริเวณพ้ืนที่จังหวัดชายแดนที่มีศักยภาพ 10 จังหวัด ด้วยนวัตกรรม ส่งผลให้ความคาดหวังต่อบทบาทของอุดมศึกษา กาหนดเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ และวางเป้าหมายการลงทุน ที่เพิ่มสูงขึ้นเมื่อเทียบเคียงสมรรถนะกับประเทศต่าง ๆ ในโลก ใน 13 กลุ่มกิจการเป้าหมาย เพ่ือพัฒนาเศรษฐกิจในประเทศ ดังน้ันการขับเคลื่อนอุดมศึกษาในอนาคตจะต้องผลิตบัณฑิตไม่ใช่ ให้เขม้ แข็ง ควบคู่กับการเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของ แคพ่ อเพยี งเท่านนั้ แตต่ อ้ งมีคณุ ภาพ มคี วามเปน็ สากล เปน็ นักวิจยั ประเทศในเวทีโลก ระดับโลก ยกระดับอุดมศึกษาของประเทศให้ทัดเทียมกับประเทศ พัฒนาแล้ว เป็นการสะท้อนถึงขีดความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศควบคู่กับการเพิ่มผลิตภาพให้กับสังคม ชุมชน ท้องถิ่น ลดความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจและทางสังคม โดยปรับทบบาท ของอุดมศึกษาให้กลายเป็นกลไกหลักท่ีสนับสนุน และ การแก้ปญั หาเพื่อลดความเหล่อื มลา้ ของคนในชาติ แผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

60 โลกาภิวัตน์ ทิศทางการพัฒนาของทุกประเทศในโลกตลอดหลาย แผนภาพ 3.13 The Evolution of Globalization ทศวรรษท่ีผ่านมาจนนาไปสู่การเคล่ือนย้ายสินค้า บริการ ประชาชนพลเมือง เทคโนโลยี และข้อมูลข่าวสาร ไปท่ัวทุก แผนภาพ 3.14 KOF Index of Globalization 2017 มุมโลกไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว โดยเฉพาะในช่วง 20 ปีหลัง ประเทศตา่ ง ๆ เขา้ สยู่ คุ โลกาภิวัฒน์อยา่ งสมบรู ณ์จากการพัฒนาระบบคมนาคม ถูกนาไปจัดอันดับ (World และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาดังกล่าวสามารถ Class University) เกิดการพัฒนาเพื่อให้ทัดเทียมนานา สร้างผลกระทบจากจุดหน่ึงไปยังอีกจุดหนึ่งได้อย่างรวดเร็ว อารยประเทศ โดยกาหนดเกณฑ์มาตรฐานมาประเมินศักยภาพ กว้างขวางท้ังเศรษฐกิจ สังคม ความเป็นอยู่ของคนในชาติ จาก ของสถาบันอุดมศึกษาผ่านการกาหนดตัวชี้วัดท่ีเป็นสากล การจัดอันดับความเป็นโลกาภิวัฒน์ของประเทศต่าง ๆ ในปี สะท้อนการพัฒนาในมิตติ า่ ง ๆ ของอดุ มศึกษาแต่ละประเทศ ซ่ึง พ.ศ. 2560 (โดยประมวลจากข้อมูลของปี พ.ศ. 2557) ของ ตัวชี้วัดดังกล่าวอาจไม่ตอบสนองความต้องการภายในประเทศ KOF Swiss Economic Institute ใช้องค์ประกอบความเป็น โดยตรง แตน่ าไปสู่การเทียบเคยี ง การจัดระดับ และการแข่งขัน โลกาภิวัฒน์ 3 มิติ คือ สังคม เศรษฐกิจ และการเมือง พบว่า เพื่อสร้างการยอมรับ สร้างแรงกดดันให้กับระบบอุดมศึกษา ประเทศไทยอยู่ในอันดับท่ี 44 จาก 207 ประเทศทั่วโลก ซึ่ง ทั้งโลก แต่กลับเป็น ทิศทา งที่ไ ม่อาจหลีกเลี่ยงใน โลก แสดงถงึ ประเทศมขี ดี ความสามารถในการรองรับการเคลื่อนย้าย ยุคโลกาภวิ ัฒน์ รวมท้งั กระแส 21st Century Skills เป็นอิทธิพล ประชากร ทรัพยากร และการลงทุน มีความก้าวหน้าของ ทางความคดิ ของโลกตะวนั ตกก่อใหเ้ กดิ ผลกระทบทางการศึกษา เทคโนโลยี รวมท้ังเข้ามามีส่วนร่วมในองค์กรต่าง ๆ บนเวทีโลก และการจ้างงานไปทั้งโลก บัณฑิตที่จบการศึกษาต้องมี ซ่ึงการศึกษาจัดเป็นสินค้าบริการอยู่ภายใต้แรงกดดันของ ความพรอ้ มทั้งทักษะทางวิชาการ ทักษะทางวิชาชีพ และทักษะ โลกาภิวัฒน์เช่นกัน โดยเฉพาะในระดับอุดมศึกษาถือเป็นแหล่ง การใช้ชีวิต ถึงพร้อมทั้งความฉลาดทางสติปัญญา และ ความรู้ สามารถสร้างความรู้ที่เป็นประโยชน์แก่วงการวิชาการ ทางอารมณ์ ซ่ึงแนวคิดดังกล่าว ส่งผลต่อสถาบันอุดมศึกษาของ และวิชาชีพให้กับโลก เป็นส่วนหน่ึงของการสร้างช่ือเสียงให้กับ ประเทศไทยต้องปรับกระบวนการเรียนการสอนให้ก้าวทัน ประเทศจากองค์ความรู้ สามารถเปลี่ยนความรู้ให้เกิดทรัพย์สิน การเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว สามารถปรับตัว หรือค้นคว้า ทางปัญญา มมี ูลคา่ ท่ตี อ้ งปกปอ้ งคมุ้ ครอง นาไปใช้ประโยชนเ์ พื่อ หาความรู้เพม่ิ เติมรองรับทักษะการทางานกับอาชีพใหม่ ๆ ที่จะ การพัฒนาประเทศเปน็ บทบาทของอุดมศึกษาทท่ี ่วั โลกยอมรบั เกิดข้ึนในอนาคต ตาราง 3.1 QS World University Rankings 2016/17 แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

61 การศึกษาในยุคโลกาภิวัฒน์ จะกลายเป็นการศึกษา ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ อุ ด ม ศึ ก ษ า คื อ บ ท บ า ท ข อ ง ภ า ค รั ฐ ท่ีไร้พรมแดน ด้วยอิทธิพลของการพัฒนาทางด้านดิจิทัล ในการกาหนดนโยบายการสนับสนุนท่ีชัดเจน เพ่ือการยกระดับ เทคโนโลยี การเช่ือมโยงโครงข่ายอินเตอร์เน็ตไปท่ัวทุกจุด มาตรฐานอุดมศึกษาของไทยสู่นานาชาติ (World Class บนโลก ทั้งในรูปแบบ Wire line และ Wire less ทาให้เกิด University) มีรูปแบบการจัดการศึกษาที่เป็นสากลมากข้ึน การถ่ายทอดองค์ความรู้ เกิดการเรียนรู้ในรูปแบบท่ีหลากหลาย ซ่ึ ง ห ม า ย ถึ ง ก า ร ข ย า ย บ ริ บ ท ก า ร แ ข่ ง ขั น ข อ ง ก ลุ่ ม ต่อเน่ืองเป็นการเรียนรู้ได้ตลอดชีวิตท้ังรูปแบบในระบบ สถาบันอุดมศึกษาท่ีมีศักยภาพ และความพร้อมให้กว้างขวาง การศึกษา และนอกระบบการศึกษา เพ่ือเพิ่มพูนองค์ความรู้ และซับซ้อนมากขึ้น สร้างความชัดเจนเร่ืองมาตรฐานการศึกษา และปรับวุฒิทางการศึกษา เพื่อให้ได้รับปริญญา เกิด และมาตรฐานหลักสูตรของระบบการเรียนการสอนท่ีแตกต่าง สถาบันการศึกษารูปแบบใหม่ Cyber University , Virtual กันบนศักยภาพของแต่ละสถาบันอย่างเหมาะสมมีคุณภาพ University หรือ Online University เป็นการขยายโอกาส รวมทั้งส่งเสริมการเคล่ือนย้ายอาจารย์ และนักศึกษา ให้มี ทางการศึกษาท่ีผู้เรียนสามารถเลือกเรียนได้ทุกท่ีทุกเวลาตาม ประสบการณ์ในการเรียนการสอน การวิจัย การทางาน ความถนัด และความสนใจ เกิดเป็นรูปแบบการสะสมหน่วยกิต ในต่างประเทศ เพ่ือพัฒนาบัณฑิตที่มีความสามารถทางวิชาการ ในลักษณะธนาคารหน่วยกิต แต่อาจก่อให้เกิดปัญหาเร่ือง และวิชาชีพ ตลอดจนเชอ่ื มโยงทางสังคม สามารถปรับตัวเข้ากับ มาตรฐานทางการศึกษา มาตรฐานหลกั สูตร การประกันคณุ ภาพ การปฏิบัติงานบนความหลากหลายทางวัฒนธรรมที่เพิ่มข้ึน การรับรองวิทยฐานะ การเทียบโอนหน่วยกิตท่ีไม่ได้มาตรฐาน บนโลกยุคโลกาภิวัฒน์ และการยอมรับ ขณะเดียวกันการพัฒนาที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ความหลากหลายขององค์ความรู้ และการเคล่ือนย้ายกาลังคน อย่างเสรี นาไปส่กู ารเรยี นร้ทู ่ีจะปรับตัวเข้ากับความหลากหลาย ทางวัฒนธรรม รวมทงั้ ปญั หาการครอบงาทางความคดิ พร้อมกบั การ รู้ ไ ม่ เ ท่ า ทั น สื่ อ อ อ น ไ ล น์ ที่ ทา ขึ้ น เ พ่ื อ ห ล อ ก ห ล ว ง ให้หลงเช่ือและเกิดความเข้าใจผิด ซ่ึงบทบาทที่ภาครัฐ ต้ อ ง ทา ค ว า ม เ ข้ า ใ จ แ ล ะ เ รี ย น รู้ วิ ธี ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ กา กั บ ดูแลให้แหมาะสม เพ่ือนากระแสโลกาภิวัฒน์มาสร้าง ปร ะโ ยช น์ พัฒ นา ผู้ เรี ยน เพ่ิม ขีด ค วา มส าม าร ถข อง ประเทศได้เต็มประสิทธิภาพ แผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

62 การปรบั เปล่ยี นบทบาทภาครฐั การขับ เคล่ือน การปฏิ รูปประ เทศ ซึ่ งหน่ึงใ น รฐั ธรรมนูญ องค์ประกอบสาคัญคือการปฏิรูปการศึกษา เน่ืองจากประเทศ จาเป็นต้องเตรียมคนในฐานะทรัพยากรหลักให้มีศักยภาพ บ ท บ า ท ข อ ง ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร ใ น ก า ร ร อ ง รั บ มีความพร้อม รองรับบริบทใหม่ของการพัฒนา ส่งผลให้ การเปลี่ยนแปลง และเป็นการปรับเปลี่ยนที่สาคัญ สร้าง หน่วยงานและองค์กรต่าง ๆ ซึ่งจัดต้ังขึ้นโดยรัฏฐาธิปัตย์ ประวัติศาสตร์บทใหม่ทางการศึกษาท่ีเกิดขึ้นภายหลังการปฏิรูป มาทาหน้าที่วางแนวทางการปฏิรูปประเทศ ทั้งสภาขับเคลื่อน การศึกษา พ.ศ. 2542 คือการกาหนดแนวทางในการขับเคลื่อน การปฏิรูปประเทศ (สปท.) และสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) การศึกษาของประเทศเพื่อรองรับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี “ม่ันคง ได้นาเสนอรูปแบบและแนวทางการปฏิรูปการศึกษาทั้งระบบ มั่งคงั่ ย่งั ยนื ” ของรัฐบาลผา่ นแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 รวมท้ังในระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะการวางระบบและการปรับ – 2579 ซง่ึ เป็นแผนทก่ี ากับการศกึ ษาทุกระดบั และทุกหน่วยงาน ระบบบริหารจัดการของสถาบันอุดมศึกษาและหน่วยงานกากับ ท่ี เ ก่ี ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ร ะ ย ะ 2 0 ปี ข อ ง สถาบันอุดมศกึ ษาขึน้ ใหม่ ท่อี ยบู่ นพ้ืนฐานของหลักธรรมาภิบาล กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เพ่อื พฒั นาผู้เรียนต้ังแต่เกิดจนจบการศึกษา เน้นคุณภาพการเรียนการสอน และการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ ให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ท่ีควรมีในศตวรรษที่ 21 ประเทศ มีการเสนอรูปแบบการจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา (3Rs8Cs) ประกอบกับเกิดแนวคิดผลักดันการแยกการศึกษา รองรับระบบการสนับสนุนทรัพยากร เพื่อดึงศักยภาพของ ระดับอุดมศึกษาออกจากกระทรวงศึกษาธิการและจัดตั้งข้ึนเป็น สถาบันอุดมศึกษาท่ีเหมาะสมมาขับเคล่ือนภารกิจท่ีตอบสนอง กระทรวงอดุ มศึกษา ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั แนวคิดของ สนช. เนื่องจาก ต่อชุมชน สังคม และประเทศ และเสนอแนวคิดดังกล่าวต่อ เล็งเห็นว่าบทบาทของอุดมศึกษาจะเป็นกลไกหน่ึงท่ีสาคัญ รัฐบาลนาไปเป็นกรอบในการกาหนดทิศทางการปฏิรูป ขณะท่ี เป็นแหล่งสะสมองค์ความรู้ท่ีนามาใช้เพื่อการขับเคลื่อนประเทศ หัวใจของการปรับเปล่ียนบทบาทภาครัฐท่ีสาคัญถูกกาหนดไว้ ให้หลดุ พน้ จากกับดักรายไดป้ านกลาง จึงจาเป็นต้องมีความอิสระ ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 โดย ในเชิงการบริหาร และทางวิชาการ ให้เกิดความคล่องตัว กาหนดไว้ในหมวด 6 มาตรา 65 ใหร้ ฐั บาลตอ้ งจัดทายทุ ธศาสตร์ ในการดาเนินงาน ประกอบกับบริบทของอุดมศึกษามี ชาติเพื่อใช้เป็นทิศทางการบริหารประเทศในชว่ งระยะเวลา 20 ปี ความแตกต่างกบั การศกึ ษาในระดบั อืน่ ๆ รวมท้ัง หมวด 16 มาตรา 258 กาหนดให้ดาเนินการปฏิรูป ประเทศในด้านต่าง ๆ ซ่ึงรวมถึงด้านการศึกษา เป็นปัจจัยหน่ึง ท่ีต้องเร่งดาเนินการ ท้ังนี้ใน 2 มาตรา ได้จัดทาเป็น พระราชบัญญัติมีผลผูกพัน และมีบทลงโทษกับทุกหน่วยงาน ของรัฐให้ดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และทิศทาง การปฏิรูปประเทศที่กาหนดไว้ 11 ด้าน เพ่ือประกันว่า ยุทธศาสตร์การพัฒนาและการปฏิรูปประเทศจะยังคงขับเคลื่อน ไปในแนวทางทวี่ างไว้ แผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

63 ผ ล ก ร ะ บ ท ต่ อ บ ริ บ ท ข อ ง อุ ด ม ศึ ก ษ า ท่ี เ กิ ด ขึ้ น คื อ ทม่ี า : รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560 ความคาดหวังที่จะต้องการเห็นบทบาทอุดมศึกษาใหม่ในฐานะ หมวด 6 แนวนโยบายแห่งรฐั มาตรา 65 “รฐั พงึ จดั ใหม้ ี กลไกสาคัญ เป็นหัวรถจักรของการพัฒนาประเทศโดยเฉพาะ (New Growth Engines) เพื่อรองรับการขับเคล่ือนนโยบาย ยุทธศาสตรช์ าตเิ ป็นเป้าหมายการพฒั นาประเทศอย่างยง่ั ยืนตามหลกั ธรรมาภบิ าล Thailand 4.0 ควบคู่กับพันธกิจการถ่ายทอดองค์ความรู้ เพือ่ ใช้เปน็ กรอบในการจัดทาํ แผนต่าง ๆ ใหส้ อดคลอ้ งและบูรณาการกันเพื่อให้ ความคิด และการช้ีนาสังคมโดยอิสระและเสมอภาค อุดมศึกษา เกดิ เปน็ พลังผลักดันรว่ มกนั ไปสูเ่ ปา้ หมายดงั กล่าว ต้องทาหน้าท่ีเป็นห่วงโซ่เชื่อมโยงกับทุกภาคส่วนท้ังภาคสังคม และภาคเศรษฐกิจให้เกิดการถ่ายทอดองค์ความรู้นาการพัฒนา การจดั ทาํ การกาํ หนดเปา้ หมาย ระยะเวลาทจี่ ะบรรลุเปา้ หมาย และ ประเทศอย่างจริงจัง โดยเฉพาะการให้ความสาคัญกับการปรับ สาระที่พึงมีในยุทธศาสตร์ชาติ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กฎหมาย บทบาทของหน่วยงานกากับดูแล (Regulator) และหน่วยงาน บัญญัติ ท้ังนี้ กฎหมายดังกล่าวต้องมีบทบัญญัติเก่ียวกับ การมีส่วนร่วมและ ผู้ให้บริการ (Providers) ให้มีความชัดเจน เกิดการถ่วงดุล การรับฟังความคิดเห็นของประชาชนทกุ ภาคส่วนอย่างทว่ั ถึงดว้ ย” ลดความทับซ้อนของหน้าท่ี และการสูญเปล่าของงบประมาณ รวมทง้ั กาหนดแนวทางเพอื่ ลดเง่ือนไขเชงิ ควบคมุ ให้ความสาคัญ หมวด 16 การปฏิรูปประเทศ มาตรา 259 “ภายใต้บังคับมาตรา กับการเพิ่มอิสระทางการบริหาร และความอิสระทางวิชาการ 260 และมาตรา 261 การปฏิรูปประเทศตามหมวดนี้ ให้เป็นไปตามกฎหมาย ของสถาบันอุดมศึกษา ท่ีอยู่บนความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม ว่าดว้ ยแผนและข้ันตอนการดําเนินการปฏิรูปประเทศซึ่งอย่างน้อยต้องมีวิธีการ และประเทศ ดาเนนิ การปฏิรูประบบงบประมาณและรายได้ของ จัดทําแผน การมีส่วนร่วมของประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอน สถ าบั นอุ ดม ศึก ษา ซึ่ง เป็ นปั จจั ยหลัก ของก าร บริ หา ร ในการดําเนินการปฏิรูปประเทศ การวัดผลการดําเนินการ และระยะเวลา สถาบันอุดมศกึ ษาที่สาคญั ภายใต้หลักการธรรมาภบิ าล ดําเนินการปฏิรูปประเทศทุกด้าน ซ่ึงต้องกําหนดให้เร่ิมดําเนินการปฏิรูป ในแต่ละด้านภายในหน่ึงปีนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้รวมตลอดท้ัง ผลสัมฤทธิ์ทค่ี าดหวงั ว่าจะบรรลุ ในระยะเวลาห้าปี ให้ดําเนนิ การตรากฎหมายตามวรรคหน่งึ และประกาศใช้บังคบั ภายในหน่งึ ร้อยยีส่ ิบวนั นบั แต่ วนั ประกาศใชร้ ัฐธรรมนญู น้ี ในระหวา่ งที่กฎหมายตามวรรคหน่ึงยงั ไมม่ ีผลใชบ้ งั คับ ใหห้ นว่ ยงาน ของรัฐดาํ เนนิ การปฏิรปู โดยอาศยั หนา้ ท่แี ละอาํ นาจทม่ี อี ยแู่ ล้วไปพลางก่อน” Pic. แผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

64 ความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยี การปฏิวัติอุตสาหกรรมในยุคท่ี 4 หรือการพัฒนาสู่ แผนภาพ 3.17 Industrial 4.0 อุต ส าหก ร รม 4 .0 ( Industrial 4.0) ท่ี ใช้ ก ล ไก ขั บ เค ล่ื อน แผนภาพ 3.18 ผใู้ ชอ้ นิ เตอร์เนต็ ในประเทศไทย พ.ศ. 2556 - 2559 อุตสาหกรรมด้วยดิจิทัลเทคโนโลยี ข้อมูลการผลิต บริการ และ ความตอ้ งการของลูกค้าจะถูกเชอื่ มตอ่ ผา่ นระบบอนิ เตอร์เน็ต มีการ นาหุ่นยนต์ และปัญญาประดิษฐ์มาใช้เพิ่มข้ึนในภาคอุตสาหกรรม ท้ังภาคการผลิต และภาคบริการ ซึ่งการผลิตสินค้าและบริการ จะตอบสนองความต้องการของผู้ใช้โดยตรง อุตสาหกรรม 4.0 จึงประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก คือ 1) Cyber-Physical System 2) Internet of Things และ 3) Cloud Computing ท า ง า น ผ่ า น โ ค ร ง ข่ า ย ข น า ด ใ ห ญ่ เ ช่ื อ ม โ ย ง ไ ป ท่ั ว ทุ ก มุ ม โ ล ก เกิดกลุ่มเป้าหมายท่ีหลากหลายเป็นฐานข้อมูลความต้องการของ ลูกค้าขนาดใหญ่ (Big Data) จากกรณีศึกษาของประเทศเยอรมนี การนาดิจิทัลเทคโนโลยีมาใช้สามารถเพิ่ม GDP ของประเทศ คิดเป็นร้อยละหน่ึง ปัจจุบันมีผู้ใช้อินเตอร์เน็ตทั่วโลกอยู่ท่ี 3.8 พันล้านคนหรือคิดเป็นร้อยละ 51 ของประชากรโลก ขณะที่ ประเทศไทยมีผู้ใช้อินเตอร์เน็ตท้ังการใช้งานผ่านคอมพิวเตอร์และ สมารท์ โฟนรวมท้ังสิ้น 43 ล้านคนคดิ เปน็ รอ้ ยละ 65 ของประชากรไทย และมีแนวโนม้ เพ่ิมขึน้ อยา่ งต่อเนอื่ ง แผนภาพ 3.15 อนั ดบั ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ทางด้านดจิ ทิ ลั ของประเทศไทย ดังนั้นการพัฒนาของเทคโนโลยีและการขยายตัวของผู้ใช้ ค.ศ. 2013 – 2017 อินเตอร์เน็ตเปน็ กลไกสาคญั การขบั เคล่ือนประเทศเข้าสู่เศรษฐกิจ ดิจิทัล (Digital Economy) และเปิดโอกาสเข้าถึงองค์ความรู้ท่ีมี 41 อยู่อย่างหลากหลายได้ตลอดเวลาเป็นการสร้างสังคมแห่ง การเรียนรู้ผ่านสังคมดิจิทัล (Digital Society) ประเทศที่มี แผนภาพ 3.16 การพฒั นาดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศจาแนกตามภูมิศาสตร์ ค.ศ. 2016 ความก้าวหน้าหรือสามารถใช้ประโยชน์ทางดิจิทัลเทคโนโลยี อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถสร้างนวัตกรรม จะเป็นประเทศ ที่ได้เปรียบทางการค้าและการเรียนรู้ในยุคศตวรรษที่ 21 จาก การจดั อนั ดบั World Digital Competitiveness Ranking 2016 โดย IMD พบว่าประเทศไทยอยู่ในอันดับท่ี 41 จาก 63 ประเทศ ลดลงจากอันดับที่ 39 ในปี 2015 สอดคล้องกับการจัดอันดับ การ พัฒ นา ทาง ด้า น ICT หรื อ ICT Development Index โดย ITU พบว่าประเทศไทยตกจากอันดับท่ี 79 จาก 175 ประเทศ ในปี 2015 ไปเป็นอันดับที่ 82 ในปี 2016 ซึ่งแสดงถึงนัยสาคัญ ที่สะท้อนการพัฒนาด้านดิจิทัลเทคโนโลยีเป็นสิ่งสาคัญส่งผลให้ ประเทศต่าง ๆ ให้ความสาคัญกับการพัฒนากาลังคน และนา ดจิ ทิ ัลเทคโนโลยมี าใชอ้ ย่างจริงจัง แผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

65 การขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมของประเทศตาม ดิ จิ ทั ล เ ท ค โ น โ ล ยี ส ร้ า ง ผล ก ร ะ ท บ ต่ อ อุ ด ม ศึ ก ษ า นโยบายของรัฐบาล ที่จะนาเอาเทคโนโลยีข้ันสูงท้ังดิจิทัล ที่ค่อนข้างรุนแรง สถาบันอุดมศึกษาจะต้องปรับตัวเพื่อรองรับ เทคโนโลยี เทคโนโลยีชีวภาพ และหุ่นยนต์เข้ามาใช้เพื่อเพิ่ม การเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะการบริหารจัดการ และหลักสูตร ผลผลิต สร้างมูลค่าเพิ่มกับสินค้าและบริการต่าง ๆ ให้สามารถ การเรียนการสอนที่ปรับเปลี่ยนให้สอดรับกับการเกิดโอกาส แข่งขนั ไดใ้ นเวทีโลก รวมทั้งผลักดันที่จะยกระดับทางการศึกษา ทางธุรกิจใหม่ ๆ รวมทั้งอาชีพที่เปล่ียนแปลงตามทิศทางของ เพื่อเตรียมกาลังคนของประเทศให้มีความพร้อมและมีทักษะ กระแสโลก บัณฑติ ต้องปรบั ตวั และมีทกั ษะทางดิจิทัลเทคโนโลยี ท่ีเพียงพอในยคุ เศรษฐกจิ ดจิ ิทลั ที่อตั ราการแขง่ ขนั รนุ แรง โดยใช้ ท่ีเพียงพอ สถาบันอุดมศึกษาต้องดาเนินการปฏิวัติการเรียน ประโยชน์จากการขยายตัวของโครงข่ายความเร็วสูงที่มีต้นทุน การสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ และ ที่ถูกลง ทาให้สามารถส่ือสารโต้ตอบระหว่างผู้สอนและผู้เรียน สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน (Student-Centric) ได้อย่างรวดเร็วในลักษะ Inter Active ในรูปแบบข้อมูล และ โดยเฉพาะลักษณะคนใน GEN-Z ที่เกิดในยุคเทคโนโลยี ภาพเคลื่อนไหว ที่หลากหลายผ่าน Application บน Web 2.0 มีความคิดสร้างสรรค์ ค้นหาเหตุผลด้วยตนเอง และไม่ติดยึดกับ เกิดการปฏิรูปการเรียนรู้และเพิ่มประสิทธิภาพการเรียน การ กฎระเบียบ ซึ่งอาจไม่จาเป็นต้องการใบปริญญาบัตรอีกต่อไป สอนทุกระดับการศึกษา ช่วยให้ผู้ด้อยโอกาสเข้าถึงความรตู้ า่ ง ๆ รวมทั้งใช้เป็นเครื่องมือสร้างกลไกเชื่อมโยงองค์กรท้ังภายใน เป็นแหล่งข้อมูลในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้พิการ ผู้สูงวัย และนอกประเทศ ภาคอุตสาหกรรม ศิษย์เก่า เกิด Social เพิ่มเติมทักษะในการประกอบอาชีพ ให้มีชีวิตอยู่อย่างเป็นสุข Engagement ท่ีแปลงพันธกิจของสถาบันไปสู่ภาคสังคม รวมท้ังลดต้นทุนการเข้าถึงการศึกษาระดับอุดมศึกษา ส่งผลให้ สร้างสังคมให้เข้มแข้ง โดยบทบาทภาครัฐต้องให้การสนับสนุน ขยาย บริก ารอุด มศึก ษาไป ได้ท่ั วโลก เพื่ อตอบ สนอง ในระดับที่เหมาะสมกับความต้องการ เกิดเครือข่ายความเร็วสูง ความต้องการด้านการศึกษาอย่างกว้างขวาง ผลักดันให้เกิด เพ่ือการศึกษาและการวิจัย ส่งเสริมการใช้ฐานข้อมูลความรู้ อุดมศึกษาเพื่อมวลชน ( Massification) นาไปสู่การลด ร่วมกันระหว่างสถาบันอุดมศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพใน ความเหล่ือมล้าทางการศึกษา โดยปรับรูปแบบการเรียน การบริหารจัดการ และการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าของ การสอนสู่ระบบ E-learning และ Digital Education หรือ สถาบันอุดมศกึ ษาอย่างแท้จรงิ MOOCs ที่เกิดประโยชน์กับผู้เรียนและประชาชนในวงกว้าง มี On-line Resource ที่ ส า ม า ร ถ เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ ใ น รู ป แ บ บ แผนภาพ 3.19 รอ้ ยละของประชากรไทยต้ังแตอ่ ายุ 6 ปี ขน้ึ ไปท่ีใช้ ICT ตงั้ แต่ ท่ีหลากหลายทัง้ คอมพวิ เตอรแ์ ละสมารท์ โฟน ซึง่ มผี ู้ใชอ้ ยรู่ ้อยละ พ.ศ. 2555 - 2559 40.5 ของประชากรในปี 2016 ทาให้ผู้เรียนเข้าถึงแหล่งความรู้ ไดท้ ุกทท่ี กุ เวลา และนาไปใช้เป็นเครื่องมือสาหรับนักวิจัยเข้าถึง แหล่งข้อมูลและความรู้ได้อย่างรวดเร็ว เกิดเครือข่ายเชื่อมโยง องค์ความรู้ ความเชี่ ยวชาญ ก ารเรียนก ารสอนแล ะ การเคล่ือนย้ายอาจารย์และนักศึกษา เพ่ือสร้างสังคมแห่ง การเรียนรู้ ( Knowledge Economy) นาไปสู่การพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ ต้ังแต่การมีใช้ การใช้เป็น การแก้ปัญหาได้ จนไปส่กู ารสรา้ งมูลค่าเพมิ่ จากนวัตกรรม แผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

66 สภาพแวดลอ้ มภายในระบบอุดมศกึ ษา คณุ ภาพการศึกษาระดบั อุดมศึกษา คุณภาพการศึกษา คือ มุมมองท่ีแสดงให้เห็นทั้ง ด้านการวิจัย ใ นภาพ รว ม พ บว่าผ ลง านวิจัย ค ว า ม ส า เ ร็ จ แ ล ะ ค ว า ม ไ ม่ ส า เ ร็ จ ข อ ง ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ท่ีตรวจสอบจากรายงานการพิมพ์เผยแพร่เป็นผลงานทาง ระดบั อุดมศึกษาจากอดีตทีผ่ ่านมาและอาจสง่ ผลต่อไปในอนาคต วิชาการผ่านวารสารทางวิชาการในระดับชาติและระดับ โดยเฉพาะในเรอ่ื งคุณภาพของบณั ฑติ และคุณภาพดา้ นการวิจัย นานาชาติมีแนวโน้มเพมิ่ มากขึน้ แต่การผลิตผลงานทางวิชาการ ดังกลา่ วยงั กระจกุ อยเู่ พียงบางสถาบัน ในขณะท่ีบางสถาบันไม่มี ด้านคุณภาพของบัณฑิต แม้ว่าในภาพรวมระบบ ผลงานทางวิชาการเผยแพร่ท้ังในระดับชาติและนานาชาติเลย อุดมศึกษาสามารถผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพและเป็นปัจจัยสาคัญ คุณภาพด้านการวิจัย ถ้าจะพิจารณาในมิติของการสร้าง ในการพัฒนาประเทศได้อย่างต่อเน่ือง แต่มีรายงานเกี่ยวกับ ทรัพยส์ ินทางปัญญา การนาผลการวิจัยไปถ่ายทอดหรือนาไปใช้ ปัญหาแรงงานท่ีสะท้อนคุณภาพของบัณฑิต เช่น ในปี พ.ศ. ประโยชน์เพื่อการพัฒนาประเทศ การสร้างและพัฒนานักวิจัย 2556 มีความต้องการแรงงานระดับปริญญาตรีจานวน 45,000 การทาวิจัยร่วมกับภาคเอกชน ตลอดจนการพัฒนาสร้างสรรค์ คน ซ่งึ สถานประกอบการไมส่ ามารถคดั เลอื กและบรรจแุ ต่งตงั้ ได้ นวัตกรรม พบว่า มีลักษณะท่ีไม่แตกต่างกันกับการเผยแพร่ แตใ่ นขณะเดียวกันกลับพบว่ามีผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญา ผ ล ง า น ท า ง วิ ช า ก า ร ซ่ึ ง มี ลั ก ษ ณ ะ ก ร ะ จุ ก ตั ว แ ล ะ มี จุ ด เ น้ น ตรีกวา่ 75,000 คน วา่ งงาน แสดงใหเ้ ห็นความไม่สอดคล้องของ ท่ีแตกต่างกันตามเอกลักษณ์ของแต่ละสถาบัน (ดูรายละเอียด คุณภาพของบัณฑิตกับความต้องการของตลาดแรงงาน จาก ในบทที่ 5) นอกจากน้ียังพบว่า อาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา การศึกษาตดิ ตามพัฒนาการของระดับความสามารถของบัณฑิต ส่วนใหญ่มีศักยภาพด้านการวิจัยต่า มีปัญหาความสมดุลย์ ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2550 ถึง พ.ศ. 2556 พบว่า มีช่องว่างระหว่าง ระหว่างภาระงานสอนกับภาระงานวิจัย ซ่ึงผู้ทรงคุณวุฒิ ระดับความสามารถบณั ฑิตกบั ความตอ้ งการของนายจ้างเพ่ิมขึ้น เสนอแนะว่า สถาบันท่ีมีศักยภาพด้านการวิจัยสูงจะต้องให้ อย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะความสามารถในการแก้ไขปัญหา ความสาคัญกบั การสร้างนกั วิจัยระดบั ปริญญาเอกหรือระดบั หลัง ความสามารถในการใช้คอมพวิ เตอร์ และความสามารถในการใช้ ปริญญาเอกมากยงิ่ ข้นึ ภาษาอังกฤษ ซ่งึ ในข้อเท็จจรงิ แล้วนายจ้างเองให้ความสาคัญกับ ความสามารถทางดา้ นทกั ษะท่วั ไป (Soft Skills) ซง่ึ รวมถงึ ความ การจัดอนั ดับ (University Ranking) สามารถสะท้อน ซ่ือสัตย์ การตรงต่อเวลา และความกระตือรือร้นในระดับที่สูงขึ้น ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ อุ ด ม ศึ ก ษ า มุมมองของสถานประกอบการยังเห็นว่า สถาบันอุดมศึกษายัง ไดเ้ ช่นเดยี วกัน โดยเฉพาะการจดั อันดับระดับนานาชาติ ในอดีต มิได้ให้ความสาคญั กับการเตรยี มบณั ฑิตเข้าสตู่ ลาดแรงงานอย่าง ที่ผ่านมา พบว่า สถาบันอุดมศึกษาของไทยจานวน 8 แห่ง จริงจัง โดยให้ความสาคัญกับหลักสูตรและการจัดการเรียน จากสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ 156 แห่ง อยู่ในเวทีการแข่งขัน การสอนให้ครบตามท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตร จึงทาให้คุณภาพ ระดับโลกและระดับเอเชีย ผลการจัดอันดับดังกล่าวเกิดจาก ของบัณฑิตมีความแตกต่างหลากหลายระหว่างสถาบันและ ผลการดาเนินงานของสถาบันดังกล่าวในอดีต ซึ่งเป็นไปตาม การตอบสนองต่อความตอ้ งการของสถานประกอบการทแี่ ตกตา่ งกนั สภาพปกติมิได้มีการวางแผนหรือกาหนดเป้าหมายและได้รับ การสนบั สนนุ เป็นพิเศษจากรัฐบาลเพื่อการจัดอันดับแต่อย่างใด แผนภาพ 3.20 ร้อยละของจานวนหลักสตู รท่ี QA ผ่านการกากบั มาตรฐาน จ า ก ก า ร จั ด อั น ดั บ ม ห า วิ ท ย า ลั ย โ ล ก ท่ี ผ่ า น ม า จึ ง พ บ ว่ า ระดบั หลกั สูตร มหาวิทยาลัยไทยมีแนวโนม้ ลดลงจากการจัดอันดบั ของ QS และ THE อย่ าง ไ รก็ ต าม ก าร จั ดอั น ดับ ใ น ระ ดั บส า ขา วิ ช า แผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) (Disciplines) พบวา่ หลายสาขาวชิ าของมหาวิทยาลัยไทยอยู่ใน อันดับท่ีดี จึงเป็นแนวโน้มท่ีควรติดตาม การจัดอันดับโลกยังคง เปน็ ไปตามกระแสโลกาภวิ ตั น์ ประเดน็ เกี่ยวกับเกณฑ์ (Criteria) การประเมินได้มีการพัฒนาปรับเปล่ียนสอดคล้องกับทิศทาง การพัฒนามหาวิทยาลยั ที่เป็นสากลมากยิ่งข้ึนและเช่ือว่าจะเป็น ประโยชน์ตอ่ การพัฒนาสถาบนั อดุ มศกึ ษาของประเทศในระยะยาว

67 ผลกระทบการวิเคราะห์มิติคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา เมื่อเปรียบเทียบกับแนวโน้มความต้องการใน การพัฒนาประเทศในอนาคต พบวา่ คณุ ภาพการศึกษาเปน็ ปัจจัยท่ีสาคัญท่ีสุดท่ีต้องกาหนดแนวคิดใหม่ในเรื่องคุณภาพการศึกษา ตลอดจนแนวคิดเร่ืองมาตรฐานการศึกษา โดยควรพจิ ารณาให้ความสาคญั ในประเดน็ ดังตอ่ ไปนี้ การกาหนดมาตรฐานอุดมศึกษาใหม่ หมายความ การประกันคุณภาพและการประเมินคุณภาพ ระบบ รวมต้ังแต่การปรับแนวคิดเร่ืองมาตรฐานการศึกษา ซึ่งต้องเป็น การประกันคุณภาพจะต้องปรับปรุงให้สอดคล้องกับผลงานและ มาตรฐานเดียวนั้น อาจไม่สอดคล้องกับความหลากหลายของ ศักยภาพตามกลุ่มเชิงยุทธศาสตร์ของสถาบันอุดมศึกษา สถาบันอุดมศึกษาและความต้องการของภาคผู้ใช้บัณฑิตและ การประเมินคุณภาพหรือประเมินทักษะของบัณฑิตจะต้องได้ ผลงานวิจัย เป้าหมายในระยะยาวจึงต้องให้ความสาคัญกับ การพัฒนาให้เป็นส่วนสาคัญของระบบอุดมศึกษา เพ่ือรายงาน การยกระดับคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษาให้สูงขึ้น ต่อสาธารณะว่า ณ เวลาน้ัน ๆ บัณฑิตมีศักยภาพในด้านต่าง ๆ อย่างน้อยต้องให้ทัดเทียมประเทศพัฒนาแล้ว โดยมุ่งเน้น มากนอ้ ยเพยี งใด และจะเป็นข้อมูลสาคญั ในการกาหนดนโยบาย ศักยภาพ ซ่ึงประกอบด้วยองค์ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะ การแก้ไขปัญหา และสามารถสร้างความเชื่อมั่นว่าในอนาคต อั น พึ ง ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง บั ณ ฑิ ต ที่ ต อ บ ส น อ ง ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ใ น จะมีทรพั ยากรมนษุ ย์ ซึ่งเป็นปัจจยั ของการเพิ่มขีดความสามารถ การพัฒนาประเทศในมิติที่แตกต่างกัน ประเด็นสาคัญจึง ในการแข่งขนั ของประเทศระดบั โลก เก่ียวข้องกับการกาหนดมาตรฐานการศึกษาระดบั อดุ มศกึ ษาใหม่ มาตรฐานผลการเรยี นรู้ มาตรฐานหลกั สูตร ตลอดจนการวัดและ การปฏิรูปการจัดการเรียนการสอน การสร้าง ประเมนิ ผลการศึกษา มาตรฐานใหม่ เพ่ือยกระดับคุณภาพอุดมศึกษาจะข้ึนอยู่กับ ความสามารถในการปฏิรูปการเรียนการสอน ด้วยแนวความคิด การจัดกลุ่มเชิงยุทธศาสตร์ของสถาบันอุดมศึกษา หรือทฤษฎีการเรียนรู้ใหม่ในศตวรรษที่ 21 และอิทธิพลของ การจัดกลุ่มยุทธศาสตร์ของสถาบันอุดมศึกษา หมายถึง การ เทคโนโลยีดิจิทัลกับการสร้างระบบรองรับการพัฒนาวิชาชีพ กา หน ด จุ ด ยื น จุ ด เน้ น ต ล อด จ น พ้ื น ท่ี ใ ห้ บ ริ ก า ร ข อง ด้านการสอนและการพัฒนานักศึกษาใหม่ ทาให้คณาจารย์ สถาบันอุดมศึกษาให้ชัดเจนว่ามีความมุ่งหมายในด้านการผลิต ไ ด้ เ รี ย น รู้ แ ล ะ พั ฒ น า ต น เ อ ง ต า ม เ ก ณ ฑ์ ม า ต ร ฐ า น ส า ก ล กาลังคน การผลิตผลงานวิจัย การถ่ายทอดเทคโนโลยีอย่างไร ในระดับอุดมศึกษา ตลอดจนการจัดการศึกษาบูรณาการกับ ซึ่งจะมีความแตกต่างกันตามผลงาน (Performance) และ กา ร ทา งา น (Work Integrated Education) หรือกา รใ ห้ ศักยภาพ (Potential) ของสถาบันแต่ละแห่ง ซ่ึงตอบสนอง นักศึกษาได้มีโอกาสเขา้ ไปทางานกบั ภาคเอกชน และทางานวิจัย ความต้องการในการพฒั นาประเทศทแี่ ตกต่างกัน เพ่ือตอบโจทย์ของภาคการผลิต (Talent Mobility) จะทาให้ การผลิตบัณฑิตมิได้มุ่งเพ่ือปริญญาบัตร แต่มุ่งเน้นการทางาน และการสร้างงาน นาไปสูก่ ารพฒั นาประเทศทีย่ ัง่ ยนื แผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

68 การเข้าถงึ บริการอดุ มศึกษา จากการขยายตัวของระบบอุดมศึกษาในช่วง 20 ปีท่ี แผนภาพ 3.21 จานวนนกั ศึกษาใหม่ทกุ ระดบั ในสถาบันอดุ มศึกษาสงั กัด ผ่านมา ทาให้จานวนสถาบันอุดมศึกษาทั้งภาครัฐและ สานักงานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา ปี พ.ศ. 2550 - 2557 ภาคเอกชนมีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้น สามารถให้บริการ การศึกษาระดับอุดมศึกษาเพ่ิมมากข้ึนด้วย ทาให้ระบบ หน่วย : คน อุดมศึกษาของประเทศเปล่ียนจากการศึกษาเพื่ออภิสิทธิชน (Elite Education) ไปสู่การศกึ ษาเพอ่ื มวลชน (Mass Education) จากการวิเคราะห์แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ตัว ชี้ วั ดที่ ส า คัญ ป ระ กอบ ด้ วย อั ตราการเข้ าเรี ยนใน ประชากรในอนาคต พบวา่ จานวนประชากรวัยอุดมศกึ ษา (อายุ ระดับอุดมศึกษา (Higher Education Enrollment Rate) 18-22 ป)ี มแี นวโน้มลดลงจากปี พ.ศ. 2557 จานวน 4.82 ล้าน หมายถึง อัตราส่วนของจานวนนักศึกษาท่ีกาลังศึกษาใน คน เหลือ 3.62 ล้านคนในปี พ.ศ. 2575 หรือลดลงประมาณ ระดับอุดมศึกษา (โดยไม่จาแนกอายุ) ต่อจานวนประชากรรวม 1.20 ล้านคน ดังนั้น จึงน่าจะเกิดผลกระทบอย่างรุนแรงต่อ ของประเทศ อายุ 18-22 ปี และในบางกรณีอาจใช้อัตราส่วน ระบบอุดมศึกษาของประเทศ และจากการติดตามจานวน ของจานวนนักศึกษาท่ีกาลังศึกษาในระดับอุดมศึกษาต่อ นักศึกษาใหมต่ ้ังแต่ปี พ.ศ. 2550 จนถึงปี พ.ศ. 2557 พบว่า ใน ประชากร 100,000 คน ภาพรวมไมม่ ีการขยายตัว หรือมีการขยายตัวเพียงเล็กน้อย โดย พิจารณาจากจานวนนักศึกษาใหม่ปี พ.ศ. 2550 จานวน ในปี พ.ศ. 2557 ระบบอุดมศกึ ษาของประเทศให้บริการ 572,517 คน เทยี บกับปี พ.ศ. 2557 จานวน 579,976 คน และ แก่นักศึกษารวมท้ังสิ้น 2.4 ล้านคน เมื่อเทียบกับประชากร พบว่า สถาบันอุดมศึกษาบางแห่งรับนักศึกษาใหม่ได้น้อยกว่า วัยอุดมศึกษา (อายุ 18-22 ปี) พบว่า อัตราการเข้าเรียน เป้าหมายท่ีกาหนด สถาบันอุดมศึกษาหลายแห่งกาลังปรับ ในระดับอุดมศึกษาร้อยละ 51 ซึ่งถือว่าอยู่ในระดับสูงพอสมควร ยุทธศาสตร์การรับนักศึกษา เพื่อรักษาสถานภาพการผลิต เมื่อเทียบกับร้อยละ 36 ของประเทศมาเลเซีย และร้อยละ 32 บณั ฑิตของตนเองไว้ ของประเทศอินโดนีเซีย และในขณะเดียวกัน จากจานวน นักศึกษาระดับอุดมศึกษาดังกล่าว เม่ือเทียบกับประชากร ในระยะ 20 ปี (ภายในปี พ.ศ. 2579) ได้มีการ 100,000 คน พบว่า ระบบอุดมศึกษาของประเทศสามารถ ประมาณการว่า อัตราการเข้าเรียนในระดับอุดมศึกษาจะอยู่ใน ให้บริการได้ในอัตรา 3,565 คน เม่ือเทียบกับประเทศญี่ปุ่น ระดับร้อยละ 60 ซ่ึงสูงกว่าท่ีเป็นอยู่ในปัจจุบัน แต่ด้วยเหตุที่ สามารถใหบ้ ริการได้ 3,041 คน อยา่ งไรก็ตาม อัตราการเข้าเรียน จานวนประชากรวัยอุดมศึกษา (อายุ 18-22 ปี) จะลดลงเหลือ ในระดับอุดมศึกษายังแสดงให้เห็นความสามารถของระบบ ประมาณ 3,618,000 คน จึงประมาณการว่าจะมีนักศึกษารวม อุ ด ม ศึ ก ษ า ใ น ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร แ ก่ ป ร ะ ช า ก ร น อ ก วั ย เ รี ย น ในระดับศึกษาประมาณ 2,206,000 คน หรือต้ังแต่ปัจจุบันจะมี ระดับอุดมศึกษา (Non-Higher Education Age-group) เช่น จานวนนักศึกษาระดับอุดมศึกษาลดลงปีละประมาณ 15,000 อัตราเข้าเรียนในระดับอุดมศึกษาของประเทศสาธารณรัฐเกาหลี คน ซ่ึ งจ ะ เ กิด ผ ล ก ระ ท บ ทา ง ต รง ต่ อ ก า ร บ ริ หา ร ข อ ง ร้อยละ 98 ประเทศสหรัฐอเมริกา ร้อยละ 94 ประเทศญี่ปุ่น สถาบันอุดมศึกษาและการตอบสนองความต้องการทรัพยากร รอ้ ยละ 61 เป็นตน้ มนษุ ยเ์ พอื่ การพัฒนาประเทศในอนาคต จานวนนักศึกษาส่วนใหญ่ (ร้อยละ 85) ศึกษาใน สถาบันอุดมศึกษาภาครัฐ จานวนนักศึกษาส่วนนี้เหลือ (ร้อยละ 15) ศึกษาในสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชน แผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

69 ผลกระทบสาคัญทจ่ี ะเกดิ ทสี่ ่งผลตอ่ การจัดการศึกษา แผนภาพ 3.22 ปริ ามดิ โครงสรา้ งประชากรไทย ปี พ.ศ. 2537 เทยี บกับ ระดบั อุดมศกึ ษาของประเทศ ประกอบด้วย ปี พ.ศ. 2557 โอกาสการเข้าถึงบริการการอุดมศึกษา ในด้าน ผู้รบั บริการหรือนกั ศกึ ษาจะมีโอกาสเขา้ ถึงบริการการอุดมศึกษา ไดส้ งู ขึ้น จากการปรบั อตั ราการเข้าเรียนในระดับอุดมศึกษาจาก ร้อยละ 51 เป็นร้อยละ 60 ในขณะเดียวกัน สถาบันอุดมศึกษา จะเกิดการแข่งขันในด้านคุณภาพมากย่ิงขึ้น เพ่ือสร้างแรงจูงใจ ให้นักศึกษาเลือกเข้าศึกษาในสถาบันของตน จาเป็นต้องปรับ ทัศนคติในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาท่ีมิได้มุ่งเพ่ือปริญญา เป็นหลัก แต่ต้องมุ่งเพ่ือการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้เพื่อ พึ่งตนเอง และสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน สถาบันอุดมศึกษา จะต้องปรับช่องทางการเข้าถึงอุดมศึกษาให้หลากหลาย สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนที่อยู่นอกวัยอุดมศึกษา (Non Age group) และให้ความสาคัญกับการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life-Long Learning) ตลอดจนนกั ศกึ ษาต่างชาติ การปรับยุทธศาสตร์ของสถาบันอดุ มศกึ ษา การลดลง ความเสี่ยงทางการเงิน สถาบันอุดมศึกษาจะเผชิญ ของจานวนนักศึกษา ซึ่งเป็นผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง กับความเส่ียงทางการเงิน แม้จะเป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ โครงสร้างประชากร เป็นโอกาสดีท่ีสถาบันอุดมศึกษาจะต้อง ก็ตาม อันเน่ืองมาจากการลดลงของจานวนนักศึกษา ปรับยุทธศาสตร์ (Reprofiling) ให้เห็นจุดเน้น จุดยืน และ สถาบันอุดมศึกษาต้องปฏิรูประบบการเงินและงบประมาณเพ่ือ การตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ชาติ สร้างแรงจูงใจให้เกิด สร้างความหลากหลายของแหล่งเงินทุนที่มิได้ขึ้นอยู่กับจานวน การปฏิรูปการเรียนการสอน การพัฒนาหลักสูตรให้นาสมัย นักศึกษาแต่เพียงด้านเดียว การปรับเปล่ียนกลยุทธ์ใน ให้กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการเรียน การดาเนินการตามพันธกิจให้ตอบสนองความต้องการของกลุ่ม การสอน และการประเมินผลการเรียนอย่างจริงจัง ตลอดจน ผู้ได้ประโยชนท์ ่หี ลากหลายตลอดจนการบรหิ ารจัดการทรัพย์สิน การสร้างความร่วมมือกับสถาบันอุดมศึกษาในต่างประเทศ ทางปญั ญา การบรหิ ารจัดการงานวจิ ัย การสร้างสรรค์นวัตกรรม ในการยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศกึ ษา จึงเป็นช่องทางใหม่ท่ีทาให้สถาบันอุดมศึกษาสามารถขจัดหรือ ลดความเสย่ี งทางการเงนิ ในอนาคตได้ แผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

70 ความเทา่ เทยี มและความเปน็ ธรรม แผนภาพ 3.24 เปรยี บเทยี บจานวนผวู้ า่ งงาน จาแนกตามระดบั การศึกษาท่สี าเรจ็ ถึ ง แ ม้ ว่ า ร ะ บ บ อุ ด ม ศึ ก ษ า ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ส า ม า ร ถ กองทุนเงนิ ให้กยู้ ืมเพอ่ื การศึกษา (กยศ.) ในหลักการ ให้บริการการอุดมศึกษาแก่ประชากรได้เป็นจานวนมากและ แล้ว กยศ. เป็นกลไกของรัฐในการสร้างความเท่าเทียมและ พัฒนาไปสู่อุดมศึกษาเพ่ือมวลชนแล้วก็ตาม แต่ถ้าพิจารณา ความเปน็ ธรรม เพ่อื การเข้าถึงบริการการอุดมศึกษา โดยเฉพาะ ในด้านความเท่าเทียมและความเป็นธรรมในสังคมแล้วยังมี นักศึกษาท่ีมาจากครอบครวั ผู้มีรายได้นอ้ ย ในระยะเวลาทผี่ า่ นมา ข้อสังเกตบางประการท่ีต้องพิจารณาปรับปรุงเพื่อเสริมสร้าง กยศ. ต้องประสบปัญหาจากกรณที ผ่ี ู้กยู้ มื จานวนมากไม่ชาระคืน ค ว า ม เ ท่ า เ ที ย ม แ ล ะ ค ว า ม เ ป็ น ธ ร ร ม ใ น ก า ร เ ข้ า ถึ ง บ ริ ก า ร เงินกู้เม่ือครบกาหนด ทาให้ กยศ. ไม่สามารถนาเงินท่ีชาระคืน การอุดมศกึ ษาเพิม่ มากขนึ้ ไปหมุนเวียนให้ผู้กู้รายใหม่ได้ และต้องอาศัยเงินงบประมาณ แผ่นดินเพ่ิมเติมเป็นประจาทุกปี เพื่อรักษาความเท่าเทียมและ ความแตกต่างทางเพศ จากการวิเคราะห์ข้อมูล ความเป็นธรรมในโอกาสการเข้าถึงการศึกษาระดับอุดมศึกษา นักศึกษาเบอื้ งต้น พบว่า ในปีการศึกษา พ.ศ. 2558 จากจานวน ตามวัตถุประสงค์ของกองทุน อย่างไรก็ตามสาเหตุส่วนหนึ่งของ นักศึกษาระดบั อุดมศึกษารวมท้ังประเทศเป็นนักศึกษาเพศหญิง ปัญหานี้คือ การไม่มีงานทา หรือ การทางานต่าระดับ ซ่ึงได้ ร้อยละ 62.5 และเป็นนักศึกษาเพศชาย ร้อยละ 37.5 เม่ือ ค่าตอบแทนไม่เพียงพอในการดารงชีพและชาระคืนเงินกู้ยืม เปรียบเทียบกับประชากรท้ังประเทศในปีเดียวกัน พบว่า จาก เพ่ือการศึกษา กรณีนี้กาลังเป็นปัญหาระหว่างการเพิ่มโอกาส จานวนประชากรท้ังหมดเป็นประชากรเพศหญิง ร้อยละ 50.8 และความเปน็ ธรรมทางการศึกษาให้แก่ครอบครัวผู้มีรายได้น้อย และเป็นประชากรเพศชาย ร้อยละ 49.2 ในด้านประชากร กับการได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพที่สามารถสร้างงาน ทั้งประเทศ พบว่า สัดส่วนของเพศหญิงและเพศชายมิได้ สร้างรายได้ให้แก่ผู้สาเร็จการศึกษา ซ่ึงหากไม่ได้รับการแก้ไข แตกต่างกันมากนัก และนักศึกษาระดับอุดมศึกษา พบว่า กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) จะมิใช่กลไกในการ สัดส่วนของนักศึกษาเพศหญิงมีแนวโน้มสูงกว่าสัดส่วนของ ยกระดับสถานภาพทางเศรษฐกิจของครอบครัวผู้มีรายได้น้อย นักศึกษาเพศชายอย่างชัดเจน แต่อย่างไรก็ตามยังไม่มีผล แตจ่ ะเปน็ การเพ่มิ ภาระทางเศรษฐกจิ และสงั คมอยา่ งตอ่ เน่อื ง การศึกษาวิจัยท่ียืนยันชัดเจนว่าความแตกต่างทางเพศมีผลต่อ ความเท่าเทียมและความเป็นธรรมในโอกาสการเข้าถึงบริการ แผนภาพ 3.25 จานวนคนจน จาแนกตามวฒุ ิการศึกษา พ.ศ. 2560 การอุดมศกึ ษาหรือไม่ สัดส่วนนกั ศกึ ษาชาย : หญงิ 37.5 : 62.5 1 : 100,000 คน แผนภาพ 3.23 สดั ส่วนนกั ศึกษาชายต่อนกั ศึกษาหญิง ปกี ารศกึ ษา พ.ศ. 2558 โอกาสการเข้าถึงบริการการอุดมศึกษาคุณภาพสูง จากการวิเคราะห์มีข้อสังเกตที่ว่า สถาบันอุดมศึกษาที่มี คุณภาพสงู สามารถคัดเลือกนักศึกษาเก่งเข้าเรียน และนักศึกษา เก่งเหลา่ นน้ั มกั จะมาจากครอบครัวผู้มีรายได้สูง ซ่ึงสามารถดูแล บุตรหลานให้ได้รับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีมีคุณภาพได้ จึงทาให้ นักศึกษาท่ีมาจากครอบครัวผู้มีรายได้ต่ากว่ารายได้ปานกลาง มีโอกาสเข้าถึงการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มีคุณภาพสูงน้อยลง ผู้มาจากครอบครัวที่มีรายได้สูงยังได้รับประโยชน์จากการท่ีต้อง รับผิดชอบค่าใช้จ่ายทางการศึกษาท่ีต่ากว่า อันเน่ืองมาจาก สถาบันอุดมศึกษาคุณภาพสูงเหล่าน้ันมักเป็นสถาบันอุดมศึกษา ของรฐั ท่มี ีคา่ เลา่ เรียนต่ากวา่ เนื่องจากการอุดหนนุ จากรฐั แผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

71 การศึกษาสาหรับผู้พิการ ระบบอุดมศึกษาของ ผลกระทบ ประเด็นความเทา่ เทยี มและความเปน็ ธรรม ประเทศขณะนี้เปิดกว้างและให้ความเป็นธรรมต่อผู้พิการ โดยท่ัวไปแล้วมิใช่ปัญหาหลกั ในระบบอดุ มศกึ ษา แตก่ ารพจิ ารณา มากย่ิงขึ้น ปัญหาพ้ืนฐานคงจะอยู่ที่ระบบอุดมศึกษามีความรู้ นโยบายในระยะยาวคงต้องให้ความสาคัญกับการปรับตัว ความเข้าใจในการจัดการศึกษาสาหรับผู้พิการมากน้อยเพียงใด เ พื่ อ ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ ก ล ไ ก ก า ร ส นั บ ส นุ น ค วา ม เ ท่ า เ ที ย ม แ ล ะ เพราะการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาคือการจัดการศึกษา ความเป็นธรรมของภาครัฐ สามารถทาหน้าท่ีอย่างมี แบบการเรียนร่วม หมายความว่า นักศึกษาผู้พิการจะต้องเรียน ประสิทธิภาพ โดยเฉพาะกองทุนเงินให้กู้ยืมเพ่ือการศึกษา ร่วมกับนักศึกษาปกติ แต่สถาบันอุดมศึกษาจะต้องจัดระบบ (กยศ.) ตอ้ งร่วมมอื กับสถาบนั อดุ มศกึ ษาในการจัดการศึกษาที่ให้ การสนับสนุนให้ผู้พิการประเภทต่าง ๆ สามารถเรียนรู้ ความสาคัญกับการมีงานทาของบัณฑิตทุกระดับทุกประเภท เช่นนักศึกษาปกติได้ ระบบสนับสนุนดังกล่าวจะแตกต่างกัน ควบคู่กับการจัดระบบการคัดเลือกผู้กู้ เพ่ือให้มีจิตสานึกใน ตามศักยภาพและความสามารถของผู้พิการแต่ละคน ดังนั้น ความรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว และประเทศชาติที่ต้อง ความเท่าเทียมและความเป็นธรรมในกรณีของผู้พิการคือ ศกึ ษาใหส้ าเรจ็ และมงี านทา ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง ส ถ า บั น อุ ด ม ศึ ก ษ า ใ น ก า ร จั ด ร ะ บ บ สนับสนนุ ให้ผูพ้ กิ ารสามารถเรียนรูไ้ ด้อย่างเท่าเทียมกับนักศึกษา อีกประการหน่ึงระบบอุดมศึกษาควรสร้างกลไกในการ ปกติ สนับสนุนส่งเสริมใหน้ กั เรียนจากผมู้ รี ายได้น้อยตามนโยบายของ รัฐคือ กลุ่มครอบครัวผู้มีรายได้น้อย ร้อยละ 40 แรก (B40) ได้มีโอกาสเข้าถึงบริการอุดมศึกษาที่เท่าเทียมและเป็นธรรม ผ่านระบบการคัดเลือกเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาท่ีมี ความหลากหลายและได้รับการสนับสนุนจากสถาบันอุดมศึกษา อย่างต่อเน่ือง ต้ังแต่การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จนสามารถมีงานทา ภาครัฐควรใช้กลไกทางการเงินและงบประมาณผ่าน สถาบันอุดมศึกษาเพื่อจูงใจให้สถาบันอุดมศึกษาคุณภาพสูง คัดเลือกผู้ด้อยโอกาสและผู้ท่ีมาจากครอบครัวผู้มีรายได้ต่า (B40) เขา้ รับการศกึ ษาในสถาบนั คณุ ภาพสูงมากย่ิงขน้ึ พร้อมทั้ง ส่งเสริมกิจกรรมพันธกิจสัมพันธ์ทั้งในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และ ชุมชนใหม้ ากขน้ึ (Social Engagement) แผนอดุ มศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

72 ประสทิ ธภิ าพการบรหิ าร ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง ก า ร บ ริ ห า ร เ ป็ น ป ร ะ เ ด็ น ท่ี มี ประสทิ ธภิ าพของผลผลิตในระบบอดุ มศึกษา ค ว า ม ส า คั ญ แ ล ะ ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ก า ร ด า เ นิ น ง า น ข อ ง สถาบันอุดมศึกษาที่รุนแรงมาก ระบบอุดมศึกษาของประเทศไทย ขาดการวิเคราะห์ดัชนีประสิทธิภาพการผลิตบัณฑิต มักมองประเด็นประสิทธิภาพอยู่ท่ีความคล่องตัวในการบริหาร เช่น อัตราการออกกลางคัน อัตราการสาเร็จการศึกษา อัตรา จัดการมากกว่าความคุ้มค่าและความเหมาะสมของต้นทุนใน ก า ร ค ง อ ยู่ ต ล อ ด จ น ค ว า ม สู ญ เ ป ล่ า ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า การจัดการศึกษาเม่ือเปรียบเทียบกับคุณค่าของผลลัพธ์ที่ได้ ระดบั อดุ มศึกษา ปัญหาน้ีเกิดข้ึนทั้งในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ ซ่ึงมี ประเดน็ ที่ผูท้ รงคุณวฒุ ิวิเคราะหไ์ ว้ดงั ตอ่ ไปน้ี ขาดระบบการประเมินผลด้านการวิจัยในภาพรวม ของประเทศ ทาให้การรับรู้สถานภาพการพัฒนาองค์ความรู้ ประสิทธภิ าพของระบบอดุ มศกึ ษา ในสาขาวิชาต่าง ๆ ขาดความชัดเจน การลงทุนด้านการวิจัย ประยุกต์ทม่ี ุ่งเนน้ การใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ร ะ บ บ ก า ร ว า ง แ ผ น ทั้ ง ร ะ ดั บ น โ ย บ า ย แ ล ะ ร ะ ดั บ และชมุ ชน ขาดการตดิ ตามจนถงึ ระดับการรับรู้ผลกระทบ สถาบนั ไม่สอดคล้องกับระบบการจัดสรรเงนิ งบประมาณอดุ หนุน สถาบันอุดมศึกษา ท้ังสองระบบเป็นกลไกท่ีแยกส่วนผู้มีอานาจ ประสทิ ธภิ าพในการบรหิ ารสถาบนั อดุ มศกึ ษา ห น้ า ที่ ก า ห น ด น โ ย บ า ย แ ล ะ แ ผ น กั บ ผู้ มี อ า น า จ ห น้ า ท่ี ใ น การจัดสรรเงินงบประมาณอุดหนุนต่างยืนยันในความถูกต้อง ประสิทธิภาพในการบริหารสถาบันอุดมศึกษามักจะให้ เ ห ม า ะ ส ม โ ด ย อ า ศั ย น โ ย บ า ย ข อ ง รั ฐ บ า ล เ ป็ น ห ลั ก ความสาคัญกับความอิสระและคล่องตัวในการบริหารตลอดจน ความไม่สอดคล้องนั้นทาให้สถาบันอุดมศึกษาเลือกท่ีจะทางาน การพัฒนาไปสู่สถาบันในกากับของรัฐเป็นส่วนใหญ่ ทาให้ ตามงบประมาณที่ได้มากกว่านโยบายและแผนที่กาหนดและ ประสิทธิภาพการบริหารในแนวความคิดเกี่ยวกับการบริหาร ขาดการการทางานท่กี ่อให้เกดิ ผลสัมฤทธ์ใิ นระยะยาว ที่นาไปสู่ผลสาเร็จโดยใช้ทรัพยากรด้านต่าง ๆ อย่างประหยัด คุ้มค่า มีต้นทุนท่ีเหมาะสม ทันเวลา และมีคุณภาพได้รับ ขาดระบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผล ความสาคัญน้อยลง ทั้งน้ีอาจเน่ืองจากระบบการจัดสรรเงิน การดาเนนิ งานในระบบอุดมศึกษา ทาใหข้ าดข้อมลู หลักสูตรและ อุดหนุนและการกากับดูแลจากภาครัฐยังไม่สร้างเง่ือนไข การวิจัย การดาเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาในภาพรวมว่า อย่างเพียงพอในการกระตุ้นให้สถาบันอุดมศึกษาโดยเฉพาะ เกิดประสทิ ธิผลตามเป้าหมาย (แผน) ที่กาหนดมากน้อยเพียงใด ในภาครัฐต้องพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารอย่างจริงจัง โ ด ย เ ชื่ อ ว่ า ร ะ บ บ ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น แ ล ะ ร ะ บ บ ระบบบรหิ ารสถาบนั อดุ มศกึ ษาจึงมีลักษณะท่ีอ่อนแอไม่ทันสมัย การประเมินคุณภาพจากภายนอกท่ีมีการรับรองด้วยนั้น และปรับตัวล่าช้าในการตอบสนองความเปลี่ยนแปลงของสังคม เป็นเคร่ืองชี้ความสาเร็จของระบบอุดมศึกษาท่ีเพียงพอแล้ว และโลกาภิวัฒน์ ในบางกรณที ่ภี าครฐั ผอ่ นคลายกฎระเบียบ เช่น แต่ที่จริงระบบดังกล่าวน้ันเป็นเพียงการประกันคุณภาพท่ีเน้น การจัดตั้งส่วนงานภายในโดยอานาจของสภาสถาบัน ทาให้เกิด กระบวนการและผลผลิตบางส่วนไม่สามารถชี้นาให้เห็น การขยายตัวของส่วนงานภายในมากมายจนเกินความจาเป็น ความสาเรจ็ ของอุดมศึกษาทง้ั ระบบได้ ประกอบกบั การขาดการวางแผนดา้ นกาลงั คนจึงกลบั เป็นปัญหา ด้านงบประมาณของสถาบันในเวลาต่อไป ขาดระบบสารสนเทศอุดมศึกษาที่มีคุณภาพถูกต้อง แ ล ะ ทั น ส มั ย เพื่ อก า หน ด น โ ย บ า ย ก า ร ว า ง แ ผ น แ ล ะ การประเมินผลในระบบอุดมศึกษา มีการพัฒนาระบบ สารสนเทศแบบแยกส่วนตามวัตถุประสงค์เฉพาะด้าน จึงทาให้ ขาดการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ได้สารสนเทศอุดมศึกษาท่ี เปน็ ประโยชนแ์ ละเปน็ ปัจจุบนั (Real time) แผนอดุ มศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

73 ผลกระทบ ความมีอิสระและคล่องตัวของสถาบันอุดมศึกษา รัฐ ต้องให้ความสาคัญกับการพัฒนาให้สถาบันอุดมศึกษาสามารถ การพัฒนากลไกการกากับดูแลระบบอุดมศึกษา บริหารจัดการโดยอิสระและมีความรับผิดชอบต่อความสาเร็จ การพัฒนาอุดมศึกษาในระยะยาวต้องให้ความสาคัญกับ และความอยู่รอดของตนเองให้มากท่ีสุด สามารถพัฒนา ปร ะ สิ ท ธิ ภ า พ กา ร บ ริ ห า ร ง า นใ น ร ะ ดั บ ส ถ าบั น ใ ห้ ม า ก ที่ สุ ด ระบบบริหารท่ีเหมาะสมกับบริบทและศักยภาพของตนใน ในหลักการสถาบันอุดมศึกษาต้องมีอิสระและความคล่องตัว การตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศ โดยรัฐควร ในการบริหารกจิ การภายในของตน เพือ่ ตอบสนองความตอ้ งการ กาหนดกลุ่มยุทธศาสตร์ (University Strategic Profiles) ในการพัฒนาประเทศตามเอกลักษณ์ ความเช่ียวชาญ และ ท่ีแสดงถงึ ทิศทางการดาเนนิ ภารกิจของสถาบันและศักยภาพที่มี ความพรอ้ มของแต่ละสถาบันสอดคล้องกับหลักนิติธรรม จึงเป็น ความเป็นไปได้สูงสุดที่สามารถตอบสนองความต้องการ หน้าที่ของแต่ละสถาบันท่ีต้องบริหารจัดการให้บรรลุเป้าหมาย ตามยุทธศาสตร์ที่แตกต่างกัน และใช้กลไกการกากับดูแลระบบ ดังกล่าว ทัง้ นีย้ ่อมข้ึนอยู่กับกลไกการกากับดูแลจากภาครัฐท่ีจะ อุดมศึกษาที่พัฒนาข้ึนใหม่ในการสร้างแรงจูงใจและสนับสนุน กระตุ้นใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลงในระดบั สถาบันได้ กลไกดังกล่าว สถาบนั ให้พฒั นาไปไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ ควรเริ่มต้นจากการสร้างความเช่ือมโยงสอดคล้องระหว่าง การกาหนดนโยบายกับการจัดสรรงบประมาณแผ่นดินและ การประเมินผลงานในระบบอุดมศึกษา การจัดสรรงบประมาณ จะต้องมีเงื่อนไขที่สอดคล้องกับผลผลิตหรือผลลัพธ์อันเป็น จุดประสงค์ของนโยบายประกอบกับการประเมินผลงานท่ีเป็น กลไกบง่ ช้คี วามสาเรจ็ ของระบบอุดมศึกษาท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ แผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

74 การตอบสนองกบั บรบิ ทที่เปล่ียนแปลง สถาบันอุดมศกึ ษามคี วามรับผดิ ชอบในการปฏบิ ตั พิ นั ธกจิ แผนภาพ 3.26 Global Innovation Index 2017 ให้ตอบสนองต่อความต้องการของสังคมและนโยบายของรัฐ ในการพัฒนาประเทศ ในขณะท่ีปัจจัยภายนอกต่าง ๆ มีความ 51. Thai เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและต่อเน่ือง สถาบันอุดมศึกษา บางแห่งจึงมีปัญหาในการปรับกลไกการบริหารให้ทันต่อ การวิจยั ทีม่ ุ่งเน้นประโยชน์ทางวิชาการกับประโยชน์ ความเปลี่ยนแปลงหรือมีความล่าช้าในการตอบสนองต่อ เชิงพาณิชย์ นับว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ เมื่อ การเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลกาภิวัตน์ โดยมีประเด็นที่ควร สถาบันอดุ มศกึ ษาต้องทาหน้าท่ีกลไกขับเคล่ือนการเจริญเติบโต พจิ ารณาดงั ต่อไปนี้ ของประเทศ (New Growth Engines) ซึ่งต้องปรับบทบาท ด้านการวิจัยให้เกิดดุลยภาพระหว่างการวิจัยเชิงวิชาการและ การผลิตกาลังคนไม่สอดคล้องกับความต้องการ การวิจัยเชิงประยุกต์ อย่างไรก็ตามดุลยภาพดังกล่าวจะขน้ึ อยกู่ บั ที่เปล่ียนแปลงไป จากสถานการณ์ที่สถานประกอบการ สถาบันน้ัน ๆ อยู่ในกลุ่มยุทธศาสตร์ (University Strategic ยังขาดแคลนกาลังแรงงานระดับปริญญาตรีเป็นจานวนมาก Profiles) ใด ซง่ึ จะสะทอ้ นลกั ษณะของผลงานวิจัยที่แตกต่างกัน แต่ก็มีบัณฑิตจานวนมากเช่นกันท่ีไม่สามารถหางานทาได้ อย่างชดั เจน ประเดน็ นีอ้ าจจะเกิดจากความล่าช้าในการปรับเปล่ียนหลักสูตร ตลอดจนการจัดการเรียนการสอนให้ทันสมัยกับความต้องการ ความเชื่อมโยงระหว่างโลกวิชาการกับโลกของ ท่ีเปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็วหรืออาจเกิดจากความพร้อม การทางาน ส ถ า บัน อุด ม ศึกษ า ใ น อน า คต ต้อง ส ร้า ง ในการวิเคราะห์หรือคาดการณ์ความต้องการในอนาคตและ ความสัมพันธ์ระหว่างโลกวิชาการกับโลกของการทางานท่ีมี การลดปัญหาความซ้าซ้อนในการเปิดสอนหลักสูตรต่าง ๆ ของ ความชัดเจนและมีรูปแบบถาวรมากย่ิงขึ้น โลกของการทางาน สถาบันอดุ มศกึ ษา จากข้อเท็จจริงที่ว่าการผลิตกาลังคนทุกวันน้ี ห ม า ย ถึ ง ช า ติ ขั บ เ ค ลื่ อ น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ท่ีสถาบันกาหนดแต่ไม่มีใครรู้ได้ว่า ทั้งภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตรกรรม และภาคบริการ ความต้องการทักษะ ความรู้ และทัศนคติในอนาคตเม่ือสาเร็จ ตลอดจนองค์กรทางสังคม ชุมชน และภาครัฐ การเชื่อมโยงน้ัน การศึกษาแล้วจะเป็นเช่นไร ไม่มีใครรู้ว่าเทคโนโลยี มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ เ พ่ื อ ส ร้ า ง ก ล ไ ก ใ น ก า ร ป รั บ ตั ว เ พื่ อ ใ ห้ จะเปล่ยี นแปลงวิถชี ีวิตในการประกอบอาชพี ไปอย่างไร ประเดน็ น้ี สถา บัน อุด มศึกษา ผลิ ตบัณฑิตห รือวิจัยให้ ตอบ สน อ ง จะมีผลกระทบต่อความสามารถในการวางแผนองค์รวม ความตอ้ งการในโลกของการทางาน สรา้ งองคค์ วามรู้ เทคโนโลยี เพื่อออกแบบหลักสูตรในอนาคต ให้เน้นการสร้างทักษะ และ ต ล อ ด จ น น วั ต ก ร ร ม ท่ี ส า ม า ร ถ ชี้ น า แ ล ะ ส ร้ า ง ป ร ะ โ ย ช น์ ทัศนคติ ตลอดจนวิธีการเรียนรู้ในอนาคตอันเนื่องจากอิทธิพล อย่างแท้จริงในสังคม โลกของการทางานยังรวมไปถึงองค์กร ของเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ในระดบั ท้องถ่นิ ระดบั ชาติ และระดับนานาชาติ ตาราง 3.2 อตั ราการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ ในจีนและอาเซยี น ระหวา่ งปี พ.ศ. 2558 - 2561 แผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

75 ผลกระทบตอ่ อดุ มศกึ ษาจะตอบสนองต่อบรบิ ททเ่ี ปล่ียนแปลงในอนาคตมีปัจจัยที่ต้องพจิ ารณาดงั ตอ่ ไปนี้ ก า ร พั ฒ น า เ ค รื อ ข่ า ย เ ชิ ง ร ะ บ บ ร ะ ห ว่ า ง การกาหนดเปา้ หมายทางการศึกษา เป้าหมายการจดั สถาบันอุดมศึกษา ภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน ในรูปแบบ การศกึ ษาเป็นประเด็นสาคัญท่ีทาให้ระบบอุดมศึกษาตอบสนอง ท่ีเปน็ ทางการมากข้นึ แสดงความรบั ผิดชอบของภาคส่วนต่าง ๆ ความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ แต่ ต่อการผลิตกาลังคน การวิจัยและนวัตกรรม ตลอดจน การกาหนดเป้าหมายมักประสบปัญหาความเท่ียงตรงและ การถา่ ยทอดเทคโนโลยีที่ชัดเจน รปู แบบต่าง ๆ ประกอบดว้ ย ความน่าเช่ือถือเสมอ โดยเฉพาะในสภาวะการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว จึงจาเป็นต้องสร้างความสมดุลย์ระหว่าง  พันธกิจสัมพันธ์กับสังคมและชุมชน (University การวางแผนการผลิตกาลังคน (Planned Approach) กับ Social and Community Engagement) มีหลักการสาคัญ การใช้กลไกการตลาด (Market Approach) การวางแผน 4 ประการ คือ การร่วมคิดร่วมทาแบบพันธมิตรและหุ้นส่วน การผลิตกาลังคนจะมุ่งเน้นสาขาที่เป็นรัฐบริการ เช่น การผลิต เกิดประโยชน์ร่วมกันแก่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย มีการให้ความรู้และ แพทย์ และสาขาท่ีเกีย่ วเนือ่ งกบั บริการทางการแพทย์ การผลติ ครู เกิดการเรียนรู้ร่วมกันและเกิดผลกระทบต่อสังคมและชุมชน และการผลิตกาลังคนในสาขาที่ขาดแคลนและจาเป็นต่อ ทีป่ ระเมินได้ การพัฒนาประเทศเป็นการเฉพาะ ส่วนการใช้กลไกการตลาด เป็นการให้สถาบันอุดมศึกษาประเมินและคาดการณ์การ  การศึกษาเชิงบูรณาการกับการทางาน (Work เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ กั บ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ก า ลั ง ค น Integrated Education) หมายถงึ การจัดการศึกษาที่บูรณาการ ตามสภาพแวดล้อมและบริบทของแต่ละสถาบัน และประมวล เวลาเรียนในสถาบันกับในสถานประกอบการอย่างเหมาะสม ภาพรวมในลักษณะการตอบสนองด้านอุปทาน ซ่ึงจะต้องมี ก่อให้เกิดการเรียนรู้และการพัฒนาวิชาชีพระหว่างภาคทฤษฎี การปรับตัวอยา่ งรวดเรว็ ตามความต้องการของตลาดแรงงาน กับปฏบิ ัตอิ ย่างสมบูรณ์ เทคโนโลยีดิจิทัล สถาบันอุดมศึกษาต้องปรับตัว ในการให้บริการการจัดการเรียนการสอน การวิจัยและ การถ่ายทอดเทคโนโลยี ตลอดจนการบริหารจัดการ ด้วยเทคโนโลยีดิจทิ ลั เทคโนโลยีดิจิทัลจะช่วยสร้างโอกาสให้กับ สถาบันอุดมศึกษาให้ตอบสนองต่อบริบทที่เปลี่ยนแปลงไปได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ภาครัฐจาเป็นต้องให้การสนับสนุน โครงสร้างพื้นฐานตลอดจนการปรับปรุงกฎระเบียบและ มาตรฐานการศึกษาให้อานวยประโยชน์ต่อท้ังผู้เรียนและ สถาบันอุดมศึกษาในอนาคต ภาษาองั กฤษ เน่อื งจากองคค์ วามร้สู ามารถท่จี ะหาได้ อย่างง่ายดายข้ึนด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ดังน้ันสถาบันอุดมศึกษา จึ ง ค ว ร ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ส อ น แ บ บ มุ่ ง ใ ห้ ผู้ เ รี ย น พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ภาษาอังกฤษควบคู่กันไป ทั้งน้ีเพื่อการส่ือสารทุกด้านไปพร้อม กับการใช้ภาษาอังกฤษเป็นตัวกลางในการค้นคว้า (Search) และได้รบั ความรู้ด้านเนื้อหาวิชาการเฉพาะทาง การท่ีเยาวชนมี ทักษะภาษาอังกฤษท่ีดี จะส่งผลให้เป็นผู้ที่สามารถเรียนรู้ได้ ด้วยตัวเองในอนาคต เป็นท่ียอมรับของหน่วยงานธุรกิจ ท้ังภายในและภายนอกประเทศไทย อีกทั้งภาษาอังกฤษเป็น “Working Language” ซึ่ ง จ ะ ท า ใ ห้ ส า ม า ร ถ ป ฏิ บั ติ ง า น ในต่างประเทศไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ แผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

76 แนวโนม้ อุดมศกึ ษาในอนาคต จากการประมวลและวิเคราะห์สภาพแวดล้อมด้านต่าง ๆ ท้ังภายนอกและภายในระบบอุดมศึกษา ทาให้พบว่ามีปัจจัย ท่ีมีอิทธิพลและส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา รวมทั้งส่งผลในการนาบทบาทหน้าท่ีของสถาบันอุดมศึกษา เพอ่ื การสนบั สนุนการพัฒนาประเทศ ทงั้ ในมิติดา้ นจุดแขง็ จดุ ออ่ น โอกาส และภัยคุกคามของอุดมศึกษาในอนาคต ประกอบด้วย 12 แนวโน้ม เพอ่ื ใช้สาหรบั การกาหนดยทุ ธศาสตร์ดังตอ่ ไปน้ี จดุ แขง็ จุดอ่อน  อุดมศึกษาเป็นสถาบันหลกั ทางวิชาการและวชิ าชีพชน้ั สูง  อุดมศกึ ษาตดิ ยึดอยู่กับการสนบั สนุน ปกปอ้ งและคุ้มครอง ที่มีความจาเป็นต่อสังคม ในการสร้างสรรค์ความรู้ จากภาครฐั จนทาให้การพฒั นาประสิทธิภาพเชงิ บริหาร เทคโนโลยี และนวัตกรรม ตลอดจนเป็นผู้ช้ีนาสังคม เป็นไปอยา่ งลา่ ชา้ ดว้ ยความเป็นกลาง  อดุ มศึกษายังปรบั ตวั ใหต้ อบสนองตอ่ การเปลย่ี นแปลง  อุดมศึกษาเป็นแหล่งผลิตและพัฒนาทุนมนุษย์และ ของโลกอยา่ งลา่ ชา้ ไม่ทนั ตอ่ การเปลี่ยนแปลง นวั ต ก ร ร ม เพื่ อขับ เค ลื่ อน ก า ร พัฒ น า เศ ร ษ ฐ กิ จ ของประเทศ รวมทงั้ สื่อสารตอ่ ประชาคมโลก  อดุ มศกึ ษายังตอ้ งเผชิญปญั หาธรรมาภิบาลในการบรหิ าร จดั การตนเอง และสง่ ผลกระทบต่อคุณภาพในการจดั  อุดมศึกษาในกากับของรัฐ เป็นระบบบริหารจัดการ การเรียนการสอน การวิจัยและนวัตกรรม ส ถ า บั น อุ ด ม ศึ ก ษ า ท่ี มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ พั ฒ น า สถาบันอดุ มศึกษาใหม้ คี ณุ ภาพและสูค่ วามเป็นเลศิ โอกาส ภาวะคกุ คาม  วิวัฒนาการอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีดิจิทัลและ  การสนับสนุนงบประมาณจากรัฐจะมีเง่ือนไข และ โลกาภิวัตน์ (Globalization) จะเป็นแรงขับเคลื่อน ข้อจากัดมากย่ิงขึ้น ทาให้อุดมศึกษาต้องพึ่งพาตนเอง ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ การเปล่ียนแปลง สูงขึ้น อาจนาไปสู่ อุดมศึกษาเชิงพาณิชย์ และการจัด การเรียนการสอนและการวิจัย ทาให้การใช้ทรัพยากร การศึกษาท่ตี า่ กว่ามาตรฐาน การใช้ภาษากลาง (ได้แก่ ภาษาอังกฤษ) เพ่ือการบริหาร และการจดั การศกึ ษาระดบั อุดมศึกษาเปลยี่ นแปลงไป  กระแสการแข่งขันทางการศึกษาในระดับอุดมศึกษา มีความรุนแรงมากย่ิงขึ้น ท้ังในประเทศและระหว่าง  คนรุ่นใหม่ (Gen-Z) มีความต้องการพัฒนาความรู้และ ประเทศ ทักษะใหม่อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา เกิดแรงจูงใจ ใ ห้ อุ ด ม ศึ ก ษ า พ ย า ย า ม แ ส ว ง ห า วิ ธี ก า ร ต อ บ ส น อ ง  การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร ส่งผลให้ประชากร ความตอ้ งการทหี่ ลากหลาย วัยอุดมศึกษา (18-22 ปี) ลดลง จนส่งผลกระทบต่อ จานวนนักศึกษาในระดบั อุดมศกึ ษา  ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี มุ่งพัฒนาประเทศไปสู่ประเทศ พัฒนาแล้ว ทาให้อุดมศึกษาต้องปรับตัวเปล่ียนกลยุทธ์ การบริหารให้ตอบสนองความต้องการในการพัฒนา ประเทศ (Re-positioning) แผนภาพ 3.27 จดุ แขง็ จดุ ออ่ น โอกาส และภัยคุกคามของอดุ มศึกษาในอนาคต แผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

77 เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายการขับเคลื่อนอุดมศึกษาแห่งอนาคต แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี ต้องนาไปสู่ การปฏิรูปอุดมศึกษา ก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงได้อย่างแท้จริงที่เป็นการเปลี่ยนระบบอุดมศึกษาใหม่ (Reset Higher Education System) ใน 4 มิติหลักของอุดมศึกษา คือการปรับทิศทาง ปรับโครงสร้างความสัมพันธ์ ปรับยุทธศาสตร์ และปรับรูปแบบองค์กรใหม่ สร้างความชัดเจนในอัตลักษณ์ บนศักยภาพของสถาบัน และเชื่อมโยงภารกิจ ความรับผิดชอบร่วมกันกับหน่วยงานทั้งภายนอก และภายในระบบอุดมศึกษา อย่างมีพลวัตร เพื่อให้อุดมศึกษา ของประเทศมีขนาดและการดาเนินงานที่เหมาะสม (Right Size & Right Direction) สามารถรองรับบริบทใหม่ ๆ ในยุคศตวรรษที่ 21 รวมทั้งเข้ามามีส่วนในการพัฒนาประเทศได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ จึงจาเป็นต้องทบทวน ระบบอุดมศึกษา ที่ประกอบดว้ ย การขบั เคลื่อนสกู่ ารเปล่ียนแปลง Re - Orientation : การปรับเปลี่ยนทิศทาง บทบาท Re - Profiling : การปรับเปล่ียนยุทธศาสตร์ เพื่อให้ ความรับผิดชอบ สถานะ กลุ่มเป้าหมาย รวมท้ัง สถาบันอุดมศึกษา สามารถนาเอาจุดเด่น และศักยภาพ ความชอบธรรม ในการดารงอยู่ของสถาบันอุดมศึกษา ความเข้มแข็ง ใน 4 พันธกิจหลัก มาใช้เพ่ือตอบสนอง เ พ่ื อ ร อ ง รั บ บ ริ บ ท ข อ ง โ ล ก แ ล ะ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ความต้องการในการพัฒนาประเทศท้ังในสถานการณ์ ทเ่ี ปลีย่ นแปลงไป ปัจจุบัน และอนาคต ไดอ้ ยา่ งยงั่ ยืน Re - Structure : ก า ร ป รั บ เ ป ลี่ ย น โ ค ร ง ส ร้ า ง Re - Organization : การจัดองค์กรโดยเฉพาะองค์กร การดาเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาในฐานะ Service ภาครัฐผู้มีหน้าท่ีกากับดูแล (Regulator & Facilitator) Provider ให้มีประสิทธิภาพเพ่ิมขึ้น ตอบสนอง เพื่อการบริการ การกาหนดนโยบาย มาตรฐาน ภ า ค ผู้ ผ ลิ ต ใ น ฐ า น ะ ผู้ ใ ช้ ผ ล ผ ลิ ต ที่ เ กิ ด จ า ก การจัดสรรงบประมาณ และการประเมินผล เพื่อให้ สถาบันอุดมศึกษา เพื่อบูรณาการให้เกิดการเชื่อมโยง การขับเคล่ือนศักยภาพของอุดมศึกษาใหม่ กลายเป็น ร ะ หว่ า ง หน่ ว ย ง า น อ ย่ า ง มี เอ ก ภ า พ แ ล ะ เ พิ่ ม กลไกส่วนหน่ึงของการพัฒนาประเทศ ได้อย่างเต็ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ที่ มี คุ ณ ภ า พ ท้ั ง ใ น ขีดความสามารถและศักยภาพที่อยู่บนพ้ืนฐานของ เชิงนโยบายและคุณภาพอดุ มศึกษา หลกั ธรรมาภิบาล แผนภาพ 3.28 การขับเคลอื่ นสู่การเปลยี่ นแปลง แผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

78 องค์ประกอบสาคัญท่สี ะทอ้ นทศิ ทางของการขับเคลือ่ นสกู่ ารเปลย่ี นแปลงในระบบอดุ มศกึ ษา กา หน ดทิ ศท าง ขอ ง  New Engines of Growth Re - Orientation ระบบอดุ มศกึ ษาใหม่  สรา้ งสรรค์นวัตกรรม เทคโนโลยแี ละการวจิ ัย  สร้างสรรค์บัณฑติ คุณภาพสงู เพื่อการแข่งขนั ของประเทศ Start up - Spin off  Community / Social Engagement  21th Century Learning / Skills  โลกาภิวัตน์ (Globalization) การปรับยุทธศาสตรข์ อง  Self Assessment Re - Profiling สถาบนั อดุ มศึกษา  Self Improvement Process  Self Strategic Profile Development ก า ร ป รั บ โ ค ร ง ส ร้ า ง  โครงสร้างการผลติ กาลังคน Re - Structure การดาเนินงาน  โครงสร้างการวิจยั -เทคโนโลยี และนวตั กรรม  โครงสร้างบุคลากร และการบรหิ ารงานบุคคล  โครงสร้างต้นทนุ รายได้ ค่าใช้จา่ ยในระบบอดุ มศกึ ษา  โครงสร้างการทางานรว่ มกันของภาครฐั ภาคอตุ สาหกรรม ภาคเอกชน  การกาหนดนโยบายและมาตรฐาน การจัดองคก์ รเพือ่ การบริหาร  การจัดสรรทรัพยากร ระบบอุดมศกึ ษาใหม่ Re - Organization  การตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลระบบอุดมศึกษา  การสรา้ งความเปน็ อิสระในการบรหิ ารจดั การ ภายในสถาบันอดุ มศกึ ษา แผนอดุ มศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

79 เปา้ หมายเชงิ หลักการ ภายใตก้ ารทบทวนระบบอุดมศกึ ษาให้เกิดแนวคิดการขับเคล่ือนสู่การเปล่ียนแปลง เป็นการสร้างความสัมพันธ์ของทั้ง 4 กลไก เพ่ือการขับเคล่ือนนโยบาย รวมทั้งทิศทางของการพัฒนาประเทศ และความต้องการเห็นการพัฒนาระบบอุดมศึกษา ของไทยให้มีบทบาทและสมรรถนะเทียบเคียงได้กับระบบอุดมศึกษาของประเทศพัฒนาแล้ว และความคาดหวังถึงการนา บทบาทและสมรรถนะที่มีอยู่ในแต่ละสถาบันอุดมศึกษามาใช้เพ่ือการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศในหลากหลายมิติ โดย วางเป้าหมายเชิงหลกั การซึง่ เกิดขนึ้ จากการขบั เคลอ่ื นสกู่ ารเปลยี่ นแปลงไว้ 4 ประการ ประกอบด้วย 1. เปา้ หมายด้านคุณภาพ 2. เป้าหมายด้านประสทิ ธภิ าพ (Quality) (Efficiency)  คุณภาพของบัณฑิต : ผู้จบการศึกษาในทุกระดับมี  การบริหารแบบมืออาชีพ (Smart University) : การ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามที่สถาบันอุดมศึกษากาหนด บริหารสถาบันอุดมศึกษาโดยบุคลากรท่ีมีความเชี่ยวชาญ ครอบคลุมไม่น้อยกว่า 5 ด้าน ทั้งด้านคุณธรรมจริยธรรม มีองค์ความรู้ และเข้าใจบริบทต่าง ๆ ท้ังภายนอกและ ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ ภายในประเทศที่ส่งผลกระทบกับอุดมศึกษา และนามาใช้ ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ และ ด้านทักษ ะ ประโยชน์ในการกาหนดทิศทางของสถาบัน รวมท้ังสามารถ การวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร การใช้ภาษาอังกฤษ และ นาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการได้อย่าง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยมีทักษะและองค์ความรู้ มีประสิทธภิ าพ ใชข้ อ้ มลู สถิตมิ าเปน็ เครือ่ งมอื ในการตัดสนิ ใจ ท่ีสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต เป็นไปตาม สาขาวชิ าท่ไี ดร้ บั การศึกษา หรือสามารถสร้างงาน และปรับตัว  การบริหารต้นทุนคุณภาพ : การกาหนดมาตรฐานเพื่อ เขา้ กับความหลากหลายทางวฒั นธรรมในการทางานและการใช้ การใช้งบประมาณในการบริหารต้นทุนคุณภาพ สาหรับ ชวี ิตในสังคมได้เปน็ อยา่ งดี การป้องกัน และปรับปรุงการบริหารจัดการ ขับเคล่ือนท้ัง 4 พันธกิจของสถาบันอุดมศึกษาได้อย่างเหมาะสมโดย  คุณภาพของการวิจัยและนวัตกรรม : ผลงานวิจัยที่ ไม่ลดคุณภาพ แต่จะนามาซ่ึงประสิทธิภาพและประสิทธิผล พิจารณาถึงความถูกต้อง เหมาะสม ตามหลักของการวิจัยที่ดี เกดิ ประโยชนส์ งู สุด อาศัยความรู้ ความมีเหตุมีผล มีเป้าหมาย และความน่าเชื่อถือ ท่ียึดหลักวิชาการ รวมทั้งได้รับการยอมรับหรือถูกนาไปอ้างอิง  ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก า ร ผ ลิ ต บั ณ ฑิ ต ( Retention / ในระดับสากล Success Rate) : สถาบันอุดมศึกษามีอาจารย์ และหลักสูตรที่ เป็นไปตามมาตรฐาน มีความทันสมัย สอดรับกับบริบทของ  ระดบั การพฒั นาสคู่ วามเปน็ เลศิ ของสถาบนั อดุ มศกึ ษากลมุ่ ตา่ ง ๆ: ประเทศและของโลก ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการจัดการเรียน การสอน และอัตราคงอยู่ของนักศึกษา รวมท้ังปริมาณและ  มหาวทิ ยาลยั ระดบั โลก (World Class University) : กลุ่ม คุณภาพของบัณฑิตสูงขึ้น เป็นที่ยอมรับของผู้ใช้บัณฑิตภายใต้ สถาบนั อุดมศึกษาท่ีม่งุ ผลิตงานวิจัยและนวัตกรรม รวมท้ัง กรอบงบประมาณทไี่ ด้รับคงเดิม จัดการเรียนการสอนเพ่ือผลิตองค์ความรู้ และกาลังคนใน ระดับบัณฑิตศึกษาเป็นหลักทั้งทางด้านสังคมศาสตร์  ธรรมาภิบาลของระบบบริหาร : การบริหารจัดการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีขั้นสูงเพ่ือสร้างความเข้มแข็ง สถาบันอุดมศึกษาท่ีเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีคุณธรรม ทางสังคม และยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขัน โปร่งใส ตรวจสอบได้ สอดคล้องกับหลักนิติธรรม และคงไว้ซึ่ง ของประเทศ และการยอมรับในระดบั สากล ความยุติธรรม รวมท้งั การเข้าใจบทบาทและหน้าทขี่ องตนเอง  มหาวทิ ยาลยั เฉพาะทาง (Specialized University) : กลุ่ม  ประสิทธภิ าพการวจิ ัยและการสรา้ งนวัตกรรม : ผลงานวิจัย สถาบันที่ผลิตบัณฑิต งานวิจัยและองค์ความรู้ ที่มุ่งเน้น และนวัตกรรมอยู่บนประโยชน์ท่ีมีต่อการพัฒนาประเทศ เกิด ทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเป็นหลัก เพื่อนา เครือข่ายการวิจัยทม่ี กี ารแบ่งปนั องคค์ วามรทู้ ้ังมติ เิ ชิงสังคม และ งานวิจัยสู่ภาคการผลิตจริง ตอบสนองการเพ่ิมศักยภาพ เศรษฐกิจ โดยเช่ือมโยงกับโจทย์ของภาคการผลิตจริง รวมท้ัง ของประเทศ รวมทั้งการสร้างใหเ้ กิดผูป้ ระกอบการรนุ่ ใหม่ เป็นไปตามความต้องการพัฒนาประเทศ การสร้างระบบนิเวศ (Ecosystem) เพอ่ื เอ้ือตอ่ การทาวิจัยและการพัฒนานวัตกรรม แผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

80  มหาวทิ ยาลยั เพอ่ื พฒั นาชมุ ชน (Community University) : กลุ่มสถาบันท่ีเน้นการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพทางด้าน สังคมศาสตร์ และการทางานเป็นหลัก รวมทั้งเป็นสถาบัน เพื่อการสร้างโอกาสในการเรียนรู้ สร้างองค์ความรู้ เพื่อตอบสนองการพฒั นาสังคม ชมุ ชน และท้องถ่ิน  สถาบนั วทิ ยาลยั ชมุ ชน และอน่ื ๆ (Community College) : กลุ่มสถาบันที่ผลิตกาลังคนระดับต่ากว่าปริญญาตรี โดย ต อ บ ส น อ ง ทิ ศ ท า ง ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ท่ี เ ป็ น อ ง ค์ ค ว า ม รู้ การพัฒนาอาชีพของชมุ ชน และคนในพ้ืนท่ี 3. เปา้ หมายดา้ นความเสมอภาค 4. เปา้ หมายดา้ นการตอบสนองบทบาท (Equity) ท่ีเปลย่ี นแปลง (Relevancy)  โอกาสและความหลากหลายของผู้รับบริการ : การสร้าง  การปรับตัวของการผลิตบัณฑิตเข้าสู่ความต้องการที่ ช่องทางและรูปแบบในการเข้าถึงบริการของสถาบันอุดมศึกษา เหมาะสม : การทบทวนยุทธศาสตร์ของสถาบันในการผลิต ท้ัง 4 พันธกิจ ให้กับผู้สนใจได้เข้ามาศึกษาหาความรู้ได้อย่าง กาลังคนโดยพิจารณาจากศักยภาพ ขีดความสามารถ และ หลากหลายโดยไม่จากัดอาชีพ อายุ เพศ และระดับการศึกษา ความเชี่ยวชาญ ควบคู่กับนโยบายทิศทางการพัฒนาประเทศ เพอ่ื ยกระดบั ไปส่แู หลง่ การเรียนรอู้ ย่างยั่งยืน และทิศทางของโลก เพ่ือวางยุทธศาสตร์การผลิตบัณฑิตของ อุดมศึกษาใหม่ ใหเ้ กดิ ความเหมาะสมและมีประสทิ ธภิ าพสูงสดุ  กลไกการพัฒนากลุ่มผู้ด้อยโอกาส : การจัดช่องทางรวมท้ัง รูปแบบของการบริการทางการศึกษาในระดับอุดมศึกษา  การลดช่องว่างทักษะของบัณฑิตกับความต้องการ เพ่ือเปิดโอกาสให้กับกลุ่มผู้ด้อยโอกาสท้ังทางร่างกาย หรือ ของนายจ้าง : ดาเนินการสารวจเพื่อให้ทราบ Skill Gaps สถานะทางเศรษฐกิจให้ได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ เหมาะสม และใช้เป็นข้อมูลในการปรับกระบวนการเรียนการสอน ตรงตามศกั ยภาพของผเู้ รียน การอบรมให้สอดคล้องกับทักษะความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต ในแต่ละสาขาวชิ า และอาชีพ เพือ่ ลด Skill Gaps ใหเ้ หลอื ตา่ ทสี่ ดุ  การระดมทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา : การดึง ภาคเอกชน ศิษย์เก่า เข้ามามีส่วนร่วมในการสนับสนุนทุน  ความสมั พันธ์กับภาคการผลิตและชุมชน : การผลิตบัณฑิต ทางการศึกษาในรูปของกองทุนให้เปล่า หรือทุนกู้ยืมให้แก่ งานวิจัยและนวัตกรรม ท่ีเช่ือมโยงกับภาคผู้ใช้บัณฑิต และภาค ผู้เรียนท่ีมาจากครอบครัวที่มีปัญหาสถานภาพทางเศรษฐกิจ การผลิตจริง เพื่อให้การผลิตบัณฑิตสามารถไปปฏิบัติงาน และรายได้น้อย แต่มีศักยภาพในการเรียนในระดับอุดมศึกษา รวมท้ังงานวิจัยสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้จริง จนนาไปสู่ ตามความเหมาะสม และความจำเป็น การสร้างมลู ค่าเพิ่มให้กบั ประเทศ  การสรา้ งงานและการมงี านทา การเป็นผปู้ ระกอบการ New Start Up : การกาหนดบทบาทของสถาบันอุดมศึกษาในการใช้ ทรัพยากร รวมท้งั องคค์ วามรู้ ท่เี ป็นการบูรณาการศาสตร์ต่าง ๆ เพื่อการสนับสนุนการผลิตบัณฑิตที่พร้อมในการทางาน รวมท้ัง สรา้ งงาน และสามารถพัฒนาตนเองเปน็ ผ้ปู ระกอบการ  การเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนสามารถใช้ประโยชน์จาก การวิจยั และนวตั กรรม : การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การเขา้ ถึง และ การใช้ประโยช น์ผลงา นวิจัย องค์ควา มรู้ต่า ง ๆ ของ สถาบันอุดมศึกษา ของทุกภาคส่วนทั้งภาคเอกชน ประชาชน ชุมชน เพ่ือนางานวิจัยไปใช้ให้เกิดประโยชน์ เพ่ือยกระดับ คุณภาพชีวติ ท้ังทางสังคมและทางเศรษฐกจิ แผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

เจตนารมณ์ วสิ ัยทัศน์ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย 000

82 เจตนารมณ์ วิสัยทศั น์ วัตถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย เจตนารมณ์ แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี ได้ถูกจัดทาขึ้น ท่ีเหมาะสม โดยมีมาตรฐานท่ีเทียบเคียงได้กับระดับสากล ท้ังนี้ ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงตา่ ง ๆ ดงั กลา่ วข้างต้น จึงมเี ป้าหมาย โดยสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาของประเทศในภาพรวม ไม่เพียงแค่พัฒนาศักยภาพของคนในประเทศเท่าน้ัน แต่มุ่งให้ และยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี บนพ้ืนฐานของหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ สถาบนั อดุ มศึกษาของประเทศเป็นแหล่งรวมทรัพยากรทางด้าน พอเพียง ดังน้ัน เพ่ือให้การขับเคลื่อนแผนอุดมศึกษาระยะยาว ความคิดท้ังบุคลากร ความรู้และเครื่องมือท่ีนาสมัย เพื่อ 20 ปี เป็นไปตามเจตนาท่ีต้ังไว้ ที่ต้องการเห็นอุดมศึกษาเป็น การสร้างผลงานวิจัยใหม่ ๆ แนวคิดและองค์ความรู้ท่ีมี กลไกสาคัญของการขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศ ยกระดับ ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ก า ร พั ฒ น าและสร้างขีดความสามารถ ขีดความสามารถในการแข่งขัน บนพ้ืนฐานการบริหารงานที่ยึด ในการแข่งขันของประเทศ ตลอดจนการสร้างหลักสูตรชั้นนา หลักธรรมาภบิ าลเป็นสาคญั จึงไดก้ าหนดเจตนารมณ์ของแผนไว้ ท่ีสามารถผลิตบคุ ลากรที่ตอบสนองตลาดแรงงานในสัดสว่ น ดงั น้ี 1 อุดมศึกษาไทยต้องนาการพัฒนาและเปิดโอกาส 3 อุดมศึกษาไทยต้องบริหารอย่างมีประสิทธิภาพ การเรียนรู้ เพื่อพัฒนาศักยภาพคนไทยให้เกิดทักษะ และเกิดประสิทธิผลต่อการเรียนรู้และการพัฒนา ทางความคดิ มีความสามารถทางวชิ าการและวชิ าชพี ของศาสตร์ และวิชาการ รวมถึงการเรียนรู้ ตลอดจนมกี ารเรียนรตู้ ่อเนอื่ งตลอดชวี ิต ท่จี ะบูรณาการข้ามศาสตร์ 2 อุดมศึกษาไทยต้องเป็นศูนย์รวมของความรู้และ 4 อุดมศึกษาไทยต้องพัฒนาคุณภาพสู่สากล ศาสตร์ต่าง ๆ ที่ทันสมัย นาไปสู่การแก้ปัญหาและ เพื่อสร้ างขีดค วามส ามารถ ในการ แข่งขั น พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ของประเทศ แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

83 วสิ ัยทัศน์ “อดุ มศึกษาไทยเป็นแหล่งสรา้ งปัญญาใหส้ ังคม นาทางไปสกู่ ารเปลย่ี นแปลง สรา้ งนวัตกรรม ความรู้ งานวิจยั ทเี่ สนอทางเลือกและแก้ปญั หา เพื่อการพฒั นาประเทศและสรา้ งขีดความสามารถในการแขง่ ขัน” วัตถปุ ระสงค์ของแผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 20 ปี เพ่ือยกระดับมาตรฐานการอุดมศึกษาให้เทียบเคียงกับประเทศพัฒนาแล้ว สร้างปัญญาให้สังคมไทยและสังคมโลก ยกระดับศักยภาพทุนมนุษย์ให้เป็นปัจจัย เ พิ่ ม ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร แ ข่ ง ขั น ย ก ร ะ ดั บ ค ว า ม เ ป็ น น า น า ช า ติ (Internationalization) ยกระดับศักยภาพวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและ นวัตกรรมใหเ้ ปน็ แรงขบั เคลอ่ื นการพัฒนาประเทศและตอบโจทยย์ คุ โลกาภิวตั น์ เพอื่ สนบั สนนุ การถา่ ยทอดองคค์ วามรู้และนวัตกรรมอยา่ งกว้างขวางและครอบคลมุ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในภาคเกษตร อุตสาหกรรมและบริการให้สามารถ นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม มาใช้เพิ่มขีดความสามารถ ในการแขง่ ขนั อยา่ งเป็นมติ รกบั สงิ่ แวดล้อม เพื่อสนับสนุนการเคล่ือนย้ายทางสังคม (Social Mobility) ขยายโอกาส ทางการศึกษาระดับอุดมศึกษา ครอบคลุมประชากรวัยเรียน วัยแรงงานและ ผู้สูงอายุให้เขา้ ถึงการศึกษาทีม่ ีคณุ ภาพ โดยเฉพาะกลุม่ ผ้ดู ้อยโอกาส ให้ความสาคัญ กบั การพฒั นาทักษะ และสมรรถนะตามความต้องการของตลาดแรงงาน การสรา้ งงาน และการเปน็ ผ้ปู ระกอบการ โดยเฉพาะในท้องถ่นิ หรือภูมิลาเนาของตนเอง เพื่อพัฒนาและปรบั ปรุงการกากบั ดแู ลระบบอดุ มศึกษาใหม้ ีประสทิ ธภิ าพสอดคล้อง กับความเป็นอิสระในการบริหารจัดการตนเองของสถาบันอุดมศึกษา สามารถ พัฒนาระบบบริหารแบบมืออาชีพ ด้วยการกาหนดกรอบยุทธศาสตร์ สถาบนั อดุ มศกึ ษาใหม่ (Re - Positioning) แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

84 จุดเนน้ ของแผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 20 ปี 1. กาหนดพันธกิจของอุดมศึกษาท่ีมีลักษณะเฉพาะและเป็นจุดเด่นหรือความเช่ียวชาญของสถาบันอุดมศึกษา แตล่ ะแหง่ ทัง้ สถาบันอุดมศกึ ษาของรฐั และเอกชนให้เปน็ พลังขับเคลือ่ นการพฒั นาประเทศ (Reprofiling HEI) 2. มุ่งเน้นผลผลิตและผลลัพธ์ของระบบอุดมศึกษา (Higher Education Outcomes) ท่ีมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ตามมาตรฐานที่ยอมรับระดับสากล 3. ปฏิรูปอุดมศึกษาอย่างครบถ้วนและสมดุล เพื่อให้กลไกนโยบาย การสนับสนุน การกากับตรวจสอบ และ การประเมินผลกระทบของระบบอุดมศกึ ษามีประสทิ ธภิ าพสูงสดุ (Return on Investment) ประเดน็ เพ่อื การกาหนดยุทธศาสตรห์ ลกั 6 ดา้ น การพฒั นา การพัฒนา เสริมสร้าง การสร้างงาน ประสิทธภิ าพ ปรบั ระบบ กาลงั คน คณุ ภาพนักศกึ ษา สมรรถนะหลกั การถา่ ยทอด การบริหาร การตรวจสอบ/ องคค์ วามรู้ ดา้ นวิจัย- การจัดสรร นวตั กรรม งบประมาณ แผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

85 ยุทธศาสตร์ อุดมศกึ ษาเป็นแหล่งพัฒนากาลงั คนและสร้างเสรมิ ศักยภาพทง้ั ทกั ษะความคดิ และการรคู้ ิด เพ่ือสนบั สนุนการพัฒนาประเทศ ตามยทุ ธศาสตร์ชาติ บรบิ ท ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ อุ ด ม ศึ ก ษ า ใ น แ ผ น ร ะ ย ะ ย า ว ส อ ง ฉ บั บ แ ร ก ไ ด้ ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ เ กิ ด ก า ร เ ติ บ โ ต ของสถาบันอุดมศึกษาและเปิดโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในระดับอุดมศึกษามากข้ึน สัดส่วนของผู้เข้าศึกษา ในระดับอุดมศึกษาต่อประชากร 100,000 คน เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องจนถึงปี พ.ศ. 2558 แต่ขณะเดียวกันอัตรา การว่างงานของผู้จบการศึกษาในระดับอุดมศึกษากลับสูงถึง 29% และมีเสียงเรียกร้องจากทุกภาคส่วนในเรื่องคุณภาพ ของบัณฑติ ทไ่ี ม่ตรงตามความคาดหวงั ของตลาดแรงงาน นอกจากนี้ จากการสารวจของ สกอ. พบว่า สัดส่วนการผลิตในระดับอุดมศึกษาโดยรวมในปี พ.ศ. 2558 ในสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีเพียง 22% (ไม่นับรวมแพทยศาสตร์อีก 6%) ซึ่งยังไม่เพียงพอกับ ความต้องการด้านบุคลากรในการพัฒนาประเทศและสนับสนุนการสร้างผลงานวิจัยในเชิงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซ่ึงกาลงั เปล่ียนผา่ นจากยคุ อตุ สาหกรรม 3.0 ไปสู่อุตสาหกรรม 4.0 ท่ีตอ้ งอาศัยความรู้และบุคลากรทางด้าน STEM มากขน้ึ การปรับเปล่ยี นดังกลา่ วส่งผลต่อการปรบั ปรุงรปู แบบการเรียนการสอนทีต่ อ้ งเนน้ ทักษะทางด้านภาษาอังกฤษและทักษะ ด้านดิจทิ ลั รวมทงั้ การสรา้ งหลกั สตู รใหม่ ๆ ท่เี ป็นความต้องการของโลกในศตวรรษที่ 21 และเพียงพอต่อการเสริมสร้าง ศักยภาพในการยกระดับการแข่งขันของประเทศ การเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา เปน็ อีกหน่งึ รูปแบบของการกระตนุ้ ใหเ้ กดิ การปรับเปล่ยี นใหเ้ ร็วขน้ึ ไม่วา่ จะในรูปแบบของการทางานคู่ขนานกบั การเรียน ระบบการสะสมหน่วยกิต และการเปิดโอกาสให้บุคลากรวัยทางานสามารถต่อยอดความรู้เพื่อเตรียมพร้อมกับ การปรับเปลี่ยนสายอาชีพ และเพื่อเตรียมรับมือกับการปรับสัดส่วนประชากรของประเทศท่ีกาลังจะเกิดข้ึนในอนาคต อันใกลน้ ้ี ประเด็นความท้าทายในยุทธศาสตร์ท่ี 1 :  คุณภาพของบัณฑิตท่ถี ดถอยและไมต่ รงความตอ้ งการของผู้จ้างงานและตลาดแรงงานทกี่ าลงั เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเรว็  การปรับเปล่ียนรปู แบบการเรียนการสอนใหท้ นั สมยั และทันกบั การเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 และความสามารถในทักษะดา้ นดิจิทัลและภาษาต่างประเทศ  ความครอบคลุมเหมาะสมของสาขาการผลิตและศาสตรต์ า่ ง ๆ ตามความตอ้ งการของภาคสว่ นต่าง ๆ และการพฒั นาประเทศ  การผลิตคนให้เพียงพอตามทศิ ทางการพฒั นา  การเปิดโอกาสใหต้ อ่ ยอดความรู้เพือ่ เตรียมพร้อมรับการปรับสัดส่วนประชากร แผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

86 เปา้ หมาย 1.1 ปรบั สดั ส่วนการผลิตในภาพรวมเพื่อให้ตรงกับทิศทางการพัฒนา 1.2 การปรบั ปรงุ คณุ ภาพของอุดมศึกษาเพือ่ การพฒั นาท่ยี ่ังยนื 1.3 เพมิ่ โอกาสการเขา้ ถึงใหท้ ุกกล่มุ ส่งเสริมโอกาสทางการศกึ ษาในกล่มุ วัยทางานและการเรียนร้ตู ลอดชวี ติ 1.4 การสร้างเครือขา่ ยและเปิดโอกาสใหภ้ าคเอกชนเข้ามามสี ่วนร่วมในการจัดการศึกษา (Work-based learning, Integrated Learning, Credit Bank) 1.5 ยกระดับอุดมศึกษาให้มีความเปน็ สากล (Internationalization) เพอ่ื ให้สามารถแข่งขนั ได้ในยุคโลกาภวิ ัตน์ (Globalization) ตัวชี้วดั หลัก (Core KPI) KPI 1 : สดั ส่วนการผลติ บคุ ลากรสายวิทย์ : สายอนื่ ในสถาบนั อดุ มศึกษา 60 : 40 สายวิทย์ สายอ่นื พ.ศ. 2558 = 28 % พ.ศ. 2580 = 60 % 40 % KPI 2 : รอ้ ยละของผเู้ รยี นในระบบอดุ มศกึ ษาเทยี บกบั จานวนประชากร ชว่ งอายุ18-22 ปี ร้อยละ 60 ประชากร 18 - 22 ปี 53 % 60 % 100 % พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2580 C1+ Gross Enrolment Rate KPI 3 : ระดับการพฒั นาทักษะดา้ นภาษาองั กฤษ (CEFR ระดบั ปรญิ ญาตร)ี พ.ศ. 2580 ทมี่ า: http://www.modulolearning.com/ระดับภาษาcefrของโมดโู ล.่ html แผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)