Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1 เครื่องมือทางภูมิศาสตร์

1 เครื่องมือทางภูมิศาสตร์

Published by benze1978, 2021-05-27 03:00:13

Description: 1 เครื่องมือทางภูมิศาสตร์

Search

Read the Text Version

เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ และเวลาโลก





เครอ่ื งมอื วดั ระยะทางในแผนที่(map measurer) เป็นเครอ่ื งมือที่เหมาะสาหรบั วดั ระยะทางคดเคีย้ วไปมาและทาให้ค่าความคาดเคลอ่ื นนอ้ ย ลกั ษณะของ เครือ่ งมือประกอบดว้ ยลกู กล้ิงที่ปลายติดกับลอ้ ท่ีเป็นหน้าปัดแสดงระยะทาง บนหนน้าปดั มเี ขม็ เล็กๆคล้ายเขม็ นาฬิกา เข็มจะวิ่งไปตามระยะทางที่ลูกกลิ้ง หมนุ ไปมีด้ามสาหรบั จับ เทอรโ์ มมเิ ตอร์ (thermometer) เป็นเคร่อื งมือวดั อณุ หภมู อิ ากาศทใี่ ชก้ ันอยู่ทวั่ ไป มดี ังน้ี เทอร์โมมิเตอรธ์ รรมดา (ordinary thermometer) ทใ่ี ช้กนั เสมอใน การตรวจวัดอุณหภูมิประจาวัน คอื เทอร์โมมเิ ตอร์ธรรมดา ชนดิ ปรอทบรรจุอยู่ใน หลอดแก้ว สามารถวดั อณุ หภูมไิ ดอ้ ยรู่ ะหว่าง -20 ถงึ 50 องศาเซลเซยี ส

เขม็ ทิศ ( Compass ) เข็มทศิ เป็นเคร่ืองมอื บอกทิศอย่างงา่ ยๆ โดยอาศัยแรงดึงดดู ระหวา่ งแม่เหล็กข้วั โลกกับเขม็ แมเ่ หล็กของเขม็ ทิศ และแสดงคา่ ของมุมบนหน้าปัด วิธีใชเ้ ข็มทิศ คือ วางทิศในแนวระนาบปรบั หมนุ หน้าปดั ใหเ้ ข็มบอก ค่าบนหนา้ ปดั อยใู่ นตาแหนง่ ทหี่ ันไปทางทศิ เหนือแม่เหล็กโลก ตอ่ จากนัน้ จงึ นาเขม็ ทิศหันเข้าหาตาแหนง่ ทต่ี อ้ งการวัดมุม เช่น เสาธงโรงเรียน เข็มทศิ กจ็ ะบอกให้ ทราบวา่ เสาธงของโรงเรียนอย่ใู น ทิศใด และทามมุ กีอ่ งศากบั ทศิ เหนือแมเ่ หลก็ โลก เข็มทศิ บรนุ ตนั ได้รบั ความนยิ มนา มาใชใ้ นการหามุมของทศิ มาก โดยมกี ารแทนสญั ลกั ษณ์ คือ N = ทิศเหนือ E = ทิศตะวันออก W = ทิศตะวนั ตก S = ทศิ ใต้



แผนที่ที่ใชอ้ ยใู่ นปจั จบุ นั มหี ลายรูปแบบ ซง่ึ ตอบสนองการใช้งานทีแ่ ตกต่างกนั ไป ได้แก่ แผนที่เฉพาะเรอ่ื ง แสดงขอ้ มูลเฉพาะตามวัตถปุ ระสงค์ เปน็ แผนที่ท่นี กั เรียนตอ้ งเรียนรู้ เช่น แผนทีแ่ สดงลักษณะภูมิประเทศ แผนท่ีแสดงปรมิ าณนา้ ฝน แผนท่ีแสดงความหนาแนน่ ของประชากร แผนท่ีทอ่ งเทย่ี ว

แผนที่กายภาพ







ลูกโลก ลักษณะ เปน็ ทรงกลม คลา้ ยกบั โลกและสามารถหมนุ ไดโ้ ดยรอบ สิง่ ทีป่ รากฏอยบู่ นลูกโลกจาลอง ที่ตั้งของเมอื ง ประเทศ ทะเล มหาสมุ ทร เสน้ แบ่งเมอื ง พกิ ัด ภูมิศาสตร์ เสน้ วนั สากล เส้นศูนยส์ ตู ร ทาหนา้ ที่ เปน็ เส้นแบง่ โลกออกเป็นซีกโลกเหนอื และซกี โลกใต้ เสน้ ละตจิ ดู เสน้ ขนานไปกบั เสน้ ศูนยส์ ตู รไปในทางเหนอื และทางใตข้ องเสน้ ศูนยส์ ตู รไปในทาง เหนือและทางใตข้ องเสน้ ศูนยส์ ตู ร เส้นลองจจิ ดู ทาหนา้ ที่ เป็นเสน้ แบง่ โลกตะวนั ออกและตะวนั ตก เส้นลองจจิ ดู มี 2 เส้น สาคัญคอื 1.เส้นเมรเิ ดยี นแรก 2.เสน้ วนั สากล

เขตหนาว เขตหนาว

ภาพจากดาวเทียม เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยระบบกล้องหลาย ช่วงคลื่น โดยบันทึกข้อมูลเชิงตัวเลขของค่าการสะท้อนช่วงคลื่นแสง โดยข้อมูลท่ีบันทึกสามารถส่งกลับมายังสถานีรับบนโลกได้ทันทีจึง ทาให้ได้ข้อมูลที่ทันสมัยท่ีสุด ซ่ึงการใช้ข้อมูลภาพจากดาวเทียม จาเปน็ ตอ้ งมีการแปลความของส่งิ ท่ปี รากฏบนภาพกอ่ น



เกิดจากการนากล้องหรือระบบบนั ทกึ ขอ้ มลู ข้นึ ไปติดต้ังอยูบ่ นอากาศยาน เชน่ เครอ่ื งบิน บอลลนู อากาศยานไร้คนขบั (โดรน)

เคร่อื งมือสาคัญทางภูมศิ าสตรอ์ น่ื ๆ แผนภมู ิ เวบ็ ไซต์ แผนภาพ

เทคโนโลยีและรูปแบบของขอ้ มลู ภูมิศาสตร์ ระบบกาหนดตาแหนง่ บนพนื้ โลก (GPS : global positioning system) จีพีเอส (GPS) เป็นเครือ่ งมือรับสัญญาณ จากดาวเทียม เพื่อหาหรือกาหนดจุดตาแหน่ง บนพื้นโลก โดยข้อมูลที่แสดงบนหน้าจอ GPS ได้แก่ ค่าละติจูด ค่าลองจิจูด และค่าระดับ ความสูง ปัจจุบันนิยมใช้ในการหาเส้นทางเพื่อ เดินทาง การสารวจรังวัด ใช้บอกตาแหน่ง ผู้ปว่ ย เปน็ ตน้ ปัจจุบันมกี ารใช้ GPS มากขนึ้ ในการหาเสน้ ทาง เพื่อเดนิ ทางไปยงั จดุ หมาย

พกิ ัดทางภูมศิ าสตร์ เป็นระบบบอกตาแหน่งบนพ้นื โลก อา้ งองิ จากตาแหน่งเปน็ ละติจดู และลองจิจดู ที่ตดั กันเปน็ หลักในการบอกตาแหน่ง บอกจุด โดยมคี า่ ของตาแหน่งตามละตจิ ดู และลองจิจูดทต่ี ดั กนั น้นั เปน็ คา่ ตาแหนง่ พกิ ัดภมู ิศาสตร์ ดงั นนั้ ตาแหน่งของจุดบนพ้ืนโลก (ท่ีตง้ั ของเมอื งตา่ งๆ) กาหนดค่าเป็น ละติจดู และ ลองจิจูด พกิ ัดทางภมู ิศาสตร์



ขัว้ โลกเหนอื ละติจูด คือระยะทางทวี่ ดั เป็นมุมไปทางเหนือ และทางใตข้ องเส้นศนู ย์สตู ร N เส้นศนู ยส์ ตู ร S ขั้วโลกใต้ เสน้ แนวนอนทขี่ นานไปกับเสน้ ศนู ยส์ ตู รและ อยู่บนละตจิ ูด 15 องศาเรียกเสน้ ขนานที่ 15 องศา ตงั้ อยู่บนละติจดู 30 องศาเรียกเสน้ ขนาน 30 องศา ดงั นนั้ เสน้ ขนานกับละติจูดจึงเปน็ แนวเดยี วกนั 1 องศาแบง่ เปน็ 60 ลิปดา 1 ลิปดาเป็น 60 พลิ ิปดา การเรียกช่ือละตจิ ดู อ้างอิงตาแหนง่ นอกจากกาหนดเรียกตวั เลข เปน็ องศาลิปดาพลิ ปิ ดาแลว้ **ตอ้ งบอกเหนือหรอื ใต้ด้วยเสมอ** เส้นขนานละตจิ ดู เป็นเส้นท่มี คี วามสาคัญในการแบง่ เขตอากาศโลก

1.เสน้ ศนู ยส์ ตู ร (Equator) คือ เสน้ ที่แบ่งโลกออกเป็ น 2 ซีก คือ ซีกโลกเหนอื และซีกโลกใต้ ระนาบของเสน้ ศนู ยส์ ตู รตง้ั ฉากกบั แกนโลก มคี า่ ละติจดู เป็ น 0 องศา เป็ นเสน้ ทล่ี ากผา่ นบริเวณกึ่งกลางของโลก 2. เสน้ ทรอปิ กออ แคนเซอร์ (Tropic of Cancer) 3. เสน้ ทรอปิ กออ แคปรคิ อรน์ (Tropic of Capricorn) 4. เสน้ อารก์ ติกเซอรเ์ คิล(Tropic of Cancer) 5. เสน้ แอนตารก์ ติกเซอรเ์ คิล(Antarctic of Cancer)

ขั้วโลกเหนอื ลองจจิ ดู (longitude) คอื ระยะทว่ี ัดเป็นมมุ ไปทางตะวันออกและตะวนั ตกของเมริเดียนแรก กาหนดเปน็ เส้นสมมุตทิ ่ีลากจากขั้นโลกเหนือไปขั้วโลกใต้ ผ่านหอดดู าว กรีนชี เมืองกรนี ชิ เมืองกรีนีชประเทศสหราชอาณาจักร เป็นลองจจิ ดู 0 องศา แบ่งโลกออกเปน็ 2 ซีก ซีกโลกตะวันตกและซีกโลกตะวนั ออก ตะวันตก ตะวันออก เส้นเมรเิ ดียนทีส่ าคัญ มี 2 เส้น 1.เสน้ เมรเิ ดยี นแรก คือเสน้ เมริเดยี นท่ี 0 องศา ใชก้ าหนดเวลามาตรฐานสากล 2.เสน้ วนั ทส่ี ากล เส้นเขตวนั มหี น้าท่แี บง่ เขตวนั ของโลก ขัน้ โลกใต้ เมริเดยี นแรก เสน้ เมรเิ ดียนเป็นเสน้ ทม่ี ีความสาคัญในการกาหนดเวลาบนโลก

วิธีเขยี นพกิ ัด ภูมิศาสตร์

เวลากบั ภูมศิ าสตร์

เวลากับภูมศิ าสตร์ กั

การแบง่ เขตเวลาของโลก ความสาคญั ของการแบง่ เวลา เน่ืองจากโลกมสี ณั ฐานเปน็ ทรงกลม ทาใหแ้ ต่ละพน้ื ท่เี กดิ กลางวันและกลางคืน ไมต่ รงกัน จึงจาเป็นต้องมีการกาหนด “เวลาปานกลางกรีนิช” (GMT) หรอื “เวลาสากล” เพือ่ ใช้กาหนดเวลามาตรฐานของแต่ละประเทศ ส่งผลใหส้ ะดวกตอ่ การติดต่อสมั พันธ์กนั ระหว่างประเทศในทุกๆ ด้าน



การกาหนดเขตภาคเวลา แผนทแ่ี สดงเขตภาคเวลาของโลก การกาหนดเขตภาคเวลาจะกาหนดตามระยะหา่ งของเส้นช่วงละ 15 องศา โดยกาหนด ตามเส้นเมรเิ ดยี น ทั้งด้านทศิ ตะวนั ออกและทศิ ตะวันตก ซึ่งท่ัวโลกมเี ขตภาคเวลาทัง้ หมด 24 เขต ภาคเวลาและกาหนดใหเ้ ส้นเมริเดียนแรก (๐ องศา) เป็นเวลาปานกลางกรนี ชิ

เวลามาตรฐาน เวลามาตรฐานท้องถิน่ เวลามาตรฐานสากล ตารางเวลา GMT ทวั่ โลก ประเทศไทย กัมพชู า ลาว และเวยี ดนามใช้เวลาที่เสน้ เมริเดียน 105° ตะวนั ออกเป็นเส้นเมริเดยี นกลางเขตภาคเวลาทาใหใ้ ช้ เวลาท่ีกาหนดข้ึนใช้ในเขตภาคเวลาต่างๆ เวลามาตรฐานเดยี วกัน ท่ัวโลก ซ่ึงประเทศท่ีมีขนาดใหญ่จะครอบคลุม พ้ืนที่หลายเขตภาคเวลา เช่น รัสเซีย ๑๑ เขต เวลาของแต่ละพ้ืนที่ที่แตกต่างกันออกไปตามเขตภาคเวลา สหรัฐอเมริกา ๕ เขต เปน็ ต้น ของแตล่ ะดนิ แดนหรอื ประเทศตา่ งๆ ซ่ึงมีเวลามาตรฐานของแต่ละ เขตหรือแต่ละทอ้ งถ่นิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook