Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฎหมายระหว่างประเทศ (2)

กฎหมายระหว่างประเทศ (2)

Published by Pipatphong Songprom, 2021-02-02 06:23:13

Description: กฎหมายระหว่างประเทศ (2)

Search

Read the Text Version

กฎหมายระหวา่ งประเทศ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี๔/๗

คำนำ สำรบญั ปขหรำอรนยะงงัวโสคชิ ยืวอำชำอเนมศอรส์กนษบมัั ไฐพกลศำมนั ำรธ(์สเeรท์ ต-ียbำรนงo์ สเoศ3kร1)ษจ1ฐดั0กท3ิจำขเแพ้ลึนอ่ื ะเใพไหอด่ื ไ้เศ้ ปดกึ็ นศ้ ษกึสำษ่วอนำยหำ่หงำนเคข่ึงวำ้ ำขใมจอรเงพู้ในอื่ เเปร็่ือนง หน้าปก..................................................................ก คานา.....................................................................ข ปขเรอร่ือะนงโนอ้ ย้มีอชผรยนจู้บัู่หดก์ั ไำทบัวกำผแ้มหลอู้ ขี วะ่ำอ้งนัขแวหอนำ่ อระือภหนนยั นำมกัหงัำเสรรณีืยอือนขทออ้อน่ีนผน้กดีั ิดไศว้ พลยึกลนษำ์(ำดeท-ปb่ีกรoำะoลกkงั)ำหรเลใำ่มดขนอ้ผ้มจีจู้ ะดูลั เทป็ำน สารบญั ..................................................................ค ผจู้ ดั ทำ ความหมายของกฎหมายระหวา่ งประเทศ..................1 กฎหมายทีเ่ ป็นลายลกั ษณ์อกั ษร...............................3 นำยจำตุรนั ต์ สืบจำกจลุ เลขท1่ี ปฏญิ ญา.................................................................5 นำยจิตรทวสั ประทมุ สัน เลขท่ี2 สนธสิ ญั ญา.............................................................7 นำยชยั อนนั ต์ จนั ทร์หอม เลขท่ี3 แบบไมเ่ ป็นลายลกั ษณ์อกั ษร.....................................9 นำยโสภณฐั นำโควงศ์ เลขท่ี11 รัฐ...........................................................................15 เขตอานาจรัฐ...........................................................21 นำยอธิพฒั น์ หว้ ยกนั เลขที่13 26/ม.ค./2563

1 2 ความหมาย กฎหมายระหว่างประเทศ (องั กฤษ: International law) หมายถึง กฎ กฎเกณฑ์ และข้อตกลงท่ีเกิดขนึ ้ จากความ ตกลง หรือการแสดงเจตนาเข้าผกู พนั ของ รฐั ตงั้ แตส่ องรฐั ขนึ ้ ไป หรือระหว่างรฐั กบั องค์การระหว่างประเทศ และมกั ใช้เป็น หลกั ในการพิจารณาข้อพพิ าทระหว่าง ประเทศ มีทงั้ แบบที่เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร และไมเ่ ป็นลายลกั ษณ์อกั ษร

3 4 กฎหมายท่ีเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร • กฎหมายระหว่างประเทศ แบบลาย ลกั ษณ์อกั ษร แก้ไข เป็ นกฎหมายระหว่าง ประเทศ ทม่ี ีแบบแผนชัดเจน ถูกร่างขนึ้ เป็ นเอกสารข้อตกลง ซ่ึงมีผลผูกพนั กบั รัฐในระดบั ต่างๆ มากหรือน้อยขนึ้ อยู่กบั ประเภทของกฎหมายน้นั ๆ และมกี ารลง โดยผ้แู ทนของรัฐ รวมถึงการให้สัตย บนั โดยรัฐสภาของรัฐท่ลี งนาม จงึ จะถือ ว่ากฎหมายน้ัน มีผลผกู มดั อย่างแท้จริง

5 6 ปฏญิ ญา ปฏิญญา แกไ้ ข เป็ นประเภทลาย ลกั ษณ์อกั ษร ที่มผี ลผกู พนั นอ้ ยท่ีสุด (หรือไมม่ ีผลผกู พนั เลย) ปฏญิ ญา คอื การแถลงการณ์ร่วมกนั โดยให้ คามน่ั ว่ารัฐที่ลงนาม จะปฏบิ ตั ิตาม ขอ้ ตกลงท่ีไดแ้ ถลงไว้ แต่ถา้ หากไม่ ทาตาม กไ็ มม่ บี ทลงโทษใดๆ ผลท่ี ตามมาคอื ภาพลกั ษณ์ของรัฐน้นั ๆ ที่ ไมส่ ามารถทาตามส่ิงทใ่ี ห้สจั จะ สญั ญาไวไ้ ด้ หรือเป็ นการ เสียหนา้ นน่ั เอง

7 8 สนธิสัญญา สนธิสัญญา แก้ไข สนธิสัญญา เป็ นกฎหมายท่มี ผี ลผูกพนั ชัดเจน เปรียบเทยี บได้กับ สญั ญาในกฎหมาย ภายในประเทศ

9 10 แบบไม่เป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร • แบบไม่เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร แก้ไข เป็นกฎหมาย ระหวา่ งประเทศ ท่ไี ม่มีการลงนาม หรือร่างเอกสารใดๆ แตเ่ ป็นสง่ิ ทป่ี ฏิบตั ติ ่อๆกนั มาในระยะหน่ึง และไมม่ ีรัฐ ใดคดั ค้าน รวมทงั้ เห็นควรวา่ ต้องปฏิบตั ิ ซึ่งอาจเป็น จารีต ประเพณี มารยาท หรือธรรมเนยี มปฏิบตั ิต่างๆ กฎหมายประเภทนี ้สามารถเปล่ยี นแปลงได้ในเวลาไม่ นาน หากแนวคิด หรือวถิ ปี ฏิบตั ใิ นกจิ การระหว่าง ประเทศเปลี่ยนแปลงไป เดโช สวนานนท์, พจนานกุ รม ศพั ท์การเมอื ง, พ.ศ. 2545, หน้า 6 Eชมnรcมyลกูcพlo่อขpนุ æปรdะยiกุaต์B, กrฎitหaมnายnระicหaว่าง2ป0ระ0เท1ศ แผนกคดีเมือง,พ.ศ. 2561

11 12 แบ่งได้ ๓ สาขา ได้แก่ • 1.กฎหมายระหวา่ งประเทศแผนกคดี เมอื ง ได้แก่ กฎหมายท่ีวา่ ด้วย ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งรัฐในฐานะที่รฐั เป็นนติ ิบคุ คล แผนกนสี ้ ว่ นใหญ่เป็นเร่ือง ความสมั พนั ธ์ทางการทตู การทา สนธสิ ญั ญา และการทาสงคราม

13 14 2.กฎหมายระหว่างประเทศแผนก • 3.กฎหมายระหว่างประเทศแผนก คดีบคุ คล เป็ นกฎหมายท่ีบังคบั คดอี าญา เป็ นกฎหมายท่กี าหนดความ เกีย่ วกับ ความสัมพนั ธ์ระหว่าง สัมพันธ์ระหว่างรัฐในคดอี าญา เม่ือ บคุ คลท่ีเป็ นพลเมืองของรัฐ พลเมืองของรัฐกระทาความผดิ ในทางแพ่ง เช่นการสมรส การ กฎหมายอาญา เช่น การกาหนด หย่า การได้สัญชาติ การสูญเสีย อานาจท่จี ะบงั คับและปฏิบตั ติ ่อชาว สัญชาติ เป็ นต้น ต่างประเทศ

รั 16 รฐั มหี ลกั 3 ประกำร คือดินแดน ประชำกร และรฐั บำล คำจำกดั 15 นคดนิวิตำแิศมดำขสนอตแงรลร์ ฐัะเนปเป่ือร็นงะจแชำนำกกวรรคฐั วเกำดิมขค้นึดิ ทจำำกงรขฐัอ้ ศเทำส็จจตรริง์มขำอกงกกวำ่ำรทใำชงอ้ ำนำจ 1. เกกกำำดิรรขรท้นึบั ำนรมอิตำแงกิ รลรัฐว้รมมรรฐัผี ะทลหเีไ่ สวดมำ่ ร้ งือบั ปนกรเำะปรเ็นทรับกศรำไรอดปงอ้ จรยะะำ่ มงกคีำสศวมวำม่ำบรสูรัฐณำไมด์ ำ้รถใน รัฐ 2. รกบั ำรรอรับง รโอดงยรคัฐำขน้ึนึงถองึยผกู่ ลบั ปกรำะรโใชยชด้ นลุ พ์ขอินงิจรขฐั อเปง็รนัฐสผำใู้คหญั ก้ ำร 3. รัฐมสี ิทธิและหนำ้ ทเี่ ทำ่ เทยี มกนั ตำมกฎหมำย 4. หน้ำท่ีทส่ี ำคญั ประกำรหน่ึงของรัฐคือ กำรไม่เขำ้ แทรกแซงต่อกจิ กำรภำยในของรฐั อน่ื

17 18 1. การสืบสิทธิของรัฐในส่วนท่เี กีย่ วกบั สนธิสญั ญาตงั้ อยู่ เขต บนพนื ้ ฐานของความประสงคข์ องรฐั ผ้สู บื สทิ ธิและการ พิทกั ษ์ผลประโยชน์ของรฐั ทส่ี าม 2. การสบื สิทธขิ องรฐั ใน เร่ืองอ่นื ๆ นาหลกั ของความยตุ ธิ รรม (equity) มา ปรับใช้เพ่ือแบ่งความรบั ผดิ ชอบ รัฐอาจให้ความค้มุ ครอง ทางการทตู ตอ่ คนในชาตขิ องตนได้เมอ่ื (1) คดถี ึงท่ีสดุ ใน ศาลของรฐั ผ้รู บั แล้ว (2) การกระทาของรัฐผ้รู ับทาให้ เกิดผลเสยี หายทางกระบวนการยตุ ธิ รรม (3) ความผดิ นนั้ จะต้องปราศจากเจตนามชิ อบ (4) รัฐผ้ใู ห้ความค้มุ ครอง เป็นผ้ใู ช้ดลุ ยพนิ ิจพจิ ารณาว่าสมควรทจี่ ะให้ความ ค้มุ ครองทางการทตู หรือไม่ (5) เป็นการให้ความค้มุ ครอง แกค่ นชาตขิ องตนหรือแก่คนชาตอิ ื่นท่ีมคี วามตกลง กาหนดให้รัฐนนั้ เป็นผ้ใู ห้ความค้มุ ครองแทนได้

19 20 1.เขต แดนเป็นเคร่ืองกาหนดขอบเขตของดนิ แดนทอ่ี ยูภ่ ายใต้ 4.รัฐ ที่มีลกั ษณะเป็นหมเู่ กาะ ได้แก่ รฐั ท่ีมีดินแดนประกอบไปด้วยเกาะหลายเกาะ อานาจอธปิ ไตยของรัฐ กาหนดขอบเขตแหง่ การมสี ทิ ธิและหน้าที่ การกาหนดขอบเขตของเขตแดนของรัฐนนั ้ จงึ แตกตา่ งจากการกาหนดขอบเขตของ ระหว่างประเทศของรัฐในความสัมพนั ธ์ ระหว่างประเทศ และ เขตแดนของ รัฐทั่วไป รวมทงั ้ การกาหนดน่านนา้ และทะเลอาณาเขตของเกาะด้วย แบง่ แยกอานาจของรัฐออกจากกนั โดยเดด็ ขาด เว้นแตก่ รณที ี่รัฐ รฐั ชายฝั่งที่มีลกั ษณะพิเศษทางภูมิศาสตร์ก็จะได้รับการกาหนดเขตแดนท่ีแตก ตา่ งๆ ได้แสดงเจตจานงในการให้ความร่วมมือระหวา่ งกันในกรอบ ตา่ งจากหลกั เกณฑ์ทั่วไปด้วยเชน่ กัน ของความร่วมมอื ที่ได้ ตกลงระหวา่ งกันไว้ เขตแดนจงึ เป็นทงั้ 5.การกาหนดเส้นเขตแดนของรฐั มีทงั ้ ทางบก ทางนา้ และทางอากาศ โดยมักจะ เครื่องชแี้ สดงและจากดั ขอบเขตการใช้อานาจอธปิ ไตยของรัฐใน อาศยั อุปสรรคทางภมู ิศาสตร์เป็นแนวเขตแดน ได้แกส่ นั เขา สนั ปันนา้ แม่นา้ ลานา้ ประชาคมระหว่างประเทศ ทะเลสาบ ซง่ึ แบง่ แยกดนิ แดนของรฐั ตามธรรมชาติ สว่ นการกาหนดเส้นเขตแดน 2.องคป์ ระกอบของดนิ แดนของรัฐ คอื พนื้ ดนิ ใต้ดอน น่านนา้ ทางอากาศมกั จะเป็นน่านฟา้ เหนือขอบเขตอันเป็นเส้นเขต แดนทางพืน้ ดิน และ ภายใน ทะเลอาณาเขต และน่านฟ้าเหนือดนิ แดน น่านนา้ ภายใน ทะเลอาณาเขต กลา่ วคอื น่านฟ้าเหนือพืน้ ดิน น่านนา้ ภายในและทะเลอาณาเขต และทะเลอาณาเขต 6.ขนั ้ ตอนและวธิ ีการกาหนดเส้นเขตแดนกระทาโดยคณะกรรมการปอ้ งกันเขตแดน 3.แม่ นา้ ลาคลอง ทะเลสาบ อา่ วและช่องแคบ ก็เป็นองคป์ ระกอบ คณะกรรมการกาหนดจดุ พิกัด และคณะกรรมการปักหลกั เขต ซง่ึ มกั จะเป็น ของเขตแดนของรัฐซง่ึ อาจมีลักษณะเป็นเขตแดนภายในของรัฐ คณะกรรมการผสมประกอบด้วยผู้เช่ียวชาญทางเทคนิคของภาคี คสู่ ญั ญา และ หรือเป็นเจตแดนระหวา่ งประเทศ อานาจหน้าท่ีของคณะกรรมการทงั ้ สามจะเป็นไปตามที่รฐั ภาคกี าหนด โดยทาให้ การกาหนดเส้นเขตแดนเป็นไปตามท่ีภาคคี สู่ ญั ญาได้ตกลงกนั ไว้

21 22 เขตอานาจรัฐ เขตอานาจรฐั หมายถงึ อานาจตามกฎหมายของรัฐ เหนือบคุ คล ทรพั ยส์ ิน หรือเหตกุ ารณต์ า่ งๆ 3.เขตอานาจของรฐั มมี ลู ฐานมาจากหลกั การสาคญั 5 ประการ ได้แก่ 1)หลักดนิ แดน Territorial Principle 2) หลกั สัญชาติ National Principle 3) หลกั ผ้ถู กู กระทา Passive Personality Principle 4) หลกั ปอ้ งกนั Protective Principle 5) หลักสากล Universality Principle ซง่ึ แตล่ ะหลกั การ ดงั กลา่ วมีสาระสาคญั ทสี่ นบั สนนุ การใช้เขตอานาจรัฐด้วยเหตผุ ลท่ี แตกตา่ งกัน

บรรณานุกรม • https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0 %B8%8E%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E 0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AB %E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%8 7%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9% 80%E0%B8%97%E0%B8%A8?fbclid=IwAR3DoZ1vI ZIVrt0ILKeZoMQfyVmh1CCPhxVKYv0LmNXHMNRD ER5zwrC5u5s • https://thailawonline.com/th/others/internationa l- law.html?fbclid=IwAR0b5TYUzC6tb7V4hUd1Lttsxy I_VjNsdUVs6F0NnJ4_Q6HOH3-vV52U6x4


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook