Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบบริหารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม

ระบบบริหารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม

Description: ระบบบริหารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม

Search

Read the Text Version

Brunei Darussalam) และถอื เปน็ ปกี ด้านธุรกจิ (Business Wing) ของ สถานศกึ ษาดงั กลา่ ว ILIA เป็นสถาบันแหง่ แรกและแห่งเดียวในประเทศ บรูไนดารุสซาลามท่ีรับผิดชอบการพัฒนาผู้น�ำและนวัตกรรมเป็นการ เฉพาะ โดยมีความมุง่ หมายที่จะเปน็ ศนู ยร์ วมการศกึ ษาวจิ ยั และการฝกึ อบรม เพอ่ื ประโยชนส์ �ำหรบั การเตรยี มความพรอ้ มตอ่ การเผชญิ หนา้ กบั ทุกปจั จัยทีท่ ้าทายและมผี ลกระทบตอ่ การพัฒนาประเทศ  โดยเนน้ การ สร้างผู้น�ำและนวัตกรรม ที่มีความเข้าใจถึงวัฒนธรรมของการยกระดับ วิวัฒนาการและการเปล่ียนแปลง ซึ่งมีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งต่อการ สนบั สนนุ ความเจรญิ กา้ วหนา้ การพฒั นาสงั คม รวมทงั้ การสรา้ งเครอื ขา่ ย ความรว่ มมอื ระหว่างภาครฐั ภาคธรุ กจิ ภาควชิ าการ และภาคสังคม ใน การก�ำหนดและใช้ประโยชน์จากวิธีการและช่องทางการท�ำงานร่วมกัน เพอื่ การพัฒนาประเทศ นอกจากนี้ ยงั เนน้ ถึงการสร้างผนู้ �ำทีม่ ีวฒุ ิภาวะ ท่สี ามารถแกป้ ัญหา ได้ในทุกบริบท ทั้งตระหนักถึงความส�ำคัญของภาวะผู้น�ำซ่ึงเป็นปัจจัย ส�ำคญั ในการขบั เคลอื่ นองคก์ ารและสถานการณท์ างสงั คม  ซงึ่ ตอ้ งเขา้ ใจ ว่ามีวิธีการท่ีหลากหลายในการแก้ไขปัญหาและเผชิญหน้ากับความ ทา้ ทาย ปัจจุบัน สถาบันเพื่อการสร้างผู้น�ำ นวัตกรรม และความก้าวหน้า (Institute for Leadership, Innovation and Advancement–ILIA) มี Dr. Azaharaini Hj Mohd Jamil ซึ่งเป็นอดีตผูอ้ �ำนวยการสถาบนั พฒั นาขา้ ราชการพลเรอื น (CSI) เปน็ ผอู้ �ำนวยการสถาบนั   ซง่ึ การแตง่ ตง้ั Dr. Azaharaini Hj Mohd Jamil นส้ี ะทอ้ นให้เห็นถงึ ความต่อเนือ่ งใน การพฒั นาขา้ ราชการของประเทศบรไู นดารสุ ซาลาม  ทค่ี ดั สรรบคุ คลเขา้ มา ระบบบริหารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม I 149

ท�ำหนา้ ทบ่ี รหิ ารหนว่ ยงาน ILIA  โดยคดั เลอื กจากผมู้ ปี ระสบการณส์ งู ใน วชิ าชีพการพฒั นาและฝกึ อบรม และดว้ ยสมมตุ ิฐานทวี่ ่า “บทบาทผนู้ �ำ ควรมอี ยใู่ นทกุ ๆที่ (Leader role should be everywhere)” การพฒั นา ผู้น�ำของ ILIA  จึงมิได้จ�ำกัดเฉพาะผู้บริหารระดับสูงเท่าน้ัน แต่ยังจัด โปรแกรมพัฒนาผู้บริหารส�ำหรับเจ้าหน้าท่ีบริหารจัดการระดับต้น (Ex- ecutive Development Program for Junior Management Staff) โปรแกรมพัฒนาผู้บริหารส�ำหรับเจ้าหน้าท่ีบริหารจัดการระดับกลาง (Executive Development Program for Middle Management Offices) และโปรแกรมพัฒนาผู้บริหารส�ำหรับเจ้าหน้าท่ีบริหารจัดการ ระดับสงู (Executive Development Program for Senior Govern- -- I taftfl WIMM.1' ii 1A C— I \\(— A -w .S2V A 150 *\"rS * ST. |7TV%> A

ment Officers) รวมทง้ั การพฒั นาหลกั สตู รฝกึ อบรมอน่ื ทจ่ี �ำเปน็ ส�ำหรบั ผ้นู �ำ อาทิ การเจรจาต่อรอง และการบรหิ ารความขดั แยง้ รวมถึงบรบิ ท ของการพัฒนาผ้นู �ำในภาพรวม ฯลฯ ในส่วนรูปแบบการฝกึ อบรมส�ำหรับผู้น�ำระดบั สูงของ ILIA จะเน้นที่ การใช้ แบบทดสอบโดยการจ�ำลองสถานการณ์ในอนาคตเปน็ หลัก เพื่อ คาดการณ์อนาคตและใช้เป็นต้นแบบในการวางแผนงานและเตรียมคน ไวล้ ่วงหนา้ แมว้ ่าประเทศบรไู นดารุสซาลามจะเปน็ ประเทศที่ร�่ำรวย ประชาชน มฐี านะความเปน็ อยทู่ ม่ี น่ั คง ไมเ่ ดอื ดรอ้ นในการครองชพี เนอ่ื งจากไดร้ บั สวัสดิการจากรัฐอย่างเต็มที่ อันเป็นผลมาจากความอุดมสมบูรณ์ของ นำ�้ มันและทรพั ยากรธรรมชาติ แตร่ ฐั บาลก็ตระหนักและให้ความส�ำคญั ต่อการเตรียมความพร้อม หากประเทศจะต้องประสบกับวิกฤตหรือ สถานการณ์ท่ีไม่คาดฝัน  หรือสถานการณ์ที่ท�ำให้ประเทศตกต�่ำ  อาทิ การบรหิ ารประเทศในภาวะทเี่ กดิ การขาดแคลนทรพั ยากรธรรมชาติ หรอื ความท้าทายในการบริหารก�ำลังคนที่ไม่คุ้นเคยกับการท�ำงานท่ามกลาง การตอ่ ส้แู ข่งขนั และด้วยการคาดการณด์ งั กล่าว ILIA จึงเน้นท่ีการสร้าง ความท้าทาย หรือสร้างสถานการณ์จ�ำลองเพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ ร่วมกันคิด แก้ปัญหา หรือหาทางป้องกันสถานการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้น ดว้ ยวธิ กี ารใชแ้ บบทดสอบโดยการจ�ำลองสถานการณใ์ นอนาคตมากกวา่ ท่ี จะใชว้ ธิ กี ารอบรมในหอ้ งเรยี นทว่ั ไป  ILIA  ไมเ่ นน้ การฝกึ อบรมในชน้ั เรยี น แตเ่ นน้ ทก่ี ารกระตนุ้ ความคดิ และการวางแผน และดว้ ยความเปน็ ประเทศ ท่ีมีอ�ำนาจในการใช้จ่าย  ILIA จึงสามารถจัดประชุมด้านการเรียนรู้ (Learning Forum) โดยเชิญกูรูระดับโลกมาเป็นผู้บรรยายให้แก่ ระบบบริหารราชการของเนการา บรไู น ดารสุ ซาลาม I 151

ข้าราชการไดอ้ ยา่ งสมำ่� เสมอ รวมท้งั ยังท�ำลายก�ำแพงกีดขวางระหว่าง ภาครฐั และเอกชน ดว้ ยการเปดิ โอกาสใหผ้ นู้ �ำองคก์ ารทงั้ ของภาครฐั และ เอกชนเขา้ มารว่ มรบั การอบรมรว่ มกนั ในทกุ หลกั สตู ร เพราะ ILIA เชอื่ มน่ั วา่ เครอื ขา่ ยเปน็ อกี หนง่ึ ปจั จยั ของความส�ำเรจ็ ในการบรหิ ารงานของผนู้ �ำ ทุกระดับ การเข้าฝึกอบรมในหลักสูตรผู้น�ำของ ILIA ถือเป็นการได้ ประโยชนร์ ว่ มกนั ระหวา่ งผเู้ ขา้ รว่ มอบรมและสถาบนั การฝกึ อบรม กลา่ ว คอื   หากผเู้ ขา้ รบั การอบรมมปี ญั หาหรอื มกี รณศี กึ ษาในหนว่ ยงานของตน กส็ ามารถน�ำมาเปน็ ประเดน็ วเิ คราะหห์ รอื ใชเ้ ปน็ กรณศี กึ ษาในชน้ั เรยี นได้ ท�ำใหห้ นว่ ยงานผเู้ รยี นไมต่ อ้ งจา้ งทปี่ รกึ ษาเพอ่ื แนะน�ำหรอื แกป้ ญั หา  อกี ทงั้ ผจู้ ดั การฝกึ อบรมกไ็ ดก้ รณศี กึ ษาของหนว่ ยงานนนั้ เปน็ วตั ถดุ บิ ในการ พฒั นาผนู้ �ำรนุ่ ตอ่ ไป  ซงึ่ ถอื เปน็ การสรา้ งองคค์ วามรทู้ ไ่ี ดป้ ระโยชนร์ ว่ มกนั จากการด�ำเนินการข้างต้นจะเห็นได้ว่า ILIA นั้นมีบทบาทและความรับ ผดิ ชอบโดยตรงตอ่ การพฒั นาผนู้ �ำ  และการท�ำงานวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพ  โดยมี จดุ เนน้ ทก่ี ารแสวงหาความกา้ วหนา้ ทางวชิ าการในประเดน็ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การพฒั นาความเปน็ ผนู้ �ำ นวตั กรรม  ความรบั ผดิ ชอบ  รวมทง้ั สง่ เสรมิ และ เผยแพรค่ วามรดู้ งั กลา่ วในการพฒั นาผนู้ �ำทโี่ ดดเดน่ ทง้ั ในภาครฐั   เอกชน และสังคม  อีกท้ัง  ILIA ให้บริการทั้งการจัดหลักสูตรฝึกอบรม  การจัด ประชุมทางวิชาการ และการให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำแก่ส่วนราชการและ หนว่ ยงานเอกชน โดยเปน็ อกี หนง่ึ หนว่ ยงานหลกั ทเ่ี ขา้ มามบี ทบาทส�ำคญั ในการพัฒนาประเทศบรูไนดารุสซาลาม และมีเป้าหมายว่าจะขยาย บทบาทความส�ำคญั ออกไปในระดบั ภูมภิ าค โดยเฉพาะอย่างย่งิ การเปน็ สะพานหรือตวั เชือ่ มโยงการยกระดับสถานะของมหาวิทยาลัย และการ พฒั นาผู้น�ำในระดบั ชาตแิ ละระดับโลก u152 r$ * sr

t . >S«;ÿ X.- #« » ' ifi #*uJ f i |f ...... ( , \"ST (| -'mimmiiiimmmmimii Bfi I Li, I II » r iHii # ®Sffi jftil>fc (ÿ > l» HgiMl v i> !ri ll 30*4 > ระบบบริหารราชการของเนการา บรูไน ดารสุ ซาลาม 153

3. ศูนยน์ วัตกรรมวิธีการบรหิ ารจดั การภาครฐั สมัยใหม่ (e-Government Innovation Centre)[12] eG.InC  ศนู ยน์ ถี้ กู สรา้ งขนึ้ ตามอนสุ ญั ญาหลวงพระบาง หรอื  “Luang Prabang Joint Declaration” ทบี่ รไู นรบั เปน็ เจา้ ภาพในการจดั ตงั้ ศนู ยน์ วตั กรรม วิธีการบริหารจัดการภาครัฐสมัยใหม่ (e-Government Innovation Centre) หรือ eG.InC เพ่ือสร้างขีดความสามารถของมนุษย์ในด้าน เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร (ICT) และใหค้ �ำปรกึ ษาทเ่ี หมาะสม แก่รัฐบาลในการพัฒนาไปสู่รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์อย่างเต็มรูปแบบของ ประเทศในกล่มุ อาเซียน ศูนย์นวัตกรรม eG.InC ถูกก�ำหนดโดยรัฐบาลบรูไนให้เป็นอีกหน่ึง หนว่ ยงานภายใตส้ งั กดั ของมหาวทิ ยาลยั บรไู น (UBD: Universiti Brunei Darussalam) เพอ่ื รองรบั การสง่ เสรมิ นวตั กรรม e-Government ของ ประเทศผา่ นชอ่ งทางการวิจัยและการศึกษา โดยเน้นท่ี 3 องค์ประกอบ ซึ่งเก่ียวข้องโดยตรงกับงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ได้แก่ งานวจิ ัย งานฝกึ อบรม และงานสมั มนา โดย eG.InC มเี ป้าหมาย ในการด�ำเนินการเพื่อน�ำประเทศไปสู่การเป็นรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ที่มี ประสิทธิภาพ การด�ำเนินงานของศนู ย์นวัตกรรม eG.InC ครอบคลุมท้ัง การตรวจสอบโปรแกรม การประเมนิ ผลโปรแกรม การปรับปรุงโปรแกรม เพอ่ื พัฒนางานให้เดินหน้าอยา่ งต่อเนื่อง ท้งั ยงั มหี นา้ ทใี่ นการใหข้ อ้ เสนอแนะหรอื ชน้ี �ำทศิ ทางส�ำหรบั อนาคต โดยน�ำ เสนอในรปู ของแผนกลยทุ ธส์ �ำหรบั รฐั บาลอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และเสนอแนะ รูปแบบการด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ เพื่อส่งเสริมให้บรรลุเป้าหมายในการ เป็นรฐั บาลอเิ ล็กทรอนกิ สอ์ ย่างชดั เจน u154 r$ * sr

ศนู ยน์ วตั กรรม eG.InC เปน็ หนว่ ยงานขนาดเลก็ ทบี่ รหิ ารจดั การและ ด�ำเนินงานด้วยคนรุ่นใหม่ มีความคล่องตัวสูงทั้งในเชิงการบริหารงาน และกายภาพ แมจ้ ะมอี ายเุ พยี ง 2 ปหี ลงั จากการกอ่ ตง้ั ในเดอื น มถิ นุ ายน พ.ศ. 2554 แต่ก็เป็นหน่วยงานท่มี ีศกั ยภาพในการผลักดันงานใหญข่ อง ประเทศใหป้ ระสบความส�ำเรจ็ ตามวสิ ยั ทศั น์ “เปน็ ผนู้ �ำระดบั โลกเพอ่ื การ พฒั นาอย่างยง่ั ยืนของสังคมสารสนเทศ” ศูนย์นวัตกรรม eG.InC เปิดได้ให้บริการด้านการศึกษาวิจัยท่ีเก่ียวข้อง กับ e-Government ผ่านการสร้างฐานความรู้ที่ครอบคลุม กว้างขวาง และเครอื ขา่ ยของผเู้ ชยี่ วชาญ ทงั้ สง่ เสรมิ ความรว่ มมอื รฐั บาลอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ระหวา่ งประเทศและระดบั ภมู ภิ าค และมสี ว่ นรว่ มในการด�ำเนนิ การของ รัฐบาลอเิ ล็กทรอนิกส์ทป่ี ระสบความส�ำเรจ็ ดว้ ยกลไกการฝึกอบรม และ ให้ความรู้แกบ่ คุ ลากรภาครัฐ ภาคอุตสาหกรรม และภาคประชาชน อกี ทั้งยังให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับทิศทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ และการประเมินผลนโยบาย e-Government รวมท้ังการพัฒนา โปรแกรมตา่ ง ๆ ซ่ึงการด�ำเนนิ งานจนประสบความส�ำเร็จน้ี ท�ำให้ศูนย์ นวตั กรรม eG.InC ไดร้ บั การเสนอชอ่ื ใหเ้ ปน็ หนว่ ยงานดเี ดน่ เพอ่ื รบั รางวลั FutureGov Awards ในปี พ.ศ. 2554 รวม 3 ดา้ น คอื “กระบวนการ บรหิ ารงานดเี ดน่ ” “ผนู้ �ำดา้ นเทคโนโลย”ี  และ “การสรา้ งความมสี ว่ นรว่ ม กบั ประชาชน” และเมอื่ ปี พ.ศ. 2555  สามารถคว้ารางวัลองค์การดีเดน่ ด้าน “การสร้างความมีส่วนร่วมกับประชาชน” จากการประชุม Asia Pacific FutureGov Awards and Summit 2012 ที่จัดขึน้ ณ จังหวัด เชยี งใหม่ ประเทศไทย ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรไู น ดารุสซาลาม I 155

-2X T 5 9K -•-r,f 9 1 Lv ,v 'v :-••: • p y} A; ...ahfc?3 a isS® , A, BSf * Kb| AS. นอกจากศูนย์นวัตกรรม eG.InC จะจัดการฝึกอบรมเพ่ือสร้างผู้น�ำ และบริหารการเปล่ียนแปลง (Change Agent) ให้แก่ส่วนราชการแล้ว ยังวางแผนการท�ำงานในเชิงรุกด้วยการออกไปพบกับหน่วยงานและ ชุมชนตา่ งๆ เพือ่ ขอรบั ทราบประเดน็ ท่เี ป็นปัญหา และให้การสนบั สนนุ ที่เหมาะสมแก่หน่วยงานหรือชุมชนดังกล่าว เพื่อก้าวพ้นความท้าทาย และอปุ สรรคทกี่ �ำลงั เผชญิ อยู่ แมจ้ ะเกดิ การเปลยี่ นแปลงของสงั คมเขา้ สู่ กระแส Social Media อย่างรุนแรงทัว่ โลก แตศ่ ูนยน์ วัตกรรม eG.InC ก็พร้อมรับมือต่อการเปล่ียนแปลงดังกล่าว ด้วยการบริหารงานของคน รุ่นใหมท่ ี่เขา้ ใจและเขา้ ถึง Social Media รวมทง้ั เขา้ ใจพฤติกรรมการใช้ สอ่ื สมยั ใหมข่ องประชาชน จงึ ท�ำใหก้ ารด�ำเนนิ งานเปน็ ไปไดอ้ ยา่ งราบรนื่ ศูนยน์ วตั กรรม eG.InC วางแผนจัดหลกั สูตรการฝึกอบรมเพือ่ สนบั สนุน การขับเคลื่อนภาครัฐให้เป็น e-Government ทั้งการฝึกอบรมใน หอ้ งเรยี นและการฝกึ อบรมผา่ นสอ่ื สมยั ใหมใ่ นรปู แบบของ Smart Tech- nologies to Facilitate e-Government Services ดว้ ยการประยุกต์ A*\" 3 & ifÿyv U'156 %56 *ÿ*

ตารางท่ี 6 หน่วยงานที่ดูแลการพฒั นาทรพั ยกรมนุษย์ หนว่ ยงานทส่ี �ำ คัญในการพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์ หน่วยงานราชการ สถาบนั กระทรวง และ พลเรอื น (PSD) ข้าราชการพลเรอื น (CSI) หน่วยงานรฐั บาล Long-Term Short Term Training Training Technique ทม่ี า: ฝ่ายบริการสาธารณะหรือ JPA 2011 ใหเ้ ปน็ Application ทอี่ ยบู่ นเครอ่ื งมอื สอ่ื สารในรปู แบบ Smart Phone อาทิ Tablet iPhone iPad หรอื Android เปน็ ตน้ จากการด�ำเนนิ งานทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพของศนู ยน์ วตั กรรม eG.InC และ ประสบความส�ำเร็จอย่างน่าช่ืนชมน้ี ต่างเกิดจากการร่วมมือของเครือ ขา่ ยดว้ ยศนู ยน์ วตั กรรม eG.InC ไมไ่ ดด้ �ำเนนิ งานเองในทกุ ๆกจิ กรรม แต่ ท�ำงานดว้ ยการสรา้ งเครอื ขา่ ยรว่ มกบั สถาบนั วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ข้ันสูงของเกาหลี (KAIST: Korean Advanced Institute for Science and Technology)ทที่ �ำความรว่ มมอื กบั ส�ำนกั ปลดั ส�ำนกั นายกรฐั มนตรี ในการสนับสนุนทั้งในด้านวิชาการและการบริหารจัดการจากสถาบัน อย่างใกล้ชิด มีการจัดส่งเจ้าหน้าที่เข้ารับการฝึกอบรมที่ประเทศเกาหลี อย่างต่อเน่ือง รวมท้ังการส่งผู้เชี่ยวชาญจากเกาหลีมาให้ค�ำแนะน�ำและ ท�ำหนา้ ทเี่ ปน็ ทป่ี รกึ ษา ณ ประเทศบรไู นดว้ ย ซง่ึ แผนกลยทุ ธข์ องประเทศ บรูไนวา่ ดว้ ยการเปน็ รัฐบาลอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ หรอื e-Government Stra- ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรไู น ดารสุ ซาลาม 157

ตารางท่ี 7 ผู้ที่จบการศกึ ษาทุกระดับทเ่ี ข้ารับการฝึกอบรม ปี ปรญิ ญา ปรญิ ญา บณั ฑิต ปรญิ ญา ประกาศนยี อนปุ รญิ ญา ประกาศนีย รวม เอก โท ศกึ ษา ตรี บัตรวิชาชีพ บัตร ชน้ั สูง 2006 - 64 - 131 16 159 122 492 2007 1 17 - 155 10 188 127 498 2008 - 70 - 162 8 202 126 568 2009 1 57 - 56 10 194 22 340 2010 1 149 - 79 24 239 6 498 2011 - 139 7 81 19 128 - 372 ท่ีมา: ฝ่ายบรกิ ารสาธารณะหรือ JPA 2011 tegic Plan 2009 – 2014 กไ็ ดจ้ ดั ท�ำขนึ้ โดยใชฐ้ านการศกึ ษาจาก KAIST Best Practice เป็นหลกั การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของการบริหารงานภาครัฐ การจัดฝึกอบรมครอบคลุมทั้งระยะยาว ระยะกลาง และระยะส้ัน ท้ัง ภายในประเทศและตา่ งประเทศ หรอื สง่ ขา้ ราชการไปอบรมตามสถาบนั การฝึกอบรมต่างๆ เน่ืองจากการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในหน่วยงาน ราชการมีความส�ำคัญมากในแง่การเตรียมความพร้อมในเร่ืองคุณภาพ แรงงานของบรูไน เพ่ือท่ีจะพบกับความท้าทายในการเข้าสู่ประชาคม เศรษฐกจิ อาเซยี น โดยหนว่ ยงานราชการจะมกี ารจดั งบประมาณส�ำหรบั งานดา้ นการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ ทงั้ การฝกึ อบรมโดยผเู้ ชยี่ วชาญดา้ น งานบริการทงั้ ในประเทศและต่างประเทศ แบง่ ออกเป็น[19] A %158 f * *ÿ i i **•

1. หนว่ ยงานราชการพลเรือน (Public Services Department-PSD) ดแู ลการฝกึ อบรมเพอ่ื สง่ ขา้ ราชการไปฝกึ อบรมตา่ งประเทศเปน็ หลกั โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเพ่ิมพูนทักษะและคุณภาพในการท�ำงานให้แก่ ขา้ ราชการ ซง่ึ ขา้ ราชการสามารถสมคั รเขา้ รว่ มโครงการฝกึ อบรมระยาว เช่น ฝึกอบรมด้านบริการ แตเ่ ป็นการฝกึ อบรมในลกั ษณะไดร้ บั ปริญญา ตรี ประกาศนยี บตั ร หรอื อาจจะเปน็ หลกั สตู รปรญิ ญาโทและปรญิ ญาเอก 2. สถาบันขา้ ราชการพลเรอื น (The Civil Service Institute-CSI) เปน็ หนว่ ยฝกึ อบรมของรฐั บาลทมี่ หี นา้ ทจ่ี ดั หาหลกั สตู รการฝกึ อบรม การเปน็ ทป่ี รกึ ษา การออกแบบ และสง่ มอบหลกั สตู รการฝกึ อบรมระยะ ส้ัน เป็นการจัดการฝึกอบรมเกี่ยวกับความรู้ท่ีจ�ำเป็นต้องใช้ส�ำหรับ ขา้ ราชการ จดั ฝกึ อบรมในประเทศในรปู แบบของการอบรมระยะสน้ั การ ฝึกอบรมมีท้ังเร่ืองการบริหารจัดการ การวิจัยและพัฒนา รวมท้ังด้าน เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร (ICT) ส�ำหรับทุกๆ ภาคสว่ น 3. กระทรวงและหนว่ ยงานรัฐบาล จะดูแลในเร่อื งการฝึกอบรมพเิ ศษ อาจเปน็ การฝึกอบรมด้านเทคนคิ ต่างๆ ทม่ี ีความส�ำคัญและจ�ำเปน็ ในการท�ำงาน ส�ำหรับวัตถุประสงค์ใน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในหน่วยงานภาครัฐ เพื่อพัฒนาวัฒนธรรม องค์การในหน่วยงานภาครัฐ รวมไปถึงการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ท้ัง ในส่วนของการฝึกอบรม การคัดเลือกบุคลากรเข้าท�ำงาน เพื่อให้ได้ ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรไู น ดารุสซาลาม I 159

ตารางที่ 8 โปรแกรมการฝึกอบรม โปรแกรมการอบรม จ�ำนวนหลักสตู ร การพฒั นาภาวะผูน้ �ำ 23 การวเิ คราะห์องคก์ ารและการพฒั นา 24 การส่อื สารและการบริการลูกคา้ 28 การจัดการและการก�ำกบั ดแู ล 85 การพัฒนาทกั ษะดา้ น ICT 17 ศนู ย์รัฐบาลอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 62 ทมี่ า: ฝา่ ยบรกิ ารสาธารณะ หรอื JPA 2013 บคุ ลากรทม่ี ที กั ษะ ความรู้ ความสามารถตามทหี่ นว่ ยงานตอ้ งการ มกี าร จดั การดา้ นธรรมาภบิ าลของหนว่ ยงาน จดั ระบบใหค้ �ำปรกึ ษาดา้ นกลยทุ ธ์ ส�ำหรับงานสวัสดิการของข้าราชการ และดูแลความเป็นอยู่ที่ดีของ ข้าราชการทุกคน รวมท้งั ตระหนักถงึ ความส�ำคัญของภาวะผนู้ �ำ โดยจัด หลกั สตู รการพฒั นาภาวะผนู้ �ำ และหลกั สตู รอน่ื ๆ ส�ำหรบั พฒั นาบคุ ลากร ในด้านตา่ งๆ เชน่ การพฒั นาภาวะผนู้ �ำข้าราชการระดบั กลางและระดับ สงู เปน็ ตน้ m 160 f5 . *

7 กฎหมายสำ�คัญที่ควรรู้ ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรไู น ดารุสซาลาม I 161

7.1 กฎระเบียบขา้ ราชการ กฎระเบยี บทบ่ี ังคับใช้กบั ข้าราชการพลเรอื น ข้าราชการพลเรือนในปัจจุบันอยู่ภายใต้กฎหมายและกฎระเบียบ ต่างๆ ดงั นี้ • คณะกรรมการบริการสาธารณะตามพระราชบัญญัติ (บทที่ 83 ของกฎหมายบรูไน) • กฎระเบียบภายใตพ้ ระราชบัญญตั ขิ ้าราชการพลเรือนเป็นทร่ี ้จู กั กันแพรห่ ลาย ซงึ่ ควบคมุ กฎระเบยี บเกย่ี วกับการก�ำหนดสทิ ธิประโยชน์ และการด�ำเนินการทางวนิ ยั • ค�ำสั่งจากส�ำนกั นายกรัฐมนตรที ่รี ู้จกั กันในฐานะนายกรัฐมนตรี • ธนารกั ษอ์ อกหนงั สือเวียนเกย่ี วกับเรื่องการเงิน • กฎระเบยี บทางการเงนิ จดั ซอื้ จดั จา้ ง การปกครอง และประเดน็ ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง หลายหนว่ ยงานภาครัฐอน่ื ๆ ยังท�ำหน้าท่เี ปน็ ผตู้ รวจสอบการด�ำเนิน การของขา้ ราชการพลเรอื น รวมถงึ ส�ำนกั การตอ่ ตา้ นการทจุ รติ และฝา่ ย ตรวจสอบ เป็นผู้รับผิดชอบในการก�ำจัดการทุจริตทั้งในราชการและ หน่วยงานที่ภาครัฐเป็นเจ้าของและเป็นผู้รับผิดชอบในการสร้างความ มน่ั ใจทางการบญั ชที เ่ี หมาะสม  และวธิ กี ารปฏบิ ตั ติ ามการด�ำเนนิ การ ใชจ้ ่ายของรฐั บาล 433*162 rgl±a*/ v*sa

การประพฤตปิ ฏิบตั ติ นและวินัยของข้าราชการ การให้บริการพลเมอื งจะต้องปฏบิ ัตติ ามกฎ ระเบียบ และค�ำแนะน�ำ เพอ่ื จดุ มงุ่ หมายในการใหบ้ รกิ าร ซอื่ สตั ย์ มปี ระสทิ ธภิ าพ และรบั ผดิ ชอบ สอดคลอ้ งกบั หลกั การของความมคี ณุ ธรรมและจรยิ ธรรมในการใหบ้ รกิ าร ประชาชน • ข้อบังคบั ของเจ้าหน้าทสี่ าธารณะ (จรรยาบรรณและวนิ ยั ) พระ ราชบญั ญัติคณะกรรมการบรกิ ารสาธารณะ (บทที่ 83) • การเงินข้อบังคบั 1983 • ระเบียบของนายกรัฐมนตรี • หนังสอื เวียนจากกระทรวงการคลงั และหนังสอื แจ้งกรมบริการ การเขา้ ร่วมในการท�ำงาน (กฎขอ้ 4 6 และ 8) ระเบยี บเจ้าหน้าทสี่ าธารณะ (จรรยาบรรณและวินัย) ระเบียบคณะ กรรมการการบรกิ ารสาธารณะตามพระราชบัญญตั ิ (บทที่ 83) ขา้ ราชการ • ปฏิบตั ิงานทกุ วัน ยกเวน้ วันหยุดราชการ • มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติตามกฎระเบียบของช่ัวโมงการ ท�ำงานอยา่ งน้อย 7.5 ชวั่ โมงต่อวนั ช่ัวโมงการท�ำงาน • เวลา 07.45-12.15 น. และ 13.30-16.30 น. ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรไู น ดารุสซาลาม 163

ข้าราชการพลเรอื นอาวโุ ส • การขออยใู่ นส�ำนกั งาน/สถานทที่ �ำงาน หรอื ถา้ ออกจากทท่ี �ำงาน/ สถานที่ท�ำงาน จะต้องได้รับอนญุ าตจากหัวหน้าแผนก • ต้องบันทึกเวลาเข้าและออกจากส�ำนักงาน/สถานท่ีท�ำงาน การด�ำเนินการทางวินยั ขา้ ราชการพลเรอื นอาวุโส จะตอ้ งด�ำเนิน การในกรณีท่ี • ความล้มเหลวในการปฏิบัติงานตามกฎระเบยี บของการท�ำงาน • ออกจากส�ำนกั งาน/ชั่วโมงการท�ำงานในชว่ งเวลาท�ำงาน โดยไม่ ไดร้ บั อนุญาตจากหวั หน้าหรือเจ้าหน้าที่ทีเ่ หนือกว่านัน้ • ขาดจากการท�ำงาน โดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร จากหวั หนา้ แผนก รัฐประยุกตใ์ ช้ (กฎข้อ 9) ระเบยี บเจา้ หน้าที่สาธารณะ (การปฏิบัติ และมรี ะเบยี บวินัย) ระเบยี บคณะกรรมการการบรกิ ารสาธารณะตามพระราชบญั ญตั ิ (บทที่ 83) ข้าราชการทั้งหมด • จะตอ้ งปฏิบัตหิ น้าท่ีในทกุ เวลาราชการ • ตอ้ งสง่ เอกสารเป็นหนังสอื ให้หวั หนา้ แตล่ ะแผนก หากตั้งใจท่จี ะ เดนิ ทางไปตา่ งประเทศ • จ�ำเป็นต้องไดร้ ับความยนิ ยอมก่อนจะออกจากรัฐ u164 r$ * sr

ขา้ ราชการพลเรือนระดบั สงู ออกจากรฐั โดยไม่ไดร้ ับอนุญาตเปน็ ลาย ลกั ษณอ์ กั ษรจากหวั หนา้ แผนกถอื วา่ ผดิ กฎระเบยี บ และสามารถด�ำเนนิ การทางวินยั ยาเสพติด บรรดาขา้ ราชการพลเรือนถกู หา้ มไมใ่ หม้ ีสว่ นร่วมในการเสพ ยาเสพตดิ รวมถงึ การกระจาย การขาย การประมวลผล หรอื กจิ กรรมทผ่ี ลติ ยาเสพตดิ ใดๆ  Islah คอื ศนู ยฟ์ น้ื ฟแู ละส�ำนกั ปราบปรามยาเสพตดิ เปน็ หน่วยงานของรัฐบาลท่ีสามารถติดต่อเพ่ือขอค�ำแนะน�ำ และถูกด�ำเนิน การทางวนิ ัย การเงิน (กฎระเบยี บทางการเงนิ ที่ 1983) ข้าราชการพลเรือนท่ีท�ำงานโดยตรงหรือโดยอ้อมกับการบริการ สาธารณะและการจัดการทางการเงนิ จะตอ้ ง • รู้และเข้าใจหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการทางการเงินที่ชดั เจน • ปฏบิ ตั หิ นา้ ทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบดว้ ยความจรงิ ใจ ซอื่ สตั ย์ สจุ รติ และมปี ระสิทธิภาพ ข้าราชการท่ีละเมิดกฎระเบียบและขั้นตอนการด�ำเนินการทางวินัย จะต้องถกู ด�ำเนนิ การ ข้อมลู ลับของรฐั บาล บรรดาขา้ ราชการพลเรอื นทท่ี �ำงานโดยตรงหรอื โดยออ้ มกบั การบรกิ าร จะต้องปฏิบัตดิ ังน้ี • ต้องรู้และเข้าใจ ปฏิบัติตามตลอดเวลาพระราชบัญญัติความลับ ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม I 165

(Rahmi) การลงนามในระหว่างการให้บรกิ ารกับรัฐบาล • รักษาความลับของเอกสารรัฐบาลทุกคร้ัง รวมทั้งหลังออกจาก ราชการ ความผิดทางอาญา และความผิดชะรีอะฮ์ (Syariah) ข้าราชการท้ังหมดควรน�ำกฎของศีลธรรมและจรรยาบรรณในการ ท�ำงานมาใช้ เพอ่ื เปน็ เกยี รตแิ ละเปน็ แบบอยา่ งทด่ี แี กผ่ อู้ นื่ ควรหลกี เลย่ี ง การมสี ว่ นร่วมกบั กรณี เช่น • ขโมย • ผิดประเวณี • การมเี พศสัมพนั ธ์ทผ่ี ดิ กฎหมาย • การรับประทานอาหารในทีส่ าธารณะระหว่างวันใน เดือนรอมฎอน ข้าราชการทีเ่ ก่ยี วขอ้ งในคดีอาญา หรือความผดิ ชะรีอะฮ์ (Syariah) ถ้าตัดสนิ จะไดร้ ับการตดั สนิ ในศาลและด�ำเนนิ การทางวินัย การด�ำเนนิ การทางวนิ ยั การด�ำเนินการทางวินยั แก่ข้าราชการพลเรอื นตามความผิด • ตกั เตือนทางวาจา • ใหไ้ วเ้ ตอื นเปน็ ลายลักษณ์อักษร • ถกู ระงับการท�ำงาน  ใหห้ ยุดงาน • ค�ำสั่งหา้ มท�ำงาน • จับกุม u166 r$ * sr

• ลดบทบาทของงาน • การสน้ิ สดุ การท�ำงาน • ไล่ออก 7.2 กฎหมายแรงงาน กฎหมายและข้อตกลงกฎหมายแรงงานเป็นกฎหมายสําคัญของทุก ประเทศ ในปัจจุบันกฎหมายแรงงานให้คุณประโยชน์แก่ประเทศทั้งใน ด้านสงั คม เศรษฐกจิ และการเมอื งระหว่างประเทศหลายประการ ไม่วา่ จะเป็นการสร้างความเป็นธรรมในสังคม (Social Justice) กฎหมาย แรงงานชว่ ยลดความเอารดั เอาเปรยี บในการจา้ งงานระหวา่ งนายจา้ งและ ลูกจ้าง ซ่ึงทําให้สังคมมีความเป็นธรรม การสร้างความสงบสุขในสังคม อุตสาหกรรม (Industrial Peace) กฎหมายแรงงานไดก้ ําหนดขอบเขต และกระบวนการ  การระงบั ขอ้ พพิ าทแรงงาน  หรอื ใหย้ ตุ ดิ ว้ ยความ พงึ พอใจของทกุ ฝา่ ย ทําใหก้ ารทํางานรว่ มกนั อยา่ งมคี วามสขุ การถนอม แรงงาน และพัฒนาคุณภาพชีวิต กฎหมายแรงงานจะช่วยไม่ให้ลูกจ้าง ต้องทํางานหนักเกินกําลัง ใช้แรงงานท่ีเหมาะสมแก่เพศและวัย ความ ปลอดภยั ในการทํางาน รวมทงั้ การได้รบั ค่าจ้างทเ่ี หมาะสม  ซึง่ นับเป็น การใชแ้ รงงานใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ ในดา้ นการพฒั นาเศรษฐกจิ ของ ประเทศ กฎหมายแรงงานไดก้ ําหนดคา่ ตอบแทนในการทํางานทเ่ี หมาะสม ก่อให้เกิดการจ้างงาน มีการไหลเวียนของกระแสเงินตราทั้งในและ ระหวา่ งประเทศ  สง่ ผลโดยตรงตอ่ เศรษฐกจิ โดยรวมของประเทศ  และ สง่ เสรมิ การลงทนุ ระบบบริหารราชการของเนการา บรูไน ดารสุ ซาลาม I 167

การท�ำงานในวนั หยดุ จะตอ้ งไมม่ ผี ถู้ กู วา่ จา้ งรายใดถกู บงั คบั ใหม้ าทํางาน ในวันหยดุ ของตน เว้นแตม่ ีเหตจุ �ำเปน็ ใหต้ ้องมาทํา เมอื่ เกิดข้อพพิ าทขึน้ ให้กรรมการพิจารณาว่า จะให้ผู้ถูกว่าจ้างน้ันมาทํางานสืบเนื่องจาก ธรรมชาตขิ องการรบั ชว่ งตอ่ จากการทํางานเปน็ กะหรอื ไม่ ผถู้ กู วา่ จา้ งคนใด ทจี่ ะตอ้ งเขา้ มาทํางานในวนั หยดุ หรอื ในวนั หยดุ ราชการจะตอ้ งมกี ารจา่ ย เงนิ คา่ จ้างให้ในวันน้ัน การลาป่วย ผู้ถกู วา่ จา้ งท่ที ํางานกับผวู้ ่าจา้ งมาระยะหนง่ึ หลงั จากที่ ได้รับการตรวจร่างกายโดยแพทย์ ทางผู้ว่าจ้างต้องออกค่าใช้จ่ายให้ ท้ังหมด และสามารถขอลาปว่ ยได้ ในประเทศบรูไน การจ้างงานผู้พิการเป็นสวัสดิการทางสังคมอย่าง หนงึ่ โดยการให้เป็นเงินส�ำหรบั ผู้พกิ ารท่มี ีรายได้น้อย ส่งเสริมเงนิ ลงทุน ประกอบอาชีพ พัฒนาทักษะการประกอบอาชีพ การดูแลตนเอง นอกจากนอ้ี งค์การดา้ นผ้พู ิการ เช่น องคก์ ารสมารท์ เทอร์ เปน็ องคก์ ารท่ี ท�ำงานดา้ นเดก็ พกิ ารทางสตปิ ญั ญา มกี ารจดั ตงั้ ศนู ยพ์ ฒั นาศกั ยภาพเดก็ พกิ ารทางสตปิ ญั ญา โดยมกี ารจา้ งงานในศนู ย์ ซง่ึ ใชเ้ ปน็ สถานประกอบการ ส่วนองค์การท่ีให้การสนับสนุน มีการส่งเสริมความตระหนักให้ผู้พิการ เปน็ สว่ นหนงึ่ ในการพฒั นาสงั คม ใหร้ างวลั แกผ่ พู้ กิ ารทเ่ี ปน็ เจา้ ของกจิ การ เปน็ ตน้ สว่ นปญั หา ไดแ้ ก่ สงั คมยงั ไมเ่ ปดิ โอกาสใหผ้ พู้ กิ ารไดท้ �ำงานอยา่ ง เต็มที่ การไม่ยอมรับศักยภาพผู้พิการ การศึกษาท่ีเหมาะสมท่ีใช้ในการ ท�ำงานของผพู้ กิ าร u168 r$ * sr

พระราชบัญญัตแิ รงงานบรไู น พระราชบญั ญตั แิ รงงานของบรไู น เรม่ิ มผี ลบงั คบั ใชเ้ ตม็ รปู แบบใน วันท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2555 โดยจะไม่รับรองการสมคั รเขา้ ท�ำงานของ แรงงานตา่ งชาตโิ ดยบรษิ ทั นายหน้าจดั หาแรงงาน รวมถึงบุคคลทว่ั ๆ ไป โดยไม่มีใบอนญุ าตจากส�ำนักงานแรงงานอกี ตอ่ ไป อย่างไรกต็ าม ในบาง กรณี เช่น การยน่ื เอกสารเพ่ือท�ำงานเป็นแม่บ้าน หรือการยืน่ ใบอนุญาต ของบรษิ ทั ในการตอ่ อายกุ ารท�ำงานเปน็ แมบ่ า้ น  หรอื คนงานในบรษิ ทั การย่ืนเอกสารขอแก้ไขสัญญาจ้างของแม่บ้านหรือคนงานในบริษัท เป็นต้น สามารถท�ำได้ท้ังจากลูกจ้างเองหรือผ่านทางบริษัทนายหน้า จดั หาแรงงาน ซง่ึ การละเมดิ พระราชบญั ญตั ดิ งั กลา่ วจะมโี ทษปรบั ไมเ่ กนิ 5,000 เหรียญสหรัฐ  หรือจ�ำคกุ ไมเ่ กิน 1 ป ี หรอื ทง้ั จ�ำทั้งปรับ  และ หากมกี ารกระท�ำผดิ ครงั้ ทสี่ องจะมโี ทษปรบั ไมเ่ กนิ 10,000 เหรยี ญสหรฐั หรือจ�ำคุกไม่เกนิ 3 ปี หรอื ทั้งจ�ำท้ังปรับ ss\\ ZI ระบบบริหารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม 169

7.3 กฏหมายเข้าเมือง 7.3.1 การเข้าเมอื ง ตามกฎหมายบรไู น การกระท�ำผดิ กฎหมายเขา้ เมอื งจะรวมถงึ การเขา้ เมอื งโดยไมม่ เี อกสารทถี่ กู ตอ้ ง การใชว้ ซี า่ ผดิ ประเภท การอยเู่ กนิ ก�ำหนด การเปล่ียนนายจ้างโดยไม่ได้รับอนุญาต และการท�ำงานผิดประเภทกับ ที่ขออนุญาตไว้ ซ่ึงผู้ท่ีกระท�ำการดังกล่าวจะถูกปรับไม่น้อยกว่า 30,000-100,000 ดอลล่ารบ์ รูไน และอาจถูกตัดสนิ จ�ำคกุ ด้วย[11] ยกเว้นการตรวจลงตรา 90 วนั บุคคลสัญชาติอเมรกิ า ยกเวน้ การตรวจลงตรา 30 วนั บุคลลสญั ชาติมาเลเซีย สงิ คโปร์ และอังกฤษ ยกเว้นการตรวจลงตรา 14 วนั บุคคลสญั ชาตไิ ทย อนิ โดนเี ซีย ฟลิ ปิ ปนิ ส์ ญ่ปี นุ่ เกาหลใี ต้ เบลเยีย่ ม แคนาดา เยอรมัน ฝร่งั เศส ลกิ เตนสไตน์ ลักเซมเบริ ก์ เนเธอร์แลนด์ สวิตซอรแ์ ลนด์ สวเี ดน มลั ดฟี ส์ นวิ ซแี ลนด์ และนอรเ์ วย์ ส�ำหรบั บคุ คลสญั ชาตอิ น่ื นอกเหนอื จากทก่ี ลา่ วมา จะตอ้ งขอวซี า่ กอ่ น เดนิ ทางเขา้ มายังประเทศบรูไน 170 rgl±a*/ v*sa

ภาษีสนามบินในการเดนิ ทางออกนอกประเทศ ปลายทางสงิ ค์โปรแ์ ละมาเลเซีย : 5 ดอลล่าร์บรไู น ปลายทางอ่ืนๆ : 12 ดอลล่าร์บรูไน ศลุ กากร ตามประกาศศลุ กากร ผเู้ ดนิ ทางทม่ี อี ายมุ ากกวา่ 17 ปี สามารถน�ำ สิง่ ของดงั ต่อไปนีเ้ ข้าประเทศบรูไนได้ ของใชส้ ว่ นตัว บุหร่ี 200 มวน หรือยาสบู 250 กรัม น้�ำหอม 60 มลิ ลลิ ติ ร เคร่อื งดื่มแอลกอฮอล ์ ส�ำหรบั ผทู้ ไี่ มใ่ ชม่ สุ ลมิ สามารถน�ำเครอื่ ง ด่มื แอลกอฮอล์เข้าประเทศบรไู นได้ไม ่ เกนิ 2 ขวด และเบยี ร์ 12 กระปอ๋ งตอ่ การเดนิ ทางเขา้ ประเทศ 1 ครั้ง เพอ่ื วตั ถุประสงค์ในการบรโิ ภคสว่ นบุคคล การน�ำเคร่ืองดืม่ ดงั กล่าวเขา้ มาต้อง ส�ำแดงให้เจ้าพนักงานศุลกากรทราบ หากไมแ่ สดงจะได้รับการลงโทษตาม พระราชบญั ญตั ิศลุ กากร การควบคุมโรค ผโู้ ดยสารทกุ คนทเี่ ดนิ ทางเขา้ ประเทศบรไู น จะตอ้ งกรอกแบบฟอรม์ ด้านสขุ ภาพ ซงึ่ พนักงานต้อนรบั จะแจกให้บนเคร่อื งบนิ และมอบใหแ้ ก่ เจา้ หน้าที่สนามบนิ กอ่ นเข้ารบั การตรวจคนเข้าเมอื ง ส�ำหรับผู้ทเ่ี ดินทาง ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม I 171

มาจากประเทศทอ่ี าจมกี ารระบาดของโรคไขเ้ หลอื ง อาทิ ประเทศในแถบ แอฟรกิ า จะต้องไดร้ ับการฉดี วัคซีนป้องกนั มาล่วงหน้า และขอให้แสดง แบบฟอรม์ การเขา้ รบั การฉดี วคั ซนี ดงั กลา่ วตอ่ เจา้ หนา้ ทด่ี ว้ ย ส�ำหรบั โรค มาลาเรีย อหิวาตกโรค ฝีดาษน้นั ไมม่ กี ารระบาดในประเทศบรไู น และ ผโู้ ดยสารทเ่ี ดนิ ทางเขา้ ประเทศไมจ่ �ำเปน็ ตอ้ งไดร้ บั การฉดี วคั ซนี ดงั กลา่ ว 7.4 กฎหมายครอบครัวอสิ ลาม 7.4.1 ท่ีมาของกฎหมายอาญาอสิ ลาม ประเทศบรูไนดารุสซาลาม มีการประกาศใช้ระบบกฎหมายอิสลาม หรอื ชะรีอะฮ์ (Syariah Penal Code) คือ กฎหมายท่ีบัญญตั ิบทลงโทษ ตามคัมภีร์อัลกุรอาน และแนวทางของศาสดามุฮัมมัด ซึ่งการบังคับใช้ กฎหมายดงั กลา่ วเปน็ ความประสงคข์ องพระอลั ลอฮฺ ตามรฐั ธรรมนญู ของ บรูไน สมเด็จพระราชาธิบดีทรงโปรดให้มีพระบรมราชโองการประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา (Royal Gazette) ของบรูไน เก่ียวกับการน�ำ กฎหมายอาญาอิสลาม (Syariah Penal Code) มาเป็นกฎหมายของ บรูไน โดยจะเรมิ่ บงั คบั ใชค้ วบคู่ไปกับกฎหมายพลเรอื น (Civil Law) ท่ีมี อยเู่ ดมิ สมเดจ็ พระราชาธบิ ดี ทรงประกาศบงั คบั ใชก้ ฎหมาย “ชะรอี ะฮ.์ ” ซึ่งอ้างอิงหลักการในศาสนาอสิ ลาม ว่าดว้ ยบทลงโทษผู้กระท�ำความผดิ ในคดีอาญา  ท�ำให้บรูไนเป็นประเทศแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (และคงเปน็ ประเทศเดยี ว) ท่ีบงั คบั ใชก้ ฎหมายดงั กล่าว [10] 433*172 rgl±a*/ v*sa

7.4.2 ระยะเวลาในการบังคบั ใช้กฎหมายอาญาอสิ ลาม ในบรูไน กฎหมายอาญาอสิ ลามมผี ลบังคบั ใชใ้ นบรูไนต้งั แต่วันท่ี 22 เมษายน พ.ศ. 2557 และมีการด�ำเนินการแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ดังนี้ • ระยะแรก : เมื่อกฎหมายอาญาอิสลามมีผลบังคับใช้หลังจาก 6 เดอื นท่ปี ระกาศในราชกจิ จานุเบกษา (ตงั้ แต่ 22 เมษายน พ.ศ. 2557) จะบงั คบั ใชใ้ นคดที วี่ า่ ดว้ ยความผดิ ทวั่ ไปตามมาตรา 4 ทม่ี บี ทลงโทษปรบั และจ�ำคกุ อาทิ การไมเ่ คารพวตั รปฏบิ ตั ขิ องมสุ ลมิ ในเดอื นรอมฎอน การ ประพฤติไมเ่ หมาะสมในทีส่ าธารณะ โดยจะยงั ไม่บังคบั ใชก้ ับความผิดท่ี มีบทลงโทษด้วยการเฆย่ี นตีหรอื ประหารชวี ิต • ระยะท่ี 2 : หลังจาก 12 เดือนของวันท่ีประกาศในราชกิจจา- นเุ บกษา (ตั้งแต่วันท่ี 22 ตุลาคม พ.ศ. 2557)  จะบงั คบั ใช้กบั ความผิด ทมี่ บี ทลงโทษตามทไ่ี ดร้ ะบไุ วใ้ นคมั ภรี อ์ ลั กรุ อาน และแนวทางของศาสดา มฮุ มั มดั แต่จะยงั ไม่บังคับใชก้ บั ความผิดทมี่ ีโทษประหารชวี ิต • ระยะที่ 3 : หลังจาก 24 เดือนของวันที่ประกาศในราชกิจจา นุเบกษาเป็นตน้ ไป (ต้ังแต่วนั ท่ี 22 ตุลาคม พ.ศ. 2558) จะมีผลบังคบั ใช้ เต็มรปู แบบ ซงึ่ รวมถงึ ความผิดท่มี ีโทษประหารชวี ิตดว้ ย ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรไู น ดารสุ ซาลาม I 173

7.4.3 ประเภทของความผดิ ประเภทของความผิดแบง่ ออกเปน็ 3 กลมุ่ ไดแ้ ก่ กลุ่มท่ี 1 ความผิดท่บี งั คับใช้กับชาวมสุ ลมิ อาทิ การละทิ้งศาสนาอิสลาม การเคารพบูชาลัทธิหรือเทพเจ้าอ่ืน นอกเหนือจากศาสนาอิสลาม  การไม่บรจิ าคทาน (Zakat)  การละเลย การละหมาดวันศุกร์ และการไม่ถือศีลอดในเดือนรอมฎอน (เดือนแห่ง การถอื ศลี อด) กลุ่มที่ 2 ความผิดทบ่ี งั คับใชท้ ้ังชาวมสุ ลมิ และผู้ทไี่ ม่ใช่มุสลิม อาทิ การลกั ขโมย การปล้น การฆาตกรรม การท�ำร้ายร่างกายผู้อนื่ การดหู ม่นิ ศาสดามฮุ มั มดั และคัมภรี ์อลั กุรอาน การไมเ่ คารพวัตรปฏบิ ตั ิ ของชาวมสุ ลมิ ในเดือนรอมฎอน (เช่น การดื่มและรับประทานอาหารใน ที่สาธารณะช่วงกลางวันของเดือนรอมฎอน) การดื่มสุราในที่สาธารณะ การประพฤตไิ ม่เหมาะสมในที่สาธารณะ (เชน่ การสมั ผัสและการแสดง ความรกั ดว้ ยการกอดและจุมพิต) กล่มุ ท่ี 3 ความผิดทผ่ี ู้ทไ่ี ม่ใชม่ สุ ลิมตอ้ งรบั โทษดว้ ย หากมคี วามเกยี่ วโยงกบั มสุ ลมิ อาทิ การผดิ ประเวณกี บั ชายหรอื หญงิ ท่ีเป็นมุสลิม การอยู่ใกล้ชิดกับชายหรือหญิงที่เป็นชาวมุสลิมในท่ีลับตา คน 174 rgl±a*/ v*sa

7.4.4 กระบวนการพิสจู น์ความผดิ ประมวลกฎหมายอาญาอสิ ลามเปน็ กฎหมายทถี่ กู บญั ญตั ไิ วใ้ นคมั ภรี ์ อัลกุรอาน โดยให้ความส�ำคัญเป็นอย่างย่ิงกับกระบวนการพิสูจน์ความ ผดิ ของผกู้ ระท�ำความผดิ   กระบวนการพสิ จู นค์ วามผดิ ตอ่ ความผดิ ทมี่ ี บทลงโทษร้ายแรง เช่น Hadd, Qisas, Diyat, Arsy จะตอ้ งไมม่ ีการคาด เดา ความผดิ จะตอ้ งชัดเจน และปราศจากขอ้ สงสัยใดๆ ภาพจากกลอ้ ง วงจรปิด หรือการตรวจพิสูจน์ DNA ไม่เพียงพอท่ีจะพิสูจน์การกระท�ำ ความผิดได้ ต้องมีพยานบุคคลท่ีมีความยุติธรรม จิตใจดี และเห็นการ กระท�ำความผดิ ด้วยตาอยา่ งชัดเจน (ประจักษพ์ ยาน) โดยตอ้ งมจี �ำนวน ประจกั ษ์พยานมากกวา่ จ�ำนวนทีก่ �ำหนดไวต้ ามแต่ละความผดิ ด้วย หาก ขอ้ แมไ้ มค่ รบถว้ นตามหลกั การของศาสนาอสิ ลาม  ความผดิ จะถกู น�ำไป สกู่ ารพจิ ารณาดว้ ยกฎหมายทว่ั ไป จ�ำนวนของพยานบคุ คลส�ำหรับการพิสจู น์ความผดิ 1. การลักขโมย ปล้น และการกล่าวหาผู้อ่ืนว่ากระท�ำผิดประเวณี การดื่มสุรา และการละท้ิงศาสนาอิสลาม จะต้องมีประจักษ์พยานที่มี ความยตุ ิธรรม เพศชาย 2 คน 2. การผดิ ประเวณี ขม่ ขนื การมเี พศสมั พนั ธร์ ะหวา่ งชายกบั ชาย หรอื หญิงกบั หญิง จะตอ้ งมปี ระจักษพ์ ยานท่ีมีความยุตธิ รรม เพศชาย 4 คน 3. การฆา่ ผอู้ นื่ โดยเจตนา จะตอ้ งมปี ระจกั ษพ์ ยานทมี่ คี วามยตุ ธิ รรม เพศชาย 2 คน รวมทง้ั ค�ำใหก้ ารของผถู้ กู กระท�ำหรือเหยอ่ื ด้วยความที่บรูไนเป็นหน่ึงในประเทศท่ีปกครองด้วยระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ สมเด็จพระราชาธิบดีทรงเป็น “องค์อธิปัตย์” ระบบบริหารราชการของเนการา บรไู น ดารุสซาลาม 175

9 r f k - LT* I I * —o gu และทรงมพี ระราชอ�ำนาจในการบรหิ ารจดั การราชอาณาจกั รอยา่ งสมบรู ณ์ ท�ำใหก้ ฎหมายดงั กลา่ วถกู น�ำมาบงั คบั ใชโ้ ดยไมม่ เี สยี งคดั คา้ นในประเทศ ขณะเดียวกันก็เป็นเร่ืองห้ามไม่ได้ที่เสียงคัดค้านจากนอกประเทศจะดัง ประสานกันข้ึนมาด้วยความเป็นห่วงในสิทธิและเสรีภาพของชาวบรูไน โดยเฉพาะองค์การสทิ ธมิ นุษยชน  ซงึ่ เห็นว่าบทลงโทษทง้ั หมดลว้ นเปน็ การลดทอนศกั ดศิ์ รคี วามเปน็ มนษุ ย ์ รวมถงึ เปน็ เครอื่ งมอื ในการเลอื กปฏบิ ตั ิ ตอ่ กลมุ่ คนรกั เพศเดยี วกนั ดว้ ย แตแ่ มจ้ ะเจอกบั เสยี งคดั คา้ นมากมายแคไ่ หน สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งบรูไนทรงเรียกร้องให้นานาประเทศเคารพใน อ�ำนาจอธิปไตยของบรไู น ซง่ึ มีสทิ ธปิ์ กครองตนเองในรูปแบบทีแ่ ตกตา่ ง ไปจากประชาคมโลก 176 A <fS \\ $ ,r.5>ÿ>. L

ปัจจุบนั สุลต่าน ฮัสซานลั โบลเกยี ห์ ประมุขแหง่ บรไู น ทรงประกาศ ใช้กฎหมายชะรีอะฮ์ท่ัวประเทศอย่างเป็นทางการ หลังจากมีการร่าง กฎหมายดงั กลา่ วมานานหลายปี และเรมิ่ บงั คบั ใชบ้ างสว่ นแลว้ ตงั้ แตเ่ มอื่ เดือนเมษายนท่ีผ่านมา พร้อมกับทรงเปิดเผยว่าการผลักดันกฎหมาย อิสลามให้บังคับใช้อย่างจริงจังในคร้ังนี้ ถือเป็นก้าวส�ำคัญในการปฏิรูป ประเทศใหเ้ ปน็ รฐั อสิ ลามทเ่ี ครง่ ครดั มากขนึ้ ภายใตก้ ฎหมายอสิ ลามฉบบั ใหม่น้ี ประชาชนท่ีกระท�ำผิดในข้อหาต่างๆ จะถูกลงโทษอย่างเด็ดขาด ดว้ ยวิธดี ั้งเดิม เช่น หากขโมยของจะถกู ตัดมือ หรือผทู้ ่ปี ระพฤตผิ ิดทาง เพศ เชน่ มเี พศสมั พนั ธน์ อกสมรส หรอื เปน็ กลมุ่ รกั เพศเดยี วกนั จะถกู จบั มัดกับหลกั และให้สาธารณชนรมุ ขว้างหนิ จนตาย กฎหมายชะรีอะฮ์จะมผี ลบงั คบั ใช้อย่างสมบรู ณภ์ ายใน 6 เดอื น หลงั จากการประกาศใช้อย่างเป็นทางการ โดยจะใช้กับพลเมืองที่เป็นมุสลิม ซง่ึ คดิ เป็นรอ้ ยละ 70 ของประเทศเทา่ นนั้ ไมร่ วมถึงศาสนาอ่นื ๆ ซง่ึ แตก ต่างจากประเทศในตะวันออกกลางที่นิยมใช้กฎหมายชะรีอะฮ์แบบ ครอบคลมุ ไมว่ า่ จะเปน็ พลเมอื งของตนเองหรอื พลเมอื งตา่ งชาตแิ ละตา่ ง ศาสนา กฎหมายอาญาอสิ ลามจะบงั คบั ใชก้ บั ชาวมสุ ลมิ ในคดที ม่ี คี วามผดิ ใน ลักษณะ Hudud (ความผดิ ทม่ี ีบทลงโทษทีก่ �ำหนดไวใ้ นคัมภรี ์อลั กุรอาน และแนวทางของศาสดามฮุ ัมมดั อาทิ การลกั ขโมย การปลน้ หรือจ้ี การ ลกั ทรพั ย์ การท�ำรา้ ยรา่ งกาย การผดิ ประเวณี การกลา่ วหาวา่ ผอู้ น่ื กระท�ำ ผดิ ประเวณี การบริโภคเคร่ืองดม่ื มึนเมา และการกระท�ำอนั ขัดตอ่ หลัก ศรทั ธาของศาสนาอสิ ลาม ซง่ึ มบี ทลงโทษ อาทิ การเฆยี่ น การตดั มอื การ ประหารชวี ติ โดยการขว้างหนิ จนเสียชีวติ เป็นต้น และการกระท�ำความ ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม I 177

ผิดตามกฎหมายศาสนาอิสลามในลักษณะอ่ืนๆ เช่น การละท้ิงศาสนา (Irtidad) การละเลยการละหมาดในวันศุกร ์ การไม่เคารพต่อศาสนาใน ห้วงเดือนรอมฎอน การท่ีหญิงชายท่ีมิได้เป็นคู่สมรสอยู่ตามล�ำพังสอง ตอ่ สองในทีร่ โหฐาน (Khalwat) การบชู าลทั ธิหรือเทพเจา้ อืน่ ท่เี ปน็ การ ขดั ตอ่ หลักศาสนาอสิ ลาม (Hukum Syarak) และการเผยแผศ่ าสนาอ่นื นอกเหนือจากศาสนาอิสลาม เป็นต้น กฎหมายอาญาอสิ ลามโดยทว่ั ไปจะบงั คบั ใชเ้ ฉพาะชาวมสุ ลมิ แตท่ งั้ น้ี หากผทู้ นี่ บั ถอื ศาสนาอน่ื กระท�ำความผดิ โดยมสี ว่ นรว่ มในการชว่ ยเหลอื สนับสนุนการกระท�ำความผิดของชาวมุสลิม ก็จะถูกด�ำเนินคดีตาม กฎหมายอาญาอิสลามได้เชน่ กัน อัยการสูงสดุ ชแี้ จงว่า เมือ่ มีผลบงั คบั ใช้ แลว้ บรไู นจะน�ำกฎหมายอาญา 2 ระบบมาบงั คบั ใชร้ ว่ มกนั โดยคดอี าญา จะถูกแบง่ เปน็ สองส่วน คอื 1. การกระท�ำความผิดในคดีท่ีจะต้องพิจารณาคดีในศาลศาสนา อิสลามเทา่ น้ัน 2. การกระท�ำความผิดในคดีท่ีจะต้องพิจารณาคดีทั้งในศาลศาสนา อิสลามและศาลพลเรือน การพจิ ารณาคดตี า่ งๆ กระท�ำโดยคณะกรรมการพเิ ศษทมี่ อี ยเู่ พอ่ื ออก กฎหมายอาญาศาสนาอิสลามโดยเฉพาะ มีประธานร่วม คือ หัวหน้าผู้ พิพากษาศาลศาสนาอิสลาม และหัวหน้าผู้พิพากษาศาลสูงและสมาชิก หากผตู้ อ้ งสงสยั สารภาพผดิ (Iqrar/Admission/Confession) คดจี ะถกู ส่งไปยังศาลศาสนา โดยอัยการศาลศาสนาเป็นผู้ย่ืนฟ้อง และมีอัยการ ของกฎหมายพลเรือนเป็นผู้ช่วย หากมีความจ�ำเป็นหรือหากพิจารณา แล้วไม่เข้าข่ายด�ำเนินคดีในศาลศาสนา อัยการก็จะส่งด�ำเนินคดีตาม กฎหมายอาญาพลเรอื นต่อไป u178 r$ * sr

7.4.5 สรุปรวมประเด็นกฎหมายอาญาอิสลามบรไู น ท่ีมาของกฎหมายอาญาอิสลาม หรือ Syariah Penal Code คือ กฎหมายที่บัญญัติบทลงโทษตามคัมภีร์อัลกุรอาน และแนวทางของ ศาสดามุฮมั มัด ซ่งึ การบังคับใช้กฎหมายดงั กลา่ วเปน็ ความประสงค์ของ พระอลั ลอฮฺตามรัฐธรรมนญู บรูไน สมเด็จพระราชาธบิ ดีแหง่ บรไู นทรงมี อ�ำนาจในการมีพระราชวินิจฉัยให้บังคับใช้กฎหมาย เพื่อให้เกิดสันติสุข แกป่ ระชาชนชาวบรไู น กฎหมายอาญาอสิ ลามของบรไู นไมไ่ ดม้ าทดแทน กฎหมายอาญาทวั่ ไปทมี่ ีอยู่เดมิ กล่าวคือ จะบังคบั ใช้ควบคกู่ บั กฎหมาย อาญาทั่วไป โดยเม่ือพบผู้กระท�ำความผิดจะมีกระบวนการพิจารณาว่า จะถกู ด�ำเนนิ คดดี ว้ ยกฎหมายใด ระยะเวลาในการบงั คบั ใชก้ ฎหมายอาญา อิสลามในบรูไน กฎหมายอาญาอิสลามจะมีผลบังคับใช้ในบรูไนต้ังแต่ วนั ที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2557 (6 เดอื นหลงั จากการประกาศในราชกจิ จา- นเุ บกษาเมอ่ื วนั ที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2556) และจะมกี ารด�ำเนนิ การ 3 ระยะดังนี้ ระยะแรก เม่ือกฎหมายมีผลบังคับใช้หลังจาก 6 เดือนที่ ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา (ตั้งแต่วันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2557) จะ บังคับใช้ในคดีท่ีว่าด้วยความผิดทั่วไปตามมาตรา 4 ที่มีบทลงโทษปรับ และจ�ำคกุ อาทิ การไมเ่ คารพวตั รปฏบิ ตั ขิ องมสุ ลมิ ในเดอื นรอมฎอน การ ประพฤตไิ มเ่ หมาะสมในท่สี าธารณะ โดยจะยงั ไมบ่ งั คบั ใช้กบั ความผดิ ที่ มบี ทลงโทษดว้ ยการเฆยี่ นหรอื ประหารชวี ติ ระยะที่ 2 หลงั จาก 12 เดอื น ของวันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา (ตั้งแต่วันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2557) จะบังคับใช้กับความผิดที่มีบทลงโทษตามท่ีได้ระบุไว้ในคัมภีร ์ อลั กรุ อานและแนวทางของศาสดามฮุ มั มดั แตจ่ ะยงั ไมบ่ งั คบั ใชก้ บั ความ ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรไู น ดารสุ ซาลาม 179

ผดิ ท่มี โี ทษประหารชีวิต ระยะที่ 3 หลังจาก 24 เดือนของวันทป่ี ระกาศ ในราชกิจจานเุ บกษาเปน็ ต้นไป  (ตั้งแตว่ ันที่ 22 ตุลาคม  พ.ศ.  2558) จะมผี ลบงั คบั ใชเ้ ตม็ รปู แบบ ซงึ่ รวมถงึ ความผดิ ทม่ี โี ทษประหารชวี ติ ดว้ ย u180 r$ * sr

8 ลกั ษณะเด่นของระบบราชการท่นี า่ เรยี นรู้ ระบบบริหารราชการของเนการา บรไู น ดารุสซาลาม I 181

8.1 การปกครองของบรูไนต่อการบริหารราชการ สง่ิ ทน่ี า่ สนใจในการปกครองของบรไู น คอื ภายหลงั ไดร้ บั เอกราชจาก องั กฤษ บรูไนยังคงอยูภ่ ายใต้การปกครองโดยระบอบสุลต่าน (Consti- tution Sultanate) และทรงมีอ�ำนาจเบ็ดเสร็จเด็ดขาดในการบริหาร ประเทศ ประชาชนไม่สามารถแสดงความคิดเห็นทางการเมืองได้อย่าง เสรี อย่างไรกต็ าม กลบั ไม่พบความเคลอื่ นไหวเพอ่ื ต่อต้าน เรยี กรอ้ งให้มี การเปล่ียนแปลงระบอบการปกครองจากประชาชน ท้ังน้ี เป็นเพราะ รัฐบาลของสุลตา่ น ฮสั ซานลั โบลเกียะห์ ซึง่ ปกครองประเทศมาตง้ั แต่ปี พ.ศ. 2510 ใหก้ ารดแู ลประชาชนเปน็ อยา่ งดี มกี ารจดั ระบบรฐั สวสั ดกิ าร ให้แก่ประชาชน ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษา การรักษาพยาบาล ที่อยู่ อาศัย โดยที่ประชาชนไม่ต้องเสียภาษี เน่ืองจากรัฐบาลน�ำรายได้จาก นำ�้ มนั และก๊าซธรรมชาติมาใช้ในการพฒั นาประเทศ ท้ังน้ี บรูไนยังคงมีปัญหาท่ีจะต้องหาทางแก้ไข มีการคาดการณ์ว่า นำ�้ มนั ส�ำรองของบรไู นจะหมดลงภายในปี พ.ศ. 2558 นี้ และปญั หาอนื่ ๆ อกี เชน่ การขาดแคลนแรงงาน จนท�ำใหต้ อ้ งมกี ารน�ำเขา้ แรงงานตา่ งชาติ ดังนั้น รัฐบาลจึงมีการวางแผนการพัฒนาประเทศจากการพ่ึงพาน�้ำมัน เพยี งอยา่ งเดยี ว เปน็ การพฒั นาเศรษฐกจิ ในดา้ นอน่ื ๆ ดว้ ย อาทเิ ชน่ การ ท่องเท่ียว การส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศ การเปิดโอกาสให้ เอกชนเข้ามาลงทุนในประเทศเพ่ิมขึ้น รวมท้ังการหันมาให้ความส�ำคัญ กบั การพฒั นาเกษตรกรรมของประเทศ เพอื่ สรา้ งความมนั่ คงทางอาหาร โดยจะพัฒนาการเกษตรแบบดั้งเดิมให้เป็นการเกษตรที่ใช้เทคโนโลยี ระดับสงู และการเกษตรเชงิ พาณชิ ย์ u182 r$ * sr

ลกั ษณะเดน่ ของระบบราชการบรไู น คอื สวสั ดกิ ารจากรฐั บาล ประชาชน ส่วนใหญ่มีสวัสดิการที่ดีจากรัฐ รวมถึงข้าราชการจะได้รับสวัสดิการท่ีดี กวา่ อาชพี อน่ื ท�ำใหม้ ผี รู้ บั ราชการมาก การทรี่ ฐั บาลใหค้ วามใสใ่ จกบั ปาก ท้องของประชาชนอย่างรอบด้าน และมีการวางแผนในระยะยาว เม่ือ ประชาชนมคี วามเปน็ อยทู่ ดี่ ี และรสู้ กึ วา่ ระบอบการปกครองทเี่ ปน็ อยนู่ น้ั สามารถสรา้ งความสขุ ใหแ้ กป่ ระชาชนแลว้ จงึ ไมเ่ ดอื ดรอ้ นทจ่ี ะเรยี กรอ้ ง หรือแสวงหาการปกครองอื่น ซึ่งไม่แน่นักว่าจะสร้างความสุขให้แก่ ประชาชนไดเ้ ทา่ ทเี่ ปน็ อยู่ ดังนั้น การเมืองของบรูไนจงึ คอ่ นข้างมคี วาม มนั่ คงกวา่ ประเทศอน่ื ๆ ในอาเซยี นดว้ ยกนั   จงึ เปน็ ตวั อยา่ งใหป้ ระเทศ ทก่ี �ำลงั ประสบปญั หาทางการเมอื งในประเทศทงั้ หลายไดน้ �ำไปพจิ ารณา และทบทวนนโยบายการบรหิ ารของตนวา่ ควรมงุ่ เนน้ ทใี่ ด ส�ำหรบั บรไู น นนั้ ได้พิสูจน์ให้เหน็ แลว้ ว่า การมุง่ เน้นท่ีประโยชน์สขุ ของประชาชนเปน็ อนั ดบั แรก เพอื่ สรา้ งความเปน็ ปกึ แผน่ ภายในชาติ ไมใ่ ชม่ งุ่ ทผ่ี ลประโยชน์ ของตนหรอื กลมุ่ ของตนกอ่ นผอู้ นื่ จะสามารถท�ำใหป้ ระชาชนสมั ผสั ไดถ้ งึ ความจริงใจของผู้น�ำท่ีต้องการพัฒนาบ้านเมือง  แล้วจากน้ันประชาชน กพ็ รอ้ มใหค้ วามร่วมมอื ในการพัฒนาประเทศไปด้วยกนั 8.2 การเสรมิ สรา้ งวฒั นธรรมการอา่ นของรฐั บาลบรไู น พระราชด�ำรสั ของสมเดจ็ พระราชาธิบดี ฮจั ญี อสั ซานัล โบลเกยี ะห์ ที่พระราชทานไว้ท่ีการประชุมความรู้ในหัวข้อ “การศึกษาสร้าง เอกลกั ษณ์ทีแ่ ท้จรงิ ของบุคคล” ณ วนั ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 เพือ่ เฉลิมฉลองพระราชสมภพ 65 ปี ของสมเด็จพระราชาธบิ ดี ทรงกล่าวว่า ระบบบริหารราชการของเนการา บรไู น ดารสุ ซาลาม I 183

“ผู้ท่ีมีความรู้คือผู้ท่ีไม่เคยหยุดเรียนรู้ ฟัง เห็น หรืออ่าน เพ่ือเพิ่มเติม ความรู้”  พระองค์ได้ทรงกล่าวต่อไปว่า “วัฒนธรรมการอ่านเป็นเร่ือง ส�ำคญั   ซง่ึ เราควรใหค้ วามส�ำคญั ทสี่ ดุ ในโครงการพัฒนาระดบั ชาต”ิ “เราพงึ หลอ่ เลย้ี ง  เสรมิ สรา้ งวฒั นธรรมการเพมิ่ เตมิ ความรทู้ บ่ี า้ น ทศ่ี นู ยก์ ารศาสนา ทที่ �ำงาน และทอ่ี น่ื ๆ  เพอื่ คนรนุ่ ตอ่ ไปจะไดพ้ ฒั นานสิ ยั การอา่ น และบ�ำรุงรักษาวัฒนธรรมความร้ไู ด”้ พระราชด�ำรัสของสมเด็จพระราชาธิบดีในการเฉลิมฉลองครบรอบ 50 ปี ของสถาบันภาษาและวัฒนธรรมแห่งบรูไน (DBP) เม่ือวันท่ี 17 กันยายน พ.ศ. 2554 มีว่า “ข้าพเจา้ รสู้ กึ ชนื่ ชมความพยายามที่มกี ารน�ำ โครงการต่างๆ ท่ีหลากหลาย  รวมทั้งกิจกรรมมากมายมาปฏิบัติ  เพื่อ ยกระดบั สถานภาพของภาษามาเลย์ โดยการสง่ เสรมิ การอา่ นทเ่ี กย่ี วขอ้ ง กบั เยาวชน และประชาคมท่ัวไปตามหอ้ งสมดุ ท่วั ประเทศ” ปัจจบุ ันน้ี สถาบันภาษาและวฒั นธรรมแห่งบรไู นมีหนา้ ทร่ี ับผิดชอบ ในการพฒั นา และเผยแพรภ่ าษาและวรรณกรรม การวจิ ยั ดา้ นวฒั นธรรม การจัดท�ำเอกสาร และการตพี มิ พง์ านวรรณกรรมในท้องถ่นิ นอกเหนือ จากการใหบ้ ริการทางห้องสมุดท่ัวประเทศ มีบรกิ ารห้องสมดุ สาธารณะ ผ่านห้องสมุดสาขา ห้องสมุดประชาคม จุดบริการห้องสมุดเคลื่อนท่ี ระบบการยืมจ�ำนวนมาก ห้องสมุดครอบครัว และมุมอ่านหนังสือทั่ว ประเทศ ในปี พ.ศ. 2528 มกี ารก่อตงั้ มหาวทิ ยาลัยแหง่ ชาตขิ ้ึนเปน็ แหง่ แรก และอีก 3 แหง่ ในปี พ.ศ. 2550-2552 ในปี พ.ศ. 2540 มีการกอ่ ตงั้ ห้องสมดุ Mindef และศนู ยส์ ารสนเทศ ซงึ่ ไดร้ ับรางวลั หอ้ งสมุดดีเย่ยี ม ประเภทห้องสมุดกระทรวง เม่อื วันท่ี 13 มกราคม พ.ศ. 2554 กระทรวง และหนว่ ยงานของรฐั บาลเกอื บทกุ แหง่ จะมหี อ้ งสมดุ ขนาดและมาตรฐาน u184 r$ * sr

-e * J ?! J7 Hi y -4. * .vliiif »| 4***4* j i ’“111 lit JESS >s 4 ต่างๆ กัน โดยมีบรรณารักษ์อย่างน้อยหน่ึงคน สถาบันการศึกษาของ รฐั บาลทกุ แหง่ มหี อ้ งสมดุ ไดแ้ ก่ โรงเรยี นประถม 118 แหง่ โรงเรยี นระดบั มธั ยม 31 แหง่ และวิทยาลัย 3 แห่ง นอกจากนี้ วทิ ยาลัยเอกชน และ โรงเรียนเอกชนล้วนแต่มีห้องสมุดของตนเอง แม้กระทั่งสุเหร่าและห้อง สวดมนตก์ ็มีห้องสมุดเล็กๆ ปลูกฝังการอา่ นต้งั แตว่ ัยเด็ก เมือ่ ตระหนักวา่ การอา่ น คือ ทักษะท่เี กดิ จากการเรียนรู้ และตอ้ งมี การสอนอย่างเหมาะสมตั้งแต่ช่วงปฐมวัย สถาบันภาษาและวัฒนธรรม แห่งบรูไนจึงมีบทบาทส�ำคัญในอันที่จะประสานงานอย่างใกล้ชิดกับ โรงเรยี น และไดร้ บั การสนบั สนนุ จากโรงเรยี นในการท�ำกจิ กรรมเกยี่ วขอ้ ง กบั หอ้ งสมดุ เพอ่ื ประโยชนส์ �ำหรบั เยาวชนตง้ั แตว่ ยั เดก็ เดก็ กอ่ นวยั เรยี น ระบบบริหารราชการของเนการา บรไู น ดารสุ ซาลาม 185

จะเรยี นรภู้ าษาพน้ื ฐาน ตวั เลข มารยาท ความรพู้ นื้ ฐานของศาสนาอสิ ลาม การเคลอื่ นไหว วนิ ัย การร้องเพลง การพัฒนาพรสวรรค์ เดก็ ๆ ควรจะ รู้สึกคุ้นเคยกับหนังสือและมีหนังสือรอบล้อมต้ังแต่เด็กๆ ไม่ว่าจะเป็นที่ โรงเรียน หรือที่บ้าน เดก็ ๆ ควรร้สู ึกผอ่ นคลายสบายใจเม่อื อยูก่ ับหนงั สอื โรงเรียนระดับประถมจะเน้นทักษะพื้นฐาน (3Rs) เพ่ือเน้นการพัฒนา ความคิดรเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์ และทกั ษะพน้ื ฐานในการอา่ น การเขียน และ การคดิ เลข (3Rs) และเพอื่ เสรมิ สรา้ งทกั ษะโดยการจดั สถานการณต์ า่ งๆ ท่จี ะใหน้ กั เรยี นสามารถฝึกฝนทกั ษะเหลา่ นี ้ ส�ำหรับการพัฒนาพื้นฐานอ่ืนๆ ที่จะเป็นฐานส�ำหรับการศึกษาใน ระบบตอ่ ไป หากเดก็ ๆ ไมไ่ ดถ้ กู สอนใหอ้ า่ นมาอยา่ งดี การศกึ ษาอนื่ ๆ ของ พวกเด็กๆ จะพลอยบกพร่องไปด้วย เม่ือเด็กไม่มีความสามารถในการ อ่าน ก็จะไม่สามารถค้นคว้าหาความรู้เพ่ิมเติม อ่านข้อมูลหรือค�ำส่ังค�ำ สอนต่างๆ ได้ ดังนั้นจึงเป็นหน้าท่ีของครูตั้งแต่ระดับประถมศึกษาท่ีจะ ต้องบอกให้ได้ว่านักเรียนคนใดที่ไม่ใช่นักอ่านที่ดี ท้ังน้ีเพราะครูระดับ ประถมเปน็ กลมุ่ แรกทไี่ ดพ้ บเดก็ เหลา่ นี้ การขาดความสามารถในการอา่ น จะท�ำใหเ้ ดก็ เหลา่ นล้ี า้ หลงั ในทกุ ๆ วชิ าทโ่ี รงเรยี น เนอื่ งจากวา่ ความส�ำเรจ็ ทางวชิ าการขนึ้ อย่กู ับความสามารถในการอ่าน วิธกี ารแกไ้ ข ● จัดหาสอื่ การอา่ น ● เด็กๆ จะตอ้ งไดร้ ับและไดอ้ ่านส่อื การอา่ น ● สถานการณ์ทส่ี มบรู ณ์แบบ ● วิธกี ารตา่ งๆ u186 r$ * sr

● คดั เดก็ ทีม่ ปี ญั หาเรอื่ งการอา่ นออกมา ● ใช้วิธีการท่ีถกู ตอ้ งในการสอนอา่ น ● ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งครูกบั เด็ก ● วธิ กี ารสอนอา่ น 4 วธิ ี ไดแ้ ก่ การสะกดค�ำ การออกเสยี ง ตวั อกั ษร และการมองแล้วพูดออกมา ถา้ ไมม่ ีการเขา้ ไปแกป้ ญั หาอยา่ งเหมาะสมแลว้   ผทู้ ีเ่ รยี นร้ไู ดช้ า้ จะมี ความหวงั เพยี งรบิ หร ่ี เดก็ ๆเหลา่ นจ้ี ะกลายเปน็ เหมอื นผใู้ หญอ่ กี นบั ลา้ นๆ ท่ถี กู ปิดก้ันจากระบบตา่ งๆ ของสังคมนนั้ ๆ ชาวบรไู นโดยทั่วไปไมอ่ า่ นหนงั สอื เพือ่ ความบนั เทงิ ประเทศบรูไนมี ขนบธรรมเนียมประเพณีการถ่ายทอดด้วยวาจามาเป็นเวลาช้านาน ดังน้ันชาวบรไู นจงึ ชอบพูดคุยมากกว่าอา่ น และอาจถอื ว่าการพดู คุยกัน ว่าเป็นการคบหาสมาคมที่มีคุณค่า แต่คนท่ีรักการอ่านจะถูกมองว่าไม่ ชอบสงั คม ชาวบรไู นจ�ำนวนมากเชอ่ื วา่ การอา่ นเปน็ กจิ กรรมทค่ี วรท�ำเมอ่ื อยู่ล�ำพังเป็นส่วนตัว และไม่คิดว่าการอ่านมีประโยชน์และมีศักยภาพท่ี จะเปน็ กญุ แจส�ำคญั ไปสคู่ วามส�ำเรจ็ ชาวบรไู นจ�ำนวนมากคดิ วา่ การอา่ น ออกเขียนไดเ้ พียงพอแลว้ ท่จี ะท�ำใหป้ ระสบความส�ำเร็จในชีวิต งานหนงั สือแหง่ ชาติบรไู น งานหนังสือแห่งชาติ จัดโดยสถาบันภาษาและวัฒนธรรมแห่งบรูไน (DBP) ทกี่ อ่ ตงั้ มาตงั้ แต่ พ.ศ. 2505 และไดเ้ ปดิ บรกิ ารหอ้ งสมดุ ทวั่ ประเทศ ที่ใหญท่ ส่ี ดุ รวมทง้ั บริการหอสมุดแห่งชาติ และนบั ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2527 จนถึงปัจจุบัน สถาบันภาษาและวัฒนธรรมได้จัดงานหนังสือแห่งชาติ ประจ�ำทกุ ปี โดยจัดควบคไู่ ปกบั วันชาติ และจัดให้มกี ิจกรรมหลายอยา่ ง เช่น การสัมมนา การฝึกอบรม การประชุมแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับ ระบบบริหารราชการของเนการา บรไู น ดารสุ ซาลาม I 187

% *c M, การอา่ น  การแขง่ ขนั เลา่ นทิ านประจ�ำป ี เปดิ รบั สมคั รสมาชกิ สโมสร หอ้ งสมุดส�ำหรบั เด็กและเยาวชน นอกจากน้ีได้จัดเทศกาลแห่งการอ่าน (Memperkasa Budaya Membaca)  เปน็ งานประจ�ำปีทส่ี ถาบันภาษาและวฒั นธรรม รเิ ร่ิมข้นึ ในปี พ.ศ. 2545 เพอื่ กระตุ้นให้สาธารณชน โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงเยาวชน ใหห้ นั มาเรม่ิ นสิ ยั รกั การอา่ น เพอ่ื ใชเ้ ปน็ การบ�ำบดั ทดี่ ใี นการสง่ เสรมิ จติ ใจ ใหม้ สี ขุ ภาพดี มคี วามคดิ สรา้ งสรรค ์ และมคี วามคดิ รเิ รมิ่ ใหมๆ่  อนั จะน�ำ ไปสคู่ วามเปน็ เลศิ ในทกุ ระดบั ของสงั คม และไดร้ เิ รมิ่ “เดอื นแหง่ การอา่ น” ในปี พ.ศ. 2550  เพ่อื ให้เป็นโครงการประจ�ำป ี ในเดอื นมถิ ุนายนของ ทุกๆป ี ในอนั ทจี่ ะปลกู ฝงั นิสัยการอ่านในหมูเ่ ยาวชน  และการสัมมนา ระดบั ชาติ 188 &

วนั หนงั สือโลก สถาบนั ภาษาและวฒั นธรรมแหง่ บรไู น  ไดจ้ ดั ใหม้ กี จิ กรรมขนึ้ ทงั้ วนั ในทกุ สาขาทวั่ ประเทศเมอ่ื วนั ที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2555 เพอ่ื ใหป้ ระชาชน ทราบถึงความส�ำคัญของวันนี้ หวั ขอ้ การจัดงานในปนี ้ี คือ “หนงั สอื และ การแปล” เพอ่ื เฉลมิ ฉลองการครบรอบ 80 ปขี องฐานขอ้ มลู หนงั สอื แปล ของยเู นสโก (UNESCO) หรอื Index Translationum ความส�ำคญั ของ การเฉลิมฉลองวนั อา่ นหนังสอื โลกของยูเนสโก ก็เพ่ือกระตุ้นการอ่านใน ทุกชุมชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งวัยรุ่นให้อ่านหนังสือ เพราะการอ่านช่วย ด้านพัฒนาการ พฒั นาสงั คม และวัฒนธรรมของสังคม ความคิดริเร่ิมของส�ำนักนายกรัฐมนตรี  Majlis Ilmu การประชุม ความรู้ปี พ.ศ. 2554 (Knowledge Convention) โดยทน่ี กั วชิ าการจะ มาแลกเปลย่ี นความรใู้ นหัวขอ้ ที่เป็นวาระการประชุมระดับชาติ ความคิดริเร่ิมของสถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยต่างๆ มีหน่วย บริการแนะน�ำ  และให้ค�ำปรึกษาการใชห้ ้องสมุด  และโครงการข้อมูล การรหู้ นงั สอื เพอื่ สง่ เสรมิ การอา่ นและทกั ษะในการหาขอ้ มลู โรงเรยี นเอง กม็ กี จิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นของตนเองเปน็ ประจ�ำ เชน่ โครงการ I SRDM (I See, I Remember, I Do, I am motivated) (ฉนั เหน็ ฉันจ�ำได้ ฉันท�ำ ฉันมแี รงจงู ใจ) หรือ Do It Yourself (ท�ำเองเลย) เป็นโครงการท่ี ให้ประสบการณ์เรียนรู้มากมาย และยังเปิดโอกาสให้นักเรียนระดับ ประถมไดฝ้ กึ หดั การเรยี นรทู้ มี่ ปี ระสทิ ธภิ าพและทนี่ า่ สนใจอยา่ งทส่ี ดุ เพอื่ สนับสนุนใหบ้ รรลถุ ึงศกั ยภาพสงู สุดของตนเอง และสอดคล้องกบั SPN 21 โครงการน้มี กี ิจกรรมหลากหลาย เชน่ การเพมิ่ พนู ศพั ท์ ทกั ษะการ เขียน และยังช่วยส่งเสริมความม่ันใจในตนเอง ความสามารถในการ ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรูไน ดารสุ ซาลาม I 189

แขง่ ขนั ความเป็นอิสระ และลักษณะการคิดการท�ำงานเชงิ รุก ความริเร่ิมของเอกชนและองค์การพัฒนาเอกชน (NGOs) องค์การ พฒั นาเอกชนหลายองคก์ าร มบี ทบาทในการสง่ เสรมิ หนงั สอื และการอา่ น สมาคมการอา่ นและการรู้หนังสอื (The Reading and Literacy Asso- ciation) ได้กอ่ ต้ังขนึ้ มาในปี พ.ศ. 2536 ชมุ ชนออนไลน์ B:Read เปน็ กลุ่มเฟสบุ๊คของผู้มีความกระตือรือร้นที่เป็นเยาวชนร่วมกันส่งเสริมการ อ่านและอภปิ รายเกย่ี วกบั หนังสือของบรูไน ดารสุ ซาลาม กลุ่มนีจ้ ัดให้มี การแลกเปลยี่ นหนงั สอื กนั อา่ นเปน็ การสาธารณะ (Public Book Swap) ครงั้ แรกในเดอื นพฤศจกิ ายน พ.ศ. 2554 นอกจากนเี้ วบ็ ไซต์ Nollybook. com ซึ่งเป็นร้านขายหนังสือออนไลน์  ก็ได้กระตุ้นวัฒนธรรมการอ่าน ในบรูไน สมาคมห้องสมุดแห่งบรูไน จัดให้มีโครงการฝึกอบรม และการ บรรยายเรอื่ งอาชพี การงาน เพอ่ื ใหต้ ระหนกั ถงึ ความส�ำคญั ของหอ้ งสมดุ และบทบาทของบรรณารกั ษ์ สมาคมครผู สู้ อนภาษาแหง่ บรไู นจดั ใหม้ กี าร สอนภาษาองั กฤษในโรงเรยี น สว่ นสมาคมครู และผปู้ กครองจดั โครงการ ‘PTA outreach’ ซ่ึงเป็นการประชุมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการอ่าน ส�ำหรบั พอ่ แม่ วัฒนธรรมความรู้ ส่วนประกอบส�ำคัญของการจัดให้การศึกษาที่มี คณุ ภาพส�ำหรบั ทกุ คนตาม SPN 21 กค็ อื การเนน้ การพฒั นาแตล่ ะบคุ คล ที่ไดร้ ับการปลูกฝังให้กระหายทจ่ี ะแสวงหาความร้แู ละทกั ษะใหมๆ่ โดย เดก็ ๆ รวู้ ธิ กี าร และร้จู กั แหลง่ ทจ่ี ะค้นหาความรู้ และวธิ ีการทจี่ ะคัดสรร ข้อมูลที่ต้องการออกมา ส่ิงน้ีเป็นส่ิงที่จ�ำเป็นอย่างย่ิงในการสร้างสรรค์ วัฒนธรรมความรู้ในสังคม และยังเป็นเงื่อนไขแรกของการพัฒนาไปสู่ u190 r$ * sr

ประเทศทป่ี ระสบความส�ำเรจ็ และกา้ วหนา้ จงึ ส�ำคญั อยา่ งยง่ิ ทจ่ี ะพฒั นา ให้นกั เรียนมคี วามเตม็ ใจและสนใจทจ่ี ะอ่าน คิด เรียนรู้ และมสี ่วนร่วม อย่างแข็งขันในการอภิปรายและเขียนอย่างสรา้ งสรรค์ ดังท่ีก�ำหนดไวใ้ นวิสยั ทัศนบ์ รไู น พ.ศ. 2578 (ค.ศ. 2035) ระบบการ ศึกษาใหม่มุ่งไปสู่การผลิตพลเมืองในระบบเศรษฐกิจฐานความรู้ที่มีการ ศกึ ษา มคี วามช�ำนาญสงู และประสบความส�ำเรจ็ การสง่ เสรมิ วฒั นธรรม การอ่านในระยะไม่นานมานี้ ถือได้ว่าเป็นการเริ่มต้นท่ีดีไปสู่การท�ำให้ วสิ ยั ทัศน์ดงั กล่าวเปน็ จริงขึน้ มาได้ ขอ้ สงั เกตและค�ำแนะน�ำ วฒั นธรรมการอา่ นเปน็ ความรบั ผดิ ชอบของ สังคม ซ่ึงต้องอาศัยความร่วมมือ และการประสานงานกันระหว่างภาค ส่วนของหน่วยงานต่างๆ ข้อเสนอแนะดังต่อไปน้ี อาจใช้เสริมความคิด ริเรมิ่ ขององค์การต่างๆ ที่กล่าวมาก่อนหน้านี้ คอื SWt?i Mff.c \\ j ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรไู น ดารุสซาลาม 191

● ท�ำให้วัฒนธรรมการอ่านเป็นวาระแหง่ ชาติ ● สมาคมส�ำนกั พมิ พอ์ าเซยี นควรแปลงานเขยี นของนกั เขยี นอาเซยี น ท่ดี ีเย่ียม ● สภาพฒั นาหนงั สอื แหง่ ชาตคิ วรแขง็ ขนั จดั กจิ กรรมทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั หนังสือและการอ่าน และจัดหาเวทีอภิปรายให้นักเขียน ผู้เขียนภาพ ประกอบ ผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ ส�ำนักพิมพ์ และผู้แปลได้มีโอกาส สนทนา แลกเปล่ยี นความรกู้ นั ● ท�ำให้วรรณคดีเปรียบเทียบของอาเซียนเป็นวิชาหนึ่งในโรงเรียน และมหาวทิ ยาลยั ● รา้ นหนงั สือควรจัดแสดงหนงั สือ นิตยสาร และงานของนักเขยี น ในทอ้ งถิน่ เพ่ือใหเ้ ขา้ ถึงไดง้ า่ ย และเพ่อื การประชาสัมพนั ธ์ ● การอา่ นเปน็ สงิ่ ทด่ี ี แตก่ ารแบง่ ปนั สง่ิ ทเี่ ราอา่ นไปแลว้ ถอื วา่ ส�ำคญั พอกัน ● ให้วัฒนธรรมการอ่านเป็นส่วนหน่ึงในการพิจารณาให้รางวัล หมูบ่ า้ นดีเดน่ (Excellent Village Award) ● ปรบั ปรงุ หอ้ งสมดุ ทม่ี อี ยแู่ ลว้ และสรา้ งหอ้ งสมดุ ใหมเ่ พมิ่ ขน้ึ พรอ้ ม งบประมาณเพยี งพอต่อการเพ่มิ หนงั สือในห้องสมดุ ● ปรบั ปรงุ การเขา้ ถงึ ขอ้ มลู และความรู้ โดยใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสอื่ สาร (ICT) ● ผลติ หนงั สอื และขอ้ มลู ทม่ี เี นอื้ หาเรอื่ งของทอ้ งถนิ่ มากขนึ้   รวมทง้ั ส่งเสรมิ กจิ กรรมการวิจยั ดา้ นน้ี ● ปรับปรุงการน�ำเข้าหนงั สือ ● ปรับปรงุ อตุ สาหกรรมหนังสอื ในทอ้ งถ่นิ u192 r$ * sr

● สง่ เสรมิ ใหพ้ อ่ แมแ่ ละลกู ๆ ท�ำใหก้ ารอา่ นและการไปหอ้ งสมดุ เปน็ วาระของครอบครัว 8.3 วันเวลาท�ำงานราชการ การติดต่อหน่วยงานในบรูไน เวลาเปิดท�ำการของหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และธนาคารในบรไู นมีรายละเอียดดงั นี้ ● การตดิ ต่อหนว่ ยงานราชการในบรูไน เวลาเปิดท�ำการ คือ วนั จนั ทรถ์ งึ วนั พฤหสั บด ี และวนั เสาร์ เวลา 07.45-16.30 น. (ปดิ ท�ำการ วันศุกรแ์ ละวนั อาทิตย)์ ● การติดตอ่ หนว่ ยงานไปรษณยี ์ในบรูไน  เวลาเปดิ ท�ำการ  คือ วนั จันทรถ์ งึ วนั พฤหสั บดี เวลา 07.45-16.30 น. ● การตดิ ตอ่ หนว่ ยงานพพิ ธิ ภณั ฑ์ในบรูไน  เวลาเปิดท�ำการ  คอื วันพฤหัสบดีถึงวันอาทิตย์ เวลา 09.30-17.00 น. และวันศุกร์ เวลา 09.00-16.30 น. ● การติดตอ่ ธนาคารในบรไู น  เวลาเปดิ ท�ำการ คอื   วนั จนั ทรถ์ งึ วันศกุ ร์ เวลา 09.00-15.00 น.  และวันเสาร์ เวลา 09.00-11.00 น. 8.4 เทศกาลและวนั หยดุ ราชการ ประชาชนบรไู นสว่ นใหญ่ คอื ชาวบรไู นเชอื้ สายมลายทู ม่ี วี ถิ ชี วี ติ เรยี บ ง่าย ปฏิบัติตามหลักศาสนาอิสลาม ท�ำให้เทศกาลและวันส�ำคัญทาง ศาสนาของชาวบรูไนส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมมลายูและ ระบบบริหารราชการของเนการา บรูไน ดารสุ ซาลาม I 193

I Fir n.a~ / / / / /# • i t >•.. ศาสนาอสิ ลามเช่นกนั ส�ำหรับกล่มุ ชาติพันธุอ์ ื่นๆ ทีอ่ าศยั อย่ใู นบรไู นก็มี วฒั นธรรมและประเพณขี องตนเอง โดยจดั งานเฉลมิ ฉลองไดแ้ ละรฐั บาล ไดป้ ระกาศให้วนั ส�ำคญั เป็นวันหยดรุ าชการดว้ ย วันชาติของบรูไนตรงกับวันท่ี 23 กุมภาพันธ์ เป็นวันเฉลิมฉลอง ราชวงศ์ กองทัพ ต�ำรวจ ข้าราชการ บรษิ ทั หา้ งรา้ น พอ่ ค้าประชาชน นักเรียน นักศึกษา องคก์รต่างๆ จะมารว่ มกนั เดนิ พาเหรดทส่ี นามกีฬา แหง่ ชาติ และกองทหารจะเชญิ ธงชาติขนาดใหญ่ขึ้นสู่ยอดเสาในบรเิ วณ สวนของมัสยิดสุลต่าน โอมาร์ อาลี ไซฟุดดิน กลางเมืองหลวงบันดาร์ เสรีเบกาวัน วนั เฉลมิ พระชนมพรรษาสมเดจ็ พระราชาธบิ ดแี หง่ บรไู นตรงกบั วนั ท่ี 15 กรกฎาคม เป็นวันพระราชสมภพของสมเด็จพระราชาธิบดี ฮัจญี ฮสั ซานัล โบลเกียะห์ มอู ซิ ซัดดนิ วัดเดาละห์ ในวนั นจ้ี ะมกี ารเฉลิมฉลอง อย่างย่ิงใหญ่ ประชาชนชาวบรูไนจะมารวมตัวกันท่ีสวนโอ มาร์ อาร์ลี #** Iffl*194 f5 . * ®r

ไซฟดุ ดนิ   ใจกลางเมอื งบนั ดาร ์ เสร ี เบกาวนั   ซงึ่ สมเดจ็ พระราชาธบิ ดจี ะ มพี ระราชด�ำรสั ถงึ ประชาชน  และอกี สองสปั ดาหถ์ ดั มาทพ่ี ระราชวงั อิสตานานูรุล อิมาน  จะมีการเฉลิมฉลอง มีการแสดงดอกไม้ไฟ และ ขบวนพาเหรดอยา่ งยิ่งใหญ ่ วันเมาลดิ เมาลดิ เป็นภาษาอาหรับ แปลว่า ท่ีเกดิ หรือวนั เกิด หมาย ถงึ วนั เกดิ ของนบมี ฮุ มั มดั ตรงกบั วนั ท่ี 12 เดอื นรอบอี ลุ อาวาล หรอื เดอื น 3 ตามปฏทิ ินอาหรบั ในวนั น้ชี าวมุสลิมในบรไู นจะมารวมตวั กันทส่ี วน โอมาร์ อาลี ไซฟุดดิน และอ่านพระคัมภีร์อัลกรุอาน องค์สุลต่านและ พระบรมวงศานวุ งศจ์ ะเสดจ็ พระราชด�ำเนนิ น�ำขบวนไปตามถนนสายหลกั ของบนั ดารเ์ สรเี บกาวนั เพอ่ื ร�ำลกึ ถงึ นบมี ฮุ มั มดั และการเดนิ ทางของทา่ น นอกจากนใี้ นเมอื งยงั มกี จิ กรรมทางศาสนา เชน่ การบรรยายธรรม เปน็ ตน้ เทศกาลถอื ศีลอดอย่ใู นชว่ งเดือนรอมฎอน หรือเดือน 9 ตามปฏิทินทาง จันทรคติของศาสนาอสิ ลาม ซง่ึ ถือเป็นเดอื นอันศักดสิ์ ิทธ์ิของชาวมสุ ลมิ เป็นช่วงเวลาส�ำคัญที่สุดของชาวมุสลิมในการละเว้นจากอบายมุข และ ช�ำระจติ ใจใหบ้ ริสุทธ์ิเป็นเวลาประมาณ 29-30 วนั ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม I 195

บรรณานกุ รม u196 r$ * sr

[1] กรมเอเชยี ตะวนั ออก กระทรวงการตา่ งประเทศ. นโยบาย Wawasan 2035 ของบรูไนดารสุ ซาลาม. คน้ เมือ่ 5 สงิ หาคม 2557 จาก http://www.eastasiawatch.in.th/ [2] กระทรวงการต่างประเทศ. 2556. ความสมั พนั ธ์กับประเทศบรไู น. คน้ เมอื่ 4 กุมภาพนั ธ์ 2557. จาก http://www.mfa.go.th/ [3] กระทรวงยตุ ธิ รรม. รายงานการศึกษากฎหมาย กฎ ระเบยี บ ขอ้ บังคบั ระบบงาน และแนวปฏบิ ัตขิ องกระทรวงยุตธิ รรม และหนว่ ย งานทีเ่ กย่ี วข้องกบั ระบบงานยุติธรรมของประเทศในอาเซียน: ประเทศบรไู น. (หนา้ 33-48). กระทรวงยุตธิ รรม. กรุงเทพฯ. [3] ดร.สัญญพงศ์ ลิ้มประเสริฐ และคณะ. 2556. โครงการศึกษา ทบทวนกฎหมายปกครองและกระบวนการยุติธรรมทางปกครอง เพือ่ เตรียมพร้อมเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน. วทิ ยาลยั นวตั กรรม. มหาวทิ ยาลัยรงั สติ กรงุ เทพฯ. [4] ตตยิ าพร จารมุณีรัตน. 2554. รายงานวจิ ยั ฉบบั สมบูรณ โครงการ ASEAN: การบูรณาการการเรยี นร้ขู ามวัฒนธรรมผา น หลักสูตร การทอ งเที่ยวในกลุมประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น กรณีศกึ ษา ประเทศสงิ คโปรและบรูไน Learning Each Other Through ASEAN Tourism Education: The Case of Singapore and Brunei. มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร. [5] นชิ านท์ สงิ หพทุ ธางกรู . 2556. ระบบการปกครองทอ้ งถ่นิ ประเทศ สมาชกิ ประชาคมอาเซยี น: เนการาบรไู นดารสุ ซาลาม. สถาบันพระปกเกล้า. ระบบบรหิ ารราชการของเนการา บรไู น ดารสุ ซาลาม I 197

[6] มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร.์ บทบาทของประเทศบรไู นกบั อาเซยี น. คน้ เมอ่ื 5 สงิ หาคม 2557 จาก http://www.gotoknow.org/ [7] วทิ ยา มติ รศรัทธา. 2555. หนังสอื หน่ึงในประชาคมอาเซยี น ชดุ ประเทศบรูไน The State of Brunei Darussalam. บริษทั เจเนซสิ มีเดียคอม จ�ำกดั . [8] ศนู ยข์ อ้ มลู ขา่ วสารอาเซยี น ส�ำนกั ประชาสมั พนั ธเ์ ขต 6. เรยี นรภู้ าษา ประเทศบรไู น. ค้นเมอื่ 21 กุมภาพันธ์ 2557. จาก http://region6. prd.go.th/ [9] สถานเอกอคั รราชทูต ณ บันดารเ์ สรีเบกาวัน. บรูไนดารุสซาลาม (Brunei Darussalam). ค้นเมอ่ื 20 กมุ ภาพนั ธ์ 2557. จาก http:// www.thaiembassybrunei.org/ [10] สถานเอกอคั รราชทตู ณ บนั ดารเ์ สรเี บกาวนั . รวมประเดน็ กฎหมาย อาญาอิสลามบรูไน. ค้นเมือ่ วนั ที่ 11 พฤษภาคม 2557. จาก http:// www.thaiembassybrunei.org/ [10a] สามารถ ทองเฝอื ( 2557) วารสารการเมืองการปกครอง มหาวทิ ยาลัย,  ปที ี่ 4 ฉบบั ท่ี 2 มีนาคม – สิงหาคม [11] ส�ำนกั ความสัมพันธต์ ่างประเทศ ส�ำนักปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ. ขอ้ มูลประเทศบรูไนดารุสซาลาม. ค้นเม่อื 5 สิงหาคม 2557 จาก http://www.bic.moe.go.th/ [12] ส�ำนกั งานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น. การพฒั นาขา้ ราชการ เพ่อื เตรียมความพร้อมเขา้ สู่ประชาคมอาเซยี น: บรไู นดารุสซาลาม. คน้ เมอื่ 4 กมุ ภาพันธ์ 2557. จาก http://www.ocsc.go.th/ [13] ส�ำนกั งานสง่ เสรมิ วสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม. ประเทศบรไู น. u198 r$ * sr