Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Visakha Bucha วิสาขบูชา

Visakha Bucha วิสาขบูชา

Published by libchiangdow, 2021-05-20 15:33:42

Description: Visakha Bucha วิสาขบูชา

Search

Read the Text Version

องค์ความรู้ เรื่อง วนั วสิ าขบูชา วิ ความสาคญั ของวนั วิสาขบูชา “วิสาขบูชา” ย่อมาจากคาว่า “วิสาขปุรณมีบูชา” แปลว่า การบูชาพระในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ (เดอื น ๖) ซึง่ มเี หตุการณ์สาคัญเกิดขนึ้ ๓ ประการ ในวันวสิ าขบูชา ดังน้ี ๑. ประสตู ิ พระนางสริ มิ หามายา พระมเหสีของพระเจ้าสุทโธทนะ แห่งกรุงกบิลพัสด์ุ ได้ประสูติพระราชโอรส คอื เจ้าชายสิทธัตถะ ท่ีใต้ต้นสาระ พระราชอุทยานลุมพินี ระหว่างกรุงกบิลพัสดุ์กับกรุงเทวทหะ (ปัจจุบันคือ ประเทศเนปาล) ตรงกบั วนั ศุกร์ ข้ึน ๑๕ คา่ เดอื น ๖ ปจี อ กอ่ นพทุ ธศกั ราช ๘๐ ปี 2. ตรัสรู้ เจ้าชายสิทธัตถะตรัสรู้ เป็นพระพุทธเจ้าเมื่อพระชนมายุ 15 พรรษา ณ ใต้ร่มไม้ศรีมหาโพธ์ิ ฝ่ังแม่น้าเนรญั ชรา ตา้ บลอุรุเวลาเสนานิคม ในตอนเช้ามืดวันพุธ ข้ึน 15 ค้่า เดือน 6 ปีระกา ก่อนพุทธศักราช 85 ปี หลังจากออกผนวชได้ 6 ปี (ปัจจุบันสถานที่ตรัสรู้แห่งนี้เรียกว่า พุทธคยา เป็นต้าบลหน่ึงของเมืองคยา ประเทศอนิ เดีย)

-๒- 3. ปรนิ ิพพาน หลังจากตรัสรู้แล้ว ได้ประกาศพระศาสนา และโปรดเวไนยสัตว์เป็นเวลา 45 ปี พระชนมายุ ได้ 80 พรรษา จึงเสด็จปรินิพพาน เมื่อวันอังคาร ข้ึน 15 ค้่า เดือน 6 ปีมะเส้ง ณ สาลวโนทยานของมัลลกษัตริย์ เมอื งกสุ นิ ารา แคว้นมลั ละ (ปจั จบุ นั อยใู่ นเมืองกสุ ินคระแควน้ อตุ ตรประเทศ ประเทศอินเดยี ) วันวิสาขบูชา เป็นวันที่มีความสาคัญสาหรับพุทธศาสนิกชนทุกคน เนื่องจากล้วนมีเหตุการณ์ ที่เก่ียวข้องกับการถือกาเนิดของพระพุทธศาสนา คือ เป็นวันท่ีพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพานในคราวเดียว ดังนั้น เพ่ือเป็นการน้อมราลึกถึงพระคุณของพระองค์ องค์การสหประชาชาติ จึงกาหนดให้วันวิสาขบูชาเป็นวันสาคัญสากลของโลก โดยเรียกว่า Vesak Day โดยการเสนอของประเทศศรีลังกา และมีมติเป็นเอกฉันท์ในท่ีประชุมสมัชชาสหประชาชาติ เม่ือวันที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ โดยให้เหตุผลว่า องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเป็นมหาบุรุษผู้ให้ความเมตตาต่อหมู่มวลมนุษย์ เปิดโอกาสให้ทุกศาสนา สามารถเข้ามาศึกษาพุทธศาสนา เพื่อพิสูจน์หาข้อเท็จจริงได้โดยไม่จาเป็นต้องเปล่ียนมานับถือศาสนาพุทธ และได้กาหนดวันวิสาขบูชาน้ีถือเป็นวันหยุดวันหนึ่งของสหประชาชาติอีกด้วย ท้ังน้ีก็เพ่ือให้ชาวพุทธทั่วโลก ได้มีโอกาสบาเพ็ญบุญเนื่องในวันประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพานของพระบรมศาสดา โดยการท่ีสหประชาชาติ ได้กาหนดให้วนั วสิ าขบชู าเป็นวนั สาคญั ของโลกนน้ั ได้ให้เหตผุ ลไว้ว่า องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเป็น มหาบุรุษผู้ให้ความเมตตาต่อหมู่มวลมนุษย์ เปิดโอกาสให้ทุกศาสนาสามารถเข้ามาศึกษาพุทธศาสนา เพือ่ พสิ ูจน์หาขอ้ เทจ็ จรงิ ไดโ้ ดย ไมจ่ าเปน็ ตอ้ งเปลย่ี นมานบั ถอื ศาสนาพุทธ จากความสาคัญข้างต้น พระพุทธศาสนาจึงเป็นศูนย์รวมทางจิตใจของชาวพุทธ คนไทยส่วนใหญ่ นับถือพระพุทธศาสนา และได้นาเอาหลักธรรมคาสอนเป็นหลักสาคัญในการดารงชีวิต ทาให้สังคมไทยอยู่ร่วมกัน อย่างมีความสุข ชีวิตคนไทยผูกพันกับพุทธศาสนา จึงมีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตของคนไทยหลายประการ ได้แก่ ด้านอุปนิสัย เช่น ความกตัญญูกตเวที การเคารพเชื่อฟังผู้ใหญ่ การให้อภัย ความเมตตาความกรุณา เป็นต้น ลว้ นได้รบั การปลูกฝงั และหลอ่ หลอมจากหลกั ธรรมคาสอนทางพระพทุ ธศาสนา ต้ังแต่วัยเด็กท่ีได้สืบทอดต่อกัน มาจนเป็นวัฒนธรรมไทยท่ีดีงาม เนื่องจากคนไทยมีความใกล้ชิดกับพระพุทธศาสนามาโดยตลอดนับได้ว่า กิจกรรมวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา เป็นการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมอันดีงาม ให้เกิดขึ้นในสังคมไทยสืบไป ดังนั้น ในโอกาสในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนาดังกล่าว กรมการศาสนาได้ร่วมกับองค์กรเครือข่าย ทางพระพทุ ธศาสนา ภาคคณะสงฆ์ สถานศกึ ษา ภาคเอกชน และหนว่ ยงานต่าง ๆ ทั่วประเทศ ร่วมจัดกิจกรรม ทางพระพุทธศาสนา และได้เชิญชวนเด็ก เยาวชน นักเรียน นักศึกษาและประชาชนเข้าร่วมกิจกรรม ในวันวิสาขบูชา ส่งเสริมการเผยแผ่พระพุทธศาสนาอย่างแพร่หลายสู่ประชาชนชาวไทยและชาวต่างประเทศ และเพอื่ ดารงไวซ้ งึ่ หลักธรรมคาสอนของพระพุทธศาสนา ใหค้ งอยู่คูก่ ับสังคมไทยตลอดไป ความเป็นมาของวนั วสิ าขบูชาในประเทศไทย วันวิสาขบูชาน้ี ปรากฏตามหลักฐานว่า ได้มีมาตั้งแต่คร้ังกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี ซ่ึงสันนิษฐานว่า คงจะได้แบบอย่างมาจากลังกา กล่าวคือ เมื่อประมาณ พ.ศ. ๔๒๐ พระเจ้าภาติกุราช กษัตริย์แห่งกรุงลังกา

-๓- ได้ประกอบพิธีวิสาขบูชาอย่างมโหฬาร เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา กษัตริย์ลังกาในรัชกาลต่อ ๆ มา ก็ทรงดาเนินรอยตาม แมป้ จั จุบันก็ยงั ถอื ปฏบิ ัติอยู่ สมยั สุโขทัยน้ัน ประเทศไทยกับประเทศลังกามีความสัมพันธ์ด้านพระพุทธศาสนา ใกล้ชิดกันมาก เพราะพระสงฆ์ชาวลังกาได้เดินทางเข้ามาเผยแพร่พระพุทธศาสนา และเช่ือว่าได้นา การประกอบพิธีวสิ าขบูชามาปฏบิ ตั ิในประเทศไทยดว้ ย ในหนงั สอื นางนพมาศไดก้ ล่าวบรรยากาศการประกอบพธิ ีวิสาขบูชาสมัยสุโขทัยไว้พอสรุปใจความได้ว่า “เม่ือถึงวันวิสาขบูชา พระเจ้าแผ่นดิน ข้าราชบริพาร ท้ังฝุายหน้าและฝุายใน ตลอดทั้งประชาชนชาวสุโขทัย ท่ัวทุกหมู่บ้านทุกตาบลต่างช่วยกันทาความสะอาด ประดับตกแต่งพระนครสุโขทัยเป็นการพิเศษ ด้วยดอกไม้ ของหอม จุดประทปี โคมไฟแลดสู วา่ งไสวไปทั่วพระนคร เป็นการอุทิศบูชาพระรัตนตรัย เป็นเวลา ๓ วัน ๓ คืน พระมหากษัตริยแ์ ละบรมวงศานุวงศ์ กท็ รงศลี และทรงบาเพ็ญพระราชกศุ ลต่างๆ ครั้นตกเวลาเย็น ก็เสด็จพระราชดาเนิน พร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ และนางสนองพระโอษฐ์ ตลอดจนข้าราชการทั้งฝุายหน้า และฝุายใน ไปยังพระอารามหลวง เพอ่ื ทรงเวยี นเทยี นรอบพระประธาน ส่วนชาวสุโขทัยชวนกันรักษาศีล ฟังธรรมเทศนา ถวายสลากภัต ถวายสังฆทาน ถวายอาหารบิณฑบาต แดพ่ ระภิกษสุ ามเณร บรจิ าคทรัพย์แจกเป็นทานแก่คนยากจน คนกาพร้า คนอนาถา คนแก่ คนพิการ บางพวกก็ชวนกัน สละทรัพย์ ปลอ่ ยสตั ว์ ๔ เท้า ๒ เทา้ และเต่า ปลา เพอื่ ชีวิตสตั ว์ใหเ้ ป็นอิสระ โดยเช่อื วา่ จะทาใหค้ นอายุ ยนื ยาวต่อไป” ในสมยั อยุธยา สมยั ธนบุรี และสมยั รัตนโกสนิ ทร์ตอนต้น ศาสนาพราหมณ์ท่ีเข้ามามีอิทธิพลสูงต่อ ประชาชนชาวไทย จึงไม่ปรากฏหลักฐานว่า ได้มีการประกอบพิธีบูชาในวันวิสาขบูชา จนมาถึงรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (พ.ศ. ๒๓๖๐) ทรงดาริกับ สมเด็จพระสังฆราช (มี) สานกั วดั ราชบรู ณะ มพี ระราชประสงคจ์ ะใหฟ้ ืน้ ฟูการประกอบพระราชพิธีวันวิสาขบูชาขึ้นใหม่ โดยสมเด็จพระสังฆราช ถวายพระพรให้ทรงทาขึ้นเป็นคร้ังแรกในวันข้ึน ๑๔ ค่า ๑๕ ค่า และวันแรม ๑ ค่า เดือน ๖ พุทธศักราช ๒๓๖๐ และให้จัดทาตามแบบอย่างประเพณีเดิมทุกประการ เพ่ือมีพระประสงค์ให้ ประชาชนประกอบการบุญการกุศล เป็นหนทางเจริญอายุ และอยู่เย็นเป็นสุข ปราศจากทุกข์โศกโรคภัย และอปุ ัทวนั ตรายต่างๆ โดยท่วั หนา้ กนั หลกั ธรรมทีค่ วรนามาปฏิบัติเกี่ยวกับวันวสิ าขบูชา วันวสิ าขบูชาเปน็ วนั ทมี่ เี หตุการณ์ ๓ ประการของพระพุทธเจ้าเกิดข้ึน ต่อมา จึงได้มีผู้นาหลักธรรม ท่ีเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ทั้ง ๓ ประการของพระพุทธองค์มาประมวลไว้ เพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้ยึดถือ เป็นแนวประพฤตปิ ฏิบตั ิ หลกั ธรรมดังกลา่ วมีดังต่อไปน้ี ๑. กตญั ญู คอื การรูอ้ ปุ การคุณท่ีผูอ้ ืน่ ทาไว้ก่อน คูก่ บั กตเวที คือ การตอบแทนอุปการคุณทผี่ ู้อน่ื ทาไวน้ ้ัน บดิ ามารดา มอี ปุ การคณุ แกบ่ ุตรธิดา ในฐานะเปน็ ผู้ให้กาเนิดและเล้ียงดูจนเติบใหญ่ ให้การศึกษา อบรมสั่งสอน ให้ละเว้นจากความชั่ว มั่นคงในการทาความดี เมื่อถึงคราวมีคู่ครองได้ จัดหาคู่ครองที่เหมาะสมให้ และมอบทรัพย์สมบัติให้ไว้เป็นมรดก บุตรธิดาเมื่อรู้อุปการคุณท่ีบิดามารดาทาไว้ย่อมตอบแทนด้วยการ ประพฤติตัวดี สร้างช่ือเสียงให้แก่วงศ์ตระกูล เลี้ยงดูท่านและช่วยทางานของท่าน และเม่ือท่านล่วงลับไปแล้ว ก็ทาบญุ อทุ ศิ ส่วนกศุ ลให้ทา่ น

-๔- ครูอาจารย์ มีอุปการคุณแก่ศิษย์ ในฐานะเป็นผู้ประสาท ความรู้ให้ฝึกฝนแนะนาให้เป็นคนดี สอนศิลปวิทยาให้อย่างไม่ปิดบัง ยกปรากฏแก่คนอื่นและช่วยคุ้มครองศิษย์ทั้งหลาย ศิษย์ เม่ือรู้อุปการคุณ ท่ีครูอาจารยท์ าไว้ ย่อมตอบแทนดว้ ยการตัง้ ใจเรยี น ให้เกียรติ และใหค้ วามเคารพ ไมล่ ่วงละเมดิ โอวาทของครู ในทางพระพทุ ธศาสนา พระพุทธเจ้าในฐานะท่ีทรงสถาปนาพระพุทธศาสนา และทรงสอนทางพ้น ทุกข์ให้แก่ผู้ควรแนะนาสั่งสอน จึงควรตอบแทนด้วยอามิสบูชาและปฏิบัติบูชา และการจัดกิจกรรมในวันวิ สาขบูชาก็เป็นส่วนหนึ่งที่พุทธศาสนิกชนแสดงออกซ่ึงกตัญญูกตเวทีต่อพระองค์ ด้วยการทานุบารุงส่งเสริม พระพุทธศาสนา และประพฤติปฏิบัติธรรม เพื่อสืบทอดพระพทุ ธศาสนาตอ่ ไป ๒. อรยิ สัจ ๔ ประการ คือ ทกุ ข์ สมุทยั นิโรธ มรรค ๑) ทุกข์ คือ สภาพท่ีกายและใจทนสภาพบีบคั้นได้ยาก เม่ือกล่าวโดยองค์ธรรม ได้แก่ ความเกิด เป็นทุกข์ ความแก่เป็นทุกข์ ความเจ็บเป็นทุกข์ ความตายเป็นทุกข์ ความประสบกับส่ิงไม่เป็นท่ีรักเป็นทุกข์ ความพลัดพรากจากสิ่งเป็นท่ีรักเป็นทุกข์ ความไม่ได้สิ่งท่ีตนปรารถนาเป็นทุกข์ ว่าโดยย่อ ความยึดม่ันขันธ์ ๕ เปน็ ทุกข์ ๒) สมทุ ยั คือ เหตุแหง่ ทกุ ข์ ได้แก่ ตัณหาหรือความทะยานอยาก มี ๓ ประการ คือ กามตัณหา ความทะยานอยากด้วยอยากได้มาครอบครอง ภวตัณหา ความทะยานอยากเป็นโน่นเป็นนี่ และวิภวตัณหา ความทะยานอยากให้พน้ จากภาวะทเ่ี ป็นอยู่ ๓) นิโรธ คือ การดบั ทกุ ข์ หมายถึง การดับหรอื การละตัณหา ๔) มรรค คอื วถิ ที างแหง่ ความดับทกุ ข์ หมายถึง ขอ้ ปฏิบัติทใี่ ห้บรรลุถึงความดับทุกข์ อันได้แก่ มรรคมีองค์ ๘ ประการ ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ ๓. ความไมป่ ระมาท คอื การมสี ตทิ งั้ ขณะทา ขณะพดู และขณะคิด สติ คือ การระลึกรู้ทัน ท่ีคิด พูด และทา ในภาคปฏิบัติ เพื่อนามาใช้ในชีวิตประจาวัน หมายถึง การระลึกรู้ทันการเคลื่อนไหวอิริยาบถ ๔ คือ เดิน ยืน น่ัง นอน การฝึกให้เกิดสติทาได้โดยตั้งสติกาหนดการ เคล่ือนไหวอริ ิยาบถ กล่าวคือ ระลึกรทู้ นั ท้ังในขณะ ยนื เดิน น่ังและนอน รวมท้ังระลึกรู้ทันในขณะพูด ขณะคิด และขณะทางานตา่ ง ๆ แนวทางการปฏบิ ตั ิสาหรับพทุ ธศาสนกิ ชน ๑. ให้ทาน ถวายภัตตาหารแด่พระภิกษุสามเณรในช่วงเช้าหรือเพลบริจาคทรัพย์ช่วยเหลือ เก้อื กลู ผูย้ ากไร้ และบาเพ็ญสาธารณประโยชน์ ๒. รักษาศีล สารวมระวังกายและวาจา ด้วยการรักษาศีล ๕ หรือศีล ๘ พร้อม ทั้งบาเพ็ญเบญจธรรม สนบั สนุน ๓. เจริญภาวนา บาเพ็ญภาวนาด้วยการไหว้พระสวดมนต์และปฏิบัติสมาธิและวิปัสสนาตาม แนวสติปฏั ฐาน ๔

-๕- ๔. เวยี นเทียน การเวยี นเทยี นเป็นการบูชาพระรัตนตรัยด้วยอามิสบูชาและปฏิบัติบูชา ในการน้ีควรแต่งกาย ให้สภุ าพเพือ่ เปน็ การบชู าพระรัตนตรัย ๕. ทาความสะอาดบา้ นเรือน ประดับธงชาตแิ ละธงธรรมจกั ร และจัดแต่งที่บูชาพระประจาบ้าน ๖. ศกึ ษาเอกสาร หรอื สนทนาเกี่ยวกับความสาคัญของวันวสิ าขบูชา รวมทง้ั หลกั ธรรมท่ีเนือ่ งด้วย วนั วสิ าขบชู าและแนวทางการปฏิบตั ธิ รรมในครอบครวั ๗. นาครอบครัวไปบาเพญ็ กุศล ทาบญุ ตักบาตร บรจิ าคทาน ๘. ปฏิบตั ิธรรมทวี่ ัด รกั ษาศลี ไหวพ้ ระสวดมนต์ ฟังธรรม เวยี นเทยี น เจริญจติ ภาวนา

-๖- กจิ กรรมทเ่ี ก่ยี วกับสถานศกึ ษา ๑. ทาความสะอาดบริเวณโรงเรยี น ประดับธงชาติ ธงธรรมจกั ร และจัดโต๊ะหม่บู ชู า ๒. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั ศึกษาถึงความสาคัญของวันวิสาขบชู า และรวมทง้ั หลักธรรมที่เนื่องด้วย วันวสิ าขบูชาและแนวทางการปฏิบตั ิธรรมในสถานศึกษา ๓. ครูให้นักเรียนจัดทาปูายนิเทศ หรอื จดั นิทรรศการ ประกวดเรยี งความ ทาสมุดภาพ ตอบปัญหาธรรม บรรยายธรรม อภปิ รายธรรม ๔. ประกาศเกียรติคุณนักเรียนที่ประพฤติตัวเป็นแบบอย่างท่ีดีครูพานักเรียนไปร่วมกิจกรรมกับ ชมุ ชนทวี่ ัด บาเพญ็ กศุ ล ทาบญุ ตักบาตร บริจาคทาน รักษาศีล ฟงั ธรรม สนทนาธรรม เวยี นเทยี น เจริญจติ ภาวนา กจิ กรรมทเ่ี ก่ียวกับสถานที่ปฏิบตั งิ าน ๑. ทาความสะอาดบริเวณท่ีปฏบิ ัติงาน ประดับธงชาติ ธงธรรมจกั ร และจัดโต๊ะหมบู่ ูชา ๒. ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับความสาคัญของวันวิสาขบูชา รวมท้ังหลักธรรมท่ีเน่ืองด้วยวันวิสาขบูชา และแนวทางการปฏิบตั ิธรรมในสถานท่ีปฏบิ ัติงาน ๓. จดั ให้มกี ารบรรยายธรรม และสนทนาธรรม ๔. ร่วมกนั บาเพ็ญสาธารณประโยชน์ ปลูกต้นไม้ บริจาคโลหิต ฯลฯ

-๗- ๕. หวั หน้าหน่วยงานให้โอกาสผู้ร่วมงานไปบาเพ็ญกุศลตามประเพณนี ยิ ม กจิ กรรมเก่ียวกบั สังคม ๑. วัด สมาคม มูลนิธิ หน่วยงาน องค์กร ส่ือมวลชน ประชาสัมพันธ์เร่ืองวันวิสาขบูชาโดยใช้ส่ือ ทกุ รูปแบบ ๒. จัดพมิ พเ์ อกสารเกย่ี วกบั ความสาคัญของวนั วิสาขบชู า รวมท้ังหลกั ธรรมท่เี นื่องด้วยวันวิสาขบูชา และแนวทางปฏิบัติ เพ่ือเผยแพร่ให้แก่ประชาชนในท้องถิ่น และตามสถานที่ชุมชน เช่น วัดหรือศูนย์ปฏิบัติธรรม สนามบนิ สถานีรถไฟ สถานขี นสง่ ศูนย์การค้า รวมทงั้ บนยานพาหนะตา่ ง ๆ ๓. เชิญชวนให้ประชาชนท่ัวไปเข้าร่วมกิจกรรมปฏิบัติธรรม และพิธีกรรมทางศาสนา เช่น ทาบุญตักบาตร ฟงั ธรรม รักษาศลี ไหวพ้ ระสวดมนต์ สนทนาธรรม เวยี นเทียน เจรญิ จิตภาวนา ๔. รณรงคท์ างส่อื มวลชนต่าง ๆ ใหล้ ด ละ เลกิ อบายมุข งดจาหนว่ ยสรุ าและสิง่ เสพติดทุกชนดิ ๕. ประกาศเกียรติคุณสถาบัน หรอื บุคคลผู้ทาคุณประโยชน์ตอ่ พระพุทธศาสนาและสงั คม ๖. รณรงค์ให้มีการรักษาสภาพแวดล้อม ปลกู ตน้ ไม้ ทาความสะอาดทีส่ าธารณะ ๗. จัดประกวดกิจกรรมต่าง ๆ เช่น สวดมนต์ทานองสรภัญญะ บรรยายธรรม แต่งคาขวัญ แต่งบทร้อยกรอง และแตง่ เรียงความเกี่ยวกบั วนั วสิ าขบชู า http://www.dhammathai.org www.coj.go.th กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม : เอกสารประชาสัมพันธ์งานสัปดาห์ส่งเสริมพระพุทธศาสนา เนอ่ื งในเทศกาลวสิ าขบชู า ประจาปี ๒๕๖๑ , กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พอ์ กั ษรไทย, ๒๕๖๑.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook