Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ผลงานรอบปี 2563 แบบสมบูรณ์

ผลงานรอบปี 2563 แบบสมบูรณ์

Published by JCareCom, 2021-10-05 03:09:54

Description: ผลงานรอบปี 2563 แบบสมบูรณ์

Search

Read the Text Version

รายงานการดำเนนิ กจิ การของ พรรคการเมือง ในรอบปี 2563 พรรคประชาธิปัตย์

๒ (แบบ ท.พ. ๑๕) รา่ ง รายงานการดำเนินกิจการของพรรคการเมือง ในรอบปี พ.ศ.๒๕๖๓ พรรคประชาธิปตั ย์ วันท่ี เดือน เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๔ เรยี น นายทะเบยี นพรรคการเมือง ขา้ พเจ้า (นาย/นาง/นางสาว/ยศ) นายจุรนิ ทร์ ลักษณวิศษิ ฏ์ หวั หน้าพรรคประชาธิปัตย์ ขอรายงาน การดำเนนิ กิจการของพรรคการเมอื งในรอบปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ซึง่ ที่ประชุมใหญ่ของพรรคการเมือง อนมุ ตั ิแลว้ เมื่อ วันท่ี ๒๕ เมษายน ๒๕๖๔ ดงั น้ี ๑. การส่งสมาชกิ เขา้ สมัครรับเลอื กตง้ั เปน็ สมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎร ๑.๑ แบบบัญชรี ายช่ือ จำนวน ........ คน ๑.๒ แบบแบ่งเขตเลอื กตง้ั จำนวน ........ คน ๒. การเสริมสรา้ งใหส้ มาชกิ และประชาชนมีความรู้ความเข้าใจท่ถี ูกต้องเก่ยี วกบั การปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ การใช้สทิ ธแิ ละเสรภี าพอย่างมเี หตุผลและมคี วามรบั ผิดชอบต่อ สงั คมและความรเู้ ก่ียวกับหนา้ ท่ขี องปวงชนชาวไทย วนั เดอื น ปี ทด่ี ำเนนิ การ......................................-................................................................................... สถานทีด่ ำเนนิ การ..................................-...................................งบประมาณ...................-..............................บาท รายละเอียดการดำเนนิ การ (สามารถแนบเอกสารเพ่มิ เติม)...............................-.................................................... ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ...................................................... ........................................................................................................... ............... ฯลฯ ๓. การร่วมกบั ประชาชนในการหาแนวทางการพัฒนาประเทศและการแก้ไขปญั หาตา่ งๆ ทีเ่ กดิ ขึ้น ในสงั คมอยา่ งมีเหตุผล โดยคำนึงถึงความสมดุลระหวา่ งการพฒั นาด้านวัตถุกบั การพัฒนาดา้ นจติ ใจ และความอยูเ่ ยน็ เปน็ สขุ ของประชาชนประกอบกนั วนั เดือน ปี ที่ดำเนินการ........................................-................................................................................. สถานท่ดี ำเนนิ การ....................-……………………........................งบประมาณ ๑,๖๔๔,๐๐๐.๐๐ บาท รายละเอียดการดำเนินการ (สามารถแนบเอกสารเพม่ิ เติม).................. ( เอกสารแนบท้ายหมายเลข 1 ).............. .......................................................................................... .................................................... ................................... ............................................................................................................................................ ..................................... ................................................................................................................................................................................ ฯลฯ

๓ ๔. การสง่ เสรมิ การมสี ่วนร่วมของประชาชนในการดำเนนิ กิจกรรมทางการเมือง รวมตลอดทั้ง การตรวจสอบการใชอ้ ำนาจรัฐและการดาเนนิ งานขององค์กรอิสระอยา่ งมีเหตผุ ล วัน เดอื น ปี ทีด่ ำเนนิ การ.................................................-............................................................................ สถานทด่ี ำเนนิ การ......................-...............................................งบประมาณ ๖,๙๙๔,๗๔๐.๐๐ บาท รายละเอยี ดการดำเนนิ การ (สามารถแนบเอกสารเพม่ิ เติม)...... ( เอกสารแนบท้ายหมายเลข 2 )........................ ............................................................................................................ ..................................................................... ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ฯลฯ ๕. การสร้างเสรมิ ให้สมาชกิ และประชาชนมีความสามัคคีปรองดอง ร้จู กั ยอมรับในความเห็นทาง การเมืองโดยสุจริตทแี่ ตกตา่ ง และแก้ไขปัญหาความขัดแยง้ ทางการเมอื งโดยสันติวธิ ี เพื่อประโยชน์สุขของ ประเทศชาติและประชาชน วัน เดือน ปี ทด่ี ำเนินการ.............................................-............................................................................. สถานที่ดำเนินการ.....................................-................................งบประมาณ ๓,๗๙๘,๑๘๓.๔๐ บาท รายละเอยี ดการดำเนินการ (สามารถแนบเอกสารเพม่ิ เติม).......... ( เอกสารแนบทา้ ยหมายเลข 3 )...................... ..................................................................................................... ........................................................................... ............................................................................................................................. ................................................... ................................................................................................................................................................................ ฯลฯ ๖. กจิ กรรมอนื่ อนั จะยงั ประโยชน์ต่อการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็น ประมขุ รวมท้ังการพฒั นาพรรคการเมืองใหเ้ ปน็ สถาบันทางการเมืองของประชาชน ทัง้ น้ี ตามทีไ่ ดร้ บั ความเห็นชอบ จากคณะกรรมการการเลอื กตั้ง วัน เดือน ปี ที่ดำเนนิ การ...............................................-........................................................................ สถานที่ดำเนินการ............................-.........................................งบประมาณ ๓,๘๓๙,๘๕๗.๒๐ บาท รายละเอียดการดาเนินการ (สามารถแนบเอกสารเพิ่มเติม)................. ( เอกสารแนบท้ายหมายเลข 4 )............ ........................................................................................................... .................................................................. .................................................................................................................................. ........................................... ............................................................................................................................................................................. ฯลฯ ๗. สมาชกิ พรรคการเมือง ( ณ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๓ ) ๓๖,๔๒๕ ราย ๗.๑ รบั สมัครสมาชิก จำนวน ๖๑๙ ราย ๗.๒ สมาชิกลดลง จำนวน ราย ๗.๓ สมาชิกทัง้ หมด จำนวน ๑๗๗,๗๐๑

๔ ๘. สาขาพรรคการเมอื ง ๘.๑ การจัดตั้งสาขาพรรคการเมอื ง จำนวน........................................๘............................สาขา จงั หวัด................-.................. เขตเลอื กตั้งท.ี่ ........................-............................. ( เอกสารแนบท้ายหมายเลข ๕ ) ๘.๒ การเลิกสาขาพรรคการเมอื ง จำนวน..........................................-.............................สาขา จังหวดั ..............-.................... เขตเลอื กต้ังท.่ี .......................-….......................... ฯลฯ ๙. ตัวแทนพรรคการเมืองประจำจงั หวัด ๙.๑ การแตง่ ตั้งตวั แทนพรรคการเมืองประจำจังหวดั จำนวน.... ...........๒๔๓……...............แห่ง จังหวัด............-..................... เขตเลือกตงั้ ท่ี.........................-……....................... ( เอกสารแนบท้ายหมายเลข ๖ ) ฯลฯ ๙.๒ การเปล่ยี นแปลงตวั แทนพรรคการเมอื งประจำจงั หวดั จำนวน............๑๙....................ครง้ั ( เอกสารแนบท้ายหมายเลข ๗ ) ๙.๓ การเลิกตัวแทนพรรคการเมอื งประจาจงั หวัด จำนวน...........................๓......................แหง่ ( เอกสารแนบท้ายหมายเลข ๘ ) ๑๐. การประชมุ ใหญ่พรรคการเมอื ง จำนวน.............................................................๑.......................ครงั้ ๑1. การเปล่ยี นแปลงขอ้ บงั คับพรรคการเมือง จำนวน..............................................-........................ครงั้ ๑2. การเปลีย่ นแปลงคณะกรรมการบรหิ ารพรรคการเมือง จำนวน………………….....- .......................คร้งั ๑3. การเปลย่ี นแปลงกรรมการบรหิ ารพรรคการเมือง จำนวน..................................๑…….................คร้ัง ๑4. การเลอื กตั้งคณะกรรมการสรรหาผสู้ มัครรบั เลือกตง้ั จำนวน…………………........ - ...................คร้ัง ๑5. การเปลี่ยนแปลงกรรมการสรรหาผู้สมัครรับเลอื กตั้ง จำนวน.............................……….................ครง้ั ( ไดม้ กี ารลาออก ๑ ท่าน ) ๑6. การเปลย่ี นแปลงคณะกรรมการสาขาพรรคการเมือง จำนวน.............................๑.....................ครัง้ ( เอกสารแนบท้ายหมายเลข ๙ ) ๑7. การเปล่ียนแปลงกรรมการสาขาพรรคการเมือง จำนวน.....................................-......................ครัง้ ๑8. การเปล่ยี นแปลงทีต่ ัง้ สาขาพรรคการเมือง จำนวน.............................................๑.....................ครง้ั ( เอกสารแนบท้ายหมายเลข ๑๐ ) 19. สถานะทางการเงินของพรรคในรอบปีทรี่ ายงาน 19.๑ สินทรพั ย์ จำนวน................................................... ๕๖,๗๐๓,๗๒๒.๘๑..............บาท 19.๒ หนสี้ ิน จำนวน…..........................................................๕,๗๑๓,๑๑๖.๔๖...............บาท 19.๓ ทนุ จำนวน……………………………………………………....๕๐,๙๙๐,๖๐๖.๓๕.......……..บาท

๕ 19.๔ รายไดข้ องพรรคการเมือง (๑) เงนิ ทนุ ประเดิม จำนวน…………………………………………...........-……………………..…บาท (๒) เงนิ คา่ ธรรมเนยี มและค่าบำรงุ พรรคการเมือง จำนวน……………………………….…...บาท รายรับค่าบำรงุ สมาชิก..............................................๗,๘๖๔,๙๕๐.๐๐............... บาท (๓) เงนิ ได้จากการจำหน่ายสินค้าหรอื บริการ จำนวน..................-............................ .บาท (๔) เงนิ ทรัพยส์ นิ และประโยชนอ์ น่ื ใดอันอาจคำนวณเป็นเงินไดจ้ ากการจัด กิจกรรมหาทนุ จำนวน................................................................-........................... .บาท (๕) เงนิ ทรัพยส์ ิน และประโยชน์อื่นใดอันอาจคำนวณเป็นเงินไดจ้ ากการบริจาค จำนวน.............................................................๒๙,๓๔๖,๕๐๐.๐๐ ......... บาท (๖) เงินอุดหนุนจากกองทนุ จำนวน...............................๓๗,๓๓๒,๔๙๓.๓๙ ...........บาท (๗) ดอกผลของเงินและรายไดจ้ ากทรัพย์สินของพรรคการเมอื ง จำนวน.......................................................................................................บาท (๘) รายได้อื่นๆ จำนวน...................................................... ๑๒๑,๘๖๘.๒๒ ........บาท 19.๕ ค่าใชจ้ ่ายของพรรคการเมอื ง (๑) ค่าใช้จา่ ยในการดำเนนิ กิจกรรมทางการเมือง.......... ๑๓,๗๗๖,๗๘๕.๔๐.... บาท (๒) ค่าใช้จ่ายเกีย่ วกบั การเลือกต้งั ของพรรคการเมอื งและสมาชิกพรรคการเมือง จำนวน.....................................................................................................................บาท (๓) ค่าใช้จา่ ยในการบรหิ ารพรรคการเมือง จำนวน……... ๓๒,๙๖๗,๓๑๖.๖๖ ..…..บาท (๔) ค่าใชจ้ า่ ยอื่นๆ จำนวน...........................................-……………………..……............บาท ๒0. การดำเนินกิจการอ่ืนๆ ของพรรคการเมอื ง ๒0.1 พธิ ีทำบุญพรรคครบรอบ 74 ปี พรรคประชาธิปัตย์ วันท่ี 6 เมษายน 2563 พรรคประชาธิปัตย์ทำบุญวันครบรอบ วันคล้ายวันเกิดพรรคฯ ครบ 74 ปี โดยมีพิธีทางศาสนา ท้ัง อิสลาม พราหมณ์ และพุทธ โดยนายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ หัวหน้าพรรคฯ ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน เลขาธิการพรรคฯ เป็นตัวแทนคณะผู้บริหาร อดีต ส.ส. ส.ก ส.ข. เจ้าหน้าท่ีพรรคฯ และสมาชิกพรรค เน่ืองจากมีสถานการณ์ระบาดไวรัส โควิด-19 ทำให้ สมาชิกพรรคจากทว่ั ประเทศไม่สามารถเดนิ ทางมาร่วมกิจกรรมดงั กล่าว เหมอื นเชน่ ทุกปีทผี่ ่านมา

๖ 20.2 ร่วมงานวันคล้ายวันสวรรคต รชั กาลที่ 7 วนั ท่ี 30 พฤษภาคม 2563 นายจรุ ินทร์ ลักษณวศิ ษิ ฏ์ หัวหน้าพรรคฯ คณะ กรรมการบรหิ ารพรรค และ สมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎร รว่ มพิธวี างพวงมาลาถวายราชสักการะ เน่อื งในวนั ทรี่ ะลกึ พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจา้ อยู่หัว ณ พระบรมราชานสุ าวรยี ์ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจา้ อยู่หัว ณ บริเวณหอ้ งโถง ช้ัน 6 อาคารรฐั สภา เกียกกาย ๒0.๓ งานวนั ครบรอบ 43 ปี 6 ตลุ า 2519 ประจำปี 256๓ วนั ท่ี 6 ตุลาคม 2563 นายราเมศ รตั นะเชวง กรรมการบรหิ ารพรรค และ นาย แทนคุณ จิตต์อิสระ เป็นตัวแทนพรรคฯ วางพวงมาลาเน่ืองในงานรำลกึ 6 ตุลา ประจำปี 256๓ ท้งั น้ี เพอ่ื เป็นการรำลกึ ถงึ วรี ชนที่ต่อสู้เพ่ือเรียกร้องประชาธปิ ไตย ณ บริเวณสวน ประตมิ ากรรมประวัติศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ๒0.๔ งานวนั ครบรอบ 46 ปี เหตกุ ารณ์ 14 ตุลาฯ วนั ที่ 14 ตุลาคม 256๓ น.ส.ผอ่ งศรี ธาราภูมิ กรรมการบริหารพรรค นางรชั ฎาภรณ์ แก้วสนิท นายแทนคุณ จติ ต์อสิ ระ เปน็ ตวั แทนพรรคฯ วางพวงมาลาเนื่องในงานรำลกึ 14 ตลุ า ประจำปี 256๓ ณ อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา (แยกคอกวัว) ท้ังนี้ เพอื่ เป็นการรำลึกถงึ วีรชนที่เรียกรอ้ งประชาธิปไตย

๗ ๒0.๕ รว่ มวางพวงมาลา วันปยิ มหาราช วันที่ ๒๓ ตุลาคม ๒๕๖3 นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ หัวหน้าพรรค นำคณะกรรมการ บรหิ ารพรรค สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชกิ พรรค ร่วมพิธีวางพวงมาลา เนื่องใน วนั ปิยมหาราช ณ ลานพระราชวังดสุ ิต ๒0.๖ วันพระราชทานรัฐธรรมนญู วนั ที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๖3 เปน็ วนั คลา้ ยวนั พระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย เพ่ือเป็นการน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ หัวหน้าพรรค กรรมการบริหารพรรค สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกพรรค ร่วมนำพานประดับพุ่มดอกไม้ถวายบังคมพระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจ้าอยหู่ วั ณ หอ้ งโถง ช้ัน ๖ อาคารรัฐสภา เกียกกาย ๒0.๗ สรุปงานดา้ นพฒั นาระบบสารสนเทศ พรรคประชาธิปตั ย์ไดม้ ีการพัฒนาระบบสารสนเทศภายในองค์กร เพ่ือสนับสนนุ การทำงานในส่วนงานต่าง ๆ ในสถานการณ์โควิด 19 ณ ปัจจุบันทางฝ่ายเทคโนโลยสี ารสนเทศได้พัฒนาระบบในการจดั การกบั ข้อมลู ให้งา่ ย ต่อการใช้งานและทนั สมยั รวมถงึ รองรบั การเขา้ ใช้งานของผู้บรหิ าร คณะกรรมการทุกคณะ และส่วนงานท่ีเกี่ยวข้อง ในการประชุมแบบ Online

๘ การพัฒนาระบบบริหารงานภายในพรรค - ระบบทะเบยี นสมาชกิ ทางฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศได้พัฒนาระบบทะเบยี นสมาชกิ ขึ้นมาเพื่อให้ อำนวยความสะดวกในการบริหารและจัดการงานทะเบยี นสมาชกิ ได้โดยง่ายและสอดคล้องกบั กฎหมาย พรรคการเมือง ระบบสามารถใชง้ านผ่านสาขาพรรค/ตัวแทนประจำจังหวัด ในการใช้งานรบั สมัค สมาชกิ แบบ online ได้ - ปรบั ปรงุ ระบบ Wifi ใหม่ทง้ั หมด (ครอบคลมุ ท้ังพรรค) ทางฝา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศได้ไดป้ รบั เพ่ือ อำนวยความสะดวกในการใช้งานและให้มกี ารยืนยันตวั ตน (ใชบ้ ตั รประชาชน) ก่อนการใช้งานสำหรบั ผู้ ท่ีมาติดต่อกบั สว่ นงานตา่ งๆ ทตี่ ้องใช้งาน Wifi ระบบการจัดประชมุ ออนไลน์ - Zoom Meeting ทางฝ่ายเทคโนโลยสี ารสนเทศรว่ มกบั สำนกั ขบั เคลื่อนยุทธศาสตร์ ได้เชา่ ใช้งาน ระบบ Zoom Meeting ที่ใช้จัดประชุมออนไลน์ได้จากทุกทแ่ี ละทุกอปุ กรณ์ ไม่วา่ จะเป็นคอมพิวเตอร์ หรือโทรศัพทม์ ือถือ

๙ 20.๘ BLUE HOUSE ศนู ยร์ ับเรอ่ื งราวร้องทุกข์และชว่ ยเหลือประชาชน ศูนย์บลูเฮ้าส์พรรคประชาธิปัตย์ ได้ทำการจัดตั้งขึ้นมาประมาณ 5 ปีท่ีแล้ว และเมื่อวันท่ี 12 มีนาคม 2563 เลขาธิการพรรคประชาธิปตั ย์ได้แต่งตง้ั นายเมฆินทร์ เอ่ียมสอาด เป็นผู้อำนวยการศนู ย์บลู เฮ้าส์ ให้มีอำนาจและหน้าท่ีจัดระบบและแผนการทำงานศนู ย์บลูเฮ้าส์พร้อมการบริหารจัดการให้สอดคล้อง และเหมาะสมกับ แผนขับเคล่ือนยุทธศาสตร์และกลยุทธ์พรรคกำหนดใหป้ รากฏผลอย่างเป็นรปู ธรรม โดยมี วตั ถปุ ระสงค์ 1. รับเร่อื งราวร้องทกุ ข์ ร้องเรียน รบั ฟังความคิดเหน็ จากประชาชน 2. ลงพน้ื ทด่ี ำเนนิ การให้ความช่วยเหลือประชาชนพรอ้ มสง่ ต่อหน่วยงานท่ีเกยี่ วข้อง ในปี พ.ศ. 2563 ศูนย์บลูเฮ้าสไ์ ด้รับเรอื่ งราวร้องทกุ ข์ - รอ้ งทกุ ข์ด้วยตนเองเขา้ มา 68 เรอื่ ง - รอ้ งทุกขผ์ า่ นทางตวั แทนพรรคประจำจังหวัด 19 เรอื่ ง - ตดิ ต่อเข้ามาเสนอแนะและสอบถามด้านกฎหมาย พร้อมให้คำปรึกษา 148 เรือ่ ง คณะผู้บริหารศูนย์บลูเฮ้าส์ได้มีนโยบายในการดำเนินการช่วยเหลือประชาชนเพ่ือครบวงจรจึงมี เป้าหมายในการจัดต้ังศูนยบ์ ลเู ฮ้าส์ประจำเขตเลอื กต้ังให้ครบ 350 เขต ปัจจบุ ันจัดต้ังได้ 22 เขตเลือกตั้ง - ภาคเหนือ 3 เขต - ภาคกลาง 3 เขต - ภาคอีสาน 14 เขต - ภาคใต้ 2 เขต ศูนย์บลูเฮ้าส์ได้มีการจัดกิจกรรมโครงการบูรณาการและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 3 กลไก ( กลไก พรรค , กลไกรฐั มนตรี , กลไกสภา ) ในการช่วยเหลือประชาชนตามกลยุทธ์ “ เขา้ ถึง พงึ่ ได้ ใกลช้ ิด ติดดนิ ” โดยไดจ้ ดั สมั มนา 3 ครง้ั - วนั ท่ี 31 กรกฎาคม 2563 จ.ชลบุรี - วันท่ี 11 กนั ยายน 2563 จ.ฉะเชงิ เทรา - วันท่ี 16 ตุลาคม 2563 จ.ขอนแกน่ ศูนย์บลูเฮ้าส์พรรคประชาธิปัตย์ได้ดำเนินการประสานงานกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องพร้อมให้ คำปรึกษาทางดา้ นกฎหมายใหแ้ กป่ ระชาชนเพื่อให้รบั ความช่วยเหลืออย่างรวดเรว็ ๒0.๙ การเลือกตง้ั นายกองค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดและสมาชกิ องค์การบริหารส่วนจังหวดั ตามทปี่ ระธานกรรมการการเลือกต้ัง ไดม้ ปี ระกาศ ลงวนั ที่ ๒๖ ตลุ าคม ๒๕๖๓ กำหนดใหม้ ีการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจงั หวดั และสมาชกิ องค์การบรหิ ารส่วน จงั หวดั นั้น

๑๐ คณะกรรมการบริหารพรรคฯ ไดป้ ระชุมเมื่อวนั ท่ี ๑๘ ตลุ าคม ๒๕๖๓ และมมี ติ เห็นชอบใหส้ มาชิกพรรค ดังต่อไปนี้ เปน็ ผ้สู มัครรับเลือกตง้ั 1.นายไพเจน มากสวุ รรณ์ นายกองคก์ ารบริหารส่วนจังหวัดสงขลา 2.นายชุมพล กาญจนะ นายกองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั สุราษฎรธ์ านี 3.นายเกตชุ าติ เกษา นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั สตูล ผลการการเลือกตั้งเมื่อวันที่ ๒๐ ธนั วาคม ๒๕๖๓ พรรคประชาธิปตั ย์ได้รับเลือกตง้ั ดังนี้ 1.นายไพเจน มากสุวรรณ์ นายกองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั สงขลา ผลงานรัฐมนตรี พรรคประชาธปิ ตั ย์ ในส่วนของกระทรวงท่ีรับผิดชอบในการที่จะนำนโยบาย “แก้จน สร้างคน สร้างชาติ” นโยบาย ประกนั รายได้ ให้สามารถนำไปสูภ่ าคปฏบิ ัติและนำไปเป็นนโยบายของรฐั บาลได้ คือ ๑. กระทรวงพาณิชย์ ๒. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๓. กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ และในส่วนของรฐั มนตรีช่วยว่าการ มี ๔ ตำแหน่ง เป็นดงั น้ี ๑. รัฐมนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงมหาดไทย ๒. รัฐมนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงคมนาคม ๓. รฐั มนตรชี ว่ ยว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร ๔. รัฐมนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงสาธารณสขุ และอกี ตำแหน่งหน่งึ คอื รองนายกรัฐมนตรีจะเป็นส่วนทีค่ วบกับตำแหน่งรัฐมนตรวี ่าการฯ หลังจากท่ีรัฐบาลแถลงนโยบายต่อรัฐสภา เม่ือวันท่ี ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒ นับแต่วันที่พรรค ประชาธิปตั ย์ได้เข้าร่วมรัฐบาล รัฐมนตรีของพรรคฯ ได้เริ่มทำงานทันทีและผลักดันนโยบายที่ได้ประกาศไว้ ดังน้ี ๑.รฐั มนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ (นายจรุ นิ ทร์ ลกั ษณวิศิษฎ์) ๑. ประกนั รายได้เกษตรกร ผปู้ ลูกสินคา้ เกษตร ๕ ชนิด โครงการประกันรายไดป้ ีที่ ๑ (ปีการผลติ ๒๕๖๒/ ๖๓)วงเงนิ รวม ๗๑,๒๑๐ ล้านบาท เปา้ หมายเกษตรกรกว่า ๗.๒๙ ล้านครวั เรอื น ผลโพลติดอันดบั ผลงานท่ี ได้รบั ความนยิ มจากสวนดุสติ โพล Super poll สถาบนั พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง การสำรวจ ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ และมหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ ันทา มีผลการดำเนนิ งานดงั น้ี เปา้ หมาย จา่ ยจริง สินคา้ จำนวนเกษตรกร วงเงนิ (ล้านบาท) จำนวนเกษตรกร จำนวนเงิน ข้าว (ราย) (ราย) (ล้านบาท) ปาล์มนำ้ มนั ยางพารา ๔.๓๑ ล้าน ๒๐,๙๔๐ ๑.๑ ล้าน ๑๙,๔๑๓ ๓.๐ แสน ๑๓,๐๐๐ ๓.๘ แสน ๗,๙๖๕ ๑.๗๑ ลา้ น ๒๕,๘๒๐ ๑.๒๗ ล้าน ๒๔,๐๔๒

๑๑ มันสำปะหลงั ๕.๒๔ แสน ๙,๘๙๐ ๕.๘ แสน ๗,๒๒๑ ข้าวโพดเล้ียงสตั ว์ ๔.๕ แสน ๑,๕๕๒ ๓.๖ แสน ๑,๐๕๓ ๗.๒๙ ล้าน ๗๑,๒๑๐ ๓.๖๙ ลา้ น ๕๙,๖๙๔ รวม สำหรับโครงการประกันรายได้เกษตรกรปีที่ ๒ ปีการผลิต ๒๕๖๓/๖๔ ครอบคลุมครอบคลุมพืช เกษตร ๕ ชนิด ไดแ้ ก่ ยาง ขา้ ว มันสำปะหลัง ปาล์มน้ำมัน และข้าวโพดเล้ียงสัตว์ จำนวนเกษตรกรท่ีไดร้ ับ ประโยชน์ ๗.๖๙ ล้านครัวเรือน วงเงินรวม ๗๕,๔๒๙ ล้านบาท โดย ครม. ได้เห็นชอบโครงการประกัน รายได้สำหรับสินคา้ ข้าว มันสำปะหลัง ข้าวโพดเลยี้ งสตั ว์ และยางไปแล้วในปี ๒๕๖๓ และเห็นชอบโครงการ ประกนั รายไดส้ ำหรบั ปาลม์ นำ้ มนั ในภายหลงั เมอ่ื วันที่ ๘ ก.พ. ๒๕๖๔ ๒. ต้ังคณะกรรมการร่วมภาครฐั และเอกชนด้านการพาณชิ ย์ (กรอ.พาณิชย)์ เป็นคร้ังแรกในประวัติศาสตร์ เพื่อผลักดันการส่งออก และแก้ไขปัญหาอุปสรรคด้านการค้า ประกอบด้วยสมาคมต่างๆท่ีเกี่ยวข้องกับการ ส่งออก โดยดึงเอกชนเป็นทัพหน้า ภาครัฐเสริมทัพ บุกตลาดทำงานร่วมกัน และได้ข้ึนทะเบียนปัญหาเพ่ือ ตดิ ตามประสานงานแก้ไข จำนวน ๑๕ ประเด็น โดยมีความคบื หนา้ เป็นลำดับ ๓. นำทีมเซลส์แมนจังหวัดขายสินค้าท้องถิ่น และพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก โดยเป็นการทำงานร่วมกัน ระหว่างพาณิชย์จังหวัด เกษตรจังหวัด และภาคเอกชน มีภารกิจในการใช้ช่องทางทุกรูปแบบในการขยาย ตลาดสนิ ค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ ทง้ั ช่องทางออนไลน์ ออฟไลน์ เกษตรพันธสัญญา และเคาน์เตอร์เทรด โดย ก่อนหน้าน้ี ได้จัดงาน “เซลส์แมนจังหวัด จัดซื้อขายแลกเปล่ียน Counter Trade สร้างยอดซื้อขาย แลกเปลี่ยนสะสมได้ถึง ๓,๒๔๔ ล้านบาท อาทิ การนำข้าวโพดจากตากมาแลกเปลี่ยนกับไข่จากฉะเชิงเทรา เปน็ ต้น ๔. นำทีมเซลสแ์ มนประเทศขายสินคา้ ไทยทว่ั โลก • ภารกิจเซลล์แมนประเทศไทย ผลักดันการส่งออกผ่านการลงนาม MOU และกิจกรรม Business matching ๒๓๑ คู่ และกิจกรรมเจรจาการค้า ทั้งในและต่างประเทศ รวมมูลค่าส่งออก ๙๔,๘๒๒.๑๗ ล้านบาท (ปี ๒๕๖๒ และ ๒๕๖๓) ภาคเอกชนส่งมอบแล้วรวม ๓๗,๖๐๑ ล้านบาท คิดเป็น ๓๙.๖๕% โดยมีสินคา้ เกษตรเป็นสินคา้ ที่มีการส่งมอบสูงสุดที่ ๒๘,๐๒๖ ล้านบาท • สร้างมูลค่าส่งออกกลุ่มธุรกิจบริการ (ดิจิทัลคอนเทนต์) ๗,๕๒๐ ล้านบาท ท้ังธุรกิจ บันเทิง ภาพยนตร์ รายการโทรทัศน์ สารคดี แอนิเมชั่น เกม Character design & licensing และบริการ ถา่ ยทำพร้อมตดั ต่อแบบครบวงจร (Pre-post production) • ส่งเสริมการค้าออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ Thaitrade.com ปัจจุบันมีสมาชิก ๑๕๙,๐๑๐ ราย จำนวนสินคา้ ๒๑๕,๖๑๑ รายการ มูลค่าการสง่ั ซือ้ ท้ังปี ๒๕๖๓ มลู คา่ ๑,๗๙๐ ลา้ นบาท • สร้างมูลค่าจากงานแสดงสินค้าและคณะผู้แทนการค้าทั้งในและต่างประเทศ รวม ๓๔,๗๖๑ ล้านบาท ส่งเสริมผู้ประกอบการ ๓,๒๔๒ ราย ผ่านช่องทางท้ังออฟไลน์และออนไลน์ และแบบ “ไฮบรดิ ” และการเขา้ ร่วมงานแสดงสินคา้ ต่างประเทศในรูปแบบ “Mirror & Mirror” เป็นตน้

๑๒ ๕. ผลกั ดันการค้าชายแดน ดว้ ยการเจรจาเพื่อขจัดอปุ สรรคและเปิดด่าน ไดแ้ ก่ - เปิดสะพานมิตรภาพไทย-เมยี นมา แห่งท่ี ๒ อ.แม่สอด จ.ตาก ต้ังแต่ ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๖๒ - ดา่ นเจดยี ส์ ามองค์ จงั หวดั กาญจนบรุ ี ไดแ้ ก้ไขร่วมกบั ฝ่ายความมนั่ คงภายใน ๑ สปั ดาห์ ให้ผปู้ ระกอบการ สามารถนำเงินผ่านแดนได้ ๒ ลา้ นบาท จากทเ่ี คยออกได้เพียง ๕ แสน - ด่านไทย-กัมพชู า กำลังเจรจากับทางการกัมพชู า โดยได้พบกับรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงพาณิชย์กัมพชู า และตกลงรว่ มกนั วา่ หลังสถานการณ์โควดิ -๑๙ จบแล้วทั้งสองประเทศจะเปิดด่านหนองเอี่ยน -สตึงบท ที่ จงั หวัดสระแก้ว - ดา่ นไทย-ลาว เจรจาแกไ้ ขอุปสรรคดา่ นนาตาล-ปากแซง จากการเดนิ ทางไปจงั หวัดอุบลราชธานี เมอ่ื วนั ที่ ๒๐ มิถุนายน ๒๕๖๓ (คขู่ นานกับด่านเขมราฐ ดา่ นช่องเมก็ ) เพื่อให้ส่งออกวสั ดกุ ่อสรา้ งสนิ คา้ อปุ โภค บริโภคไปขายฝ่ังลาว โดยไม่ต้องขออนุญาตฝ่ายความมัน่ คง (ซึ่งตอ้ งใช้เวลา ๗-๑๐ วัน) เพยี งแค่แจง้ ให้ ทางการทราบเท่านน้ั โดยมีผลต้งั แต่วนั ที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๖๓ - ดา่ นไทย-มาเลเซีย เจรจาเปิดดา่ นปาดังเบซาร์ จังหวัดสงขลา เมื่อวันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๓ เพื่อสง่ ออก สนิ คา้ ข้ามมาเลเซยี ไปลงเรือเพ่อื ไปยังประเทศตา่ งๆท่วั โลก ก่อนหนา้ น้ีติดปัญหาโควิด-๑๙ จึงมีการอนญุ าต เฉพาะช่วงของดา่ นสะเดา และต้งั แต่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ด่านปาดงั เบซาร์กับด่านบ้านประกอบ จังหวัด สงขลา สามารถสง่ สินค้าผ่านแดนดว้ ยวิธีทางรถยนต์ไปต่อรถยนตท์ างมาเลเซียไดแ้ ล้วทุกประเภทสนิ คา้ - ดา่ นไทย-ลาว-เวียดนาม-จีน ประสานกบั ทางการจนี เพื่อเปดิ ดา่ นโหยวอกี้ วน ตง้ั อยู่ท่ีเมอื งผิงเสียงของจีน กบั เมือง Langson ของเวียดนาม (เวียดนาม-จนี ) และเจรจาเปดิ ดาํ นตงชงิ ต้งั แต่วันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๓ เพอื่ ชว่ ยให้การส่งออกไปจีนสะดวกยงิ่ ขน้ึ • จดั งานมหกรรมการค้าชายแดนกระตุ้นเศรษฐกจิ ชายแดนและเจรจาจับค่ธู ุรกิจ ในด่าน ไทย-ลาว (ปี ๒๕๖๒) และไทย-มาเลเซยี (ปี ๒๕๖๓) ๖. พาณิชย์ลดราคา! ชว่ ยประชาชน ล็อต ๑-๘ • จัดงาน “พาณิชย์ ลดปัง ข้ามปี New Year Grand Sale ๒๐๒๐” ระหว่างวนั ที่ ๑๔ ธันวาคม ๒๕๖๒ - ๑๒ มกราคม ๒๕๖๓ • จัดทำโครงการ “คาราวานธงฟ้าฝ่าภัย COVID-๑๙” ในส่วนภูมิภาค โดยส่งรถเร่ จำนวน ๖๘๕คัน จำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคท่ีจำเป็นในราคาประหยัดใน ๗ จังหวัด ได้แก่ สมุทรปราการ พระนครศรอี ยธุ ยา ปทุมธานี นครปฐม สมุทรสาคร ชลบรุ ี ระยอง • จดั งานพาณิชยล์ ดราคา! ช่วยประชาชน ๘ ล็อต โดยร่วมกับผปู้ ระกอบการสินค้าอุปโภค บริโภครายใหญ่ และห้างท้องถ่ินทั่วประเทศ เจาะลึกถึงระดับหมู่บ้าน รวมสินค้าและบริการมากกว่า ๒๐,๐๐๐ รายการ ลดราคาสงู สดุ ถงึ ร้อยละ ๘๗ ๗. การลงนาม RCEP รัฐบาลไทยได้ลงนามเข้าร่วม RCEP แล้ว ในการประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน เมื่อ วันที่ ๑๕ พ.ย.๒๕๖๓ ท่ีผ่านมา หลังจากสามารถสรุปผลการเจรจาครบ ๒๐ ข้อบท ในปี ๒๕๖๒ หลังจาก ความพยายามในการเจรจากวา่ ๗ ปี ขณะนอ้ี ยรู่ ะหวา่ งการให้สัตยาบันระหวา่ งสมาชิก ๑๕ ประเทศ กอ่ นมผี ล บังคบั ใช้ โดยรัฐสภาไทยไดใ้ หส้ ตั ยาบันแลว้ เมื่อวันท่ี ๙ ก.พ.๒๕๖๔

๑๓ ๘. ยกระดบั โชวหว่ ยเป็นสมารท์ โชวห่วยได้ ๓๑,๐๐๐ แห่ง และพฒั นาธุรกจิ แฟรนไชส์ • พัฒนาผลักดันร้านโชวห่วย ได้กว่า ๓๑,๐๐๐ ร้านค้า ทั่วประเทศ ติดอาวุธให้ความรู้การ บริหารจดั การ และปรับภาพลักษณ์รา้ นค้าปลกี และสง่ เสรมิ การนำเทคโนโลยี POS มาใช้ • สมาร์ทโชวห่วยเดลเิ วอรี่ ให้ร้านค้าโชวห่วยบริการส่งสนิ ค้าถึงบ้าน (Delivery) นำร่องใน เขตกรงุ เทพและปริมณฑล มีรา้ นคา้ อยู่บนแพลตฟอร์ม ๒,๖๕๕ ร้านค้า และมีรา้ นค้าที่มีบรกิ ารส่งสนิ ค้า ๑๖๘ รา้ นคา้ • การพัฒนาธุรกิจแฟรนไชส์ ภายใต้โครงการแฟรนไชส์สร้างอาชีพ โดยในปี ๒๕๖๓ มี ธุรกจิ แฟรนไชส์ท่ผี า่ นเกณฑม์ าตรฐานคณุ ภาพ (Franchise Standard) ๒๓ ราย ๙. ยกระดับราคาเศษกระดาษช่วยซาเล้ง นำไปสู่การแก้ปัญหาแบบซาเล้งโมเดลในกรณีอื่น โดยมีการข้ึน ทะเบียนผู้ประกอบอาชีพซาเล้งและผู้ค้ำของเก่าเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์และมีมาตรการประกันราคารับ ซอ้ื เศษกระดาษข้ันต่ำกโิ ลกรมั ละ ๒ บาท เพิม่ ขึ้นไดจ้ ากเดิมถงึ ๔ เทา่ ชว่ ยประชาชนไดก้ ว่า ๑.๕ ลา้ นครวั เรอื น ๑๐. สร้างไทยให้เป็นฮับอุตสาหกรรมดิจิทัลคอนเทนต์ พัฒนาผู้ประกอบการไทยในธุรกิจดิจิทัลคอนเทนต์ และเรง่ สรา้ งโอกาส พรอ้ มท้ังขยายตลาดทัง้ ในและต่างประเทศ สรา้ งมูลค่าการคา้ กวา่ ๔,๒๓๒ ล้านบาท ๑๑. สร้างนกั ธรุ กิจยุคใหม่ ๒๖,๕๑๘ ราย ใหม้ คี วามพร้อมเข้าสู่การค้ายคุ New normal ผา่ นการใหค้ วามรู้ และการสัมมนาต่างๆ แบบออฟไลน์และออนไลน์ โดยสถาบันพัฒนาผู้ประกอบการยุคใหม่ (NEA) และการ สร้าง Gen Z ให้เป็น CEO ด้วยการอบรมอย่างเข้มข้นทั้งช่องทางออนไลน์และออฟไลน์ไปแล้วกว่า ๑,๕๐๐ ราย เพอื่ สร้างโอกาสทางธรุ กจิ ให้กบั กลุ่มคนรุ่นใหม่ ตั้งเป้าขยายไป ๔ ภาคทว่ั ประเทศ รวม ๑๒,๐๐๐ ราย ภายในปี ๒๕๖๔ ๑๒. ควบคุมราคายา-ค่าบริการ โรงพยาบาลเอกชน ด้วยมาตรการแจ้งค่ายา-ค่าบริการก่อนการรักษาผ่าน QR Code โดยโรงพยาบาลเอกชนต้องแจง้ ข้อมลู ราคายา เวชภัณฑ์ คําบริการรักษาพยาบาล การเปลี่ยนแปลง ราคา แสดงเคร่ืองหมาย QR Code ณ ภายในบริเวณโรงพยาบาลอย่างเปิดเผย รวมท้ังประเมินคํา รักษาพยาบาลเบอื้ งต้นตามการวนิ จิ ฉัยเบอื้ งตน้ ใหผ้ ู้ป่วยทราบทุกครัง้ ๑๓. ผลกั ดันวสิ ัยทศั น์ “เกษตรผลิต พาณิชย์ตลาด” ภายใต้ยุทธศาสตร์ “ตลาดนำการผลิต” เพอ่ื เป้าหมาย ๑ สร้าง ๓ เพ่ิม ได้แก่ สร้างประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสินค้าเกษตรและอาหารคุณภาพของโลก เพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขัน เพิ่มจีดีพีของประเทศ และเพิ่มรายได้เกษตรกรและผู้ประกอบการทุกระดับ ด้วย การดำเนินพันธกิจร่วม ๔ ด้าน ได้แก่ สร้าง Single Big Data โดยใช้ข้อมูลจากฐานเดียวกัน สร้างแพลตฟอร์ม กลาง “เกษตรผลิต พาณิชย์ตลาด” สร้างความเช่ือมั่นด้วยคุณภาพ มาตรฐาน ความปลอดภัย และการ ตรวจสอบย้อนกลับ และมุ่งพัฒนาคนและผลิตภัณฑ์ให้ตรงตามความต้องการของตลาด โดยในปัจจุบันมีการ แต่งตั้งคณะกรรมการร่วมเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ตลาดนำการผลิตข้ึนมาแล้ว เพื่อเป็นกลไกการบูรณาการ ระหว่างท้ัง ๒ กระทรวงอย่างเป็นรูปธรรม รวมทั้งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ ๔ คณะ เพื่อขับเคล่ือนพันธกิจทั้ง ๔ ด้าน

๑๔ ๑๔. ผลักดันโครงการ “อาหารไทย อาหารโลก” ภายใต้ยุทธศาสตร์ “ตลาดนำการผลิต” ด้วยการปรับ แผนพัฒนาด้านโลจิสติกส์ เพ่ือผลักดันให้อาหารไทยเดินหน้าสู่การเป็นอาหารโลก และลดต้นทุน และใช้ ระบบโลจิสติกส์ทีม่ ีประสิทธิภาพ และปรับปรงุ กฎระเบียบต่างๆ ที่เปน็ อปุ สรรคต่อการประกอบธุรกิจให้งา่ ยขึ้น รวมท้ังการเพ่ิมมูลคําอาหารไทยด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม เดินหน้าทำตลาดเชงิ รุกดว้ ยการรักษาตลาดเดิม เพิ่มตลาดใหม่และฟื้นฟูตลาดเก่า ท้ังออฟไลน์และออนไลน์เพื่อเตรียมพร้อมในการผลักดันอาหารไทยหลัง วิกฤติโควิด-๑๙ รวมท้ังการประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์สินค้าไทย โดยได้จัดทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ระหว่าง ๔ กระทรวง (กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย และกระทรวง พาณิชย์) ในการรับรองการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการปนเป้ือนเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ใน กระบวนการผลิตอาหารส่งออก (Covid-๑๙ Prevention Best Practice for exported food products originating in Thailand) เม่ือวันท่ี ๒๒ กันยายน๒๕๖๓ เพ่ือสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภคท่ัวโลกในสินค้า อาหารไทยวา่ ปราศจากเชื้อโควดิ -๑๙ ในกระบวนการผลติ ๑๕. เพ่ิมสินค้า GI ๒๗ รายการ ในปี ๒๕๖๓ เพ่ิมมูลค่าสินค้าอัตลักษณ์ สร้างมูลค่าการตลาดประมาณ ๑,๓๐๐ล้านบาทตอ่ ปี อาทิ ข้าวไร้ดอกข่าพังงา มะพร้าวทับสะแก กล้วยหอมทองปทุม ผ้าหม้อห้อมแพร่ ส้มโอ ทองดีบ้านแท่น มะขามเทศเพชรโนนไทย มะพร้าวน้ำหอมบางคล้า โอ่งมังกรราชบุรี หอมแดงศรีสะเกษ กระเทียมศรีสะเกษพริกไทยจันท์ ลำไยพวงทองบา้ นแพ้ว ข้าวหอมมะลิพะเยา ลกู หยยี ะรัง ทุเรียนชะนเี กาะช้าง กล้วยตากสังคม ข้าวหอมมะลิดนิ ภูเขาไฟบรุ ีรัมย์ และส้มแม่สิน ณ สิ้นปี ๒๕๖๓ มี GI ของไทยขึ้นทะเบียนแล้ว ทง้ั หมด ๑๓๔ สนิ คา้ สร้างมลู คา่ การตลาดปลี ะ ๖.๕ พนั ลา้ นบาท ๑๖. จัดงาน “ศิลปาชีพทอใจ วิถีใหม่ใต้ร่มพระบารมี” เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้า เจ้าอยู่หวั และสมเด็จพระนางเจา้ สิรกิ ติ ิ์ ระหว่างวนั ท่ี ๑ – ๕ สิงหาคม ๒๕๖๓ ประกอบดว้ ย • นทิ รรศการเฉลิมพระเกียรติและพระราชกรณียกจิ ในงานดา้ นศลิ ปาชีพ • งานแสดงสนิ คา้ ผลิตภัณฑ์ศิลปาชพี และงานหัตถกรรมไทย เพ่อื ชว่ ยฟ้นื ฟูเศรษฐกจิ และเยียวยา ผปู้ ระกอบการหตั ถศิลป์จากทั่วประเทศ โดยมสี ินคา้ หัตถกรรมมากมายกวา่ หมน่ื รายการ ทง้ั งาน ศิลปาชีพจากมูลนธิ สิ ่งเสริมศิลปาชพี ในสมเดจ็ พระนางเจ๎าสริ กิ ิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ผลติ ภัณฑจ์ าก ครูศลิ ป์ของแผ่นดิน ครูช่างศลิ ปหัตถกรรม และทายาทช่างศิลปหัตถกรรมจากทุกภูมิภาคกว่า ๔๐๐ รา้ นคา้ • การประมูลงานหตั ถศิลปล์ ำ้ ค่าหาชมยากจากฝีมอื ครศู ลิ ป์ของแผน่ ดินและครชู ่างศิลปหัตถกรรม • การแสดงแฟชนั่ โชว์ผ้าไทยจากดไี ซเนอร์ช้นั นำ งานมหรสพแบบไทย และการแสดงร่วมสมยั ๒.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ดร.เฉลมิ ชยั ศรอี ่อน) ๑. มาตราการเยียวยาเกษตรกรจากสถานการณ์ (COVID-๑๙) โดยจา่ ยเงนิ ช่วยเหลอื โดยตรงผ่านบญั ชี จำนวน ๕,๐๐๐ บาท เปน็ ระยะเวลา ๓ เดอื น ต้ังแตเ่ ดอื น พฤษภาคม – กรกฎาคม ๒๕๖๓ สรุปผลการโอนเงนิ ช่วยเหลือเกษตรกร รวมทั้งโครงการ ฯ ตัง้ แตว่ ันที่ ๑๕ พฤษภาคม – ๓๐ กันยายน ๒๕๖๓ จ่ายเงินชว่ ยเหลือเกษตรกร ๗.๕๖ ล้านราย เป็นเงิน ๑.๑๓ แสนล้านบาท

๑๕ ๒. โครงการประกันรายได้เกษตรกรชาวสวนยาง โดยแบ่งจ่ายเป็น ๓ ระยะ ค่าบริหารจัดการโครงการ รวม ๓๓๑ ล้านบาท (ระยะท่ี ๑ วงเงิน ๒๓๔ ล้านบาท และระยะที่ ๒ วงเงนิ ๙๗ ล้านบาท) ให้ใช้จา่ ยจากเงนิ กองทนุ พฒั นายางพารา - ยางพาราแผ่นดบิ คุณภาพดี ประกนั ราคา ๖๐ บาท/กโิ ลกรัม - น้ำยางสด (DRC ๑๐๐%) ประกนั ราคา ๕๗ บาท/กโิ ลกรัม - ยางก้อนถ้วย (DRC ๕๐%) ประกันราคา ๒๓ บาท/กิโลกรัม ๓. นโยบาย “เกษตรผลติ พาณิชย์ตลาด” เพอื่ ให้บรรลุเป้าหมาย ๑ สร้าง ๓ เพ่ิม คอื สร้างประเทศไทยใหเ้ ปน็ ศูนย์กลางสินคา้ เกษตรและอาหาร คุณภาพของโลก และ ๑) เพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ๒) เพิ่มจีดีพีให้กับประเทศ ๓) เพ่ิม รายไดใ้ ห้กับเกษตรกรและผู้ประกอบการทุกระดบั ๔. โครงการตลาดสินคา้ เกษตรออนไลน์ “เปล่ียนเกษตรกรใหเ้ ป็นผคู้ ้าออนไลนม์ ืออาชพี โดยร่วมกับ บริษัท ลาซาด้า ประเทศไทย จำกัด ผนู้ ำแพลตฟอรม์ จำหนา่ ยสนิ ค้าออนไลน์ชนั้ นำของไทย เพื่อฝึกอบรม สรา้ งองคค์ วามรู้ จัดอบรมดา้ นการตลาด ทงั้ การนำสินคา้ เกษตรขนึ้ ขายบนแพลตฟอร์มออนไลน์ เทคนิคการถ่ายภาพ และการเขียน Story ให้น่าสนใจ รวมถึงการทำโปรโมช่ันสินค้าเกษตรของตนเองให้กับ เกษตรกรแปลงใหญ่ กล่มุ สหกรณ์ กลมุ่ วสิ าหกิจชมุ ชน และ Young Smart Farmer ที่สนใจ ๕. การจดั การภัยแล้ง - จดั ตั้งศูนย์อำนวยการเฉพาะกจิ แก้ไขและบรรเทาวกิ ฤตภัยแลง้ ปี ๒๕๖๒/๖๓ - โครงการเพ่อื กักเก็บนำ้ ต้นทุนในฤดฝู น จำนวน ๒๖๖ โครงการ งบประมาณรวม ๒,๗๐๕.๗๐ ลา้ นบาท เพ่มิ พนื้ ทช่ี ลประทาน ๑,๓๐๐ ไร่ พน้ื ที่รับประโยชน์ ๓.๗๔ แสนไร่ เกบ็ น้ำได้ ๖๔.๘๔ ลา้ นลกู บาศก์เมตร ครัวเรอื น ไดป้ ระโยชน์ ๗๙,๖๒๔ ครัวเรอื น กระจายทั่วประเทศ แบ่งเปน็ ๑. แก้มลงิ จำนวน ๘๓ โครงการ วงเงนิ ๙๑๒.๕๓๘๗ (เก้าร้อยสบิ สองลา้ นบาทเศษ) ๒. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการเก็บกัก จำนวน ๓๑ โครงการ วงเงิน ๘๒๒.๗๕๒๒ (แปดร้อยย่ีสิบสองล้าน บาทเศษ) ๓. โครงการบรรเทาวิกฤตภัยแล้งและเพิ่มประสทิ ธิภาพการเก็บกัก จำนวน ๑๑๖ โครงการ วงเงิน ๕๗๒.๗๓๖๙ (ห้าร้อยเจด็ สิบสองลา้ นบาทเศษ) ๔. ขดุ ลอกคลอง จำนวน ๓๖ โครงการ วงเงนิ ๒๕๒.๘๓๖๐ (สองร้อยหา้ สบิ สองล้านบาทเศษ) แบ่งตามพ้ืนท่ีภาค ภาคเหนือ รวม ๕๒ โครงการ งบประมาณ ๗๙๑.๗๘๒๑ (เจด็ ร้อยเก้าสิบเอ็ดล้านบาทเศษ) ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ๑๐๘ โครงการ งบประมาณ ๙๔๕.๙๑๓๕ (เก้าร้อยสส่ี บิ ห้าล้านบาทเศษ) ภาคกลาง ๕๖ โครงการ วงเงิน ๒๐๕.๔๗๐๐ (สองร้อยห้าลา้ นบาทเศษ) ภาคตะวันออก ๒๖ โครงการ วงเงนิ ๓๓๓.๒๔๓๖ (สาม ร้อยสามสบิ สามล้านบาทเศษ) ภาคใต้ ๒๓ โครงการ วงเงิน ๒๘๑.๓๒๒๐ สองรอ้ ยแปดสิบเอด็ ล้านบาทเศษ และใน พน้ื ที่ชายแดนใต้ ๑ โครงการ วงเงนิ ๓.๑๓๒๖ ล้านบาท

๑๖ ๖. “โครงการอาหารปลอดภยั จากใจ...สชู่ ุมชน” กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ร่วมกับ CPF เริ่มส่งมอบอาหารที่ดีมีคุณภาพให้แกพ่ ่นี ้องในชุมชนแออัด ในเขต กรุงเทพมหานคร เมอ่ื วันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๓ และขยายผลดำเนินการในลักษณะเดียวกันในภาคอื่น ๆ ได้แก่ ภาคเหนือ ทจี่ งั หวัดพจิ ิตร และภาคใต้ ท่ีจังหวัดตรงั ๗. โครงการ \"สายใยนมไทย-เดนมาร์ค สง่ กำลงั ใจสภู้ ัยโควิด-๑๙\" เพอ่ื นำผลติ ภณั ฑ์นมดังกลา่ ว มอบแก่เจ้าหนา้ ทีข่ องกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รวม ๒๑ หนว่ ยงาน ๘. จัดทำแอปพลิเคชัน สมุดทะเบยี นเกษตรกรดิจิทลั หรือ Farmbook ในช่วงท่ีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการประกันรายได้ ปี ๒๕๖๒/๖๓ - ๒๕๖๓/๖๔ มีเกษตรกรแจ้งปรับปรุงข้อมูล ทะเบียนเกษตรกรผา่ นแอปพลิเคชนั Farmbook ดงั นี้ ๑) แจง้ ปรับปรงุ ขอ้ มลู ปี ๒๕๖๒/๖๓ จำนวน ๑,๕๙๗,๑๔๐ ครัวเรอื น ๒) แจ้งปรบั ปรุงขอ้ มูลปี ๒๕๖๓/๖๔ จำนวน ๑,๕๒๘,๐๑๔ ครวั เรือน ๙. “ปลูกเพื่อ ป(ล)อด ล้านต้น ลด PM ๒.๕” ภายใต้โครงการ Green City by MOAC เพ่ือรณรงค์ให้ประชาชนตระหนักเห็นถึงความสำคัญการรักษา ส่ิงแวดล้อมท่ีสามารถช่วยแก้ปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า ๒.๕ ไมครอน และเปิดโอกาสให้เกษตรกรและ ประชาชน เพาะพันธ์ุเพื่อจำหน่ายเป็นอาชีพเสริมรายได้ มีเป้าหมายส่งมอบให้ประชาชนท่ัวไป ๗๗ จังหวัด ๑ ล้านต้น โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ร่วมกับองค์กรเครือข่ายภาครฐั และเอกชนจัดการแจกจ่ายต้นไม้ผ่าน ระบบลงทะเบียน www.green-city.online ไปแล้ว ๒๘๗,๕๐๐ ตน้ ๑๐. โครงการ “ตู้เยน็ ขา้ งบา้ นต้านภัย COVID-๑๙” ภายใต้ความรว่ มมือของกลุ่มเพ่ือนเฉลิมชยั กรมส่งเสริมการเกษตร บรษิ ัท อีสท์ เวสท์ ซีด จำกัด บริษัท เจียไต๋ เมล็ดพันธุ์ จำกัด สนับสนุนเมล็ดพันธ์ุพืชผักสวนครัวให้แก่เกษตรกรและประชาชนทั่วไปที่สนใจทำการเกษตร ในการปลูกพืชผักสวนครัวและได้รบั ผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) จำนวน ๓๑๐,๐๐๐ ชุด โดย ๑ ชุด ประกอบด้วย พืชผักสวนครัว ๔ - ๕ ชนิด (เช่น ผักบุ้ง ผักกวางตุ้ง คะน้า แตงกวา พริกข้ีหนู กะเพราะ และมะเขือพวง) จำนวน ๕ ซอง มีหลักเกณฑ์ คือ เกษตรกร/ ประชาชนที่ลงทะเบียน ๑ ราย/๑ ทะเบียน = ๑ ชดุ ๑๑. โครงการพัฒนา Smart Farmer ผู้ประกอบการตน้ แบบ เพ่ือยกระดับเกษตรกรเป็นผู้ประกอบการเกษตรชั้นนำ (Agri BIZ Idol Development Project) โดยส่งเสริม และพัฒนาเกษตรกรให้มีแนวคิดการเป็นผู้ประกอบการเกษตร สร้างและพัฒนาผู้ประกอบการเกษตรต้นแบบ สนับสนนุ และสร้างแรงจูงใจให้กับเกษตรกรรายอนื่ ๆ อีกท้ังยังเปน็ การเช่ือมโยงเครอื ขา่ ยผู้ประกอบการเกษตร ต้นแบบ เพื่อสร้างพนื้ ฐานในการพัฒนาการประกอบการเกษตรสมยั ใหม่ โดยมีเกษตรกรที่ไดร้ ับการคัดเลือกเข้า ร่วมโครงการ จำนวน ๘๐ ราย

๑๗ ๑๒. แกป้ ัญหาราคาไขไ่ ก่ ผลกั ดันสง่ ออกในชว่ งโควิด-๑๙ ในช่วงโควิด-๑๙ เพ่ือช่วยเหลือดูแลเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ไม่ให้ขาดทุน โดยขอความร่วมมือกระทรวงพาณิชย์ ผลักดันการส่งออกไข่ไก่ จำนวน ๑๐๐ ล้านฟอง และผปู้ ระกอบการอกี ๑๐๐ ล้านฟอง ๑๓. โครงการสง่ สนิ ค้าเกษตรไทยไปจีน ล๊อตแรกมะพร้าว ๑๐๐ ตัน โดยเป็นผลมาจากการลงนามร่วมกันระหว่างกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงพาณชิ ย์ ททบ. และภาคเี ครอื ข่าย เมอื่ เดอื นพฤศจกิ ายน ๒๕๖๓ ท่ผี า่ นมา ๑๔. แผนรบั มือภยั พิบัตทิ างธรรมชาติ ประกอบด้วย ๑. แผนการป้องกันและเตรยี มความพร้อมเพื่อลดผลกระทบ ๒. แผนการเผชญิ เหตุ ๓. แผนการหยดุ ยง้ั ความเสยี หาย ๔. แผนการฟ้นื ฟู และ ๕. มาตรการ คือ ๑) มาตรการเฝ้าระวังและแจง้ เตือนไปยงั เกษตรกรให้ทราบสถานการณ์ ๒) มาตรการระดมคน เคร่อื งมือ เคร่ืองจกั ร อุปกรณท์ ุกหนว่ ยงาน ๓) มาตรการปอ้ งกนั พน้ื ทเ่ี สย่ี งทางการเกษตร ๔) มาตรการเตรยี มพร้อมแผนอพยพในพน้ื ท่เี สย่ี งภัย ๕) มาตรการเตรียมมาตรการชว่ ยเหลือเยียวยาหลงั ภัยพิบตั ิ ๑๕. การแกไขปญั หาราคาลำไยตกต่ำ โดยเยียวยาเกษตรกรชาวสวนลำไย ไร่ละ ๒,๐๐๐ บาท รายละไม่เกิน ๒๕ ไร่ จำนวน ๑๙๔,๗๐๖ ราย วงเงิน ๒,๗๗๓ ลา้ นบาท ๓.รฐั มนตรีว่าการกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์ (นายจตุ ิ ไกรฤกษ)์ ๑. จัดหาห้องเช่าราคาถูก ค่าเช่าเดือนละ 999 บาท จำนวน ๑๐,๐๐๐ ห้องท่ัวประเทศ ในโครงการ “บ้าน ของเรา ก้าวไปดว้ ยกัน” ๒. ซอ่ มแซม ปรับปรุง บ้านใหผ้ มู้ รี ายได้นอ้ ย จำนวน ๑๑,๕๐๐ ครวั เรือน ในโครงการ “บ้านพอเพยี งชนบท” ๓. โครงการเงิน อุดหนุนเด็กแรกเกิด เริ่มจ่ายเงินอุดหนุนตั้งแตป่ ีงบประมาณ ๒๕๕๙ ให้เงนิ อุดหนุนเพ่ือการ เล้ียงดูเด็กตั้งแต่แรกเกิด - ๖ ปี และขยายฐานรายได้ของกลุ่มเป้าหมายไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท ต่อคน ต่อปี โดยจากเดิมในปี ๒๕๕๙ จ่ายเพียงเดือนละ ๔๐๐ บาท ปัจจุบัน ครม.ได้มีมติขยายวงเงินเพิ่มขึ้นเป็นเดือนละ ๖๐๐ บาท

๑๘ ๔. มาตรการเยยี วยาผู้ได้รบั ผลกระทบ จากสถานการณ์ Covid-๑๙ ๔.๑ การจา่ ยเงินเยียวยากลุ่มเปราะบาง ท่ไี ด้รับผลกระทบจากโควดิ -๑๙ เดอื นละ ๑,๐๐๐ บาท เป็นเวลา ๓ เดอื น ต้ังแตเ่ ดอื น พฤษภาคม - กรกฎาคม ๒๕๖๓ รวมเป็นเงิน ๓,๐๐๐ บาท โดยจะจ่ายเงินรวดเดียว ๓ เดือน กำหนดวนั โอนเงินไมเ่ กนิ วนั ที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๓ น้ี ๔.๒ การให้พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด พร้อมด้วยทีม พม. One Home จังหวัดท่ัว ประเทศ ลงพื้นท่ีจ่ายหน้ากาก เร่งช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายท้ังเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ คนไร้ที่พึ่ง คนไรบ้ ้าน และผดู้ ้อยโอกาส รวมทัง้ ผมู้ ีรายได้นอ้ ย และประชาชนที่ไดร้ ับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรค ติดเชื้อไวรัสโควิด-๑๙ ๔.๓ โครงการ \"พม. ห่วงใย สู้ภัยโควิด\" โดยทางกระทรวง พม. เปิดครัวกลางในชุมชนต่างๆ และรับการ บริจาคจากบริษัท ห้างร้าน และประชาชน นำไปจัดทำถุงยังชีพสำหรับส่งมอบให้กับกลุ่มเป้าหมายและ ประชาชน ทไ่ี ดร้ ับความเดอื ดรอ้ นจากการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโควดิ -19 ๔.๔ “ศนู ย์ชุมชนสู้ภัย Covid-๑๙” ๔.๕ การชว่ ยเหลอื ผพู้ กิ าร ๔ มาตรการชว่ ยเหลอื คือ ๑) การจ่ายเงินเยียวยาผู้พิการที่มีบัตรประจำตัวคนพิการ สองล้านกว่าคนทั่วประเทศ รายละ ๑,๐๐๐ บาท เพิ่มเติมจากเบยี้ ผู้พกิ ารทใี่ หท้ ุกเดอื นอยู่แล้ว ๒) พักชำระหนี้คนพิการท่ีกู้เงินจากกองทุนฯ เป็นระยะเวลา ๑ ปี นับจากเดือนเมษายน มีจำนวน ลูกหนี้ ๑.๓๔ แสนราย มูลหน้ี ๓.๘ พนั ลา้ นบาท ๓) เสนอ ครม.ให้ทบทวนมติในการเพิ่มเบี้ยผู้พิการ เป็น ๑,๐๐๐ บาท แก่ผู้ที่มีบัตรผู้พิการทุกคน ทวั่ ถงึ สองล้านคน แมไ้ ม่มบี ัตรสวัสดกิ ารแห่งรัฐ ๔) ให้อนุกรรมการฯ ปรับระเบียบการกู้เงินกองทุนฯ ให้ผู้พิการกู้ได้ รายละไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท โดยไมต่ ้องมีผู้ค้ำประกัน ไมม่ ดี อกเบี้ย ระยะเวลาปลอดการชำระหนี้ ๑ ปี วงเงนิ ๒,๐๐๐ ลา้ นบาท ๕. โครงการ พม. เราไม่ทิ้งกัน เพ่ือลงพื้นที่ช่วยเหลือประชาชนกลุ่มเป้าหมายใน ๒๒ ชุมชนนำร่องที่ไม่ได้จด ทะเบยี นกบั กรงุ เทพมหานคร ๖. โครงการช่วยคนไร้บ้าน ตกงาน ไร้ท่ีพ่ึง พร้อมคอนเซ็ปต์ “ไม่ท้ิงใครไว้ข้างหลัง” แถมฟรีอาหาร ๓ ม้ือ โดยอาคารทจี่ ัดให้มีทงั้ หมด ๕ แห่ง ไดแ้ ก่ ๑.บ้านมิตรไมตรี ๔ มุมเมอื ง ๒.บ้านมิตรไมตรี (อ่อนนุช) ๔ มุมเมือง กรุงเทพมหานคร .บ้านมิตรไมตรี ๔ มุมเมือง (ดินแดง) ๔.บ้านสร้างโอกาส ปทุมธานี และ ๕.บ้านสร้างโอกาส ปากเกรด็ ๗. การการจัดต้ังศูนย์ประสานการป้องกันและแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิดทางเพศหรือคุกคามทางเพศใน การทำงาน (ศปคพ.) ๘. ขบั เคลื่อนแผนปฏบิ ัติการดา้ นการพัฒนาสตรี และร่วมขับเคลื่อนวสิ าหกิจเพอื่ สังคม ๙. ส่งเสรมิ ความเสมอภาคระหว่างเพศ เดนิ หนา้ ผลักดนั พ.ร.บ คูช่ วี ิต

๑๙ ๔.รฐั มนตรชี ่วยวา่ การกระทรวงคมนาคม (นายถาวร เสนเนยี ม) ตลอด ๑ ปี ๖ เดือน รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคมได้เดินหน้าขับเคล่ือนอุตสาหกรรมการบินของ ไทยให้ก้าวไกลอย่างย่ังยืน โดยเร่งพัฒนาท่าอากาศยานภูมิภาคทั้งด้านโครงสร้างพื้นฐาน และการให้บริการ ยกระดับให้เป็น “SMART AIRPORT” โดยมี โครงการตามแผน ๑๐ ปี (๒๕๕๘ –๒๕๖๗) ภายใต้วงเงินลงทุน กว่า ๓๖,๖๓๔ ล้านบาท เพ่ือลงทุนพัฒนาทา่ อากาศยาน และเพิ่มขดี ความสามารถท่าอากาศยานที่อยูใ่ นความ ดูแลท้ัง ๒๙ แห่ง ภายใต้นโยบาย “เช่ือมโลก เชื่อมไทย สู่เมืองรอง” เพื่อนำความเจริญไปสู่ภูมิภาคและ ประชาชนในทกุ พน้ื ทอี่ ยา่ งเทา่ เทยี ม โดยในปี ๒๕๖๒ - ๒๕๖๓ ได้ใช้งบประมาณมากกว่า ๑.๔ หม่ืนล้านบาท เพ่ือลงทุนพัฒนาท่าอากาศยาน แหง่ ใหมแ่ ละเพม่ิ ขีดความสามารถท่าอากาศยานท่ีอยู่ในความดแู ลทั้ง ๒๙ แห่ง โดยมีโครงการสำคญั ดังนี้ - ท่าอากาศยานเบตง ประตูสู่เมืองงามอัญมณีแห่งชายแดนใต้ ก่อสร้างแล้วเสร็จพร้อมเปิดให้บริการอย่าง เปน็ ทางการ ใชง้ บท้งั สน้ิ ๑,๖๕๕ ลา้ นบาท - ท่าอากาศยานกระบ่ี ใช้งบท้ังส้ิน ๕,๓๐๐ ล้านบาท ก่อสร้างอาคารที่พักผู้โดยสาร หลังที่ ๓ ปรับปรุง อาคารหลังที่ ๑ , ๒ ขยายลานจอดเครือ่ งบนิ ทางขบั ขนาน คาดแล้วทกุ โครงการเสร็จปี ๒๕๖๖ - ท่าอากาศยานขอนแก่น ใช้งบทั้งส้ิน ๒,๐๐๔.๙ ล้านบาท ก่อสร้างอาคารท่ีพักผู้โดยสารหลังใหม่ อาคาร จอดรถยนต์ ผลการดำเนนิ งานคืบหนา้ แล้วกวา่ ๘๐% คาดว่าจะแล้วเสรจ็ ปี ๒๕๖๕ - ท่าอากาศยานตรัง ใช้งบทัง้ ส้ิน ๑,๐๗๐ ลา้ นบาท กอ่ สร้างอาคารหลังใหม่ ทางขับ และลานจอดเคร่ืองบิน คาดวา่ จะแลว้ เสร็จปี ๒๕๖๕ - ทา่ อากาศยานนครศรธี รรมราช ใช้งบทัง้ ส้นิ ๑,๔๕๘ ลา้ นบาท กอ่ สร้างอาคารหลังใหม่ คาดว่าจะแล้วเสร็จ ปี ๒๕๖๕ - ท่าอากาศยานสุราษฎร์ธานี ใช้งบทั้งส้ิน ๑,๗๕๙ ล้านบาท ขยายอาคารท่ีพักผู้โดยสาร ขยายลานจอด เคร่อื งบิน และเสรมิ ความแขง็ แรงทางว่งิ คาดว่าจะแลว้ เสรจ็ ปี ๒๕๖๕ - ท่าอากาศยานบุรีรัมย์ ใช้งบทั้งส้ิน ๑,๗๒๕ ล้านบาท ก่อสร้างอาคารหลังใหม่ ทางขับ และลานจอด เคร่ืองบิน คาดว่าจะแล้วเสร็จปี ๒๕๖๘ - ทา่ อากาศยานร้อยเอ็ด ไดร้ ับงบประมาณ ๑๑๐ ล้าน ปี ๒๕๖๔ – ๒๕๖๕ ปรับปรงุ ตอ่ เตมิ อาคารที่พัก ผู้โดยสาร คาดว่าจะแล้วเสรจ็ ปี ๒๕๖๕ ผลักดนั “การก่อสร้างท่าอากาศยานพาณชิ ย์แห่งใหม”่ ดงั นี้ ๑) พัทลงุ ๒) สตลู ๓) บึงกาฬ อยูร่ ะหวา่ งการศึกษาความเป็นไปได้ในการกอ่ สร้าง ๔) มุกดาหาร ได้ศึกษาความเป็นไปได้แล้วเสร็จ โดยไดก้ ำหนดพ้ืนที่ก่อสร้างทา่ อากาศยานแห่งใหม่ ที่ ต.คำ ป่าหลาย ห่างจาก อ.เมืองมุกดาหาร ๑๕ กม. คาดว่าจะใช้เงินลงทุน ๓,๐๐๐ – ๔,๐๐๐ ล้านบาท ปัจจุบัน อย่รู ะหว่างนำเสนอกระทรวงคมนาคม ๕) พะเยา ๖) กาฬสินธุ์ ได้รบั งบประมาณในปี ๒๕๖๔ เพอื่ ศกึ ษาความเปน็ ไปได้ ๗) นครปฐม อยู่ระหว่างการพิจารณาการศึกษาผลกระทบด้านส่ิงแวดล้อม (EIA)

๒๐ ๘) ท่าอากาศยานพังงา ปัจจุบันบริษัท AOT ได้เห็นชอบหลักการก่อสร้างท่าอากาศยานพังงาแล้วในพื้นที่ อำเภอตะกวั่ ทุง่ เน้อื ที่ ๗,๐๐๐ ไร่ ขณะนอ้ี ยู่ระหว่างจัดทำร่างข้อเสนอโครงการ Project Proposal -แต่งต้ังคณะทำงานเฉพาะกิจด้านโลจิติกส์ เพื่อรองรับการขนส่งสินค้าเกษตรในช่วงสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) -แก้ปัญหาการบินไทย โดยแตง่ ตั้งคณะทำงานตรวจสอบข้อเท็จจรงิ ในการบริหารกิจการของ บรษิ ัท การบิน ไทย จำกัด (มหาชน) เพื่อตอบข้อสงสัยของสังคมเกี่ยวกบั การขาดทุนของการบินไทย ท่ีเป็นปัญหาเรื้อรังมา ตง้ั แตป่ ี ๒๕๕๑ และนำการบนิ ไทยเข้าสู่แผนฟ้นื ฟูเพื่อการแกป้ ัญหาอยา่ งยั่งยนื -นำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใชใ้ นการพัฒนาท่าอากาศยาน โดยร่วมกบั กสทช. นำเทคโนโลยี ๕G มาใช้ให้เกิด ประโยชน์ต่ออุตสาหกรรมด้านการบิน ซ่ึงกรมท่าอากาศยานได้ลงนามความร่วมมือทางวิชาการร่วมกับ กสทช. เม่ือวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๖๓ ผลักดันให้เกิดการพัฒนาสนามบินอัจฉริยะ SMART AIRPORT อย่างเต็มรปู แบบต่อไป ๕.รฐั มนตรชี ่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข (ดร.สาธติ ปติ ุเตชะ) ๑. โครงการบรรจุขาราชการกระทรวงสาธารณสุขสูโควิด-๑๙ ครม.อนมุ ัตหิ ลักการบรรจุขาราชการสาธารณสุข ๔๕,๖๘๔ ตำแหนง เพ่ือความม่ันคงของการสาธารณสุข ไทย และสรางขวญั กำลงั ใจใหผูปฏิบัตงิ านสูโควดิ -๑๙ จากสาระสำคัญตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๕ เมษายน ๒๕๖๓ ท่มี มี ติเห็นชอบให อ.ก.พ. กระทรวงสาธารณสุข แบงการกำหนดตำแหนงอัตราขาราชการตง้ั ใหมเพื่อรองรับการบรรจุกลุมบคุ ลากรท่ใี หบริการในสถานการณระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ จากสถานการณโรคระบาดโควิด-๑๙ ในครงั้ นี้ ไดเห็นการทุมเท เสียสละ และความมุงมั่นของบุคลากร สาธารณสขุ เหลานีท้ เี่ ขาไปตอสูรักษาปองกนั อยางสุดความสามารถทจี่ ะทำใหเกดิ ความปลอดภยั ตอคนในชาติ โดยเฉพาะผูปวยทต่ี ิดเชือ้ ซึง่ มีการยนื ยันแลววาโรคโควดิ -๑๙ นอกจากจะคราชีวิตผูปวยเปนจำนวนมากแลว ยงั เปนโรคทคี่ ราชวี ิตแพทย พยาบาล และบคุ ลากรสาธารณสุขมากที่สุดดวย วตั ถุประสงค ๑. สรางความมั่นคงใหบคุ ลากรสาธารณสุข ๒. สรางขวัญและกำลงั ใจใหกบั บุคลากรสาธารณสุขทป่ี ฏิบตั งิ านในสานการณระบาดของโรคตดิ เชื้อ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ ผลลพั ธการดำเนินงาน รอบที่ ๑ บรรจขุ าราชการไปแลวมีจำนวน ๒๕,๐๕๑ ตำแหนง รอบท่ี ๒ จำนวน ๕,๖๑๖ ตำแหนง รอบที่ ๓ จำนวน ๗,๔๓๘ ตำแหนง รวม ๓๘,๑๐๕ ตำแหนง ๒. โครงการปรบั เบย้ี เลี้ยง (คาปวยการ) อสม.จาก ๑,๐๐๐ บาท เปน ๑,๕๐๐ บาท อสม.เปนแรงขับเคล่ือนและชวยเหลืองานสาธารณสุขที่สำคัญ ที่คอยชวยเหลือคนในหมูบาน ดวยการ ทำงานที่เอาใจใสและติดตามผูที่มีความเส่ียง พรอมใหคำแนะนำ และความรูเก่ียวกับการดูแลตนเองอยางใกล ชิด เพ่ือสุขภาพที่ดีของคนในชุมชน ถือเปนการควบคุมความปลอดภัยในพื้นท่ีเล็กๆ ที่สามารถขยายออกไปได ทั่วประเทศ จึงมีการกำหนดนโยบาย เพ่ิมเงิน อสม.ท่ัวประเทศเปน ๑,๕๐๐ บาท เพ่ือเปนกำลังใจและชวย

๒๑ เหลือคา่ เดินทาง คาปฏบิ ัติงาน ให อสม.ทุกคน เพื่อเพิม่ ประสทิ ธิภาพการทำงาน โดยการประชุมคณะกรรมการ สงเสรมิ และสนบั สนนุ อาสาสมคั รสาธารณสุขประจำหมูบานกลาง ครัง้ ท่ี ๑/๒๕๖๔ วันท่ี ๕ มกราคม ๒๕๖๔ ณ กรมสนบั สนุนบริการสุขภาพ วตั ถุประสงค ๑. เพ่อื สรางขวัญและกำลงั ใจใหกับ อสม.ท่ัวประเทศท่ีปฏิบตั ิงานเชิงรุกดานสาธารณสขุ มูลฐาน ๒. เพ่อื ชวยเหลอื คาเดินทาง คาปฏิบัตงิ านให อสม.ทุกคนสามารถทำงานปองกนั และควบคุมโรคได อยางมีประสิทธิภาพ ผลลพั ธการดำเนนิ งาน - มตทิ ปี่ ระชมุ เหน็ ชอบเพมิ่ คาปวยการ อสม.จาก ๑,๐๐๐ บาท เปน ๑,๕๐๐ บาท โดยเรม่ิ ตง้ั แตเดอื น ม.ี ค.๖๓ – ก.ย.๖๔ - อสม.ท่ัวประเทศ จำนวน ๑,๐๕๔,๗๒๙ คน ทไี่ ดรับคาปวยการเพม่ิ ๓. โครงการจดั ตงั้ กองทุนฌาปนกิจสงเคราะหอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมบู าน แหงประเทศไทย กจิ กรรมนเี้ ปนการสรางหลกั ประกันและความม่ันคงตามนโยบายพัฒนาศักยภาพ และยกระดบั อสม.เพ่อื สราง หลกั ประกันความม่นั คง เสริมสรางขวัญ และกำลังใจใหกบั อสม.ที่เสียสละปฏบิ ตั ิงานดานสาธารณสุขชวยเหลือ ใหประชาชนและชุมชนมสี ุขภาวะท่ดี ี เปนการชวยเหลือกันของกลุมสมาชิก ซ่ึงเปนไปตามความสมัครใจไมได บงั คบั ภายใตแนวคิด “ฌกส. อสม. รอยรวมใจ ดแู ลกนั ”มีการลงนามบันทึกขอตกลงความรวมมือ (MOU) ร วมกับธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธกส.) เม่อื วันที่ ๑๓ ม.ค. ๖๓ โดย ธกส.มีบทบาทในการ สนบั สนุนการบริหารจดั การระบบการเงนิ การคลัง เชน การหกั เก็บคาสมัคร คาธรรมเนยี มรายป รวมทง้ั การ เกบ็ /จายเงนิ คาสงเคราะห ดวยโปรแกรมอัตโนมตั ิ (BAAC Corporate Banking) วตั ถุประสงค ๑. เพื่อเปนสวสั ดกิ ารใหกับ อสม. มสี วัสดิการ/หลักประกนั ความมั่นคง เสริมสรางขวัญและกำลงั ใจ ตอบแทนคณุ งามความดขี อง อสม. ท่ีมีจิตอาสา เสียสละปฏิบตั งิ านเพ่ือสวนรวม ๒. เพอื่ ชวยเหลอื เกอ้ื กูลกนั ในกลุมสมาชิก ๓. เพื่อใหครอบครวั ของ อสม.มหี ลักประกนั ความมั่นคง ผลลพั ธการดำเนนิ งาน ขอมลู การดำเนนิ งานถึงเดอื น ก.พ. ๖๔ - จำนวนสมาชิกหกั เงินสงเคราะห ๘๔๐,๐๐๐ คน (เพิ่มข้นึ ๑๐,๐๐๐ คน) - จำนวนสมาชกิ เสียชีวติ เดือน ม.ค. ๖๔ จำนวน ๕๓๕ คน (สะสมต้ังแต ม.ค. ๖๓ - ม.ค. ๖๔ จำนวน ๔,๔๐๐ คน) - จำนวนเงินสงเคราะหตอราย ๔๒๐,๐๐๐ บาท (โดยประมาณ ณ ม.ค. ๖๔) - บุคคลในครอบครวั ผูมีสทิ ธไิ ดรบั ชวยเหลือเงินสงเคราะหไปแลวทงั้ สิ้น ๑,๒๓๓,๒๗๐,๘๑๓.๗๒ บาท (ขอมูล ณ วนั ท่ี ๙ ก.พ. ๖๔) ๔. โครงการสวสั ดิการคาหองพเิ ศษ และคาอาหารพิเศษ สำหรบั อสม.ตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุข วาดวยการชวยเหลอื ในการรักษาพยาบาล กิจกรรมพัฒนาระบบสวัสดิการคาหองพิเศษ และคาอาหารพิเศษแก อสม. เปนการจัดสวัสดิการเสริม สรางขวัญและกำลังใจใหกบั อสม. ซ่ึงเปนผูเสยี สละปฏบิ ัตงิ านดานสาธารณสุขใหประชาชนในชุมชนมีสขุ ภาพท่ี

๒๒ ดี โดยการปรบั ปรุงระเบยี บกระทรวงสาธารณสุขวาดวยการชวยเหลอื ในการรกั ษาพยาบาล เพือ่ ให้ อสม.ทกุ คน มีสวัสดิการที่เหมาะสม และเปนมาตรฐานเดียวกัน เมื่อพักรักษาตัวในสถานบริการของรัฐสังกัดกระทรวง สาธารณสขุ ทุกแหงท่วั ประเทศ วตั ถปุ ระสงค ๑. เพอ่ื ให อสม.ทกุ คน มีสวัสดิการท่เี หมาะสมและเปนมาตรฐานเดยี วกนั เมือ่ พกั รักษาตวั ในสถาน บรกิ ารของรฐั สงั กดั กระทรวงสาธารณสุขทุกแหงทั่วประเทศ ๒. เพือ่ เสรมิ สรางขวัญกำลังใจใหกับ อสม. สามารถปฏบิ ัติหนาทอ่ี ยางเต็มความสามารถ และเกดิ ความ เขมแขง็ ในระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิในชมุ ชนอยางยงั่ ยืน ผลลพั ธการดำเนินงาน - มีการประกาศในราชกิจจานเุ บกษา (มีผลบงั คับใชตง้ั แตวนั ท่ปี ระกาศในราชกิจจานเุ บกษา ๘ ม.ค. ๖๓) - ทำหนงั สือแจงจังหวัดทกุ แหงเพ่ือใหปฏิบัตติ ามประกาศในราชกิจจานเุ บกษา - ชแี้ จงรายละเอียดของโครงการดังกลาวกับจงั หวดั ทง้ั ๗๖ แหง ผาน VDO conference ๕. โครงการกาวทาใจ เดินวิ่งสะสมระยะทาง ๖๐ วัน ๖,๐๐๐ กิโลแคลอร่ี โครงการกาวทาใจ Season ๒ ตานภยั โควิด ๑๙ (โครงการสงเสรมิ การออกกำลังกายภายใตสถานการณโรคโควิด ๑๙) หรือ 60 วัน 6,000 กิโลแคลอรี กระทรวงสาธารณสุข มีการสำรวจแลวพบวาในชวงที่โรคติดเชื้อไวรัสโควิด-๑๙ แพรระบาด ประชาชนทั่ว ประเทศออกกำลงั กายนอยลง มีพฤตกิ รรมเนอื ยนง่ิ มากขน้ึ และมคี วามอวนเพ่ิมข้ึน จึงจดั ทำโครงการน้ีขึ้นมาดวย การหาเครื่องมือใหมๆ มาใหประชาชนออกกำลังกาย ภายใตคำขวัญ “พิชิต ๖๐ วัน ๖,๐๐๐ กิโลแคลอรี” โดยผูที่สมัครลงทะเบียนแลวสามารถเลือกชนิดกีฬาท่ีจะออกกำลังกาย เชน ปนจักรยานใหไดระยะทาง ๓๐๐ กโิ ลเมตร, ว่ิงใหไดระยะทาง ๖๐ กโิ ลเมตร หรือจะออกกำลังกายครบทง้ั ๖ ชนิดกีฬา (วิ่ง, แอโรบิก, เวตเทรนน่งิ , โยคะ, คตี ะมวยไทย, ปนจักรยาน) ใหได ๘๐๐ นาที เปนตน วตั ถุประสงค ๑. เพอ่ื ประชาสมั พันธการออกกำลงั กายท่ีเหมาะสมในสถานการณโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ หรอื โรคโควดิ -๑๙ (COVID-๑๙) ๒. เพ่อื สงเสริมใหประชาชนมกี ารออกกำลังกายอยางถกู ตอง เหมาะสมและตอเนอื่ ง ๓. เพื่อสงเสริมใหประชาชนมคี วามรอบรูสขุ ภาพดานกจิ กรรมทางกาย ผลลพั ธการดำเนินงาน - มผี ูสมคั รเขารวมกจิ กรรมท้ังหมด ๘๑๒,๑๖๐ คน (ในจำนวนนเี้ ปน อสม. ๓๕๒,๓๑๙ คน) - ขับเคลื่อนการดำเนินงานสงเสรมิ การออกกำลงั กายท้ัง ๗๗ จงั หวัด - พลงั งานสะสมของผูเขารวมกจิ กรรมทงั้ โครงการ ๙๘๗,๒๙๗,๗๙๓ กโิ ลแคลอร่ี - ตอยอดโครงการกาวทาใจ season ๓ : ๑๐๐ วัน ๑๐๐ กโิ ลเมตร เปดตัววนั ที่ ๑๕ กุมภาพันธ ๒๕๖๔ ๖. โครงการพัฒนาการจัดอาหารริมบาทวิถีปลอดภยั สรางเสรมิ สขุ ภาพ (Street Food Good health) กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามยั ไดจัดทำโครงการพฒั นาอาหารรมิ บาทวถิ ีปลอดภัย สนับสนนุ เศรษฐกิจและ การทองเท่ียววิถีไทย มีวัตถปุ ระสงคเพ่ือพัฒนาตนแบบ (Model) การจัดบริการอาหารริมบาทวิถี (Street food) ท่ีไดมาตรฐานสุขาภิบาลอาหารสงเสริมการทองเท่ียวและเศรษฐกิจของพ้ืนท่ี กระตุนใหเกิดความ

๒๓ รวมมือระหวางหนวยงานภาครัฐ และภาคเอกชนในการพฒั นาสถานประกอบกิจการดานอาหาร และสงเสริมการ ทองเท่ียวอยางเปนรปู ธรรม โดยการดำเนินงานเนนกระบวนการพัฒนาระบบและกลไกในการดำเนินงานอาหาร ริมบาทวิถีใหสามารถจัดการไดอยางตอเน่ืองและเกิดความย่ังยืนในระดับพ้ืนที่ จึงจำเปนตองมีระบบการดูแล ควบคุมตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหาร และดำเนินการประชาสัมพันธใหประชาชนท่ัวไปสามารถ รับทราบขอมูลและเขาถึงการบริโภคอาหารท่ีสะอาดและปลอดภัย โดยกำหนดแนวทางพัฒนาและการปฏิบัติให้ เปนไปตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และตามกฎกระทรวงที่ใชบังคับในเขตราชการสวนทอง ถ่นิ ทวั่ ประเทศ วตั ถุประสงค ๑. เพอื่ พฒั นาตนแบบพืน้ ทดี่ ำเนนิ งานอาหารริมบาทวิถสี รางเสริมสุขภาพท่เี นนสงเสรมิ การจำหนาย และบรโิ ภคผักผลไมท่ปี ลอดภยั อยางเพียงพอ และผานเกณฑมาตรฐานอาหารรมิ บาทวถิ ี ๒. เพ่อื พฒั นารปู แบบของระบบและกลไกในการจดั การพนื้ ท่ีดำเนนิ งานอาหารรมิ บาทวถิ ี โดยการสราง ความรวมมอื ของภาคีเครือขาย ๓. เพ่ือสงเสรมิ ความรอบรูดานสขุ ภาพ (Health literacy) ของประชาชนทีใ่ ชบรกิ ารอาหารรมิ บาทวถิ ี ใหมีความรู และมกี ารปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพ่ิมการบริโภคผกั ผลไมปลอดภัย ๔. เพือ่ จดั ทำขอเสนอเชิงนโยบายระดับกระทรวงสาธารณสุขในการขับเคล่อื นพ้นื ท่ีดำเนินงานสรปุ ผลลพั ธการดำเนินงาน - มีการสงเสริมความรูดานสุขภาพอาหารริมบาทวิถี ท้ัง ๒๔ แหง โดยการสงเสริมการบริโภคผัก และผลไม เพม่ิ พนื้ ทจี่ ำหนายแผงผัก ผลไมปลอดภยั และบูรณาการเมนูชูสขุ ภาพ (ดำเนินการในแผงจำหนายอาหารท่ี ผานการประเมนิ อาหารสะอาด รสชาตอิ รอย : Clean Food Good Taste - จัดทำฐานขอมลู แหลงวัตถดุ ิบในพ้นื ทถ่ี นนอาหารรมิ บาทวถิ ี (Street Food Good Health) เพอ่ื การ พัฒนาตลาดสดประเภทที่ ๑-๒ ใหไดตามมาตรฐานของกรมอนามัย - โครงการพฒั นาการจัดอาหารรมิ บาทวิถปี ลอดภยั สรางเสริมสขุ ภาพและสนบั สนุนการทองเที่ยวไทย พ้ืนทเี่ ปาหมาย ๒๔ จงั หวัด และมีพนื้ ทถ่ี นนอาหารรมิ บาทวถิ ีในจังหวัดท่ีพฒั นาแบบคูขนานอีก ๗ จังหวัด คอื กรุงเทพฯ สมุทรสาคร กาญจนบุรี นครปฐม ราชบุรี จนั ทบุรี และระยอง รวมทั้งสน้ิ ๓๐ แหง ๗. โครงการจัดเพ่มิ คูสายสขุ ภาพจติ ๑๓๒๓ เปน ๒๐ คูสาย เปนรูปแบบการใหบริการปรึกษาทางโทรศัพท (Telephone counseling) บริการสุขภาพจิตที่ใชทักษะการให การปรกึ ษา เพือ่ ลดความทุกขใจของผูรับบริการ ตลอด ๒๔ ชั่วโมง โดยนกั จติ วิทยาใหการปรกึ ษา นอกจากนั้นยัง มรี ะบบ Chat counseling ผานเพจ ๑๓๒๓ ปรกึ ษาปญหาสขุ ภาพจิต วัตถุประสงค ๑. ประชาชนไดเขาถงึ และรับบรกิ ารสายดวนสขุ ภาพจติ ๑๓๒๓ อยางทวั่ ถึง ๒. เพ่ือลดความเครยี ด ความทกุ ขใจ ความไมสบายใจของประชาชน และพึงพอใจในการเขามารบั การ ปรกึ ษาสายดวนสขุ ภาพจิต ๑๓๒๓ ๓. เพอ่ื ชวยเหลือผูรบั บริการที่เขามารับบรกิ ารปรกึ ษา สายดวนสุขภาพจติ ๑๓๒๓ ที่มีภาวะซมึ เศรา ระดับรนุ แรง พยายามฆาตัวตาย ไดรับการประสานการสงตอโรงพยาบาลและหนวยงานในพนื้ ท่ีท่ี เกีย่ วของ ผลลพั ธการดำเนินงาน - ผลการจัดบรกิ าร

๒๔ ๑. สายโทรเขา ๕๓๐,๕๓๗ สาย ๒. สายใหขอมลู ๑๖๔,๒๗๐ สาย ๓. สายใหการปรกึ ษา ๑๑๐,๐๓๓ สาย - ๕ อนั ดับปญหาทขี่ อรับคำปรกึ ษา ๑. ปญหาจิตเวช รอยละ ๕๗.๙ ๒. เครียดหรือวติ กกังวล รอยละ ๒๐.๙ ๓. ปญหาครอบครัว รอยละ ๘.๔ ๔. ปญหาความรัก รอยละ ๗.๘ ๕. ซึมเศรา รอยละ ๕ - คณุ ภาพบรกิ ารสายดวนสุขภาพจิต ๑๓๒๓ ๑. รอยละ ๑๑.๗ ผูรบั บรกิ ารมคี วามเครียดลดลงมาก ๒. รอยละ ๖๐.๓ ผูรับบริการมีความเครยี ดลดลงปานกลาง ๓. รอยละ ๒๘ ผูรับบริการมคี วามเครยี ดลดลงนอย ๔. รอยละความพึงพอใจผูรบั บริการ ๙๙.๐๓ ๖.รฐั มนตรชี ่วยวา่ การกระทรวงมหาดไทย นายนิพนธ์ บุญญามณี นายนิพนธ์ บุญญามณี รฐั มนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้รบั มอบหมายใหก้ ำกับดูแล ดงั นี้ ๑. กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ๒. กรมทดี่ ิน ๓. การประปานครหลวง ๔. องค์การจดั การน้ำเสีย ๑. การจดั การท่ดี ินเพอื่ ลดความเหลอื่ มลำ้ ๑.๑ “มอบโฉนดท่ีดินท่ัวไทย นำสุขคลายทุกข์ให้ประชาชน” โดยได้ดำเนินการสำรวจรังวัดทำแผนที่ออก โฉนดที่ดิน ตามโครงการเดินสำรวจจัดทำรูปแปลงโฉนดท่ีดินและเดินสำรวจออกโฉนดที่ดินด้วยระบบ RTK GNSS Network ให้ครอบคลมุ ทั่วประเทศ และโครงการเดินสำรวจออกโฉนดท่ีดนิ เพื่อเสรมิ สร้างความมนั่ คงใน พ้ืนที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ (จังหวัดนราธิวาส ปัตตานี ยะลา) เป็นการลดความเหลื่อมล้ำของประชาชน กระจายการถือครองท่ีดิน ลดปัญหาการไร้ที่ดินทำกินและความไม่มั่นคงในที่อยู่อาศัย ทำให้ประชาชนมี เอกสารสิทธิ์ที่เป็นโฉนดท่ีดิน มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีข้ึน โดยได้ดำเนินการต่อเน่ืองมาจากปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยปีงบประมาณ ๒๕๖๓ เป้าหมายรวมท้ังส้ิน ๘๐,๐๐๐ แปลง โดยสามารถดำเนินการได้จำนวน ๘๘,๘๒๒ แปลง และในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ กรมที่ดินได้ดำเนินการอนุมัติแผนการปฏิบัติการโครงการ เดินสำรวจออกโฉนดทดี่ นิ อกี จำนวน ๗๖,๐๐๐ แปลง ครอบคลุมพน้ื ท่ที ั่วประเทศ ๑.๒ สนับสนุนการดำเนินการจัดที่ดินทำกินให้ชุมชนภายใต้คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) การดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ คณะอนุกรรมการจัดท่ีดินรับมอบพื้นท่ีจากคณะอนุกรรมการ จัดหาที่ดิน จำนวน ๑๑๔ พื้นที่ ๒๘ จังหวัด ดำเนินการจัดคนลงในพ้ืนท่ีได้ ๑๑๑ พื้นท่ีใน ๓๓ จังหวัด จำนวน ๑๖,๖๐๘ ราย ๑๙,๗๒๑ แปลง เน้ือท่ี ๑๑๔,๔๔๓ ไร่ ส่งให้คณะอนุกรรมการส่งเสริมพัฒนาอาชีพและ การตลาด ๕๔ พ้ืนท่ี ๒๒ จังหวัด จำนวน ๖,๗๐๕ ราย ๘,๒๒๖ แปลง เนื้อท่ี ๔๔,๗๓๖ ไร่ และสำหรับการ ดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ คทช.มีเป้าหมายในการจัดท่ีดินทำกินให้ชุมชนตามนโยบายรัฐบาล รวมทัง้ สิ้น ๑๑,๙๐๐ แปลง โดยการดำเนินการ คทช. เป็นการแก้ไขปัญหาความยากจนโดยเฉพาะในดา้ นที่ดิน ทำกินและทอ่ี ยอู่ าศัยให้แก่ ผูย้ ากจนท่ีไม่มีที่ดินทำกิน ซ่ึงครอบครองทำกนิ ในท่ีดินของรัฐประเภทต่างๆ เช่น ป่า สงวนแห่งชาติ ป่าชายเลน ท่ีส.ป.ก. ท่ีดินสาธารณประโยชน์ ท่ีราชพัสดุและที่ดินนิคมสร้างตนเองที่เสื่อมโทรม

๒๕ หมดสภาพ ให้มีสิทธิทำกินและอยู่อาศัยอย่างถูกต้องตามกฎหมายแต่ไม่ให้กรรมสิทธิ์ โดยให้สิทธิในลักษณะ แปลงรวมเป็นชุมชนเพอ่ื รวมกลุ่มกันในรปู แบบสหกรณ์ ท่ีสามารถกระจายการถอื ครองที่ดนิ ได้อย่างเป็นธรรม ๑.๓ การเร่งรัดแก้ไขปัญหาท่ีสาธารณประโยชน์ตามข้อเรียกร้องของกลุ่มสมัชชาคนจนใน ๙ พื้นที่ ซ่ึงคณะกรรมการแก้ไขปัญหาสมัชชาคนจนได้มอบหมายให้นายนิพนธ์ บุญญามณี รัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวงมหาดไทยเปน็ ประธานอนุกรรมการแก้ไขปัญหาที่ดินสาธารณโยชนแ์ ละได้มีการเชิญหน่วยงานภาครัฐ ท่เี กีย่ วขอ้ งประชุมหารือบรู ณาการเพื่อหาแนวทางแกไ้ ขปัญหาดงั กลา่ ว ๒. การบรู ณาการเพ่ือแกไ้ ขปญั หาสาธารณภัยและสง่ิ แวดลอ้ ม การบริหารจัดการสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ทำหน้าที่เป็นหน่วยงานกลางของ ภาครัฐในการบูรณาการบริหารจัดการสาธารณภัยของประเทศ โดยมุ่งขับเคล่ือนการจัดการสาธารณภัยเชิงรุก ในทกุ มิตเิ พื่อสรา้ งประเทศไทยให้มีความปลอดภัย ยกระดับการจดั การสาธารณภัยเพ่ือให้ประเทศไทยรเู้ ท่าทัน ความเส่ียงจากสาธารณภัย นำไปสู่การรับรู้ ปรับตัวและฟื้นกลับจากภัยพิบัติอย่างรวดเร็ว ภายใต้แนวคิด “ลดความเส่ยี งเดมิ และปอ้ งกนั ความเสีย่ งใหม”่ โดยมีภารกจิ สำคญั โดยสรปุ ดังนี้ - ขับเคลื่อนการจัดการสาธารณภัยสู่เป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน พัฒนาระบบการแจ้งเตือนภัยท่ีมี ประสิทธภิ าพ พัฒนาระบบคลงั ข้อมลู สาธารณภยั แหง่ ชาติ - เสริมสร้างความพรอ้ มและศักยภาพการจัดการสาธารณภัยทุกรูปแบบต้ังแตร่ ะดับชมุ ชน หมู่บ้าน ส่งเสริม การเรียนรผู้ า่ นกิจกรรมต่าง ๆ เพ่อื ใหส้ ามารถเตรยี มพร้อมรบั มือและจดั การภยั พิบตั ิได้อยา่ งยง่ั ยนื ปญั หาหมอกควนั ไฟปา่ ภยั หนาว ปญั หาอทุ กภยั ปญั หาภัยแล้ง ตรวจติดตามและมอบนโยบายแก่ ผูว้ า่ ราชการจงั หวัด และผบู้ รหิ ารสว่ นราชการประจำจังหวดั ในการเตรียมความพรอ้ ม บูรณาการความร่วมมอื จากภาคเี ครือขา่ ยภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชนในการเตรยี มรบั มอื กับสาธารณภัยตา่ ง ๆ และเม่ือกรณี เกดิ สาธารณภัยต่าง ๆ ได้ติดตามการดำเนินการช่วยเหลือผ้ปู ระสบอุทกภยั ในพ้นื ทต่ี ่างๆทัว่ ประเทศ เน้นยำ้ มอบหมายใหจ้ ังหวัดเป็นหน่วยงานหลักในการดำเนินการสำรวจความเสียหาย ฟ้ืนฟู เยียวยา และบรรเทาความ เดือดร้อนแกป่ ระชาชน ๓. การลดความสูญเสียจากอุบัติเหตุบนถนน ผลักดันนโยบาย “การขับเคลื่อนนโยบายตำบลขับขี่ปลอดภัย ไปด้วยกัน” มุ่งเน้นการใช้มาตรการชุมชน มาตรการทางสังคมในการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน บูรณา การความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน การรณรงค์ในรปู แบบการเคาะประตูบ้าน การใชด้ ่าน ครอบครวั ด่านชุมชน ให้ความรู้ และป้องปรามพฤติกรรมเสย่ี ง กำหนดแนวทางการดำเนินงานป้องกันและลด อบุ ัติเหตุทางถนน ใช้กลไกคณะกรรมการศูนยอ์ ำนวยการความปลอดภัยทางถนนของจงั หวัด ด้านการบังคับใช้ กฎหมาย บูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการกำหนดแนวทางการปฏิบัติงานเก่ียวกับ มาตรการ บังคับใช้กฎหมายเพ่ือดูแลความปลอดภัย การอำนวยความสะดวกด้านการจราจร ซึ่งจากการ ดำเนินการลงพื้นท่ีตรวจติดตามและมอบนโยบายความปลอดภัยทางถนนดังกลา่ วข้างตน้ สามารถลดความสูญเสีย จากอบุ ตั ิเหตุทางถนนถงึ ๒,๐๐๐ คน จากปที ผ่ี า่ นมา ๔. การบริหารจัดการน้ำเพ่ืออุปโภคบริโภคและการวางแนวทางการจัดการน้ำเสีย กระทรวงมหาดไทยได้ เน้นย้ำถึงการสร้างความมั่นคงในการอุปโภค บริโภคของประชาชนในภารกิจของการประปานครหลวง เร่งรัด โครงการปรับปรุงกิจการประปา ขยายการบริการให้ครอบคลุมท่ัวพ้ืนที่ความรับผิดชอบของการประปานคร หลวง ลดความเหลื่อมล้ำและสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการของภาครัฐในการขยายเขตจำหน่ายน้ำในพื้นท่ี

๒๖ ชายขอบของกรุงเทพฯ เช่น เขตหนองจอก เน้นย้ำการพัฒนาคุณภาพน้ำ ความสำคัญของการประหยัดน้ำ ใช้ น้ำอย่างรู้คุณค่าเพื่อเตรยี มการรบั มือภาวะภัยแล้งท่ีอาจเกิดขน้ึ ในอนาคต การบริหารจัดการนำ้ สูญเสีย โดยเร่ง ดำเนินการตรวจสอบหาท่อรั่วและเร่งซ่อมท่อประปา ประกอบกับดำเนินโครงการน้ำประปาปลอดภัย ใส่ใจ คุณภาพเพื่อให้ความรู้ ความเขา้ ใจในเรอื่ งนำ้ ประชาปลอดภัยแกเ่ ยาวชนในสถาบันการศึกษา และสนับสนนุ ให้ มีการออกมาตรการช่วยเหลือประชาชนในสถานการณ์โรคระบาดไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ แบ่งเบาภาระค่าใช้จ่าย ของประชาชน การบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม มอบนโยบายให้องค์การจัดการน้ำเสียเป็นหน่วยงานหลักในการบูรณาการ ความร่วมมือในการจัดการน้ำเสียภาคครัวเรือนในชุมชน ประสานความร่วมมือกับท้องถ่ินโดยองค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ินเป็นกลไกหลักในการดำเนินการ และการพัฒนาวางระบบบำบัดน้ำเสียให้ชุมชนสามารถใช้ ประโยชนใ์ นด้านอ่ืนๆ ได้มากขึ้น เช่น พัฒนาให้เปน็ สวนสาธารณะ หรือสนามกีฬา โครงการเปลี่ยนน้ำเสียเป็น น้ำใส เราคนไทยต้องร่วมมอื ๗.รฐั มนตรชี ว่ ยว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ ดร. คณุ หญงิ กลั ยา โสภณพนิช ๑. Coding ๑.๑ อบรม Coding Face to face ในชว่ งเดือน ตุลาคม-ธนั วาคม ๒๕๖๓ โดยจดั การอบรมผ่านศูนย์ อบรม ๓๖ จังหวัดท่ัวประเทศ มีผู้เข้ารับการอบรมรวม ๖,๔๙๙ คน และได้เผยแพรแ่ นวทางของ ๑๓ โรงเรียน ในทกุ ช่องทางของ สพฐ. ทัง้ OBEC channel facebook พุธเช้าขา่ ว สพฐ. ๑.๒ ผลักดันโค้ดด้ิง (Coding) โดย สสวท. ร่วมกับ สพฐ. จัดอบรมครูออนไลน์หลักสูตรการเรียนรู้วิทยาการ คำนวณสำหรับครู (Coding for Teacher หรอื C4T มีครูลงทะเบียนท้ังหมด ๒๐๑,๗๙๙ คน อบรมเสร็จ ส้ิน ๑๔๕,๔๔๑ คน แบ่งได้ดังน้ี - ครปู ระถมตน้ ลงทะเบียน ๕๐,๗๒๒ คน อบรมเสร็จสนิ้ ๓๒,๖๙๕ คน - ครูประถมปลาย ลงทะเบียน ๔๕,๖๙๖ คน อบรมเสร็จส้นิ ๒๙,๒๗๘ คน - ครูมัธยมต้น ลงทะเบยี น ๓๕,๙๖๒ คน อบรมเสรจ็ สน้ิ ๑๙,๘๔๑ คน - ครมู ธั ยมปลาย ลงทะเบียน ๑๙,๕๕๙ คน อบรมเสร็จส้ิน ๙,๑๖๑ คน ข้อมลู ณ วนั ที่ ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ อบรมวันที่ ๘ มกราคม - ๘ มนี าคม ๒๕๖๓ ๑.๓ สสวท. สพฐ. ลงไปสาธิตการประยุกต์ใช้โค้ดดิ้งกับสาระวิชาให้กับโรงเรยี นขนาดเลก็ ห่างไกล ๑๓โรงเรียน ทว่ั ประเทศ ๒. ยกระดับ สถานศึกษาอาชีวศึกษาเกษตรกรรมและประมง เป็น Digital Agri College ทั้ง Digital Farming, Digital Community และ Digital Farmer พัฒนาทักษะการทำงานของเกษตรกร อัพสกิล รีสกิล โดยจัดฝึกอบรมวิชาชีพเกษตรระยะสั้นให้เกษตรกร และมีผู้สนใจ จำนวน ๑,๔๑๐ คน พร้อมกับพัฒนาครู อาชวี ศึกษาเกษตร โดยจัดทำแผนงานและพฒั นาหลักสูตรในการพฒั นาครใู หม้ คี วามรู้การเกษตรสมยั ใหม่ หลักสตู รทใ่ี ช้ฝกึ อบรมให้กับบุคลากรครขู องวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี ๕ หลักสูตร ๑. เครอื่ งจักรกลเกษตรในระบบสมาร์ทฟารม์ (Agricultural Machinery for Smart Farming) ๒. อากาศยานไร้คนขบั ขนาดเล็กสำหรบั งานทางการเกษตร (Drones for Agricultural Applications) ๓. ระบบภมู สิ ารสนเทศเพอื่ การเกษตรเบอื้ งตนั (Introduction to Geographic Information System for Agricultural Applications)

๒๗ ๔. พื้นฐานอนิ เตอร์เนต็ ของสรรพสิง่ สำหรบั การเกษตร (Basic Internet of Things for Agricultural Applications) ๕. เทคโนโลยีโรงเรือนปลกู พืชสมัยใหม่ (Modern Greenhouse Technology) ๓. โครงการนวัตกรรมส่ือด้านการเรียนประวัติศาสตร์ชาติไทย โดยความร่วมมือกับสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ และวทิ ยาลัยนวัตกรรมสอ่ื สารสงั คม มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ เพ่ือมุ่งพัฒนาจิตสำนึกของความรักชาติให้เกิดข้ึนแก่นักเรียน ตามนโยบายการอ่าน การเขียน การเรียน ประวัติศาสตรผ์ า่ นการสอื่ สารรว่ มสมยั หนึง่ ในนโยบายหลกั ทชี่ ว่ ยปฏิรูปการศกึ ษาไปสู่ผู้เรยี นโดยตรง ๔. จัดทำโครงการจัดการน้ำโดยชุมชนตามแนวพระราชดําริ ร.๙ ใน ๔๗ อาชีวะเกษตร เทคโนโลยี และ ประมงใหเ้ กิดหลกั สูตรผลิต “ชลกร” เพอื่ ต่อยอดการผลติ “ชลกรชมุ ชน” ต่อไป ๕. โครงการวทิ ยาศาสตร์พลัง ๑๐ เพือ่ เพิม่ โอกาสใหน้ กั เรียนทกุ ชั้นปีไดเ้ รยี นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ นวัตกรรมได้ทว่ั ถงึ ทกุ ช้ันปี ตัง้ แต่ประถมศึกษาถึงมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๖ ๖. สำนกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ มสี ถานศกึ ษาในสังกัด ๓ ประเภท ดังนี้ ๑. โรงเรยี นเฉพาะความพิการ ๔๘ โรงเรียน ๒. โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ ๕๒ โรงเรยี น ๓. ศูนย์การศึกษาพิเศษ ๗๗ โรงเรยี น จดั ใหม้ ีศนู ย์วิจยั ๑๓ แหง่ ยกระดับเพอื่ คุณภาพการเรยี นการสอนท่ัวประเทศ ต่อไป ผลงานดา้ นนิตบิ ัญญตั ิ ปี ๒๕๖๓ ในปี พ.ศ.๒๕๖๓ พรรคประชาธปิ ัตย์ ภายใตก้ ารนำของนายชวน หลีกภัย ประธานสภาผแู้ ทนราษฎร ได้มผี ลงานในด้านนิตบิ ัญญตั ิมากมายหลายด้าน ยกตวั อยา่ ง เช่น การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ ๑.รา่ งพระราชบญั ญตั ิทีบ่ รรจุระเบยี บวาระเพื่อรอการพิจารณาของสภาผแู้ ทนราษฎรในวาระทีห่ น่งึ เรื่องที่ ผเู้ สนอ รา่ งพระราชบัญญัติ ๑ นายเทพไท เสนพงศก์ บั คณะ รา่ งพระราชบญั ญตั ยิ าเสพติดให้โทษ (ฉบบั ท่ี ..) พ.ศ. .... ๒.ร่างพระราชบญั ญตั ิทีร่ อการบรรจุระเบียบวาระการประชุม เร่ืองท่ี ผ้เู สนอ ร่างพระราชบญั ญัติ ๑ นายพสิ ฐิ ลี้อาธรรม กบั คณะ ร่างพระราชบญั ญัตธิ นาคารแห่งประเทศไทย (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. .... ๒ นายสุทศั น์ เงนิ หมื่น กับคณะ รา่ งพระราชบญั ญตั ิปอ้ งกนั และปราบปรามการทรมานและการกระทำให้ บคุ คลสูญหาย พ.ศ. ....

๒๘ ๓.รา่ งพระราชบญั ญัติทอ่ี ยูร่ ะหว่างนายกรัฐมนตรีพิจารณาให้คำรบั รอง ๓.๑ ร่างพระราชบญั ญัติเกี่ยวด้วยการเงนิ เร่ืองท่ี ผู้เสนอ ร่างพระราชบญั ญตั ิ ๑ นายสาคร เกยี่ วขอ้ ง กับคณะ รา่ งพระราชบญั ญัตปิ าลม์ น้ำมันและผลติ ภัณฑ์จากปาล์มนำ้ มัน พ.ศ. ... ๒ นายพิสิฐ ลี้อาธรรม กบั คณะ ร่างพระราชบญั ญัติคณะกรรมการการออมเพื่อการเกษยี ณแห่งชาติ พ.ศ. ... เรื่องท่ี ผู้เสนอ รา่ งพระราชบัญญตั ิ ๓ นายพสิ ิฐ ลี้อาธรรม กบั คณะ รา่ งพระราชบญั ญัตกิ องทุนการออมแหง่ ชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ๔ นายสาทติ ย์ วงศห์ นองเตย รา่ งพระราชบัญญตั ิระเบียบบริหารราชการนครสมยุ พ.ศ. .... กบั คณะ ๕ นายบัญญัติ เจตนจนั ทร์ กับ ร่างพระราชบัญญตั ริ ะเบียบข้าราชการสาธารณสุขและบุคลากรสาธารณสขุ คณะ พ.ศ. ... ๓.๒ ร่างพระราชบญั ญัติที่เกี่ยวเนื่องกับร่างพระราชบญั ญัตเิ ก่ยี วด้วยการเงนิ เร่ืองที่ ผ้เู สนอ ร่างพระราชบัญญตั ิ ๑ นายพิสิฐ ลี้อาธรรม กับคณะ ร่างพระราชบญั ญตั กิ องทุนสำรองเลยี้ งชพี (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. .... ๒ นายองอาจ คล้ามไพบูลย์ กับ ร่างพระราชบัญญตั ิระเบียบบรหิ ารราชการกรงุ เทพมหานคร (ฉบับท่ี ..) คณะ พ.ศ. .... คร้ังท่ี กระทถู้ ามสด การต้ังกระทถู้ ามสด ถาม ผู้ตอบ ๑ ทวงคนื โฉนดชุมชน นายกรฐั มนตรี ผถู้ าม รฐั มนตรวี า่ การ รฐั มนตรีวา่ การ กระทรวง นายสาทิตย์ วงศ์หนอง กระทรวงมหาดไทย ทรัพยากรธรรมชาติ เตย และส่ิงแวดล้อม (นาย รฐั มนตรีว่าการกระทรวง วราวุธ ศลิ ปอาชา) ๒ ปัญหาเรื่องการออกเอกสารสิทธ์ิ นายธรี ภทั ร พริ้งศลุ กะ สาธารณสุข ทด่ี ิน รฐั มนตรีชว่ ยว่าการ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวง กระทรวงมหาดไทย ๓ ค่าตอบแทนของ อสม. นายเทพไท เสนพงศ์ สาธารณสุข (นายนพิ นธ์ บญุ ญามณ)ี ๔ ปัญหาการบริหารจัดการ ดแู ล น.พ.บญั ญตั ิ เจตนจนั ทร์ รฐั มนตรีวา่ การ รฐั มนตรีวา่ การ สุขภาพชมุ ชน เพ่ือป้องกนั การ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสขุ แพรร่ ะบาดโควิด-๑๙ ระลอกท่ี ๒ (ดร.สาธิต ปิตเุ ตชะ) ๕ การบริหารจดั การเกย่ี วกบั การ นายสาคร เกีย่ วข้อง รัฐมนตรีช่วยว่าการ ออกเอกสารสทิ ธิ์ท่ดี ินในจ.กระบี่ กระทรวงสาธารณสุข (ดร.สาธิต ปิตุเตชะ) นายนิพนธ์ บญุ ญามณี รฐั มนตรีชว่ ยว่าการ กระทรวงมหาดไทย

๒๙ กระทถู้ ามทั่วไป ผู้ถาม ถาม ผตู้ อบ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวง ครงั้ ที่ กระทถู้ ามทวั่ ไป นายอัครเดช วงษ์พทิ กั ษ์ รฐั มนตรวี ่าการ พลงั งาน (นายสุพัฒน พงษ์ โรจน์ กระทรวงพลังงาน พนั ธ์มเี ชาว) การสนับสนุนการใช้กา๊ ซ ธรรมชาตสิ ำหรับยานยนต์ หรือ ผู้ถาม ถาม ผู้ตอบ ๑ NGV เพอื่ ลดปัญหาฝุ่นละออง นายสาคร เก่ียวขอ้ ง รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง ขนาดเล็ก PM ๒.๕ เกิน รัฐมนตรีวา่ การ ทรัพยากรธรรมชาติและ มาตรฐาน กระทรวง สิง่ แวดล้อม (นายวราวุธ ทรพั ยากรธรรมชาติ ศิลปอาชา) ครั้งที่ กระทถู้ ามทวั่ ไป และส่งิ แวดลอ้ ม รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง ๒ ขอให้แกป้ ัญหาการจดั เก็บ นายองอาจ คลา้ มไพบูลย์ นายกรัฐมนตรี อตุ สาหกรรม(นายสุริยะ คา่ ธรรมเนียมจากการท่องเที่ยว จงึ รุง่ เรืองกจิ ) เข้าชมอุทยานแหง่ ชาติ และ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวง อทุ ยานแห่งชาติทางทะเลทั่ว ดจิ ิทลั เพ่อื เศรษฐกจิ และ ประเทศ สังคม (นายพุทธพิ งษ์ ปุณณกนั ต์) ๓ การพัฒนาอาหาร VEGAN เพื่อ รัฐมนตรีช่วยวา่ การ การส่งออก กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ (นายประภัตร ๔ การจัดระเบยี บสายไฟฟ้าลงใต้ดิน นายอคั รเดช วงษ์พิทักษ์ รัฐมนตรวี า่ การ โพธสธุ น) โรจน์ กระทรวงดิจิทัลเพ่ือ เศรษฐกจิ และสงั คม รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงแรงงาน (หมอ่ มราชวงศ์จตั มุ งคล โสณกลุ ) ๕ มาตรการเยยี วยาผู้ได้รบั นายนริศ ขำนรุ ักษ์ นายกรัฐมนตรี รฐั มนตรีประจำสำนัก ผลกระทบจากการระบาดไวรสั โค นายกรฐั มนตรี (นายเทวญั ลิปตพลั ลภ) โรนา ๒๐๑๙ (Covid ๑๙) ของ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวง การอดุ มศกึ ษา ภาคการเกษตร วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม (นายสุวทิ ย์ เมษิ ๖ ปัญหากองทุนประกันสังคมกรณี นายพิสิฐ ลี้อาธรรม รฐั มนตรีว่าการ นทรยี ์) รัฐมนตรีว่าการ ชราภาพตดิ ลบ กระทรวงแรงงาน กระทรวงมหาดไทย(พล เอก อนพุ งษ์ เผา่ จินดา) ๗ การป้องกันการสร้างความขัดแย้ง พลตำรวจตรี สรุ นิ ทร์ ปา นายกรฐั มนตรี อนั เกดิ จากการบิดเบือน ลาเร่ ขอ้ เทจ็ จริงทางศาสนา ๘ การปรับปรุงหลักสตู รการเรยี น นายพสิ ฐิ ลอ้ี าธรรม รฐั มนตรีว่าการ การสอน ในสถาบันอุดมศกึ ษาให้ กระทรวงการ สอดคลอ้ งกับนโยบายไทยแลนด์ อดุ มศึกษา ๔.๐ วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม ๙ การพัฒนาบงึ กระจบั อำเภอบ้าน นายอคั รเดช วงษ์พิทักษ์ นายกรัฐมนตรี โป่ง จังหวัดราชบรุ ี โรจน์

๓๐ ๑๐ การจดั ทำระบบชลประทาน และ นายอัครเดช วงษ์พทิ กั ษ์ รัฐมนตรีว่าการ รฐั มนตรีช่วยว่าการ กระทรวงเกษตรและ กระทรวงเกษตรและ สรา้ งอ่างเกบ็ นำ้ ให้กับประชาชน โรจน์ สหกรณ์ สหกรณ์ (นายประภัตร โพธสุธน) ในพน้ื ทตี่ ำบลเขาขลงุ อำเภอบ้าน รฐั มนตรวี ่าการ กระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรชี ว่ ยวา่ การ โปง่ จังหวัดราชบุรี กระทรวงมหาดไทย (นาย นพิ นธ์ บญุ ญามณี) ๑๑ ปญั หาความล่าช้าในการกำหนด นายวิวรรธน์ นิลวชั รมณี ขอบเขตทส่ี าธารณประโยชนป์ า่ ท่งุ โคกเงย ตำบลพลายวาส อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุ ราษฎร์ธานี คร้งั ที่ กระท้ถู ามท่วั ไป ผ้ถู าม ถาม ผ้ตู อบ ๑๒ การดำเนนิ โครงการอ่างเกบ็ น้ำ นายสาคร เก่ียวข้อง รฐั มนตรีวา่ การ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวง กระทรวงเกษตรและ เกษตรและสหกรณ์ คลองหิน ตำบลคลองหิน อำเภอ สหกรณ์ (ดร.เฉลมิ ชยั ศรอี ่อน) อา่ วลึก จังหวดั กระบี่ ๑๓ โครงการป่าในเมอื ง “สวนปา่ นายนริศ ขำนรุ ักษ์ รฐั มนตรีวา่ การ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวง ประชารัฐ” กระทรวง ทรพั ยากรธรรมชาติและ ทรัพยากรธรรมชาติ สงิ่ แวดล้อม (นายวราวุธ ๑๔ ขอให้รัฐบาลแกไ้ ขวกิ ฤติปริมาณ นายบญั ญตั ิ เจตนจนั ทร์ และส่ิงแวดล้อม ศิลปอาชา) น้ำอา่ งเกบ็ น้ำคลองระโอก เพื่อ นายกรัฐมนตรี นายกรฐั มนตรี (พลเอก แกป้ ัญหาภัยแลง้ แก่ภาค ประยุทธ์ จนั ทร์โอชา) เกษตรกรอยา่ งยั่งยืน นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ๑๕ ขอใหร้ ฐั บาลเร่งรดั ก่อสรา้ งสถานี นายบัญญตั ิ เจตนจันทร์ เกษตรและสหกรณ์ (ดร. สูบน้ำาวังหวา้ – ซากโดน และ เฉลิมชัย ศรีอ่อน) ระบบชลประทานส่วนขยายอ่าง เก็บนำ้ าประแสร์ (ระยะท่ี ๒) กระท้ถู ามแยกเฉพาะ คร้งั ท่ี กระทู้ถามแยกเฉพาะ ผ้ถู าม ถาม ผ้ตู อบ รฐั มนตรวี า่ การ ติดตามโครงการทำอุโมงค์ลอด นายอคั รเดช วงษ์พิทกั ษ์ กระทรวงคมนาคม รัฐมนตรชี ่วยวา่ การ กระทรวงคมนาคม ๑ ใตท้ างรถไฟรางคู่ในเขตบา้ นโป่ง โรจน์ รฐั มนตรีวา่ การ (นายถาวร เสนเนยี ม) กระทรวงกลาโหม จงั หวัดราชบุรี รฐั มนตรีช่วยว่าการ กระทรวงกลาโหม ขอความอนุเคราะห์พืน้ ท่ีของ นายอัครเดช วงษพ์ ิทกั ษ์ (พลเอก ชยั ชาญ ช้าง มงคล) องค์การผลิตอาหารสำเรจ็ รูป โรจน์ ๒ (อสร.) สำหรบั สรา้ งสถานีขนสง่ ผูโ้ ดยสารอำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบรุ ี

๓๑ การก่อสร้างถนนเลี่ยงเมอื ง นายอคั รเดช วงษ์พทิ ักษ์ รฐั มนตรีวา่ การ รัฐมนตรีช่วยวา่ การ ๓ อำเภอบ้านโป่ง จงั หวัดราชบรุ ี โรจน์ กระทรวงคมนาคม กระทรวงคมนาคม (นายอธริ ัฐ รตั น เศรษฐ) การแก้ไขปญั หาฝุ่นละออง นายอคั รเดช วงษ์พทิ ักษ์ รฐั มนตรีว่าการ รฐั มนตรวี ่าการ ขนาดเล็กหรือ PM ๒.๕ ท่เี กิด โรจน์ กระทรวง กระทรวง ๔ จากการเผาอ้อยและเผาพืชตาม ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ ไรน่ า และสงิ่ แวดล้อม และสง่ิ แวดลอ้ ม (นาย วราวธุ ศลิ ปอาชา) ครัง้ ที่ กระทู้ถามแยกเฉพาะ ผถู้ าม ถาม ผ้ตู อบ รัฐมนตรีว่าการ นโยบายงดใช้ถุงพลาสติกโดย นายอคั รเดช วงษ์พทิ ักษ์ กระทรวง รฐั มนตรีว่าการ การผลกั ภาระให้กับผูบ้ รโิ ภค โรจน์ ทรัพยากรธรรมชาติ กระทรวง ๕ และส่ิงแวดลอ้ ม ทรัพยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดล้อม (นาย มาตรการแกไ้ ขปัญหาการขาด นายอัครเดช วงษ์พทิ ักษ์ รฐั มนตรวี ่าการ วราวธุ ศิลปอาชา) กระทรวงศึกษาธกิ าร ๖ แคลนครผู ู้สอนในโรงเรียน โรจน์ รฐั มนตรีวา่ การ ขนาดเล็ก นายกรฐั มนตรี กระทรวงศึกษาธกิ าร (นายณัฏฐพล ทีป การปรับปรงุ ระบบคลองสง่ น้ำ นายอคั รเดช วงษ์พทิ ักษ์ รฐั มนตรีว่าการ สวุ รรณ) กระทรวงการคลัง ๗ (คลองไส้ไก่) ทุกพื้นท่ีทวั่ โรจน์ รฐั มนตรีชว่ ยว่าการ ประเทศ รฐั มนตรวี ่าการ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการพัฒนา (นายนพิ นธ์ บญุ ญา การบังคับใช้กฎหมายการจัดต้ัง นายอคั รเดช วงษ์พิทักษ์ สงั คมและความมนั่ คง มณี) ของมนุษย์ ๘ กองทนุ สำรองเลี้ยงชีพของ โรจน์ รัฐมนตรชี ว่ ยวา่ การ บรษิ ัทขา้ มชาติ รฐั มนตรวี ่าการ กระทรวงการคลงั กระทรวงคมนาคม (นายสันติ พรอ้ ม การขยายโครงการบา้ นเพื่อท่ีอยู่ นายอัครเดช วงษ์พทิ ักษ์ พฒั น)์ อาศัยของประชาชนไปยังเมือง โรจน์ ๙ รองใหเ้ พม่ิ มากข้ึน รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการพฒั นา การจดั ตง้ั สถานีขนสง่ อำเภอ นายอคั รเดช วงษ์พิทักษ์ สังคมและความม่ันคง ของมนุษย์ (นายจุติ ๑๐ บ้านโปง่ จงั หวดั ราชบรุ ี โรจน์ ไกรฤกษ์) รัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวงคมนาคม (นายอธิรฐั รัตน

๓๒ การดำเนนิ การก่อสร้างท่า นายนรศิ ขำนรุ ักษ์ รัฐมนตรวี า่ การ เศรษฐ) ๑๑ อากาศยานพัทลุง กระทรวงคมนาคม รฐั มนตรชี ่วยว่าการ กระทรวงคมนาคม การพฒั นาพน้ื ทบี่ ึงกระจบั นายอัครเดช วงษ์พทิ ักษ์ นายกรัฐมนตรี (นายอธิรฐั รตั น ตำบลบ้านมว่ ง อำเภอบ้านโป่ง โรจน์ เศรษฐ) ๑๒ จงั หวัดราชบุรี รัฐมนตรวี า่ การ กระทรวงมหาดไทย ๑๓ ถนนเลียบชายฝ่งั ทะเลอา่ วไทย นายนรศิ ขำนุรักษ์ นายกรัฐมนตรี (พลเอก อนุพงษ์ เผ่า (มอเตอร์เวยอ์ า่ วไทย) นายกรัฐมนตรี จินดา) นายกรฐั มนตรี ๑๔ ขอขยายศูนย์อุบตั ิเหตุ นายนรศิ ขำนรุ ักษ์ รฐั มนตรีช่วยว่าการ โรงพยาบาลพทั ลุง กระทรวงคมนาคม (นายถาวร เสนเนยี ม) ๑๕ ถนนเลียบชายฝง่ั ทะเล นายนรศิ ขำนุรกั ษ์ รฐั มนตรชี ่วยว่าการ อ่าวไทย (มอเตอรเ์ วย์ กระทรวงสาธารณสุข อ่าวไทย) (นายสาธิต ปติ ุเตชะ) รฐั มนตรชี ว่ ยวา่ การ กระทรวงคมนาคม (นายถาวร เสนเนยี ม) ๑๖ การออกเอกสารสิทธใิ นที่ดินทำ นายประกอบ รัตนพนั ธ์ นายกรฐั มนตรี รฐั มนตรชี ่วยว่าการ กิน กระทรวงมหาดไทย (นายนิพนธ์ บุญญา มณ)ี ๑๗ ปัญหาการเขา้ ซ้อื กิจการ ศาสตราจารยก์ นก วงษ์ รัฐมนตรีว่าการ รัฐมนตรวี ่าการ มหาวิทยาลยั เอกชนของไทย ตระหง่าน กระทรวงการ กระทรวงการ อุดมศึกษา อุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและ วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และ นวัตกรรม นวัตกรรม (นายสวุ ิทย์ เมษินทรีย์) ๑๘ โครงการก่อสร้างรถไฟทางสาย นายนรศิ ขำนุรักษ์ รฐั มนตรีว่าการ รัฐมนตรีช่วยว่าการ คู่ กรุงเทพมหานคร - ปาดังเบ ซาร์ กระทรวงคมนาคม กระทรวงคมนาคม ๑๙ สรา้ งเขือ่ นกน้ั กลางแม่น้ำแม่ นายอัครเดช วงษ์พิทักษ์ (นายถาวร เสนเนยี ม) กลองในบรเิ วณพน้ื ที่ ตำบลสวน โรจน์ กล้วย อำเภอบ้านโป่ง จังหวัด รัฐมนตรวี ่าการ รัฐมนตรชี ่วยว่าการ กระทรวงเกษตรและ กระทรวงเกษตรฯ สหกรณ์ (นายประภตั ร โพธสุ

๓๓ ราชบุรี นายกรัฐมนตรี ธน) รฐั มนตรปี ระจำสำนกั ๒๐ การปอ้ งกันการสรา้ งความ พลตำรวจตรี สุรนิ ทร์ ปา รัฐมนตรีวา่ การ นายกรฐั มนตรี (นาย ขดั แย้งอนั เกิดจากการบิดเบอื น ลาเร่ กระทรวงมหาดไทย เทวัญ ลปิ ตพัลลภ) ขอ้ เทจ็ จริงทางศาสนา รัฐมนตรีช่วยวา่ การ รฐั มนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทย ๒๑ ปญั หาความลา่ ช้าในการกำหนด นายวิวรรธน์ นิลวชั รมณี กระทรวงเกษตรและ (นายนพิ นธ์ บญุ ญา ขอบเขตท่สี าธารณประโยชนป์ า่ สหกรณ์ มณี) ทุ่งโคกเงย ตำบลพลายวาส รัฐมนตรีว่าการ อำเภอกาญจนดิษฐ์ จงั หวัดสุ กระทรวงการคลัง รฐั มนตรชี ว่ ยว่าการ ราษฎร์ธานี กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ (นายประ ๒๒ การจัดทำระบบชลประทาน นายอัครเดช วงษ์พทิ กั ษ์ ภัตร โพธสุธน) และสร้างอา่ งเก็บน้ำให้กบั โรจน์ รฐั มนตรีช่วยวา่ การ ประชาชนในพ้ืนท่ีตำบลเขาขลุง กระทรวงการคลัง อำเภอบา้ นโป่ง จงั หวัดราชบุรี (นายสนั ติ พรอ้ ม พัฒน)์ ๒๓ การบงั คบั ใช้กฎหมายการจดั ตง้ั นายอคั รเดช วงษ์พทิ กั ษ์ กองทนุ สำรองเล้ยี งชีพของ โรจน์ บริษัทข้ามชาติ เร่ืองด่วน ญัตติด่วน คร้ังท่ี ญตั ตดิ ว่ น ผ้เู สนอ ขอใหส้ ภาผแู้ ทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศกึ ษา นายสาคร เกี่ยวขอ้ ง ๑ แผนการใช้น้ำมันปาล์ม (ปาล์มดเี ซล) เปน็ พลงั งานทดแทนอย่างสมดลุ และยง่ั ยนื ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตัง้ คณะกรรมาธิการวสิ ามญั เพื่อพจิ ารณาดำเนิน นายธีรภทั ร พร้งิ ศลุ กะ ๒ การศกึ ษาผลกระทบท่ีมีต่อผปู้ ระกอบอาชีพประมงขนาดกลางและขนาด เล็กจากมาตรการแก้ไขปัญหาการทำประมงของรฐั บาล ขอให้สภาผู้แทนราษฎรต้งั คณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาศึกษา ศาสตราจารยก์ นก วงษ์ ๓ ปรับปรุงหลกั สูตรการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษาให้สอดคล้องกบั ตระหง่าน ความต้องการของตลาดแรงงานในปจั จบุ นั ๔ ขอให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาศึกษาแนวทางการดำเนนิ การ นางสาวพิมพ์ภัทรา วิชยั กลุ แกป้ ัญหาคลืน่ ทะเลกดั เซาะชายฝั่งอย่างเปน็ ระบบและย่งั ยืน นายนรศิ ขำนรุ กั ษ์ ๕ ขอให้ต้ังคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการดำเนินการ นางสาวพิมพภ์ ัทรา วิชยั กุล พัฒนาการทอ่ งเที่ยวของภาคใต้ ๖ ขอให้ตั้งคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั เพื่อศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ไข นายอสิ สระ สมชัย ปญั หายาเสพตดิ ทก่ี ำลงั ระบาดอย่างรนุ แรง นายสทุ ัศน์ เงนิ หมื่น ๗ ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อศึกษาเรื่องแนว นายสาคร เกีย่ วข้อง

๓๔ ทางการยา้ ยเรือนจำออกจากเขตชมุ ชนเมือง ขอให้สภาผู้แทนราษฎรต้ังคณะกรรมาธิการวสิ ามญั ติดตาม ตรวจสอบ นายสาทติ ย์ วงศ์หนองเตย การใชจ้ า่ ยเงินจากการกู้เงินตามพระราชกำหนดให้อำนาจ ๘ กระทรวงการคลงั กู้เงนิ เพ่ือแก้ไขปัญหา เยียวยาและฟื้นฟูเศรษฐกิจและ สังคมท่ีไดร้ ับผลกระทบ จากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ขอใหส้ ภาผแู้ ทนราษฎรต้ังคณะกรรมาธิการวสิ ามัญพจิ ารณาศึกษา นายองอาจ คล้ามไพบูลย์ ๙ ปญั หาการบงั คบั ใช้ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร กรณคี ่าใช้จา่ ยเกยี่ วกับ การพัฒนาทรพั ย์สินทปี่ ระชาชนทว่ั ไปใช้สอยร่วมกันในพนื้ ที่สว่ นบุคคล ๑๐ ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเปดิ พ้ืนที่ให้ นายอสิ ระ เสรีวัฒนวุฒิ นกั เรยี น นสิ ิต นักศกึ ษา เข้ามามสี ่วนชนร่วมโดยตรงกบั สภา ผู้แทนราษฎรในการแก้ไขปญั หาความไม่เป็นธรรมในสงั คม ๑๑ ขอใหส้ ภาผแู้ ทนราษฎรพจิ ารณาศกึ ษาและเรง่ แกไ้ ขปัญหาความเส่ียงต่อ นายบญั ญตั ิ เจตนจนั ทร์ การแพร่ระบาดระลอกสองของไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิค-19) กรณี ทหารอยี ิปตเ์ ดนิ ทางมาพักทจ่ี ังหวัดระยอง ตรวจพบการติดเชื้อไวรัสโคโร นา ๒๐๑๙ (โควคิ -๑๙) ซ่งึ ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคม เพื่อส่ง ตอ่ ใหร้ ฐั บาลแก้ไขปัญหาอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ๑๒ ขอให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญเพ่ือศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ไข นายอิสสระ สมชัย ปญั หายาเสพติดท่ีกำลังระบาดอยา่ งรนุ แรง นายสทุ ัศน์ เงินหมืน่ ๑๓ ขอให้สภาผแู้ ทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวสิ ามัญพจิ ารณาศึกษาแนว นายชัยชนะ เดชเดโช ทางการจัดการตนเองอย่างเป็นอิสระขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ินทกุ รูปแบบ ๑๔ ขอใหส้ ภาผแู้ ทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาศึกษาการ นายอคั รเดช วงษ์พิทักษ์โรจน์ ปรับปรงุ แบบฟอร์มการจดทะเบียนในหนงั สอื บริคณหส์ นธิ ๑๕ ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณาการจดั นายอัครเดช วงษ์พิทกั ษ์โรจน์ ระเบยี บสายไฟฟ้า ๑๖ ขอใหส้ ภาผู้แทนราษฎรต้งั คณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณาศกึ ษาการ นายสาคร เกยี่ วขอ้ ง จดั ตั้งกองทนุ สงเคราะห์การทำสวนปาลม์ น้ำมันแหง่ ประเทศไทย ๑๗ ขอให้สภาผูแ้ ทนราษฎรตัง้ คณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาศึกษาการ นายสาคร เกี่ยวข้อง จัดต้ังกองทนุ สงเคราะห์การทำสวนปาลม์ น้ำมนั แหง่ ประเทศไทย ๑๘ ขอให้สภาผู้แทนราษฎรต้งั คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพจิ ารณาปญั หา นายสาคร เกยี่ วขอ้ ง ประชาชนบุกรุกพื้นท่สี วนปาลม์ นำ้ มันที่หมดอายสุ มั ปทานในพนื้ ทภ่ี าคใต้ ๑๙ ขอให้สภาผู้แทนราษฎรต้งั คณะกรรมาธิการวิสามัญเพ่ือศึกษาความ นายธีรภทั ร พริง้ ศุลกะ เป็นไปได้ในการจดั ทำโครงการก่อสร้างทางหลวงพเิ ศษระหว่างเมือง (มอเตอร์เวย์) สายเพชรบุรี-สไุ หงโก-ลก ๒๐ ขอให้ตั้งคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพจิ ารณาศึกษาอนุรักษส์ ่ิงแวดล้อมทาง นางสาวสณุ ฐั ชา โล่สถาพรพิพิธ ทะเลอย่างเปน็ ระบบและยงั่ ยืน

๓๕ ๒๑ ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตัง้ คณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณาศึกษา นายบัญญัติ เจตนจันทร์ แกป้ ัญหาชา้ งป่าเพ่มิ จำนวนบุกรกุ ท่ีทำกนิ ของเกษตรกรและเยยี วยา ผลกระทบอย่างยง่ั ยนื ๒๒ ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศกึ ษา นางสาวรังสิมา รอดรศั มี ผลกระทบและแก้ไขปัญหาอันเกดิ จากการขนสง่ และจัดเก็บสนิ ค้าของ ทา่ เรือ ๒๓ ขอใหส้ ภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณาศกึ ษาการ นางสาวรังสมิ า รอดรศั มี บริหารจดั การมูลสุกรและนำ้ เสยี จากฟาร์มสุกร ๒๔ ขอให้สภาผแู้ ทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษา นายสาคร เกยี่ วขอ้ ง โครงสร้างราคาปาล์มน้ำมันเพื่อแก้ไขปัญหาราคาปาล์มน้ำมันใหเ้ ป็น ระบบและยั่งยนื ๒๕ ขอใหส้ ภาผูแ้ ทนราษฎรตงั้ คณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณาศึกษา นายองอาจ คล้ามไพบูลย์ แนวทางแกป้ ัญหาความยากจนและลดความเหล่ือมลำ้ ในสังคมไทย ๒๖ ขอใหส้ ภาผู้แทนราษฎรต้งั คณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณาศกึ ษาหา นายองอาจ คล้ามไพบูลย์ แนวทางการส่งเสริมการอ่านในประเทศไทย ๒๗ ขอให้สภาผูแ้ ทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาศึกษา นายองอาจ คล้ามไพบลู ย์ แกป้ ัญหาทจุ ริตคอร์รัปชัน ๒๘ ขอให้สภาผแู้ ทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณาศกึ ษาแนว นายนรศิ ขำนรุ ักษ์ ทางการแก้ไขปญั หาและการพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วของประเทศไทย นายอัครเดช วงษ์พทิ กั ษ์โรจน์ ๒๙ ขอใหส้ ภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาศึกษา นายนริศ ขำนุรกั ษ์ ปญั หาและแนวทางการแก้ไขปัญหาแชรล์ ูกโซ่ และปญั หาหนน้ี อกระบบ นายอคั รเดช วงษ์พิทักษ์โรจน์ ๓๐ ขอให้สภาผแู้ ทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวสิ ามัญพจิ ารณาศึกษาแนว นายนรศิ ขำนรุ ักษ์ ทางการแกไ้ ขปัญหายาเสพติดอยา่ งยั่งยืน นายอัครเดช วงษ์พิทกั ษ์โรจน์ ๓๑ ขอให้สภาผแู้ ทนราษฎรต้ังคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการ นายนรศิ ขำนุรักษ์ ปรบั ปรงุ การบริหารงานราชทัณฑ์ของประเทศ นายอคั รเดช วงษ์พทิ กั ษ์โรจน์ ๓๒ ขอให้สภาผแู้ ทนราษฎรต้งั คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาศกึ ษาแนว นายอคั รเดช วงษ์พิทกั ษโ์ รจน์ ทางการปฏิรูประบบราชการ ๓๓ ขอใหส้ ภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการ นายพิสฐิ ล้ีอาธรรม ปรับปรงุ หลักสูตรการเรยี นการสอนในสถาบนั อุดมศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกับ นโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ ๓๔ ขอใหส้ ภาผูแ้ ทนราษฎรพจิ ารณาศกึ ษาการถอดบทเรียนกรณีการเกิด นายอัครเดช วงษ์พทิ ักษโ์ รจน์ เหตกุ ารณ์กราดยงิ ทจี่ ังหวัดนครราชสีมา กบั คณะ ๓๕ ขอให้สภาผ้แู ทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณาศึกษา นายพสิ ฐิ ล้อี าธรรม เก่ยี วกบั การเกบ็ ข้อมลู ชีวมาตรส่วนบุคคล ๓๖ ขอใหส้ ภาผูแ้ ทนราษฎรต้ังคณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาศึกษา นายนริศ ขำนุรกั ษ์ ปญั หาและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลและชายฝ่ังของประเทศ ๓๗ ขอใหส้ ภาผู้แทนราษฎรตง้ั คณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณาศกึ ษา นายนริศ ขำนุรักษ์

๓๖ ปัญหาและการพัฒนาการปศุสัตว์ของประเทศ ๓๘ ขอให้สภาผแู้ ทนราษฎรตัง้ คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาศึกษา นายนริศ ขำนรุ ักษ์ ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการประมงของประเทศ ๓๙ ขอใหส้ ภาผ้แู ทนราษฎรต้ังคณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาศกึ ษา นายธีรภทั ร พริ้งศุลกะ เสน้ ทางรถไฟจากจังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี ไปยังจงั หวัดพังงา ๔๐ ขอใหส้ ภาผูแ้ ทนราษฎรต้ังคณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาศกึ ษาแนว นายพสิ ฐิ ลี้อาธรรม ทางการแกไ้ ขปญั หาความเดือดร้อนอนั เกดิ จากลิงที่อาศัยอย่ใู นบริเวณ นางสาวพมิ พร์ พี พันธวุ์ ิชาติกุล ชุมชน สถานทที่ ่องเท่ียวและพ้ืนท่เี กษตรกรรมอย่างยัง่ ยนื ๔๑ ขอให้สภาผู้แทนราษฎรต้ังคณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาศกึ ษาความ นายพิสิฐ ลี้อาธรรม เปน็ ไปได้ในการริเริ่มโครงการแกม้ ลิงในอา่ วไทย นางสาวรงั สิมา รอดรศั มี ๔๒ ขอใหส้ ภาผู้แทนราษฎรตง้ั คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแก้ไข นายบัญญัติ เจตนจนั ทร์ ปญั หาภยั แล้งและน้ำท่วมด้วยการสร้างแก้มลิงในทุกหมบู่ า้ นและการทำ นายอคั รเดช วงษ์พทิ กั ษ์โรจน์ ธนาคารนำ้ ใตด้ นิ ๔๓ ขอให้สภาผแู้ ทนราษฎรต้ังคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณาศกึ ษาแก้ไข นายบัญญัติ เจตนจนั ทร์ ปรับปรุงระเบยี บและกฎหมายวา่ ดว้ ยการเร่ียไร ๔๔ ขอใหส้ ภาผู้แทนราษฎรตง้ั คณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณาศกึ ษาแนว นายประกอบ รตั นพันธ์ ทางการบริหารจดั การหน้สี นิ ครู ๔๕ ขอให้สภาผแู้ ทนราษฎรตัง้ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศกึ ษาการ นายอคั รเดช วงษ์พทิ ักษโ์ รจน์ นำเชอื้ เพลิงก๊าซธรรมชาตสิ ำหรบั ยานยนต์ (NGV) มาใช้ เพ่อื ลดปญั หา ฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM ๒.๕ ภายในระยะเวลา ๑ ปี ๔๖ ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามญั ศึกษาสถานท่ี นายเทพไท เสนพงศ์ กอ่ สรา้ งศนู ย์ราชการแห่งใหม่ ๔๗ ขอใหส้ ภาผู้แทนราษฎรต้ังคณะกรรมาธิการวสิ ามญั เพ่ือพิจารณาศกึ ษา นายบัญญัติ เจตนจันทร์ การสง่ เสริมและพัฒนาจากการทำการเกษตรเคมไี ปสู่การทำการเกษตร อนิ ทรยี ์อย่างเป็นระบบครบวงจรด้วยความยง่ั ยืน ๔๘ ขอให้สภาผ้แู ทนราษฎรต้ังคณะกรรมาธิการวสิ ามัญเพื่อพิจารณาศกึ ษา นายบญั ญตั ิ เจตนจนั ทร์ การส่งเสริมและพฒั นาการเล้ียงโคเนอ้ื คุณภาพสงู เพื่อการบรโิ ภค ภายในประเทศและเพื่อการส่งออกอย่างเปน็ ระบบครบวงจร ๔๙ ขอให้สภาผู้แทนราษฎรต้ังคณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณาศกึ ษาความ นายธีรภทั ร พรง้ิ ศลุ กะ เหมาะสมการผลิตไบโอดีเซลจากปาล์มนำ้ มัน เปน็ พลงั งานทดแทนอย่าง สมดุลและย่ังยืน ๕๐ ขอใหส้ ภาผู้แทนราษฎรตง้ั คณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณาศึกษาและ นายธรี ภทั ร พริ้งศลุ กะ แก้ไขปญั หาท่ดี ินทำกนิ ในพนื้ ท่ีอำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ๕๑ ขอใหส้ ภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณาศกึ ษายก นายประกอบ รัตนพันธ์ ฐานะสำนกั สงฆเ์ ป็นวัดอย่างเปน็ ระบบครอบคลมุ ทวั่ ประเทศ ๕๒ ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตง้ั คณะกรรมาธิการวิสามญั เพื่อพจิ ารณาศึกษา นายอคั รเดช วงษ์พิทกั ษโ์ รจน์ และหามาตรการควบคุมการครอบครองอาวุธปืน

๓๗ ๕๓ ขอให้สภาผแู้ ทนราษฎรตัง้ คณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณาศึกษาหา นายพสิ ิฐ ล้อี าธรรม แนวทางแก้ไขสร้างความย่งั ยืนให้กับกองทนุ ประกันสังคมกรณชี ราภาพ ๕๔ ขอใหส้ ภาผแู้ ทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาศึกษา นายพิสิฐ ลอี้ าธรรม ปญั หาและแนวทางให้มรี ะบบคุม้ ครองหลกั ประกันทางสังคมจากการ ทำงานของแรงงานนอกระบบ ๕๕ ขอใหส้ ภาผู้แทนราษฎรต้งั คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาเปิดพ้ืนที่ให้ นายอิสระ เสรวี ัฒนวฒุ ิ นกั เรยี น นสิ ติ นกั ศึกษาเข้ามามสี ว่ นร่วมโดยตรงกับสภาผู้แทนราษฎรใน การแก้ไขปญั หาความไมเ่ ป็นธรรมในสงั คม ท้งั นี้ ขอใหพ้ ี่น้องประชาชนตดิ ตามกจิ กรรมและผลงานของพรรคประชาธิปัตย์ท่ีดำเนนิ การอย่างต่อเนอื่ ง ตดิ ตามขา่ วสารเพ่ิมเติมได้ที่ Facebook:Democrat Party, Thailand Instagram : Democratparty.th Twitter : @democratTH YouTube : พรรคประชาธิปัตย์ Democrat Party, Thailand #DemocratPartyTH #พรรคประชาธิปัตย์ ลงชือ่ ( นายจรุ ินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ ) หัวหนา้ พรรคประชาธิปตั ย์

๓๘ เอกสารแนบทา้ ย
























Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook