Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2 กลุ่ม 1-64 มคอ. 3 วิชา กศ 064011 การประกันคุณภาพการศึกษา

2 กลุ่ม 1-64 มคอ. 3 วิชา กศ 064011 การประกันคุณภาพการศึกษา

Published by รัตนา อนันต์ชื่น, 2021-06-01 06:41:30

Description: 2 กลุ่ม 1-64 มคอ. 3 วิชา กศ 064011 การประกันคุณภาพการศึกษา

Search

Read the Text Version

เอกสารหมายเลข มคอ. 3/1 รายละเอยี ดของรายวิชา ช่อื สถาบนอุดมศึกษา มหาวทิ ยาลยั การกีฬาแหง่ ชาติ วทิ ยาเขตยะลา วทิ ยาเขต/คณะศึกษาศาสตร์ หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยท่วั ไป 1. รหัสและชื่อรายวิชา กศ 064011 การประกันคุณภาพการศึกษา Educational Quality Assurance 2. จำนวนหนว่ ยกติ 2(2-0-4) 3. หลกั สูตรและประเภทของรายวิชา หลักสูตรศึกษาศาสตรบณั ฑติ (5 ปี) 4. อาจารยผรู บั ผดิ ชอบการสอน อาจารยร์ ัตนา อนนั ตช์ ื่น 5. ภาคการศึกษา/ช้ันปีท่เี รยี น ภาคการศึกษาที่ 1 ช้นั ปีที่ 4 6. รายวชิ าท่ีต้องเรยี นมาก่อน (Pre-requisite) (ถา้ มี) ไมม่ ี 7. รายวิชาท่ตี ้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี) ไม่มี 8. สถานที่เรียน คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั การกีฬาแหง่ ชาติ วทิ ยาเขตยะลา 9. วนั ทีจ่ ดั ทำหรอื ปรบั ปรุงรายละเอียดของรายวิชาครัง้ ล่าสุด 1 พฤษภาคม 2564 หมวดท่ี 2 จุดมุ่งหมายและวัตถปุ ระสงค์ 1. จดุ มงุ่ หมายของรายวิชา เพ่อื ใหน้ ักศกึ ษามคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับหลักการ แนวคดิ แนวปฏิบตั เิ ก่ียวกับการจดั การ คุณภาพการศกึ ษาและการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา สามารถจัดการคุณภาพการจัดกจิ กรรมการ เรยี นรแู้ ละพัฒนาคณุ ภาพการเรยี นร้อู ย่างต่อเนื่องและดำเนินการจัดกิจกรรมตลอดจนประเมนิ คณุ ภาพการจัดกจิ กรรมการเรยี นรไู้ ด้ 2. วัตถปุ ระสงค์ในการพฒั นา/ปรับปรงุ รายวิชา เพื่อใหนกั ศกึ ษามคี วามรูพ ืน้ ฐานเกยี่ วกับการประกันคุณภาพการศกึ ษา ซ่ึงจะเปน็ การเตรียม ความพร้อมดา้ นปัญญาในการนําความรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกบั การประกันคุณภาพการศกึ ษา โดยนําไป ใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพการจดั การเรียนการสอน และเขาใจหลักการประกนั คณุ ภาพการศึกษา ท้ังในระบบ และนอกระบบในภาพรวม เพือ่ การนําไปปฏิบตั กิ จิ กรรมใหส้ อดคลอ งกับววิ ฒั นาการของ การศกึ ษาในปจั จบุ ัน

เอกสารหมายเลข มคอ. 3/2 หมวดที่ 3 ลกั ษณะและการดำเนินการ 1. คําอธบิ ายรายวชิ า หลักการ แนวคิด แนวปฏิบัตเิ กย่ี วกับการจัดการประกนั คณุ ภาพการศึกษา ระบบและกระบวน การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา รูปแบบของการประกนั คณุ ภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศกึ ษาแตล่ ะ ระดับ เครอ่ื งมอื ท่ีใช้การประกนั คุณภาพการศึกษา กฎหมายทเี่ กย่ี วของกบั การประกันคุณภาพการศึกษา การจดั กจิ กรรมการเรียนรแู ละการพฒั นาคุณภาพการเรียนรูอย่างต่อเนือ่ งเพื่อประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา การตรวจสอบและการประเมินการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา การนําผลการประเมินคณุ ภาพการศึกษา ไปใชป้ ระโยชน์ 2. จำนวนช่ัวโมงทีใช้ต่อภาคการศกึ ษา บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/ การศึกษาด้วยตนเอง ภาคสนาม/ การฝึกงาน การศึกษาด้วยตนเอง บรรยาย 30 ชัว่ โมง / สอนเสรมิ ตาม 4 ชั่วโมงตอ่ สปั ดาห์ ภาคการศึกษา ความตอ้ งการของ - นกั ศกึ ษาเฉพาะราย 3. จาํ นวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ ที่อาจารย์ ให้ คําปรึกษาและแนะนาํ ทางวิชาการแกน่ ักศึกษา เป น็ รายบคุ คล - ผสู้ อนให้คําปรกึ ษาโดยจดั ทาํ การประกาศเวลาและจดั เวลาใหค้ ําปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ ราย กล่มุ ตามความต้องการ 1 ชว่ั โมง ต่อสปั ดาห์ (เฉพาะรายทีต่ ้องการ) หมวดที่ 4 การพฒั นาการเรยี นรู้ของนกั ศกึ ษา 1. คณุ ธรรม จรยิ ธรรม 1.1 คณุ ธรรม จริยธรรมท่ตี ้องพัฒนา พฒั นาผู้เรยี นใหม้ ีความรบั ผดิ ชอบ มวี นิ ยั มจี รรยาบรรณวชิ าชีพครโู ดยมีคุณธรรม จรยิ ธรรม ตามคณุ สมบตั ิหลกั สตู ร ดังน้ี - ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จรยิ ธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์ สจุ รติ - มวี นิ ัย ตรงตอ่ เวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง หน้าทีแ่ ละสังคม - มีภาวะความเป็นผนู้ ําและผตู้ าม สามารถทํางานเปน็ ทีมและสามารถแกไ้ ขขอ้ ขัดแยง้ และ ลาํ ดับความสาํ คญั - เคารพสทิ ธิและรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ่นื รวมท้ังเคารพในคณุ ค่าและศกั ดิศ์ รีของความเป็น มนุษย์ - เคารพกฎระเบยี บและขอ้ บังคับตา่ งๆ ขององค์กรและสังคม - สามารถวิเคราะห์ ผลกระทบความผิดดา้ นจรรยาบรรณต่อบคุ คลองคก์ รและสังคม - มจี รรยาบรรณทางวชิ าการและวิชาชพี ครู 1.2 วิธีการสอน - บรรยายพรอ้ มยกตวั อยา่ งกรณศี กึ ษาเกยี่ วกับการประเมินคุณภาพการศึกษาทัง้ ภายในและ ภายนอก - อภปิ รายกลุ่ม - กําหนดให้นกั ศกึ ษานาํ เสนอตัวอย่างทเ่ี กย่ี วข้อง/วิเคราะห์

เอกสารหมายเลข มคอ. 3/3 1.3 วธิ กี ารประเมินผล - พฤตกิ รรมการเข้าเรยี น และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตทใี่ หแ้ ละตรงเวลา - มกี ารอา้ งอิงเอกสารทไ่ี ด้นาํ มาทำรายงาน อยา่ งถกู ต้องและเหมาะสม - ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศกึ ษา - ประเมนิ ผลการนาํ เสนอรายงานทีม่ อบหมาย 2. ความรู้ 2.1 ความรู้ทต่ี อ้ งได้รับ มคี วามร้เู กย่ี วกับการจดั การคุณภาพการศึกษาและการประกันคุณภาพการศกึ ษาสามารถ จัดการคุณภาพการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้และพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นรู้อย่างต่อเน่ืองและดำเนินการ จดั กิจกรรมตลอดจนประเมนิ คุณภาพการจดั กิจกรรมการเรยี นรไู้ ด้ 2.2 วธิ กี ารสอน บรรยาย อภปิ ราย การทำใบงาน การทำงานกลุม่ การนาํ เสนอรายงาน การวเิ คราะห์กรณศี กึ ษา และมอบหมายให้คน้ คว้าหาบทความ ข้อมลู ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง โดยนาํ มาวิเคราะหส์ รปุ และนําเสนอ การศกึ ษาโดยใช้ปัญหา โดยเนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ ศนู ยก์ ลาง 2.3 วธิ กี ารประเมินผล - ทดสอบย่อย สอบปลายภาค ด้วยโดยใชแ้ บบทดสอบท่เี น้นการวดั หลักการทฤษฎีและการ นาํ ไปใช้ - ประเมินจากการนําเสนอผลการค้นควา้ ข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทยจ์ ากการผลการประเมนิ ของสถานศกึ ษา 3. ทกั ษะทางปัญญา 3.1 ทักษะทางปัญญาท่ีต้องพัฒนา พัฒนาความสามารถในการคิดต่างๆ อย่างเป็นระบบ เช่น คิดวิจารณญาณ คิดวิเคราะห์ คิด สรา้ งสรรคเ์ พ่ือการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาดา้ นการประเมินคุณภาพการศึกษาทง้ั ประเมนิ ภายในและ ประเมินภายนอกและนาํ ความรู้ทไี่ ดไ้ ปใช้ 3.2 วิธีการสอน - การบรรยาย/อภิปราย/ซักถาม - การสอนแบบ Co-operative Learning - วเิ คราะห์กรณีศกึ ษา การนําเสนอผลงาน - การสรุปบทเรยี นดว้ ย Mind Mapping 3.3 วธิ กี ารประเมนิ ผล - สอบย่อยและปลายภาค โดยเนน้ ขอ้ สอบทม่ี ีการวเิ คราะห์สถานการณ์ หรือวเิ คราะห์ แนวคิดในการประยกุ ตร์ ะบบการวดั และประเมินผลการศึกษาไปใช้ - วดั ผลจากการนําเสนอผลงาน - สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา และการทำงานเป็นทีม

เอกสารหมายเลข มคอ. 3/4 4. ทักษะความสัมพนั ธร์ ะหว่างบุคคลและความรบั ผดิ ชอบ 4.1 ทักษะความสัมพนธ์ระหว่างบุคคลและความรบั ผดิ ชอบทต่ี ้องพัฒนา - พัฒนาทกั ษะในการสรา้ งสมั พนั ธภาพระหวา่ งผเู้ รยี นดว้ ยกัน - พัฒนาความเป็นผ้นู ําและผตู้ ามในการทํางานเปน็ ทีม - พฒั นาการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง และมีความรบผดิ ชอบในงานท่มี อบหมายให้ครบถว้ นตาม กาํ หนดเวลา 4.2 วธิ ีการสอน - จัดกจิ กรรมกลมุ่ ในการวเิ คราะห์กรณีศึกษา - ปฏิบัตกิ จิ กรรมเปน็ รายบคุ คลและกลุม่ - การนําเสนอผลงาน 4.3 วิธกี ารประเมินผล - ประเมินตนเอง และเพ่ือน ด้วยแบบฟอร์มท่ีกำหนด - ประเมินจากรายงานท่นี ําเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นกลมุ่ - ประเมนิ จากรายงานการศึกษาดว้ ยตนเอง 5. ทักษะการวิเคราะหเ์ ชิงตัวเลข การสอื่ สาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ทกั ษะการวเิ คราะห์ เชิงตวั เลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศทตอ งพฒั นา - ทักษะการคิดคำนวณ เช่น การวางแผน การจดั เวลาเรียนให้สอดคล้องกับหลักสตู ร - พัฒนาทักษะในการสอ่ื สารท้ังการพูด การฟัง การเขยี น โดยการทำรายงาน และนาํ เสนอในชน้ั เรียน - พัฒนาทกั ษะในการวิเคราะห์ข้อมลู จากกรณีศกึ ษา - พฒั นาทกั ษะในการสบื ค้น ข้อมลู ทางอินเทอร์เน็ต - ทักษะการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการสื่อสาร เชน่ การส่งงานทางอเี มล์ - ทักษะในการนําเสนอรายงานโดยใชร้ ูปแบบ เคร่ืองมอื และเทคโนโลยีทเี่ หมาะสม 5.2 วิธกี ารสอน - มอบหมายงานใหศ้ ึกษาคนควา้ ด้วยตนเอง และทาํ รายงานโดยเนน้ การนําตวั เลข หรอื มี สถิติ อ้างอิง จากแหลง่ ทมาขอมูลทีน่ ่าเชือ่ ถอื - นําเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยที ่ีเหมาะสม 5.3 วิธกี ารประเมนิ ผล - ประเมินจากรายงานโครงงาน และรปู แบบการนาํ เสนอด้ วยสื่อเทคโนโลยแี ละรูปเลม่ - ประเมินจากการมสี ว่ นร่วมในการอภปิ รายและวิธกี ารอภปิ ราย 6. ดา้ นทักษะการจัดการเรียนรู้ 6.1 ทกั ษะการจดั การเรยี นรู้ทต่ี ้องพฒั นา 1) มคี วามเชยี่ วชาญในการประเมินคุณภาพท้ังการประเมินคณุ ภาพภายในและการประเมิน คณุ ภาพภายนอกของสถานศึกษา 6.2 วิธีสอน ให้ลงมือฝึกปฏิบตั ิจริงในการเลือกวิธีการประเมนิ คณุ ภาพทงั้ การประเมินคุณภาพภายในและ การ ประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศกึ ษา การจดั เคร่ืองมอื วัดผลและประเมินผล การลงมอื ปฏบิ ัติการวัดผลและประเมินผล และ การวิเคราะห์ข้อมลู ผลจากการประเมินคุณภาพ 6.3 วธิ กี ารประเมนิ ผล ประเมนิ ตามสภาพจริงจากผลการปฏิบตั งิ านในการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาตามระบบ

เอกสารหมายเลข มคอ. 3/5 หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมนิ ผล 1. แผนการสอน สัปดาห์ หวั ข้อ/รายละเอียด จน. กิจกรรมการเรยี น ผูส้ อน ท่ี ชวั่ โมง การสอน/ส่ือทใช้ อ.รัตนา และ อ. สริ ลิ กั ษณ 1 ปฐมนิเทศเก่ียวกับการเรียนการ 2 - ปฐมนเิ ทศ สอน - ศกึ ษาวเิ คราะห์ - แนะนําแหล่งความรู้ เอกสาร/ตํารา ผู้เรยี น แนวการสอนความรพู ้นื ฐานเกีย่ วกบั - ทดสอบก่อนเรียน การประกนั คณุ ภาพการศึกษา - ตั้งประเดน็ คำถาม บทที่ 1 แนวคดิ และหลักการเกีย่ วกับ 4 เพื่อศกึ ษาวิเคราะห์ การประกนั คุณภาพการศกึ ษา เก่ยี วกบั การประกัน - ความจาํ เปน็ ทต่ี องมีการประกันคณุ ภาพ คุณภาพศึกษา การศึกษาในสถานศกึ ษา - ระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษา ของประเทศไทย - กระบวนการประกนั คุณภาพการศึกษา 2-3 บทที่ 2 การดำเนินงานประกนั คุณภาพ 4 - อธบิ าย อ.รัตนา และ ภายใน ของสถานศึกษา - ศึกษาจาก เอกสาร อ. สริ ลิ กั ษณ - ระบบ หลักเกณฑและวธิ กี ารประกนั - ต้ังประเด็น คำถาม คณุ ภาพการศกึ ษา เพอื่ วิเคราะห์ - บทบาทหน้าที่และภารกิจสําคญั ของ รูปแบบการ หน่วยงานท่ีเกย่ี วข้อง ดำเนินงานประกัน - บทบาทหนา้ ทแี่ ละภารกิจสําคัญของ คณุ ภาพการศึกษา บุคลากรของสถานศึกษาและหน่วยงาน - แบบฝึกหดั ท่เี ก่ยี วขอ้ ง 4 - ศกึ ษาจากกรณี อ.รัตนา และ 4-5 บทที่ 3 การกาํ หนดมาตรฐานการ ศกึ ษาของสถานศกึ ษา ตวั อย่าง อ. สิรลิ ักษณ - แนวคดิ และหลักการของการประกนั - วิเคราะห์และ คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา กำหนด(ตัวอย่าง) -รปู แบบของการประกนั คุณภาพการ มาตรฐานการศึกษา ศกึ ษา ของสถานศึกษา - มาตรฐานการศกึ ษาแต่ละระดับแ ตล่ ะระดับ - การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาระดับ การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน

เอกสารหมายเลข มคอ. 3/6 สปั ดาห์ หวั ข้อ/รายละเอียด จน. กจิ กรรมการเรยี น ผู้สอน ท่ี ช่วั โมง การสอน/สอ่ื ทใช้ 6-7 บทท่ี 5 แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษา 2 - อธิบาย อภิปราย อ.รัตนา และ ของสถานศกึ ษา - ฝกึ ปฏิบัติการ อ. สิรลิ กั ษณ ออกแบบแผนพัฒนา - แนวคดิ หลกั การ ความสำคัญของ แผนพฒั นาการจดั การศึกษา การจัดการศกึ ษาของ - กระบวนการวเิ คราะหบ์ ริบทของ สถานศกึ ษา สถานศกึ ษา - ข้นั ตอนการจัดทำแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา 8 สอบกลางภาค 1.30 9 บทที่ 6 การติดตามตรวจสอบ 4 - ฝึกปฏบิ ตั แิ สวงหา อ.รตั นา และ คุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ความรู้ โดยใช้ อ. สิริลักษณ -ความสำคญั วัตถปุ ระสงคข์ องการ ฐานขอ้ มูลเกี่ยวกับ ติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา การประกันคณุ ภาพ ของสถานศึกษา ก า ร ศึ ก ษ า ใ น -รปู แบบการตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพ สถานศกึ ษา การศึกษา - อธบิ าย อภปิ ราย -กระบวนการ ติ ดตามตรวจสอบ คณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา -กระบวนการสรุปผลและรายงานผล การ ติ ดตาม ตรวจ สอบ คุ ณภาพ การศึกษาของสถานศึกษา

10-11 บทท่ี 7 การประเมินคุณภาพภายใน 4 1. บรรยายโดยใช้ P อ.รัตนา และ ตามมาตรฐานการศึกษาของสถาน owerPoint อ. สิริลักษณ ศกึ ษา ประกอบตวั อยา่ ง ง -ความสำคัญ วัตถุประสงคข์ องการ านวิจัยของผูส้ อน ประเมนิ คุณภาพภายใน 2. กิจกรรมกลมโดย -ปจั จัยทสี่ ง่ ผลตอ่ คณุ ภาพการประเมนิ ให้ศึกษาตวั อย่างจาก -บทบาทหน่วยงาน ต้ นสั ง กั ดกั บ ผลการประเมินตาม สถานศึกษาในการติดตามตรวจสอบ ประเดน็ จรงิ คุณภาพการศึกษา 3. อภิปราย– ซัก -หลักการประเมินคุณภาพภายในตาม ถาม มาตรฐาน 4. แบบฝึกหัด -การประเมินคุณภาพภายในตาม 5. นักศกึ ษานาํ เสนอ มาตรฐาน ผลงานและวิจารณ์ -มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพ่ือ การประ กั น คุ ณภ าพภ ายในของ สถานศกึ ษา -ข้ันตอนและแนวทางการประเมนิ คุณภาพภายใน และภายนอกตาม มาตรฐาน - กฎหมายท่เี กย่ี วของกบั การประกนั คุณภาพการศึกษา 12 บทท่ี 8 การจัดทำรายงานการประเมิน 4 - วเิ คราะหข้อมลู ที่ อ.รตั นา และ คณุ ภาพภายใน ได้จากการเก็บรวบ อ. สิริลักษณ - นําผลไปใชใ้ นการพัฒนาคณุ ภาพ รวม ข้อมลู การศกึ ษาไปใชประโยชน์ -การ จั ดทำรายงานการประเมิน - การเขยี นรายงาน คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา การประเมิน -วตั ถปุ ระสงคแ์ ละประโยชนข์ องการ จดั ทำรายงานการประเมินคณุ ภาพ ภายในของสถานศึกษา -การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่าง ต่อเนอ่ื ง

เอกสารหมายเลข มคอ. 3/7 สัปดาห์ หวั ข้อ/รายละเอยี ด จน. กจิ กรรมการเรียน ผสู้ อน ช่ัวโมง การสอน/ส่ือทใช้ อ.รตั นา และ ท่ี อ. สริ ลิ กั ษณ 2 - บรรยายโดยใช้ 13 บทท่ี 9 การประเมินคุณภาพจาก สํานกั งานรบั รองมาตรฐานและ PowerPoint ประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา (สมศ.) - กจิ กรรมกลมุ่ - แนวคิดเกยี่ วกบั การประเมนิ คุณภาพ วเิ คราะห์ วิจารณ์ ภายนอก โดย สมศ. อภปิ ราย– ซกั ถาม 14-15 บทท่ี 10 เครอื่ งมือทใ่ี ช้ในการประเมิน 2 - อธิบายและ อ.รัตนา และ คณุ ภาพการศกึ ษา อภปิ ราย อ. สิริลกั ษณ - ตวั อย่างเครื่องมือ ประเมินและการ ปฏบิ ัติการสรา้ ง เคร่ืองมือ 16 สอบปลายภาค

เอกสารหมายเลข มคอ. 3/8 2. แผนการประเมนิ ผลการเรียนรู้ กจิ กรรม ผลการ วิธกี ารประเมิน สปั ดาห์ท่ี สัดส่วนของการ ท่ี เรียนร*ู้ ประเมิน ประเมินผล 10% 1 2.1, 2.8 - ทดสอบยอ่ ย 4, 12 30% 2.2,2.3 3.4 - ทดสอบปลายภาค 15 50% ตลอด 2 2.3, 2.7 - ตรวจผลงาน ภาคเรยี น 3.1, 3.4, 5.1 ศกึ ษาค้นควา้ และ นาํ เสนอ - ตรวจผลงานโครงงาน (ปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม) 3 1.1-4, 1.7 - ประเมินจากการมสี ว่ นร่วม ตลอด 10% ภาคเรยี น 2.4, 4.4, 4.6 กิจกรรมกลมในช้นั เรียน 5.3 - ประเมินความรบั ผิดชอบ การ ตรงต่อเวลาในงานทีไ่ ดร้ ับ มอบหมาย หมวดที่ 6 ทรพั ยากรประกอบการเรียนการสอน 1. เอกสารและตาํ ราหลัก คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน. สาํ นักงาน. (2559). คู่มอื การประเมินคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา ขั้นพ้ืนฐานเพอ่ื การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สาํ นักงาน พระพุทธศาสนา. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน. สํานกั งาน. (2559). แนวทางการเขยี นรายงานการประเมนิ ตนเองของ สถานศึกษา. กรงุ เทพมหานคร: สาํ นักงานพระพทุ ธศาสนา. คณะกรรมการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน.สํานกั งาน. (2553). แนวทางการพฒั นาระบบการประกันคุณภาพภายใน ของสถานศกึ ษา. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย. นงเยาว์ อทุ มุ พร. (2560). เอกสารประกอบการสอนวิชาการประกนั คุณภาพการศกึ ษา. คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบรุ ี. พชิ ติ ฤทธจิ์ รญู . (2547). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ พมิ พ์คร้งั ที่ 2 กรงุ เทพฯ: เฮ้าส์ ออฟ เคอร์ มสิ ท.์ ศึกษาธกิ าร.กระทรวง. (2545). พระราชบญญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 และแก้ไขเพิ่มเตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 . กรงุ เทพมหานคร: องค์การรบั ส่งสนิ คา้ และพัสดุภณั ฑ์ 2. เอกสารและข้อมูลสำคัญ - เอกสารเกีย่ วกับผลการประเมนิ คุณภาพของสถานศึกษาในแต่ละรอบการประเมนิ - ตําราเกย่ี วกับการเรียนการสอน 3. เอกสารและข้อมูลแนะนาํ เวบ็ ไซตท์ เ่ี กีย่ วกับหวั ข้อในประมวลรายวชิ า เช่น การประเมนิ คุณภาพภายในและการประเมนิ คุณภาพ ภายนอก การประกันคุณภาพการศึกษา มาตรฐานและตวั ชี้วดั การประกนั คุณภาพการศึกษา เป็นตน้

เอกสารหมายเลข มคอ. 3/9 หมวดท่ี 7 การประเมินและปรบั ปรงุ การดำเนินการของรายวชิ า 1. กลยุทธก์ ารประเมินประสิทธผิ ลของรายวิชาโดยนกั ศกึ ษา การประเมินประสิทธผิ ลในรายวชิ าน้ี ที่จัดทำโดยนกั ศกึ ษา ไดจ้ ัดกิจกรรมในการนําแนวคิดและ ความคดิ เห็นจากนกั ศึกษาได้ดงั น้ี - การสนทนากลุ่มระหวา่ งผสู้ อนและผู้เรียน - แบบประเมินผ้สู อน และแบบประเมนิ รายวิชา - ขอ้ เสนอแนะผ่านเวบบอรด์ ที่อาจารยผ์ ู้สอนได้จดั ทาํ เปน็ ชอ่ งทางการส่อื สารกบั นกั ศกึ ษา 2. กลยทุ ธ์ การประเมนิ การสอน ในการเกบ็ ขอ้ มลู เพ่อื ประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ - การสังเกตการสอน - ผลการเรียนของนกั ศกึ ษา - การทวนสอนผลประเมนิ การเรียนรู้ 3. การปรับปรุงการสอน หลงั จากผลการประเมนิ การสอนในข้อ 2 จงึ มีการปรบั ปรงุ การสอน โดยการจดั กจิ กรรมในการ ระดมสมอง และหาข้อมลู เพมเตมิ ในการปรบปรุงการสอน ดงั นี้ - สมมนาการจดั การเรียนการสอน - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ิของนกั ศึกษาในรายวิชา ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มกี ารทวนสอบผลสมั ฤทธใ์ิ นรายหัวขอ้ ตามทค่ี าดหวังจาก การเรียนรใู้ นวิชา ได้จากการสอบถามนักศกึ ษา หรอื การส่มุ ตรวจผลงานของนกั ศึกษา รวมถงึ พจิ ารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลงั การออกผลการเรียนรายวชิ า มกี ารทวนสอบผลฤทธิ์ โดยรวมในวชิ าไดด้ งั นี้ - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสมุ่ ตรวจผลงานของนกั ศึกษาโดยอาจารยอ์ น่ื หรือ ผู้ทรงคณุ วุฒิ ท่ไี ม่ใช่อาจารยป์ ระจาํ หลกั สูตร - มกี ารต้งั คณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรยี นรูข้ องนักศึกษา โดยตรวจ สอบข้อสอบ รายงาน วธิ ีการใหค้ ะแนนสอบ และการใหค้ ะแนนพฤติกรรม 5. การดำเนนิ การทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา จากผลการประเมนิ และทวนสอบผลสมฤทธ์ปิ ระสทิ ธิผลรายวชิ า ได้มีการวางแผนการปรับปรุง การสอนและรายละเอยี ดวชิ า เพือ่ ให้เกดิ คุณภาพมากขึ้น ดังนี้ - ปรับปรงุ รายวิชาทกุ 3 ปี หรอื ตามขอ้ เสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสมฤทธ์ิ ตามข้อ 4 - เปลย่ี นสลับอาจารยผ์ ู้สอน หรอื เชญิ วทิ ยากรผู้เช่ียวชาญที่มปี ระสบการณต์ รงเพื่อให้ นักศกึ ษา มีมมุ มองในเรอ่ื งการประยุกต์ความรู้นกี้ ับปัญหาทีม่ าจากงานวจิ ยั ของอาจารย์ หรอื ผู้ เชยี่ วชาญ ผชู้ าํ นาญการต่าง ๆ