Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กคศ.3

กคศ.3

Published by mind_funny02, 2021-09-22 11:46:15

Description: กคศ.3

Search

Read the Text Version

ก.ค.ศ. 3 แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในการขอมหี รอื เล่ือนวทิ ยฐานะชำนาญการ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของ นางสาวธันยาภรณ์ จุลศกั ด์ิ ตำแหน่ง ครู โรงเรียนวังจนั ทร์วิทยา สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

ก คำนำ รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านของ นางสาวธันยาภรณ์ จลุ ศกั ด์ิ นเี้ ป็นสว่ นหนึ่งของการขอรบั การประเมนิ เพื่อขอมีหรือเล่อื นวทิ ยฐานะ ครชู ำนาญการ ซ่งึ จดั ทำข้ึนโดยรวบรวมและรายงานผลงาน ท่ีเกดิ จากการปฏบิ ตั หิ น้าท่ี ที่แสดงถงึ ผลงานตามหน้าที่ความรับผิดชอบตามมาตรฐานตำแหน่ง และ มาตรฐานวิทยฐานะ ผรู้ ายงานขอขอบพระคุณ นางอัญชลี อิสสรารกั ษ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนแกลง “วิทยสถาวร” ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีผู้อำนวยการโรงเรยี นวังจนั ทรว์ ทิ ยา ท่ีใหค้ วามชว่ ยเหลอื ในการให้ คำปรกึ ษา คำแนะนำในการปฏบิ ัติงานดว้ ยดีเสมอมา และขอขอบคณุ คณะครูโรงเรยี นวงั จนั ทรว์ ทิ ยา ทุกท่าน ท่ีให้การสนบั สนุน ใหก้ ำลงั ใจ และให้ความรว่ มมือในการปฏิบตั ิงานรว่ มกันด้วยดตี ลอดมา ขอขอบพระคุณคณะกรรมการผู้ประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านทกุ ท่านท่ีไดเ้ สยี สละเวลาอันมีค่า ในการตรวจและประเมินรายงานการขอมีหรอื เล่ือนวิทยฐานะของ นางสาวธันยาภรณ์ จลุ ศกั ด์ิ ในครั้งนี้ จงึ ขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ ธันยาภรณ์ จุลศกั ด์ิ

1 ก.ค.ศ. 3 แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ของข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาในการขอมีวทิ ยฐานะชำนาญการ สายงานการสอน สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์ 1. ขอ้ มลู ของผูข้ อรับการประเมนิ ช่อื นางสาวธนั ยาภรณ์ นามสกลุ จลุ ศักด์ิ ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ - ตำแหน่งเลขที่ 114322 สถานศกึ ษา/หนว่ ยงาน โรงเรียนวงั จนั ทร์วทิ ยา อำเภอ วงั จันทร์ จงั หวัด ระยอง สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง ส่วนราชการ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน รบั เงนิ เดอื นอบั ดับ คศ. 1 ข้ัน 22,860 บาท 2. ผลการปฏบิ ตั ิงาน (ดา้ นท่ี 3) มีดังน้ี ใหร้ ายงานข้อมูลตามหัวข้อที่กำหนด และแนบเอกสารหลกั ฐานอา้ งอิงแต่ละข้อ เพอื่ ประกอบการพิจารณา ดังนี้ 1. ผลการพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี น ขา้ พเจ้าผ้ขู อรบั การประเมนิ ได้ปฏิบัติการสอนในระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ขอรายงาน ขอ้ มูลตามหวั ข้อท่ีกำหนดในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ต้งั แต่ปกี ารศึกษา 2562 – 2563 พร้อมแนบเอกสารหลักฐานอ้างองิ เพ่ือประกอบการพจิ ารณา ดังน้ี 1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 1.1.1 ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนในสาขา/สาขาวชิ า/กลมุ่ สาระการเรยี นรทู้ ี่เสนอ ขอรบั การประเมินของปปี ัจจุบนั (ปีการศึกษา 2563) ช่อื วิชาท่ีสอนวิทยาศาสตร์ 6 ว23102 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนในสาขา/สาขาวิชา/กลุม่ สาระการเรยี นรู้ทข่ี อรับการประเมิน ของปปี ัจจบุ นั ขา้ พเจ้าไดร้ บั มอบหมายใหท้ ำการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 วิชาวทิ ยาศาสตร์ 6 (ว23102) ซ่ึงในการจัดกจิ กรรมการเรียน การสอนได้วเิ คราะห์หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศักราช 2560) วเิ คราะห์มาตรฐานการเรยี นรู้ วเิ คราะห์สาระการเรียนรู้ จัดทำหลกั สูตร สถานศึกษา จัดทำหน่วยการเรยี นรู้ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ วเิ คราะหผ์ เู้ รียน จัดทำแผนการเรยี นรู้ จัดทำสอ่ื ประกอบการจดั การเรยี นรเู้ พื่อพัฒนาผเู้ รยี น ทำการวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจริง

2 ผลจากการดำเนินการดังกลา่ ว ทำใหน้ ักเรยี นไดเ้ รยี นรู้เต็มตามศักยภาพของตน บรรลุผลตามวตั ถปุ ระสงค์ทก่ี ำหนด มคี วามรู้ ความสามารถ มที ักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนท่นี ่าพอใจ ดังตารางที่ 1 ตาราง 1 คะแนนทเี ฉลี่ย (Average T score) แสดงผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นก่อนเรียนและ หลงั เรยี น กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ 6 (ว23102) ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คะแนนทีเฉล่ีย ผลตา่ งของ รอ้ ยละของ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (Average T score) คะแนนทีเฉลยี่ คะแนนทเี ฉลี่ย ก่อนเรยี น หลังเรียน ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ที่เพิม่ ขึ้น วชิ าวิทยาศาสตร์ 6 40.38 59.62 19.23 47.62 (ว23102) จากตาราง 1 คะแนนทเี ฉลย่ี (Average T score) แสดงผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนก่อนเรียน และหลงั เรียน กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิชาวทิ ยาศาสตร์ 6 (ว23102) ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563 คะแนนเต็ม 30 คะแนน พบวา่ คะแนนทเี ฉล่ยี (Average T score) กอ่ นเรียนเทา่ กับ 40.38 คะแนนทีเฉลี่ย (Average T score) หลงั เรยี นเทา่ กบั 59.62 เพ่มิ ขึ้น 19.23 แสดงวา่ คะแนนทเี ฉลย่ี ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนหลังเรยี นเพ่ิมขนึ้ จากก่อนเรียน คดิ เป็นร้อยละ 47.62 (รายละเอยี ดดงั ภาคผนวก ก หนา้ 49 – 52) 1.1.2 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนในสาขา/สาขาวิชา/กลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีสอน (ปกี ารศึกษา 2562 - 2563) ชื่อวิชาที่สอน วิทยาศาสตร์ 6 (ว23102) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ค่าทีเฉลีย่ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นในสาขา/สาขาวิชา/กลมุ่ สาระการเรียนรู้ทส่ี อน ขา้ พเจ้าได้พัฒนาการเรียนการสอนสม่ำเสมอเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผเู้ รียน หลงั จาก การวดั และประเมนิ ผลผเู้ รียนแล้วได้ทำการวเิ คราะห์คะแนนของผูเ้ รียนรายคนเพ่ือดูความกา้ วหนา้ การพฒั นาและจุดท่ตี ้องปรบั ปรุงว่าอยู่ในสาระการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ใด ของหลักสตู ร จากนนั้ ได้สรา้ งและจดั หาสอื่ การเรยี นการสอนท่เี หมาะสมในการแกป้ ัญหา และพฒั นา ผเู้ รยี นในจุดที่บกพรอ่ งและเอ้ือต่อการเรียนรู้ของผเู้ รียน จากการดำเนนิ การดังกลา่ วทำใหผ้ ู้เรยี น มีผลการพฒั นาทด่ี ขี ึ้น ดงั ตาราง 2

3 ตาราง 2 คะแนนทีเฉลยี่ (Average T score) ของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเ้ รียนชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 วิชาวิทยาศาสตร์ 6 (ว23102) ปกี ารศึกษา 2562 เทยี บปีการศึกษา 2563 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คะแนนทีเฉลย่ี ผลตา่ งของ ร้อยละของ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (Average T score) คะแนนทเี ฉล่ีย คะแนนทีเฉลี่ย ปกี ารศึกษา ปกี ารศึกษา ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 2562 2563 ทเ่ี พิ่มขน้ึ วชิ าวทิ ยาศาสตร์ 6 49.12 54.63 5.51 11.22 (ว23102) จากตาราง 2 พบว่า ค่าทีเฉลี่ย (Average T score) ของคะแนนผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น ของผูเ้ รียนช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 3 วชิ าวทิ ยาศาสตร์ 6 (ว23102) ปกี ารศกึ ษา 2563 เพิ่มขึ้น จากปีการศกึ ษา 2562 คิดเป็นรอ้ ยละของคะแนนทีเฉลี่ยท่ีเพมิ่ ขน้ึ มีค่าเท่ากับ 11.22 (รายละเอยี ดดงั ภาคผนวก ข หนา้ 53 - 90) 1.1.3 ผลการประเมินและหรือการทดสอบของสาขา/สาขาวชิ า/กล่มุ สาระ การเรยี นร้ทู ส่ี อนในระดบั เขต/ประเทศ (ปีการศกึ ษา 2562 - 2563) ตาราง 3 ผลคะแนนการทดสอบระดับชาติข้ันพืน้ ฐาน (O - NET) ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นวังจนั ทรว์ ิทยา จังหวัดระยอง คะแนน ผลตา่ งของ ร้อยละของ คะแนน คะแนน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (O - NET) (O - NET) ทเี่ พิ่มขน้ึ และเทคโนโลยี ปีการศึกษา ปกี ารศึกษา 2.80 9.52 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 2562 2563 29.40 32.20 จากตาราง 3 พบว่า ผลคะแนนการทดสอบระดับชาติขน้ั พ้ืนฐาน (O - NET) ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนวังจันทรว์ ทิ ยา จงั หวดั ระยอง ปีการศึกษา 2563 เพมิ่ ขน้ึ จากปีการศึกษา 2562 คดิ เปน็ ร้อยละคะแนนท่ีเพมิ่ ขนึ้ มีค่าเท่ากับ 9.52 (รายละเอียดดังภาคผนวก ค หน้า 91 - 95)

4 ตาราง 4 เปรยี บเทยี บผลคะแนนการทดสอบระดับชาติข้ันพ้นื ฐาน (O - NET) ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นวังจันทร์วิทยา จังหวัดระยอง ปีการศึกษา ระดับ คะแนนเฉล่ีย ระดบั เปรียบเทียบ โรงเรียน ระดบั ระดบั ประเทศ กบั คะแนนเฉล่ยี 2562 29.40 จงั หวัด สงั กดั 30.07 ระดับประเทศ 2563 32.20 30.69 30.22 29.89 30.86 30.17 ตำ่ กวา่ สูงกว่า จากตาราง 4 พบวา่ คะแนนการทดสอบระดับชาติขัน้ พ้นื ฐาน (O - NET) ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นวังจันทรว์ ทิ ยา จังหวดั ระยอง ปกี ารศึกษา 2562 คะแนนเฉลี่ยต่ำกว่าระดับจงั หวดั , ระดบั สงั กัดและระดบั ประเทศ ปกี ารศึกษา 2563 คะแนนเฉล่ียสูงกว่าระดบั จังหวัด, ระดับสงั กดั และระดบั ประเทศ (รายละเอียดดังภาคผนวก ค หน้า 91 - 95) 1.2 ผลการพัฒนาผเู้ รยี นดา้ นอ่ืน ๆ ใหร้ ายงานในรอบ 2 ปี ท่ีทำการสอนในวชิ าที่เสนอขอรับการประเมนิ ดงั น้ี 1.2.1 ผู้เรียนในสาขา/สาขาวชิ า/กลุม่ สาระการเรยี นรู้ท่ีเสนอขอ ดังตาราง 5 ตาราง 5 วิชาท่เี สนอขอรับการประเมนิ ปกี ารศึกษา 2562 และปีการศึกษา 2563 ปีการศึกษา 2562 ปีการศกึ ษา 2563 ชั้น วิชาที่สอน/รหสั วิชา จำนวน ช้ัน วชิ าทสี่ อน/รหสั วิชา จำนวน นกั เรยี น นักเรยี น (คน) (คน) ม. 3/1 วิทยาศาสตร์ 6 ว23102 39 ม. 3/3 วทิ ยาศาสตร์ 6 ว23102 35 ม. 3/2 วิทยาศาสตร์ 6 ว23102 37 ม. 3/3 วทิ ยาศาสตร์ 6 ว23102 37 ม. 3/4 วิทยาศาสตร์ 6 ว23102 34 ม. 3/5 วิทยาศาสตร์ 6 ว23102 37 รวม 184 รวม 35

5 1.2.2 ผเู้ รียนมีการพัฒนาดา้ นสุขภาพ ร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม ตามหลักสูตร / แผนการจดั การศึกษาเฉพาะ (IEP) และตามทสี่ ถานศึกษากำหนดในระดับดขี ึ้นไป ในปีการศึกษา 2562 – 2563 ดงั นี้ ปีการศึกษา 2562 จำนวน 184 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ปกี ารศึกษา 2563 จำนวน 35 คน คดิ เป็นร้อยละ 100 ท้ังนี้เป็นผลมาจากทผี่ ูร้ ายงานไดจ้ ดั กจิ กรรมในห้องเรียนและนอกหอ้ งเรยี นเพ่ือพัฒนา ผ้เู รยี นซง่ึ ไดด้ ำเนินการ ดงั นี้ - กจิ กรรมการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี นในห้องเรยี นร่วมกบั ผู้ปกครอง โดยจัดทำ การคดั กรองนักเรยี นเพื่อพัฒนาคณุ ภาพของผูเ้ รยี น จดั ทำแบบบนั ทึกในการช่วยเหลอื แนะนำและ กิจกรรมแนะแนวเพ่อื ส่งเสรมิ และพฒั นาความสามารถ ความถนัดหรอื ความเหมาะสมของผูเ้ รยี น และบันทึกการสง่ เสรมิ พฒั นาการของนักเรียนตามศักยภาพของนักเรยี น - กิจกรรมวดั สมรรถภาพนักเรียน เพื่อให้ทราบถงึ พฒั นาการทางด้านร่างกายของ นักเรยี นวา่ มีภาวะทางด้านรา่ งกายเปลยี่ นแปลงไปในทิศทางใด และสามารถนำข้อมลู ของนักเรียนมา ปรับปรงุ แก้ไขข้อบกพร่อง แบบรายกล่มุ และแบบรายบุคคลได้ - จัดกิจกรรมการแข่งขันกีฬาภายใน “วงั จนั ทร์เกมส์” เพื่อให้นักเรยี นรจู้ กั การออก กำลังกาย เสริมสรา้ งสมรรถภาพทางร่างกายใหส้ มบรู ณ์แข็งแรงโดยใช้กีฬาเปน็ สื่อ และเกิดความ สามัคคี ความสัมพันธอ์ นั ดีระหว่างรุ่นพ่ี รนุ่ น้องของนักเรยี น คณะครูและบุคลากรทางการศกึ ษา - จดั กิจกรรมศึกษาแหลง่ เรยี นรูน้ อกสถานศึกษา เพ่ือใหน้ ักเรียนได้เรยี นรู้ จากประสบการณจ์ รงิ เกิดจากการเรียนรูท้ ่ีถาวรมคี วามสนุกสนานเพลดิ เพลนิ - จดั กจิ กรรมสอนซ่อมเสรมิ สำหรับนักเรียนทเ่ี รยี นออ่ น นกั เรยี นทีย่ งั ไม่เขา้ ใจใน บทเรยี น หรอื นักเรยี นท่ีสนใจในการเรยี นวทิ ยาศาสตร์เพิ่มเตมิ หลงั เลิกเรยี น และอบรมนักเรียนก่อน กลบั บ้าน นอกจากนีใ้ นระหว่างจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน หากมีนักเรียนท่ีเรียนไมท่ ันเพ่อื นและ ไม่เขา้ ใจก็จะกระต้นุ ให้นักเรยี นทท่ี ำงานทนั เวลา และมคี วามเข้าใจในเน้ือหานน้ั คอยชว่ ยและ ให้คำแนะเพ่ือน ส่งเสรมิ ให้เพ่ือนช่วยเพอ่ื น เพ่ือสรา้ งความมีน้ำใจตอ่ กนั โดยมีครเู ปน็ ผู้คอยช้ีแนะ เพมิ่ เติม - กิจกรรมโรงเรยี นวถิ พี ุทธ ทุกเย็นวนั ศุกรก์ ่อนเลิกเรียน มีการน่ังสมาธิ สวดมนต์ การฝกึ กจิ กรรมมารยาทไทย การกราบ การไหว้ทถี่ ูกต้องและเหมาะสม การอบรมคุณธรรม จริยธรรม นักเรยี นและการบำเพญ็ ประโยชนอ์ น่ื ๆ เช่น กิจกรรมจติ อาสา กจิ กรรมการทำความสะอาดเขตพื้นที่ รับผดิ ชอบ ทำกิจกรรม BIG CLEANING DAY - จดั กิจกรรมสอบธรรมศึกษา ชั้นตรี-โท-เอก เพอ่ื ให้นักเรียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เกี่ยวกบั พระพุทธศาสนาและหลักธรรมอย่างถูกต้อง มีทักษะในการคิดและการปฏบิ ตั ิตนอย่างถูกต้อง

6 ตามหลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา รหู้ นา้ ทขี่ องชาวพทุ ธและสามารถปฏิบัติตนได้อยา่ งเหมาะสม - จัดกจิ กรรมวนั สำคญั ของชาติ เช่น กิจกรรมวันเฉลมิ พระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั กจิ กรรมวนั เฉลิมพระชนมพรรษา สมเดจ็ พระนางเจา้ สุทิดา พัชรสธุ า พมิ ลลักษณ พระบรมราชนิ ี กิจกรรมวันแม่แหง่ ชาติ กจิ กรรมวนั สำคญั ทางศาสนา เชน่ กจิ กรรม วนั เขา้ พรรษา หล่อเทยี นพรรษาและถวายเทยี นพรรษาที่วัดชุมแสง กจิ กรรมวนั ตักบาตรเทโวโรหนะ กิจกรรมตักบาตรวนั ศุกร์ กจิ กรรมตักบาตรข้าวสาร – อาหารแหง้ เน่อื งในวนั สำคัญต่าง ๆ นอกจากน้ี มีการนำนักเรยี นเข้าร่วมกิจกรรมประเพณขี องชมุ ชน เชน่ ประเพณีวันลอยกระทง ประเพณวี ่งิ ควาย เพ่อื ให้ผู้เรียนมจี ิตสำนกึ ท่ีดี เหน็ ความสำคญั ในวนั สำคัญของชาติ ศาสนา และงานประเพณีในท้องถนิ่ เพอื่ ใหน้ กั เรยี นไดม้ ีสว่ นรว่ มในการสบื สานส่งิ ทีด่ งี ามนต้ี อ่ ไป 1.2.3 ผูเ้ รียนมีคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ตามหลกั สูตรและตามท่ีสถานศึกษากำหนด ในระดบั ดี ในปีการศึกษา 2562 - 2563 ดงั น้ี ปกี ารศกึ ษา 2562 จำนวน 182 คน คิดเปน็ ร้อยละ 98.91 ปกี ารศกึ ษา 2563 จำนวน 35 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ทง้ั น้ีเป็นผลมาจากที่ผู้รายงานไดจ้ ดั กิจกรรมในห้องเรยี นและนอกหอ้ งเรียน เพ่ือพัฒนา ผเู้ รียนไดด้ ำเนนิ การ ดังนี้ - ผเู้ รียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ วชิ าวิทยาศาสตร์ 6 (ว23102) ในระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ไดร้ บั การพัฒนาดา้ นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ โดยผู้รายงานไดท้ ำการ สอนให้ความรู้ และใหฝ้ ึกปฏบิ ัติสอดแทรกไปกบั การจดั การเรยี นรู้ ในการจดั การเรยี นรู้แต่ละครงั้ ได้ มอบหมายใหน้ ักเรยี นทำกิจกรรมกลุม่ หรอื ทำงานเด่ียวตามบริบท และตามผลการเรียนรู้ท่กี ำหนด พรอ้ มกบั ไดท้ ำการวัดและประเมินผลด้านคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผู้เรียนทกุ คร้ัง ท้ังประเมิน โดยครูผูส้ อนและประเมินโดยเพือ่ นในช้นั เรียน ซ่งึ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ท่ีวดั และประเมนิ ผล นักเรียนมี 8 ข้อ ประกอบด้วย รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่อื สตั ย์สจุ ริต มีวินัย ใฝ่เรยี นรู้ อย่อู ยา่ ง พอเพียง มุ่งมนั่ ในการทำงาน รกั ความเปน็ ไทย และมจี ติ สาธารณะ ซ่ึงในการประเมินแต่ละครัง้ จะแจง้ ผลการประเมนิ ให้นักเรยี นได้รับทราบเพ่อื การปฏบิ ัตใิ หด้ ยี ่งิ ขน้ึ ต่อไป - การเยย่ี มบ้านนักเรียนทกุ คนในทุกปีการศึกษา เพ่ือสำรวจขอ้ มลู และปัญหาของ นักเรยี นเป็นรายบคุ คล ทัง้ นเ้ี พ่ือต้องการทราบสภาพความเป็นอยูข่ องนักเรียน ความต้องการของ ผู้ปกครองต่อการจัดกิจกรรมของโรงเรียนท่ีจะสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน และนกั เรยี น มีปัญหาอะไรบ้าง เพ่ือจะไดป้ ระสานความรว่ มมือกบั ชมุ ชนและผู้ปกครอง ใหส้ ามารถจัดกจิ กรรมได้ สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของชุมชน และผู้เรยี นได้เรียนรูเ้ ต็มตามศักยภาพเรยี นรู้ได้อย่างมคี วามสขุ

7 - ประชุมผปู้ กครองเพื่อความเขา้ ใจในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ หารอื แนวทาง การใหค้ วามรแู้ ละประสบการณ์กับนักเรียน แนวปฏบิ ตั แิ ละแก้ไขปัญหาทเ่ี กิดข้ึนระหว่างบ้านกับ โรงเรียนเพ่อื การมสี ่วนร่วมในการวางแผนในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ภาคเรยี นละ 1 ครงั้ - วเิ คราะหผ์ ู้เรียนรายบุคคล เพือ่ ทราบข้อมลู ของนักเรียน มีความสามารถเดน่ ในเรอื่ งใดและด้อยในเร่ืองใด เพอ่ื จะได้จัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ และพฒั นาได้ตรงตามความสามารถและ ความถนัดของนักเรียน เพ่ือใหก้ ารจัดกจิ กรรมการเรียนรมู้ ีประสทิ ธิภาพมากยิง่ ข้ึน ผู้รายงานได้ดำเนินการด้วยความวิรยิ ะอตุ สาหะ ทมุ่ เท อุทศิ เวลา แรงกาย แรงใจ ทรัพย์สนิ สว่ นตนเองทถ่ี ือวา่ เปน็ หน่ึงของงบประมาณทางราชการ สง่ ผลใหน้ กั เรยี นทุกคนทีร่ บั ผิดชอบมที ักษะ ความรู้ควบคคู่ ุณธรรม จริยธรรม เก่ง ดี มคี วามสุข และสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวนั ได้ ทง้ั น้ีประกอบกบั นักเรียนมีการพฒั นาทางด้านรา่ งกาย อารมณ์ สังคม และสติปญั ญา มีคณุ ลกั ษณะ อนั พงึ ประสงค์ตามหลักสตู รและตามทสี่ ถานศึกษากำหนดในระดับดีเป็นท่ีน่าพอใจ ดังต่อไปน้ี 1. มีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่สถานศกึ ษากำหนด 2. นักเรยี นสนใจเรียน แสวงหาความร้จู ากแหลง่ เรยี นรูต้ ่าง ๆ และบนั ทึกความรู้ อย่างสมำ่ เสมอ 3. มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ สงั เคราะห์ และคดิ สรา้ งสรรค์ 4. มนี ิสยั รักการทำงาน มีคุณธรรม จรยิ ธรรมตามคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของ หลกั สตู รและสถานศึกษา 5. มกี ารแสดงออกดว้ ยความมั่นใจ มมี นษุ ยส์ ัมพันธ์ทีด่ ี ร่าเริง แจ่มใส มคี วามรบั ผดิ ชอบ และใหค้ วามร่วมมือในการทำกจิ กรรมต่าง ๆ ได้ดี 6. มีการอนรุ ักษ์และรักษาผลประโยชนข์ องส่วนรวม 7. มีการพัฒนาด้านสุขภาพ ร่างกาย สติปญั ญา อารมณ์ และสงั คม นักเรยี นมสี ขุ ภาพ สมบูรณ์แข็งแรง 8. นกั เรยี นมีคุณธรรม จริยธรรม รจู้ กั กตัญญูตอ่ ผู้มีพระคณุ 9. นักเรยี นมีสัมมาคารวะ นอบนอ้ ม พูดจาไพเราะ น่าฟัง ถูกกาลเทศะ จากผลการจดั กิจกรรมดังกล่าวทำใหน้ กั เรียนที่ผู้รายงานได้อบรมสงั่ สอนประสบผลสำเรจ็ ในการแข่งขนั ทักษะทางวิชาการ จนเป็นท่ียกย่องและยอมรับในสงั คม (รายละเอียดดังภาคผนวก ง หนา้ 96 – 115 )

8 2. รายงานการสงั เคราะหผ์ ลการแก้ปัญหาและพฒั นาผู้เรียน ตามหัวข้อดังนี้ 2.1 ปัญหาและขอบเขตของปญั หา จากการสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในขณะเรยี นวิชาวิทยาศาสตร์ ครูผสู้ อนพบว่า ผู้เรยี นขาดความกระตือรือร้นท่จี ะเรียนรู้ ผ้เู รียนไม่ให้ความรว่ มมือในการตอบคำถามเท่าท่ีควร ในบางครั้งเน้ือหาทีส่ อนเปน็ การสอนแบบบรรยาย การนั่งฟังและจดตามจงึ เป็นการเรยี นรู้ทีไ่ ม่ทา้ ทาย ความสามารถของนักเรียน บรรยากาศในห้องเรยี นเป็นไปด้วยความเงียบ เนือ่ งจากนกั เรียนไมม่ ี ส่วนร่วมในการเรยี น จนส่งผลกระทบตอ่ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น จากการศึกษาคน้ ควา้ พบวา่ รปู แบบการสอนโดยวิธีแบบวัฏจักรการเรียนรู้ (Learning cycle) เป็นรูปแบบหนึ่งทฝ่ี ึกให้นกั เรยี น เขา้ ใจกระบวนการหาคำตอบ ในปี ค.ศ. 2013 ไอน์เซนคราฟต์ (Eisenkraft. 2003: 75) ไดข้ ยาย รปู แบบการสอนวฏั จักรการเรียนรู้ 5 ข้นั (5E Learning cycle) มาเปน็ รปู แบบการสอนแบบวัฏจกั ร 7 ขั้น (7E Learning cycle) ซึ่งการสอนแบบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขนั้ ประกอบไปดว้ ย 7 ขน้ั ตอน ดงั นี้ 1) ขนั้ ตรวจสอบความรู้เดมิ (Elicitation Phase) ซึง่ เปน็ ส่ิงจำเปน็ สำหรับการสอนท่ดี ีกระตุ้นให้ นักเรียนมีความสนใจสรา้ งความรู้อยา่ งมคี วามหมาย 2) ขั้นสรา้ งความสนใจ (Engagement Phase) เปน็ การนำเข้าสูบ่ ทเรยี นหรือเรอ่ื งท่สี นใจ 3) ขน้ั สำรวจและคน้ หา (Exploration Phase) นักเรียนได้ ใชแ้ นวความคิดที่มอี ยู่แล้วมาจัดความสัมพันธ์กับหวั ขอ้ ที่กำลังจะเรียน 4) ขน้ั อธบิ าย (Explanation phase) เปน็ การนำเอาความรใู้ นขั้นท่ี 3 มาใชเ้ ปน็ พน้ื ฐานการศกึ ษาหัวข้อท่กี ำลังศกึ ษา 5) ข้นั ขยาย ความคิด (Elaboration Phase) เปน็ การนำเอาความรู้ทีส่ ร้างข้นึ ไปเช่ือมโยงกับความร้เู ดิม 6) ข้ันประเมินผล (Evaluation Phase) เปน็ การประเมนิ การเรยี นรู้ด้วยกระบวนการตา่ งๆ และ 7) ข้นั นำความรู้ไปใช้ (Extension Phase) นักเรยี นสามารถประยุกตใ์ ช้ความร้จู ากสิ่งท่ีไดเ้ รยี นมาให้ เกดิ ประโยชนใ์ นชวี ิตประจำวัน (ณฐั มน เดชมา. 2555: 12) การจัดการเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์ที่สามารถนำนักเรยี นไปสู่เปา้ หมายของหลักสูตร วิทยาศาสตร์ คือ การจดั การเรยี นการสอนแบบวฏั จกั รการเรียนรู้ โดยการใชค้ ำถามนำอภิปรายเพอ่ื ให้ นักเรยี นคดิ หาคำตอบ (Carin; & Sund. 1971: 11-12) การเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์อย่างมี ความหมายน้ัน จำเป็นท่ีจะต้องใช้วธิ กี ารสอนแบบวฏั จักรการเรยี นรู้ ร่วมกบั เทคนิคการใชค้ ำถามท่ีมี ประสทิ ธิภาพ ซึ่งคำถามจะกระตนุ้ ความอยากรู้ อยากเห็นและจนิ ตนาการของนักเรียน สง่ เสรมิ การ แสวงหาความรใู้ หม่และช่วยให้นักเรยี นมีความเขา้ ใจเน้ือหาบทเรยี น อีกท้ังครูผู้สอนทม่ี ีความชำนาญ ในการใชค้ ำถามจะช่วยยกระดับความคดิ ของนักเรียน (Omairah. 2009: 1-18) และคำถามยังเป็น ส่อื นำในการเรยี นรู้ในวิชาวทิ ยาศาสตรโ์ ดยเฉพาะคำถามขน้ั สงู ซึง่ เปน็ คำถามทนี่ ักเรยี นต้องใช้ความคิด ระดบั สงู กว่าความคดิ พน้ื ฐานเพอื่ หาคำตอบที่เหมาะสม ซึ่งคำถามประเภทนมี้ ีคำตอบท่ีถูกตอ้ งได้ หลายแนวทาง นักเรียนมีอิสระในการคน้ หาคำตอบช่วยฝึกให้นักเรียนไดใ้ ชค้ วามคิดในการวิเคราะห์

9 สงั เคราะห์ ตลอดจนการศึกษาคน้ คว้าทดลองนำไปสคู่ วามรู้ใหม่ (พิมพันธ์ เดชะคปุ ต.์ 2548: 111- 112) คำถามตามแนวคิดของบลมู (กิตติชัย สุธาสโิ นบล. 2548: 95-96) ได้แบ่งระดับของคำถาม ในการเรียนรขู้ องนักเรยี น โดยแบง่ เป็นระดบั ได้แก่ การจำ การเข้าใจ การประยุกตใ์ ช้ การวิเคราะห์ การประเมินผล และการสร้างสรรค์ การใช้เทคนิคการต้งั คำถามอย่างมปี ระสิทธภิ าพนน้ั จะช่วยให้ ครูผสู้ อนทราบพ้ืนฐานความสามารถของนักเรียน กระต้นุ ใหน้ ักเรยี นเกิดความสนใจ อยากรู้ และ เตม็ ใจเข้ารว่ มกจิ กรรมการเรยี นการสอน ชว่ ยทบทวนบทเรียนรวมทัง้ ชว่ ยในการประเมนิ ผลว่า การสอนไดบ้ รรลุวตั ถปุ ระสงค์ทีต่ ั้งไว้หรือไม่ นักเรยี นเกิดการเรียนรูจ้ ากการคิดค้นด้วยตวั ของ นกั เรยี นเอง ช่วยพฒั นาความคดิ อย่างมีวิจารณญาณ จะเห็นไดว้ ่าเทคนิคการตั้งคำถามที่ดีน้ัน เป็นส่ิงสำคญั และจำเปน็ อยา่ งมากสำหรบั ครผู ู้สอนทจ่ี ะช่วยใหก้ ารเรยี นการสอนดำเนนิ ไป อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ไอคราด (Icard. 2014: 49) กลา่ วา่ การเรยี นรโู้ ดยใชเ้ กม ได้ถกู นำมาใช้ เพ่ือดึงดูดนักเรยี น ครผู ู้สอนสามารถใชเ้ กมเพือ่ ทบทวนเนอ้ื หาและสรา้ งบรรยากาศ ทำใหน้ กั เรียนรว่ มเปน็ ส่วนหนงึ่ ในการ จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ นักเรยี นทุกคนมคี วามสามารถในการเรยี นรู้และมรี ปู แบบการเรียนที่แตกตา่ ง กนั ซง่ึ หมายความวา่ ครูผสู้ อน จะตอ้ งสรา้ งและออกแบบประสบการณ์การเรียนรู้ที่แตกต่างกันไป ดว้ ยการนำเทคโนโลยีมาใชใ้ นห้องเรยี น ครูผู้สอนจะตอ้ งพิจารณาทุกความเป็นไปได้และประโยชน์ ทจ่ี ะได้รับผ่านการใช้แหลง่ การเรียนรู้ท่ีแตกตา่ งกนั ในห้องเรียน อาจจะเป็นงานทที่ ้าทายสำหรบั ครูผ้สู อน เพ่ือหาสิง่ ทมี่ ีประสิทธิภาพในการเรยี นรู้ (Chien-Hung; et al. 2014: 50) โปรแกรม Blooket เปน็ เทคโนโลยีการใชแ้ บบทดสอบในลักษณะของเกมออนไลน์ ท่สี ามารถ ให้นกั เรียนรว่ มเล่นเกมแขง่ ขันได้จากเวปไซต์ โดยครผู สู้ อนสามารถสรา้ งโจทยค์ ำถาม เพ่ิมรปู ภาพ สามารถควบคุมระยะเวลาในการตอบคำถามในแต่ละข้อ สามารถเลือกรปู แบบของเกมไดอ้ ยา่ ง หลากหลาย นกั เรียนที่ตอบคำถามจะได้รับคะแนนจากคำตอบท่ถี ูกต้อง ทนั เวลา และในเกมจะมี การแข่งขันทตี่ ้องอาศัยการเปิดภาพเพิ่มรับคะแนนโบนสั แต่การพจิ ารณาคะแนนจริงจะพจิ ารณาจาก คำตอบทีถ่ ูกต้อง ทนั เวลา โดยจะปรากฏคะแนนสรปุ จำนวนคำตอบที่นกั เรยี นตอบทั้งหมด และข้อท่ี นักเรยี นตอบถกู ต้อง หลังจากที่แขง่ ขนั เสร็จ และในขณะแข่งขนั จะปรากฏคะแนนบนหน้าจอของ ครูผู้สอน เป็นการสรา้ งความท้าทายต่อตวั นักเรยี น ซ่ึงจัดเปน็ แนวทางการเรยี นการสอนแบบใหม่ ท่ีสรา้ งความสนุกสนาน ชว่ ยใหบ้ รรยากาศในการเรียนการสอนน่าสนใจ และทำใหน้ กั เรียนมีความ สนใจในการเรียนเพม่ิ มากขนึ้ (Byrne R. 2013: 1)

10 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นวังจนั ทร์วิทยา จัดกจิ กรรม การเรยี นรู้โดยยึดเน้ือหาหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช 2560) และหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวงั จนั ทรว์ ทิ ยา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พุทธศักราช 2561) ซึง่ วชิ า วิทยาศาสตร์ 6 มเี นอื้ หาประกอบดว้ ย ปฏกิ ิริยาเคมีและวัสดใุ นชีวิตประจำวัน ไฟฟ้า ระบบนเิ วศและ ความหลากหลายทางชวี ภาพ จากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พนื้ ฐาน (O – NET) ปีการศกึ ษา 2562 วชิ าวทิ ยาศาสตร์ คะแนนเต็ม 100 คะแนน พบว่า นกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 มคี ะแนนเฉลี่ย 29.40 คะแนน ซงึ่ ต่ำกว่าคะแนนเฉล่ียในระดบั ประเทศ โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ในสาระที่ 5 พลังงาน มาตรฐาน ว 5.1 หนว่ ยการเรยี นร้เู รอ่ื ง ไฟฟา้ เปน็ มาตรฐานการเรยี นรทู้ ่ีโรงเรียนควรเร่ง พัฒนาเนอื่ งจากคะแนนเฉล่ียของโรงเรยี นต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ (วังจันทร์วิทยา. 2562 : 7) ผลจากการจัดการเรยี นการสอน สาระที่ 5 พลังงาน มาตรฐาน ว 5.1 หนว่ ยการเรียน เรื่อง ไฟฟ้า ท่ไี ด้รบั มอบหมายให้จัดการเรียนการสอนในระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 จำนวน 5 หอ้ งเรียน ไดแ้ ก่ ห้องมธั ยมศึกษาปีท่ี 3/1, 3/2, 3/3, 3/4 และ 3/5 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2562 ผู้ศึกษา พบวา่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของผูเ้ รียนทง้ั 5 ห้อง มีคะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ 71.39 ซึ่งอยู่ในระดับพอใช้ ค่อนไปทางปานกลาง (โรงเรียนวงั จนั ทรว์ ทิ ยา. 2562) นอกจากนี้เมื่อสำรวจแบบบันทกึ ผลการพฒั นา คณุ ภาพผูเ้ รียน (ปพ.5) และบันทกึ หลงั การจัดการเรยี นรแู้ ผนการจัดการเรยี นรู้กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี พบว่า ผเู้ รยี นมีความพรอ้ มในการเรียนรทู้ ่แี ตกต่างกนั และผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรยี นของผู้เรยี นมผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นค่อนข้างตำ่ ซ่งึ จำเป็นอยา่ งยิ่งทีต่ ้องพัฒนานักเรยี น ใหม้ ีผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนวิทยาศาสตร์ให้สูงข้ึน จากเหตผุ ลและความสำคัญดังกลา่ ว ทำใหผ้ ู้ศกึ ษามีความสนใจที่จะศึกษาเก่ียวกบั การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนแบบวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ข้ัน รว่ มกับเทคนคิ การใช้คำถามโดย Blooket ในวชิ าวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรยี นวงั จนั ทร์วทิ ยา ซงึ่ ผูศ้ กึ ษาหวงั วา่ การใช้เทคนิคการสร้างคำถามผ่านโปรแกรม Blooket ท่ีนักเรียนทุกคนสามารถมสี ว่ นร่วมในการทำ กจิ กรรม จะสง่ ผลให้การจัดการเรียนการสอนมีความนา่ สนใจมากขึน้ โดยเฉพาะอย่างย่งิ รปู แบบ การสอนแบบวัฏจักรการเรียนรูน้ ั้นจะทำให้นักเรยี นมคี วามคิดอยา่ งมีระบบ สามารถพฒั นาผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนในวิชาวทิ ยาศาสตร์ให้สงู ข้ึน ทฤษฎีการเรยี นรู้ทีเ่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 22 ระบวุ ่าการจดั การศึกษาต้องยึด หลักวา่ ผู้เรียนทุกคนมคี วามสามารถเรยี นรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผเู้ รยี นมคี วามสำคญั ท่ีสุด กระบวนการจดั การศึกษา ต้องส่งเสริมใหผ้ เู้ รยี นสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเตม็ ตามศกั ยภาพ

11 ในมาตรา 23 (4) เน้นการจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย ให้ความสำคัญของ การบรู ณาการความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ ตามความเหมาะสมของระดับการศึกษาใหม้ ี ความรูแ้ ละทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ในสว่ นของการจดั กระบวนการเรยี นรูม้ าตรา 24 ไดร้ ะบุใหส้ ถานศกึ ษาและหน่วยงาน ท่เี กย่ี วข้องดำเนนิ การ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. จดั เนื้อหาสาระและกิจกรรมใหส้ อดคล้องกับความสนใจและความถนดั ของผู้เรียน โดยคำนงึ ถึงความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล 2. ฝกึ ทกั ษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ ความรู้มาใชเ้ พื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา 3. จดั กจิ กรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรูจ้ ากประสบการณจ์ ริง ฝึกการปฏบิ ตั ิให้ทำได้คิดเปน็ ทำเป็น รกั การอ่านและเกดิ การใฝ่รู้อยา่ งต่อเนือ่ ง 4. จัดการเรยี นการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างไดส้ ดั ส่วนสมดุลกนั รวมทง้ั ปลกู ฝงั คุณธรรม คา่ นิยมทด่ี ีงามและคุณลกั ษณะอันพึงประสงคไ์ ว้ในทุกวิชา 5. ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและ อำนวยความสะดวกเพื่อใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้และมีความรอบรู้ รวมทงั้ สามารถใช้การวิจยั เป็นส่วน หนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ท้ังน้ีผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากส่ือการเรียนการสอน และแหลง่ วิทยาการประเภทต่าง ๆ 6. จัดการเรยี นรู้ให้เกิดข้นึ ได้ทุกเวลาทกุ สถานที่ มีการประสานความร่วมมอื กับบิดา มารดา ผปู้ กครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝ่าย เพ่ือร่วมกนั พฒั นาผ้เู รยี นตามศกั ยภาพ ดงั นัน้ ผู้สอนทุกคนจึงจำเป็นต้องปรับเปล่ยี นบทบาทของตนเอง จากการเปน็ ผูบ้ อกเล่า บรรยาย ความรู้ให้จบไป ในแต่ละคร้ังที่เข้าสอน มาเป็นผู้เอ้ืออำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ให้แก่ ผู้เรียน กล่าวคอื เปน็ ผู้กระตุน้ ส่งเสรมิ สนับสนุนจัดส่งิ เร้าและจัดกิจกรรมใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ การพัฒนา ให้เต็มตามศักยภาพ ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของแต่ละบุคคล การจัดกิจกรรมจงึ ต้องเปน็ กิจกรรมทผ่ี ูเ้ รียนได้คดิ วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ สร้างสรรค์ ศึกษาและค้นควา้ ไดล้ งมอื ปฏบิ ัตจิ ริงจนเกิดการเรยี นรู้ และคน้ พบความรดู้ ว้ ยตนเอง เปน็ สาระความรู้ที่เกดิ ขน้ึ จากการศกึ ษาค้นคว้า มใิ ช่ความรู้ท่ีได้รบั จาก ครผู ้สู อนแตเ่ พียงแหล่งเดียว ซึ่งวธิ กี ารนจ้ี ะเปน็ การพัฒนาผเู้ รียนให้มีนิสัยสนใจใฝ่หาความรู้ดว้ ยตนเอง รกั การอา่ น รกั การเรยี นรู้อันจะนำไปสู่การเรียนร้ตู ลอดชวี ติ ดังที่ ศ.นพ.ประเวศ วะสี (2541 : 72) ได้กล่าวไว้ว่า “ต้องปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ใหม่จากการเอาวิชาเป็นตัวต้ัง ไปสู่การเอาคนและ สถานการณ์จริงเป็นตัวต้ัง เรียนจากประสบการณ์และกิจกรรมจากการฝึกหัด จากการตั้งคำถาม และจากการแสวงหาคำตอบซ่ึงจะทำให้สนุก ฝกึ ปัญญาใหก้ ลา้ แข็ง ทำงานเป็น ฝกึ คุณลักษณะอนื่ ๆ เชน่ ความอดทน ความรบั ผิดชอบ การชว่ ยเหลอื ซง่ึ กนั และกัน การรวมกล่มุ การจัดการ การรจู้ กั ตน”

12 ทิศนา แขมมณี (2548 : 120 ) กล่าววา่ กระบวนการเรียนรู้ทผี่ ู้เรยี นเปน็ สำคัญ เปน็ การ จดั การเรียนการสอนทยี่ ดึ ผเู้ รียนเป็นตัวตั้ง โดยคำนงึ ถงึ ความเหมาะสมกับผู้เรยี นและประโยชน์สงู สดุ ทผ่ี ู้เรยี นควรจะได้รับ และมีการจดั กจิ กรรมการเรียนรทู้ ีเ่ ปิดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นมีบทบาทสำคญั ในการ เรยี นรู้ ได้มสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมการเรียนร้อู ย่างตื่นตวั และไดใ้ ชก้ ระบวนการเรยี นรตู้ ่างๆ อันจะนำ ผู้เรยี นไปส่กู ารเกดิ การเรยี นรู้ที่แท้จริง วฏั จักรการเรยี นรู้ (Learning Cycle) วฏั จกั รการเรยี นรู้ หมายถงึ รูปแบบของกระบวนการเรยี นรู้ของนักวทิ ยาศาสตร์ทีไ่ ด้ ศกึ ษาคิดค้นข้ึน เพ่ือให้นักเรียนได้ใช้วธิ กี ารสืบเสาะหาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ในการคน้ พบความรู้ หรอื ประสบการณ์การเรยี นรูอ้ ย่างมีความหมายด้วยตนเอง ครูผสู้ อนเปน็ ผู้กระตนุ้ ให้นกั เรียน เกดิ การเรยี นรซู้ ่ึงไม่เน้นการสอนแบบบรรยาย บอกเล่า หรือให้นกั เรียนเปน็ ผูร้ บั เน้ือหาวิชาตา่ งๆ จากครผู สู้ อน หากแตค่ รผู ูส้ อนจะต้องกระตนุ้ ให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ดว้ ยตนเองภายใต้ สภาพแวดลอ้ มท่เี หมาะสม (เสาวรสธ์ พลโคตร. 2550: 25; จนิ ดารตั น์ แก้วพกิ ลุ . 2554: 27; ศิริกลุ พลบูรณ.์ 2550: 35) เรนเนอร์ และสแตฟฟอร์ด (Renner; & Stafford. 1972: 19) ให้ความหมายวัฏจกั ร การเรยี นรู้ หมายถงึ รูปแบบการทำงานทบ่ี ุคคลใช้เพื่อดำเนินการเกยี่ วกบั วิทยาศาสตร์ ซ่ึงบุคคล จะใชก้ ระบวนการสังเกต การวดั การตีความหมายข้อมูล การทดลอง การทำนายผล และการสร้าง รูปแบบทางวทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือทำงานดังกล่าว สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2546: 13) กลา่ วว่า วฏั จกั รการเรียนรู้ เป็นการเรียนการสอนโดยวธิ สี ืบเสาะหาความรู้ และการเรียนจากกลมุ่ จัดเปน็ กระบวนการท่เี กิดขึน้ อยา่ งต่อเน่ืองกันไปในลักษณะการเรียนรแู้ บบวฏั จักรหรือการเรียนรแู้ บบคน้ พบ จากความหมายขา้ งต้น ผู้ศึกษาสรปุ ไดว้ า่ วฏั จกั รการเรียนรู้ คือรปู แบบท่ีใหน้ กั เรยี น สามารถใชว้ ิธกี ารสบื เสาะหาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ ที่ตอ้ งมที กั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มาช่วยในการค้นพบความรู้หรอื ประสบการณ์ เมื่อนักเรียนเกิดองค์ความรู้ด้วยตนเอง ก็จะส่งผล ต่อการพัฒนาผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนและทักษะการคิดของนักเรียน โดยครผู ู้สอนเป็นผูก้ ระตุ้น ใหน้ ักเรยี นเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองภายใต้สภาพแวดลอ้ มท่ีเหมาะสม รูปแบบการจดั การเรียนร้แู บบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ข้นั ธญั ชนก โหนง่ กดหลด (2554: 43-46) ได้กล่าวถึงการสอนตามแบบ วัฏจักรการเรียนรู้ 7 ข้ัน ว่าเปน็ การสอนท่ีเนน้ การถ่ายโอนการเรยี นรู้ และความสำคัญเก่ียวกบั การตรวจสอบความรูเ้ ดมิ ของ

13 นักเรยี น ซง่ึ เป็นสง่ิ ที่ครูผสู้ อนละเลยไม่ได้ และการตรวจสอบความรู้พ้นื ฐานเดิมของนักเรียนจะทำให้ ค้นพบว่านกั เรยี นตอ้ งเรยี นรู้อะไรก่อนท่จี ะเรยี นร้ใู นเนื้อหาบทเรียนน้นั ๆ ซึ่งจะให้นักเรียนเกิด การเรียนรอู้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ข้นั ของการเรียนรู้ ตามแนวคิดของไอนเ์ ซนคราฟต์ มีเน้ือหาสาระ ดังน้ี 1. ข้ันตรวจสอบความรูเ้ ดิม (Elicitation Phase) ครูผ้สู อนจะตอ้ งทำหน้าท่ีต้ัง คำถามเพ่ือกระตุ้นใหน้ ักเรยี นได้แสดงความรู้เดมิ คำถามอาจจะเป็นประเดน็ ปัญหาทเ่ี กดิ ขึน้ ตามสภาพ สงั คมท้องถิ่น หรือประเดน็ ข้อค้นพบทางวทิ ยาศาสตร์ การนำวิทยาศาสตร์มาใชใ้ นชีวิตประจำวันและ นกั เรียนสามารถเช่ือมโยงการเรียนรไู้ ปยังประสบการณ์ท่ตี นมี ทำใหท้ ราบวา่ นกั เรยี นแต่ละคนมี ความรพู้ ้ืนฐานเป็นอย่างไร ควรเติมเต็มส่วนใดให้กับนักเรยี น และยังสามารถวางแผนการเรยี นรู้ ได้อยา่ งเหมาะสม สอดคลอ้ งกับความต้องการของนกั เรยี น 2. ขัน้ เร้าความสนใจ (Engagement Phase) ขัน้ นี้เป็นการนำเข้าสูเ่ น้อื หาใน บทเรียนหรอื เรือ่ งที่น่าสนใจซ่ึงอาจเกิดจากความสนใจของนักเรยี น หรอื เกิดจากการอภิปรายภายใน กลมุ่ เรือ่ งที่นา่ สนใจอาจมาจากเหตกุ ารณ์ที่กำลังเกดิ ขึ้นในช่วงเวลานนั้ หรือเป็นเร่ืองทเ่ี ช่ือมโยงกับ ความรูเ้ ดิมท่ีเพงิ่ เรียนรู้มา ครูผู้สอนทำหนา้ ที่กระตุ้นให้นกั เรยี นสรา้ งคำถาม และกำหนดประเดน็ ที่จะ ศกึ ษาแก่นักเรยี น ในกรณีที่ยังไม่มปี ระเด็นทน่ี ่าสนใจ อาจให้ศกึ ษาจากสอ่ื ต่างๆ เชน่ หนังสอื พิมพ์ วารสาร อินเตอร์เน็ต เปน็ ตน้ ซึ่งทำให้นักเรยี นเกดิ ความคดิ ขดั แยง้ จากส่งิ ท่ีนกั เรียนเคยรู้มาก่อน ครผู ู้สอนเป็นผ้ทู ่ที ำหน้าท่กี ระตุ้นใหน้ กั เรยี นคดิ โดยเสนอประเดน็ ท่สี ำคัญขนึ้ มาก่อน แตไ่ มค่ วรบังคับ ใหน้ ักเรียนยอมรบั ประเดน็ เพ่อื นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบในขั้นตอนตอ่ ไป 3. ขน้ั สำรวจค้นหา (Exploration Phase) เมอ่ื นกั เรยี นทำความเข้าใจประเด็นหรือ คำถามทีส่ นใจและศึกษาอย่างถอ่ งแทแ้ ลว้ มกี ารวางแผน กำหนดแนวทางสำรวจตรวจสอบ ตัง้ สมมตฐิ านกำหนดทางเลือกทเ่ี ปน็ ไปได้ ลงมอื ปฏบิ ัตเิ พ่ือเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ข้อสนเทศหรือ ปรากฏการณ์ตา่ งๆ วิธกี ารตรวจสอบ อาจทำได้หลายวิธี เชน่ สบื ค้นขอ้ มูล สำรวจ ทดลอง กจิ กรรม ภาคสนาม เปน็ ต้น เพื่อใหไ้ ดข้ ้อมลู อยา่ งพอเพียง ครผู สู้ อนทำหนา้ ท่ีกระตุน้ ใหน้ กั เรยี นตรวจสอบ ปญั หา และดำเนินการ สำรวจ ตรวจสอบและรวบรวมขอ้ มูลดว้ ยตนเอง 4. ขั้นอธบิ าย (Explanation Phase) เมอื่ นักเรยี นได้ข้อมูลมาแลว้ นักเรียนจะนำ ขอ้ มูลเหลา่ น้ันมาทำการวเิ คราะห์แปลผล สรปุ ผล และนำเสนอผลทไ่ี ดใ้ นรูปแบบตา่ งๆ เช่น บรรยาย สรุป สรา้ งแบบจำลอง รปู วาด ตาราง กราฟ ฯลฯ ซึง่ จะชว่ ยให้นกั เรยี นเหน็ แนวโน้มหรือความสัมพนั ธ์ ของขอ้ มลู สรปุ และอภปิ รายผลการทดลอง โดยอ้างอิงประจักษ์พยานอยา่ งชัดเจนเพ่ือนำเสนอแนวคิด ตอ่ ไป ข้นั นจี้ ะทำให้นกั เรยี นไดส้ ร้างองค์ความรู้ใหม่ การคน้ พบในขัน้ นี้อาจเป็นไปไดห้ ลายทาง เช่น สนับสนุนสมมติฐาน แต่ผลท่ีไดจ้ ะอยใู่ นรปู แบบใดกส็ ามารถสรา้ งความรู้ และช่วยนักเรยี นไดเ้ กดิ การเรยี นรู้

14 5. ขนั้ ขยายความรู้ (Elaboration Phase) ขัน้ น้ีเป็นการนำความรู้ทีส่ ร้างขนึ้ ไป เช่ือมโยงกบั ความรู้เดิมหรือแนวคดิ เดิมท่คี ้นคว้าเพ่ิมเตมิ แบบจำลองข้อสรปุ ที่ไดไ้ ปใช้ อธิบาย สถานการณห์ รือเหตุการณอ์ น่ื ๆ ถ้าใชอ้ ธิบายเรื่องราวต่างๆ ได้มากก็แสดงวา่ มีข้อจำกัดน้อย ซึ่งก็จะ ช่วยใหเ้ ช่อื มโยงเก่ียวกบั เร่ืองราวตา่ งๆ และทำให้เกดิ ความรกู้ ว้างขวางข้ึน ครูผู้สอนควรจัดกิจกรรม หรือสถานการณ์ใหน้ ักเรยี นมีความรู้มากข้ึน และขยายแนวกรอบความคดิ ของตนเองและตอ่ เติมให้ สอดคลอ้ งกับประสบการณเ์ ดิม ควรสง่ เสริมให้นักเรียนต้ังประเด็นเพ่ืออภปิ รายและแสดงความคิดเห็น เพ่ิมเติมใหช้ ดั เจนมากยิ่งขนึ้ 6. ขัน้ ประเมนิ ผล (Evaluation Phase) ขน้ั น้ีเปน็ การประเมนิ การเรียนรู้ด้วย กระบวนการต่างๆ ว่านกั เรียนรู้ อะไรบ้าง อยา่ งไร และมากนอ้ ยเพียงใด ขัน้ น้จี ะชว่ ยใหน้ ักเรียน นำความรู้ที่ไดม้ าประมวลและปรบั ประยกุ ต์ใช้ในเร่อื งอ่ืนๆ ได้ ครผู สู้ อนควรสง่ เสริมให้นักเรยี นนำ ความรู้ใหม่ที่ได้ไปเชือ่ มโยงกบั ความรูเ้ ดิมและสร้างเป็นองค์ความรใู้ หม่ ควรเปดิ โอกาสให้นักเรียนได้ ตรวจสอบ 7. ขัน้ นำความร้ไู ปใช้ (Extension Phase) ข้นั นค้ี รูผ้สู อนจะต้องมกี ารจดั เตรยี ม โอกาสใหน้ กั เรียนนำความรู้ท่ีไดไ้ ปปรับประยกุ ต์ใชใ้ หเ้ หมาะสมและเกิดประโยชนต์ อ่ ชวี ติ ประจำวัน ครผู ูส้ อนทำหนา้ ท่ีกระตุน้ ให้นักเรียนสามารถนำความรู้ไปสรา้ งความรใู้ หม่ ซง่ึ จะชว่ ยใหน้ ักเรยี น สามารถถา่ ยโอนการเรียนรู้ได้ ธญั ชนก โหนง่ กดหลด (2554: 46) ยงั กล่าวว่า รูปแบบการจัดการสอนตามแนวคดิ ของ ไอน์เซนคราฟตเ์ ป็นรปู แบบที่ครูผ้สู อนสามารถนำไปปรบั ประยุกตใ์ หเ้ หมาะสมตามธรรมชาติวชิ า โดยเฉพาะอย่างย่ิงกลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ ซง่ึ เน้นกระบวนการสืบเสาะหาความร้อู นั ท่ีจะ ทำให้นักเรยี นเข้าถงึ ความรู้ ความจริงได้ด้วยตนเอง และนักเรียนได้รับการกระตุ้นให้เกดิ การเรยี นรู้ อยา่ งมีความสุข การจัดกจิ กรรมการเรยี นร้ทู ัง้ 7 ขนั้ ควรระลกึ อยูเ่ สมอว่า ครผู ู้สอนเป็นเพียงผ้ทู ำ หน้าทค่ี อยช่วยเหลือ เอ้ือเฟ้ือและแบง่ ปันประสบการณ์ จัดสถานการณเ์ รา้ ให้นักเรียนได้คดิ ตง้ั คำถาม และลงมือ ตรวจสอบ นอกจากน้คี วรจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ใหเ้ หมาะสมกับความรู้ ความสามารถ บนพน้ื ฐานของ ความสนใจ ความถนดั และความแตกต่างระหว่างบุคคล อันจะทำให้การจดั การเรียนรู้ บรรลสุ ูจ่ ดุ ม่งุ หมายของการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน้ นักเรียนเปน็ สำคัญ จากข้อความข้างต้นผศู้ ึกษาสรปุ ได้ว่า การจดั การเรียนรแู้ บบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขนั้ มคี วามเป็นมาเริม่ ตน้ มาจากไอน์เซนคราฟต์ (Eisenkraft. 2003: 57-59) ได้พัฒนารูปแบบของ BSCS จากวฏั จกั รการเรยี นรู้ 5 ข้นั เป็นวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขนั้ เนื่องดว้ ยวัฏจักรการเรยี นรู้ 5 ขน้ั เป็นขัน้ ตอนทยี่ งั ไม่ต่อเนอ่ื ง จึงเพม่ิ ข้นั ตอนวฏั จกั รการเรียนรอู้ ีก 2 ข้นั ตอน โดยมีเปา้ หมาย เพ่ือกระตนุ้ ให้นกั เรยี นได้มีความสนใจและสนุกกบั การเรียนและยังสามารถปรับประยุกต์ส่ิงท่ไี ด้เรียนรู้

15 ไปสูก่ ารสร้างประสบการณ์ของตนเอง แบ่งเปน็ 7 ข้ันตอน คือ ข้ันตรวจสอบความรู้เดิม ขนั้ เรา้ ความสนใจ ข้นั สำรวจค้นหา ขน้ั อธบิ าย ขนั้ ขยายความรู้ ข้ันประเมนิ ผล และข้นั นำความรไู้ ปใช้ ความหมายของการใช้คำถาม เทคนิคการใช้คำถาม หมายถึง เทคนิคการสอนท่มี ีประสิทธิภาพในการเรยี นการสอน วทิ ยาศาสตร์ในระดับมธั ยมศึกษาท่ีมุง่ ใหน้ ักเรียนสามารถศึกษาคน้ ควา้ หาความร้แู กป้ ญั หา และสรปุ แนวคดิ หลกั ได้ด้วยตนเอง และไมว่ ่าครูผู้สอนจะใช้วิธีการสอนแบบใด การใช้คำถามกย็ งั มบี ทบาท สำคัญเสมอ การใช้คำถามมบี ทบาทสำคัญต่อการเรียนการสอน เป็นการกระตนุ้ ความคดิ ของนักเรียน ครผู ้สู อนมีความสามารถในการถามคำถามอยา่ งมีประสิทธิภาพ จะชว่ ยให้นกั เรยี นไดพ้ ัฒนาทกั ษะ การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณได้ดี หาแนวทางเลือกปฏบิ ัตอิ ย่างเหมาะสม ดังนน้ั จำเป็นอย่างย่ิงท่ี ครูผ้สู อนตอ้ งมที ักษะในการถามคำถามท่ีมปี ระสิทธภิ าพ จึงจะช่วยให้นักเรียนมที ักษะการคดิ คำถาม ทดี่ ี สามารถพัฒนาความคิดของนักเรยี น (ภพ เลาหไพบลู ย์. 2537: 157-175; ประจวบจติ คำจตรุ สั . 2537: 24; อาภรณ์ ใจเทีย่ ง. 2546: 182-187; สวุ ทิ ย์ มูลคำ และอรทยั มลู คำ. 2545: 78-87) พิมพนั ธ์ เดชะคปุ ต์ และพเยาว์ ยนิ ดสี ขุ (2548: 111-112) ไดใ้ ห้ความหมายของการใช้ ประเภทคำถามคือ การใชป้ ระเภทของคำถามทั้งคำถามง่ายและคำถามยาก คำถามแคบและคำถาม กว้าง หรอื ทง้ั คำถามระดับต่ำและระดบั สงู การถามคำถามในหอ้ งเรียนอาจมีความเป็นไปได้ ดังน้ี 1) ครผู สู้ อนเปน็ ผถู้ ามให้นักเรยี นตอบ 2) ครูผูส้ อนและนักเรยี นร่วมกันถามคำถาม ร่วมกันอภปิ ราย และ 3) นกั เรียนเป็นผถู้ ามคำถาม ส่วนลักษณะการถามคำถามที่ดนี ้นั เปน็ ศลิ ปะในการถามคำถามที่ ทำให้สามารถกระต้นุ ความคดิ ของนักเรยี น กระตุน้ ให้นกั เรยี นกลา้ ตอบสนอง และกลา้ ถามยอ้ นกลับ ผูศ้ ึกษาสรปุ ไดว้ ่า การใชค้ ำถาม หมายถงึ การใช้คำถามเพ่ือใหน้ ักเรยี นได้มกี ารโต้ตอบ เพราะคำถามจะช่วยกระตุ้นให้นักเรยี นได้ใชท้ ักษะการคดิ เรยี บเรยี งความรู้ และถ่ายทอดเป็นคำตอบ ครผู สู้ อนเป็นผู้ถามให้นักเรียนตอบ นักเรียนร่วมกันถามคำถาม ร่วมกนั อภิปราย หรือนักเรียนเปน็ ผู้ถามคำถาม ส่วนลักษณะการถามคำถามทด่ี ีนัน้ เป็นศิลปะในการถามคำถาม ท่ีทำให้สามารถกระตุ้น ความคิดของนักเรียน กระต้นุ ใหน้ ักเรยี นกลา้ ตอบสนองและกล้าถามย้อนกลบั ซึ่งเป็นเครื่องมือที่จะ ช่วยตรวจสอบความเขา้ ใจของนักเรียน ในการสนับสนนุ กจิ กรรมการสบื เสาะหาความรู้และใชเ้ ป็น อปุ กรณ์การสอ่ื ความหมายได้อีกด้วย ความสำคัญของการใช้คำถามในการเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตร์ คำถามเป็นหัวใจสำคัญในการเรียนการสอนและเปน็ เคร่ืองมอื สำคัญท่ีใช้ในการแสวงหา ความรู้ การใชค้ ำถามเป็นสง่ิ ท่ีกอ่ ใหเ้ กิดความอยากรู้ อยากเห็น และชว่ ยกระต้นุ ให้นักเรียนเกดิ การ พฒั นาการคดิ การเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์อย่างมีความหมายนนั้ จำเป็นทจี่ ะตอ้ งใช้วิธกี ารสอนแบบ สบื เสาะเปน็ ฐาน (Inquiry-based) ร่วมกบั เทคนิคการใชค้ ำถามท่ีมปี ระสิทธิภาพ ซ่ึงการใชค้ ำถามที่มี

16 ประสทิ ธิภาพของครูผสู้ อนในการจัดการเรยี นการสอนน้นั อาจอยู่ในรปู แบบของสมมตฐิ านทีท่ ้าทาย คำถามทีแ่ สดงใหเ้ หน็ ความขัดแย้งจะชว่ ยให้นักเรยี นมีความเข้าใจในเนื้อหาบทเรียนและช่วยกระตนุ้ ความอยากรู้อยากเหน็ จินตนาการจะส่งเสรมิ การแสวงหาความร้ใู หม่ ทำให้นักเรียนเกดิ ความสนใจ โดยให้นกั เรยี นมีสว่ นรว่ มในการตอบคำถามนำไปสู่ข้อสรุป ซง่ึ ครูผู้สอนที่มีความชำนาญในการใช้ คำถามกจ็ ะช่วยยกระดบั ความคดิ ของนักเรียน ฝึกให้คิดและแสวงหาความร้ดู ้วยตนเองและรู้จัก เรยี งลำดบั ขนั้ ตอนในการคดิ การใชค้ ำถามเปน็ วิธีการหน่งึ ทีค่ รผู สู้ อนใช้เพื่อชว่ ยนำทางนักเรียนไปใน ทศิ ทางท่ีถูกต้องใหน้ กั เรียนได้ใช้ความคดิ และท้ายทส่ี ดุ ประสบผลสำเร็จในการค้นพบมโนทัศนห์ รือ หลกั การทางวทิ ยาศาสตร์(Omairah. 2009: 1-18; จนั ทร์เพญ็ เชอื้ พานชิ . 2527: 153; Sound; & Trowbridge L. W. 1973: 631) ผ้ศู กึ ษาสรปุ ไดว้ ่า คำถามเป็นหัวใจสำคญั ในการเรียนการสอนและเปน็ เครอ่ื งมือสำคญั ท่ีใชใ้ น การแสวงหาความรู้ การใช้คำถามเป็นส่ิงท่ีกอ่ ใหเ้ กดิ ความอยากรู้อยากเหน็ และช่วยกระตุน้ ให้ นกั เรียนเกิดการพัฒนาการคดิ ครูผสู้ อนที่มีความชำนาญในการใช้คำถามกจ็ ะชว่ ยยกระดับความคดิ ของนักเรยี น ฝึกให้นักเรยี นคิดและแสวงหาความร้ดู ว้ ยตนเอง รจู้ ักเรียงลำดับขน้ั ตอนในการคดิ การใชค้ ำถามเป็นวิธกี ารหนง่ึ ทคี่ รูผูส้ อนใช้เพื่อช่วยนำทางนักเรยี นไปในทิศทางท่ีถกู ต้อง ประเภทของคำถามในการเรียนการสอน บลมู (Bloom. 1956: 201-207) ได้จำแนกคำถามเพื่อพฒั นาการเรยี นรดู้ ้านพทุ ธพิ ิสยั (Cognitive Domain) ของนักเรยี น โดยแบ่งออกเป็น 6 ประเภท ตามระดบั การใช้ความคดิ จาก ระดับตำ่ ไปยงั ระดับสูง ดังน้ี 1. คำถามขั้นความรู้ (Knowledge) เป็นคำถามที่ตอ้ งการให้นักเรยี นใชค้ วามสามารถ ในการระลึกหรอื จำเร่ืองราวที่เคยได้เรียนรมู้ าแล้ว 2. คำถามขน้ั ความเขา้ ใจ (Comprehension) เปน็ คำถามที่ต้องการใหน้ กั เรยี นใช้ ความสามารถในการแปลความ ตคี วามและขยายความ โดยนกั เรียนจะต้องส่ือความหมายออกมา เปน็ ความคดิ หรือคำพดู ของตนเอง 3. คำถามขั้นการนำความรไู้ ปใช้ (Application) เปน็ คำถามทต่ี อ้ งการให้นักเรยี น ใช้ความสามารถในการนำความรู้ ความจำและความเข้าใจ ของเร่ืองราวที่ได้เรียนรู้มาใชแ้ กป้ ญั หา เรอ่ื งใหม่หรือสถานการณใ์ หม่ท่ีคลา้ ยคลึงกัน 4. คำถามขั้นวิเคราะห์ (Analysis) เป็นคำถามทต่ี ้องการให้นกั เรยี นใช้ความสามารถ ในการแยกแยะองคป์ ระกอบและหาความสัมพันธ์ระหวา่ งสว่ นยอ่ ยของข้อเท็จจรงิ ของเรื่องราว เหตุการณ์ หรือปรากฏการณ์ใดปรากฏการณห์ น่ึง

17 5. คำถามข้ันสงั เคราะห์ (Synthesis) เป็นคำถามทตี่ ้องการใหน้ กั เรยี นใชค้ วามสามารถ ในการรวบรวมหรือองคป์ ระกอบสว่ นยอ่ ยทง้ั หลายให้เปน็ สว่ นรวมทม่ี ีรปู แบบโครงสร้างใหม่ และมคี ุณภาพ หรือความหมายมากกว่าเดิม 6. คำถามขัน้ ประเมินคา่ (Evaluating) เป็นคำถามท่ีต้องการให้นักเรยี นใช้ความสามารถ ในการนำความรู้ ความจำ ความเข้าใจ การนำความรู้ไปใช้ การวิเคราะห์และสังเคราะห์ มาใช้ ในการตัดสินคุณค่าของส่งิ ต่างๆ ของเหตุการณห์ รือผลงาน ตลอดจนความคดิ เห็น และทัศนคติ อย่างมีหลกั เกณฑ์ ผู้ศึกษาสรปุ ได้วา่ คำถามท่ดี ีนั้นตอ้ งเปน็ คำถามหลายประเภท คำถามแต่ละประเภท ทำให้ นกั เรยี นใชค้ วามคิดในระดับท่ีแตกต่างกันเพ่ือหาคำตอบ ผู้วิจยั จงึ เลือกใชว้ ิธตี ัง้ คำถามของบลมู ซึ่งได้ จำแนกคำถามเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ ดา้ นพุทธพิ สิ ยั (Cognitive Domain) ของนักเรียนโดย แบง่ ออกเป็น 6 ประเภท โดยเลอื กมา 4 ประเภท ตามระดับการใช้ความคิดจากระดบั ต่ำไปยงั ระดบั สูง ไดแ้ ก่ ความจำ ความเขา้ ใจ การประยุกตใ์ ช้ และการวิเคราะห์ เพ่อื ใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ท ของนักเรียน การใช้คำถาม การตัง้ คำถามของครผู สู้ อนท่ีดี นอกจากจะชว่ ยให้ครูผสู้ อนสามารถจัดการเรยี นการสอนได้ ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ และช่วยใหน้ ักเรียนเกดิ การเรยี นรู้ตามไปดว้ ยแล้ว ครผู สู้ อนต้องมีเทคนคิ การตง้ั คำถามทด่ี ีด้วย (วนดิ า ธนประโยชน์ศกั ด์.ิ 2555: 12-64) 1. ต้ังคำถาม (Ask the question) คำถามท่ดี คี วรเป็นคำถามทีช่ ดั เจนไม่คลุมเครอื ครผู ู้สอน ต้องมีการวางแผนการสอนไว้ลว่ งหน้า วา่ จะถามคำถามประเภทใด โดยในการใช้คำถาม เรม่ิ แรกอาจ ใชค้ ำถามกว้างๆ ก่อน หรอื คำถามงา่ ยๆ จากน้ันจึงจะใชค้ ำถามเฉพาะเจาะจงมากขึน้ 2. หยุดและคอยคำตอบ (Pause and wait) เมอื่ ถามคำถามไปแลว้ ครูผู้สอนควรเว้นชว่ ง ระยะเวลาให้นักเรยี นได้คดิ คน้ หาคำตอบ ซ่ึงเวลาทใ่ี ชใ้ นการรอคอยคำตอบนั้นขน้ึ อยูก่ ับประเภท ของคำถามวา่ มคี วามง่ายหรือยาก 3. การตอบสนองของนักเรยี นตอ่ คำถาม (Reacting to the response) ในกรณที ไี่ มม่ ี นักเรยี นคนใดตอบคำถาม ครูผสู้ อนควรใช้คำถามเดมิ ถามซ้ำอกี ครัง้ (Repeat the question) และสอบถามว่านกั เรียนเข้าใจคำถามหรือไม่ 4. ใหค้ วามเห็นเก่ียวกับคำตอบ (Comment on answer) เม่ือนักเรียนตอบคำถามเสรจ็ เรียบรอ้ ยแลว้ หากคำตอบนนั้ ถกู ต้องหรือตอบได้ตรงประเด็น ครผู สู้ อนควรเสริมแรงจูงใจใหแ้ ก่ นักเรียนดว้ ยการชมเชย (Reinforce) เย่ยี มมาก เก่งมาก ดีมาก เป็นต้น แต่หากนกั เรยี นตอบไมต่ รง

18 คำถามหรือตอบถูกบางสว่ น ครูผสู้ อนอาจถามคำถามน้ันกับนกั เรียนคนอนื่ (Redirect) หรอื ถาม คำถามเพ่ิมเติม (Probing) ให้นกั เรียนในชั้นสามารถชว่ ยกนั ตอบคำถามได้ 5. เน้นคำตอบที่ถกู ต้อง (Emphasize Correct answer ) ในขนั้ สุดทา้ ยของเทคนิค การตง้ั คำถามนี้ ครูผสู้ อนควรเนน้ เฉลยคำตอบที่ถูกต้องให้แกน่ ักเรยี นทง้ั ห้องไห้ได้รบั ทราบ ผ้ศู ึกษาสรปุ ไดว้ ่า การใชค้ ำถาม (Questioning) เป็นวิธีการเรยี นการสอนอยา่ งหนง่ึ ที่ใชไ้ ดด้ ี ในทกุ สถานการณ์ เน่ืองจากช่วยใหค้ รูผู้สอนสามารถตรวจสอบความรู้พนื้ ฐานของนกั เรียน กอ่ นทจี่ ะเร่มิ จดั การเรียนการสอนในเนื้อหานน้ั ๆ การใช้คำถามยังช่วยกระต้นุ ใหน้ กั เรยี นมีส่วนรว่ ม ในการเรยี น นอกจากนัน้ ครูผูส้ อนยังสามารถใช้คำถามเพื่อใช้ประเมนิ ความเขา้ ใจเนื้อหาท่ีนกั เรียน เรียนไป คำถามทีด่ ีควรเปน็ คำถามทีช่ ัดเจน เมื่อถามคำถามไปแล้วครผู สู้ อนควรเว้นชว่ งระยะเวลา ให้นักเรยี นได้คดิ ค้นหาคำตอบ ดูการตอบสนองของนักเรยี นต่อคำถาม ให้ความเห็นเกีย่ วกับคำตอบ ครผู ู้สอนควรเน้นเฉลยคำตอบท่ถี ูกต้องให้แก่นักเรียนอีกด้วย งานวจิ ยั ที่เก่ียวข้อง สนุ ีรตั น์ สอนบาล (2555: 185-194) ได้ศึกษาเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน วิทยาศาสตร์ การคิดวเิ คราะห์และความสามารถในการคดิ แกป้ ัญหา ของนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนพรเจริญวทิ ยา ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2554 จำนวน 2 ห้องเรียน รวม 76 คน ไดม้ าจาก การสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) และการจัดการเรยี นรู้ แบบอริยสจั 4 เกบ็ ข้อมลู โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ แบบทดสอบความสามารถในการคิด วเิ คราะหแ์ ละแบบทดสอบวัดความสามารถในการการคดิ แกป้ ญั หาทางวทิ ยาศาสตร์ ผลการศึกษา พบว่า ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน การคิดวเิ คราะห์ และทักษะการแกป้ ัญหาของนักเรียนที่ได้รับ การจดั การเรียนรู้ 7 ขน้ั (7E) และกลมุ่ ที่ไดร้ ับการจัดการเรยี นเรียนรู้ แบบอริยสัจ 4 หลงั เรยี นสงู กวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถิติทร่ี ะดับ .05 และผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน การคิดวิเคราะห์ และทกั ษะการแกป้ ญั หาของนกั เรยี นของนกั เรยี นท่ีไดร้ ับวิธีสอนแตกตา่ งกนั ท้ัง 2 วธิ ี แตกต่างกันอย่าง มีนยั สำคญั ทางสถิติท่รี ะดับ .05 ขวญั ตา แสวงผล (2557: 10-24) ได้ศึกษาเปรยี บเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการคิด แก้ปญั หาและเจตคติต่อการเรียนวิชาฟิสิกสโ์ ดยการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขนั้ และการจัดการเรยี นรูโ้ ดยใชป้ ัญหาเปน็ ฐานของนกั เรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรยี นสตรี ราชนิ ทู ิศ อำเภอเมอื ง จังหวัดอดุ รธานี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม จำนวน 2 หอ้ งเรียน หอ้ งเรียนละ 42 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรยี นรู้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น แบบทดสอบวัดการคดิ แก้ปญั หา และแบบวดั เจตคตติ ่อ

19 การเรยี น ผลการศกึ ษา พบว่า นักเรยี นทงั้ สองกลุ่มมีคะแนนผลสมั ฤทธ์ิ ทักษะการแกป้ ัญหาและ เจตคตทิ างการเรยี นไมแ่ ตกต่างกนั อย่างมนี ยั สำคัญทางสถิติ ณัฐกา นาเลื่อน (2556: 119) ได้ศึกษาผลการสอนโดยใชร้ ูปแบบวงจรการเรยี นรู้ 7E ร่วมกับ เทคนคิ การใช้คำถามท่ีมตี ่อความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ และผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปีที่ 5 ผลการวิจยั พบว่า ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนวิทยาศาสตรข์ อง นักเรียนทีไ่ ดร้ บั การสอนโดยใช้รปู แบบวงจรการเรยี นรู้ 7E ร่วมกบั เทคนิคการใชค้ ำถามหลงั เรียน สงู กวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดบั .01 อารฝัน บากา (2560: 120) ได้ศกึ ษาการพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นและการคดิ วเิ คราะห์ ของนักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 ด้วยการจัดการเรยี นรู้แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขน้ั ร่วมกับเทคนิค การใชค้ ำถามระดบั การวิเคราะห์ เรื่อง การสลายสารอาหารระดับเซลลผ์ ลการวิจยั พบว่า นกั เรยี น ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ท่ีเรียนด้วยการจดั การเรียนรแู้ บบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขั้น ร่วมกับเทคนิค การใช้คำถามระดบั การวเิ คราะหม์ ีผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นและการคิดวิเคราะหห์ ลงั เรียนสงู กวา่ กอ่ นเรยี นอยา่ งมีนัยสำคญั ทางสถิติทีร่ ะดบั .01 กรู าบซู ; ทรู ์กูท และซาลาร์ (Gurbuz; Turgut; & Salar. 2013: 91-95) ไดศ้ ึกษาผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นและความคงทนทางการเรยี นรู้ ของนักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ที่เรียนวิชา วิทยาศาสตร์ เรอื่ ง ไฟฟา้ ในชีวติ ประจำวนั โดยใชว้ ิธีสอนแบบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ขั้น ซึ่งมีฐานมาจาก ทฤษฏคี อนตรสั ติวซิ มึ พบว่า เม่ือวเิ คราะห์ผลดว้ ย t-test กลุ่มทเ่ี รยี นโดยใช้วธิ ีสอนแบบ 7E และกลุม่ ท่ีเรียนดว้ ยวธิ ีการสอนตามคู่มือครมู ีคะแนนผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนหลังเรยี นสูงกว่ากอ่ นเรียน อยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถติ ทิ ่ี .05 และเปรยี บเทียบคะแนนหลงั เรียนทันทแี ละคะแนนหลงั เรียนผา่ นไป 4 สปั ดาห์ เพื่อตรวจสอบความคงทนทางการเรียนรู้ พบว่า กลุม่ ที่เรยี นดว้ ยวิธสี อนวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ข้นั มีความคงทนทางการเรียนรโู้ ดยคะแนนเฉลีย่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นหลังเรยี นทนั ทเี ทา่ กับ 79.33 คะแนน และคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นผ่านไป 4 สัปดาห์ เทา่ กับ 74.33 คะแนน แตกตา่ งกันอย่างไมม่ นี ัยสำคัญทางสถิติ (p = 0.09) ส่วนกลุ่มท่เี รยี นด้วยวิธีการสอนตามคู่มอื ครูไมม่ ี ความคงทนทางการเรียน โดยมคี ะแนนเฉลย่ี หลงั เรยี นทันทีและคะแนนหลังเรียนผา่ นไป 4 สปั ดาห์ เท่ากับ 68.57 และ 59.24 ตามลำดับ ซง่ึ แตกอย่างมนี ยั สำคัญทางสถิติท่ี .05 ครสิ เทลิ วาวค์ (Kristel W. Hawks. 2010: 96) ได้ศึกษาผลจากการใช้ Bloom’s Taxonomy และประโยชนท์ ี่ไดก้ บั มาตรฐานการเรียนรู้ของรฐั เวอร์จิเนยี ในสว่ นของหลกั สตู รการเรยี น เพ่อื พัฒนาบทเรยี นคณติ ศาสตรส์ ำหรับนักเรียนระดบั ประถมศึกษา การศึกษาพบวา่ บทเรยี นที่ไดร้ ับ การพัฒนาโดยใช้ Bloom’s Taxonomy จะทำให้ได้รบั ผลประโยชน์อย่างมาก มีความแตกตา่ ง ระหวา่ งคะแนนก่อนสอบและหลงั เรยี น การประเมินเกณฑ์คณติ ศาสตร์ระดบั ประถมศึกษา ไดท้ ำการ ทดสอบ t-test เปรยี บเทยี บผลการทดลองกอ่ นกลุม่ ทดลองกบั ผลการทดลอง Post-test ของกลุ่ม

20 มีความแตกตา่ งกันอย่างมีนยั สำคัญ ระหว่างการทำข้อสอบกอ่ นเรยี นและการทดสอบหลังเรยี น สำหรับกลุ่มทดลอง การจดั ตำแหน่งของมาตรฐานหลกั สตู รการเรยี นรู้ของเวอร์จิเนียและการใช้ Bloom’s Taxonomy ทำให้เกดิ ความแตกต่างคะแนนเฉล่ียเพ่ิมข้ึนจาก 48.57 ในการทำ Pre-test เป็น 82.57 ความแตกต่างระหว่างสองวิธีมีนัยสำคญั ทางสถติ ิท่รี ะดบั .05 จากงานวจิ ัยท้งั ในและต่างประเทศท่เี กี่ยวข้องกบั การสอนแบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ข้นั ซงึ่ เปน็ การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ครผู สู้ อนต้องรพู้ ้นื ฐานความรเู้ ดมิ ของนักเรียน ซึง่ กระบวนการจัดการเรยี นรู้ เน้นให้นักเรียนค้นคว้าหาความร้ดู ว้ ยตนเอง โดยผา่ น กระบวนการคดิ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซ่ึงจะชว่ ยให้นักเรยี นเกดิ การเรยี นรู้อยา่ งมี ประสิทธิภาพ เปน็ รปู แบบท่คี รูผู้สอนสามารถนำไปปรับประยุกต์ใหเ้ หมาะสมตามธรรมชาติของวิชา โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซ่ึงเนน้ กระบวนการสืบเสาะ หาความรู้ อนั ท่จี ะทำใหน้ ักเรียนเขา้ ถงึ ความรคู้ วามจรงิ ไดด้ ้วยตนเอง และนักเรียนได้รบั การกระตุ้น ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้อยา่ งมคี วามสุขและสง่ ผลใหน้ กั เรยี นมคี ะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีดีข้นึ การใช้ กลวิธีหรอื เทคนิคการใช้คำถามทด่ี จี ะชว่ ยใหน้ กั เรยี นคิดอย่างเป็นระบบ ช่วยกระต้นุ ใหน้ ักเรียน มสี ว่ นร่วมในการเรยี น ครูผสู้ อนยงั สามารถใชค้ ำถามเพื่อใช้ประเมนิ ความเขา้ ใจเน้ือหานักเรียนท่ีเรียน คำถามท่ีดนี ัน้ ต้องเปน็ คำถามหลายประเภท คำถามแตล่ ะประเภททำใหน้ ักเรียนได้ใช้ความคดิ ในระดับท่ีแตกต่างกนั เพื่อหาคำตอบจะทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นสูงข้ึนด้วย วัตถุประสงค์ของการศกึ ษา ในการศึกษาครงั้ น้ผี ูศ้ กึ ษาไดต้ ้ังวตั ถุประสงค์ของการศกึ ษาไว้ ดงั น้ี 1. เพื่อเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน วิชาวทิ ยาศาสตร์ 6 ของนักเรยี น ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ก่อนเรยี นและหลงั เรียนด้วยการจัดการเรียนรแู้ บบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ขัน้ ร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามโดย Blooket 2. เพอ่ื ศึกษาความพึงพอใจของนกั เรยี นทีม่ ตี ่อการเรยี นวชิ าวทิ ยาศาสตร์ 6 ของนกั เรยี น ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ที่ได้รบั การจดั การเรยี นรแู้ บบวัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ขั้น ร่วมกบั เทคนคิ การใช้ คำถามโดย Blooket สมมติฐานของการศกึ ษา 1. นักเรียนทีไ่ ดร้ ับการจัดการเรียนรู้แบบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขน้ั รว่ มกบั เทคนคิ การใช้ คำถามโดย Blooket มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นหลงั เรยี นสูงกวา่ กอ่ นเรียน 2. นกั เรยี นท่ไี ด้รับการจัดการเรยี นรแู้ บบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขัน้ รว่ มกับเทคนคิ การใช้ คำถามโดย Blooket มผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นสงู กวา่ เกณฑ์ท่กี ำหนด (ร้อยละ 70)

21 3. นักเรยี นท่ีได้รับการจัดการเรยี นร้แู บบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขัน้ ร่วมกบั เทคนิคการใช้ คำถามโดย Blooket มคี วามพึงพอใจของนักเรยี นผ่านเกณฑ์อย่ใู นระดับมาก (เฉลี่ย = 3.51) ขอบเขตของการศึกษา ประชากรที่ใช้ในการศกึ ษา ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคร้ังน้ี ประกอบดว้ ยนักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรียนวังจันทรว์ ทิ ยา ทเ่ี รยี นวิชาวิทยาศาสตร์ 6 จำนวน 10 หอ้ งเรียน รวมท้งั หมด 331 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา กลุม่ ตวั อยา่ งท่ใี ช้ในการศกึ ษาคร้ังนี้ ประกอบด้วย นักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 3/3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวนนักเรยี น 35 คน ซ่ึงได้มาจากวธิ กี ารเลอื กแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เน่ืองจากเป็นห้องเรยี นทผ่ี ้ศู ึกษาทำการจดั การเรียนการสอน เนอื้ หาทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษา เน้อื หาทใี่ ชใ้ นการศึกษาคร้ังน้ี คือ เนื้อหาในรายวิชาวทิ ยาศาสตร์ 6 ระดับช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เร่อื ง วงจรไฟฟา้ อย่างง่าย ตามหลกั สูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนวังจนั ทรว์ ทิ ยา ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศักราช 2560) จดั ทำโดยสถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ 1. ปรมิ าณทางไฟฟ้า 2. วงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน ระยะเวลาทใี่ ชใ้ นการศกึ ษา ดำเนนิ การทดลองในภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 ใช้เวลาในการดำเนนิ กจิ กรรม การเรียนการสอนตามเน้ือหา 6 คาบเรียน ปฐมนิเทศและทดสอบก่อนเรยี น (Pre - test) 1 คาบเรียน สรปุ บทเรยี นและทดสอบหลังเรียน (Post - test) 1 คาบเรียน รวม 8 คาบเรียน คาบเรียนละ 50 นาที ตัวแปรที่ศกึ ษา 1. ตัวแปรอิสระ 1.1 การจดั การเรียนรู้แบบวัฏจกั ร 7 ขั้น ร่วมกับเทคนคิ การใชค้ ำถามโดย Blooket 2. ตวั แปรตาม 2.1 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์

22 2.2 ความพงึ พอใจของนักเรียนท่มี ตี อ่ การจดั การเรยี นรแู้ บบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ข้ัน ร่วมกับเทคนิคการใชค้ ำถามโดย Blooket นยิ ามศัพท์เฉพาะ 1. การจัดการเรียนร้แู บบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขนั้ หมายถึง การจดั การเรียนรแู้ บบวัฏจกั ร การเรยี นรู้ ประกอบดว้ ย 7 ข้ันตอน ดังนี้ 1.1 ขนั้ ตรวจสอบความรู้เดิม (Elicitation Phase) ในขน้ั นเ้ี ป็นข้ันทีค่ รผู ู้สอนจะต้ัง คำถามเพ่ือกระตุ้นให้นักเรยี นได้แสดงความรเู้ ดมิ ออกมา เพ่ือตรวจสอบความร้เู ดิมของแต่ละคน 1.2 ขน้ั เร้าความสนใจ (Engagement Phase) ในข้ันนเ้ี ปน็ การนำเขา้ สู่บทเรียน ในเร่อื งท่สี นใจ ซึ่งเกดิ จากความสนใจของตัวนกั เรียนเองหรือเกิดจากการอภิปรายภายในกลมุ่ อาจมาจากเหตุการณ์ที่กำลงั เกิดขน้ึ ในช่วงเวลานน้ั หรือเป็นเรื่องที่เชอื่ มโยงกบั ความรเู้ ดิมทนี่ ักเรยี น ไดเ้ รยี นรู้มาก่อน 1.3 ขน้ั สำรวจและค้นหา (Exploration Phase) ในขน้ั นีม้ ีการวางแผน กำหนด แนวทาง สำรวจตรวจสอบ ต้ังสมมติฐาน กำหนดทางเลือกท่ีเป็นไปได้ ลงมอื ปฏิบตั ิเพอ่ื เก็บรวบรวม ข้อมูล โดยครผู ้สู อนสนับสนนุ การเรยี นรูข้ องนกั เรียน 1.4 ขน้ั อธบิ ายและลงข้อสรุป (Explanation Phase) ในข้นั นีเ้ มอื่ นักเรียนได้ข้อมูล มาอย่างเพียงพอจากการสำรวจตรวจสอบแลว้ จงึ นำขอ้ มูลทไ่ี ดม้ าวิเคราะห์ แปลสรุปผล นำเสนอ อภปิ รายผลรว่ มกัน เพื่อสรุปความรูใ้ นเร่ืองที่ศึกษา 1.5 ขน้ั ขยายความคดิ (Elaboration Phase) ในขัน้ นเ้ี ป็นการนำความรู้ที่สร้างข้ึน ไปเช่ือมโยงกับความรเู้ ดิม แนวคิดทไี่ ด้คน้ ควา้ เพิ่มเตมิ การนำขอ้ สรปุ ท่ีได้ไปใชอ้ ธบิ ายสถานการณ์ อื่นๆ ทำให้เกิดความรู้สึกกว้างขวางข้นึ 1.6 ขั้นประเมนิ ผล (Evaluation Phase) ในข้นั นี้เปน็ การประเมนิ การเรยี นรู้ ดว้ ย กระบวนการต่างๆ วา่ นักเรียนมคี วามรู้ เปน็ อย่างไร มากน้อยเพียงใด 1.7 ขน้ั นำความรู้ ไปใช้ (Extension Phase) ในขน้ั นีค้ รผู สู้ อนจะต้องมีการจัดเตรยี ม โอกาสใหน้ ักเรยี นได้นำสิ่งท่ีได้เรียนมาไปประยุกต์ใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ในชีวติ ประจำวัน กระตุ้นให้ นกั เรยี นสามารถนำความร้ทู ี่ได้รบั ไปสร้างเป็นความรูใ้ หม่ 2. เทคนิคการต้ังคำถาม หมายถงึ คำถามที่นำความรู้จากความทรงจำมาใช้ สามารถสร้าง ความหมายจากส่ิงตา่ งๆ มาประยุกต์ใชส้ ถานการณ์ สามารถแยกแยะใหเ้ หน็ ความแตกต่าง ตรวจสอบ และวิพากษว์ จิ ารณ์ให้เหน็ ข้อดี ข้อเสีย รวมถงึ การนำข้อมูลมาประกอบหรือรวมกนั ในแนวทางหรือ วธิ กี ารใหมเ่ พ่ือสร้างข้อสรุป แนวทาง วธิ กี าร หรอื สิง่ ท่ีสรา้ งขนึ้ ใหม่ โดยใชเ้ ทคนิคการต้ังคำถาม 4 ขั้น ไดแ้ ก่ 2.1 ขัน้ ความจำ (Remembering) เปน็ คำถามท่นี กั เรยี นนำความรู้จากความทรงจำ

23 มาใชใ้ นการบอกความหมายของคำนิยาม ข้อเทจ็ จรงิ รายการข้อมลู หรือการทน่ี กั เรียนสามารถท่องจำ หรือนำข้อมลู จากความทรงจำมาใชไ้ ด้ 2.2 ขนั้ ความเข้าใจ (Understanding) เป็นคำถามทนี่ ักเรยี นสามารถสร้าง ความหมายจากส่ือความเรยี งและสือ่ ท่ีไม่ใช่ความเรียง โดยการตีความ การยกตัวอย่าง การแยกแยะ การสรุป การอนุมาน การเปรียบเทียบ และการอธบิ าย 2.3 ขั้นนำไปใช้ (Applying) เปน็ คำถามทน่ี ักเรียนนำสิ่งทเี่ รียนมาในขน้ั ตอนหรือ กระบวนการท่ไี ด้มาทำการศึกษามาปฏิบัติ หรอื การนำข้อมูลที่ไดเ้ รียนมาประยุกต์ในสถานการณ์ต่างๆ โดยออกมาในรูปของแบบจำลอง การนำเสนอ การสัมภาษณ์ หรอื การยกตัวอย่าง 2.4 ขน้ั วิเคราะห์ (Analyzing) เป็นคำถามที่นักเรียนสามารถย่อยข้อมลู หรือ ความคิดเปน็ สว่ นๆ และพจิ ารณาว่าแตล่ ะส่วนมคี วามเกีย่ วข้องระหวา่ งกันหรือเก่ียวขอ้ งกับโครงสรา้ ง ทง้ั หมดอย่างไร สง่ิ ท่ีนกั เรียนต้องใช้ในขัน้ น้ี คอื ความสามารถในการแยกแยะให้เหน็ ความแตกต่าง 3. โปรแกรม Blooket หมายถึง โปรแกรมออนไลนใ์ นรูปแบบของเกม ที่ผ้ศู กึ ษาใชป้ ระกอบ ในขน้ั ตอนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ในการสรา้ งคำถามออนไลน์ในรปู แบบคำถามปรนยั (Quiz) มีรูปแบบการสร้างคำถาม 4 ตวั เลอื ก โดยมคี ำตอบท่ีถกู ต้องทสี่ ดุ เพียงคำตอบเดียว 4. การจดั การเรยี นรแู้ บบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขน้ั รว่ มกับเทคนิคการใชค้ ำถามโดย Blooket หมายถงึ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบวัฏจกั รการเรยี นรู้ ประกอบด้วย 7 ขน้ั ตอน ผนวกกบั เทคนิคการใช้คำถามมาประกอบ ในขัน้ ตอนนี้การจดั การเรยี นรผู้ า่ นรปู แบบการสร้างคำถาม โดยใช้ Blooket ดังน้ี 4.1 ขน้ั ตรวจสอบความรู้เดิม (Elicitation Phase) ในขนั้ นีเ้ ป็นขั้นทคี่ รูผสู้ อนจะตั้ง คำถามเพ่ือกระตนุ้ ใหน้ ักเรียนไดแ้ สดงความรู้เดิมออกมา เพ่ือตรวจสอบความรู้เดิมของแต่ละคน โดยใชค้ ำถามระดบั ความจำ (Remembering) ความเข้าใจ (Understanding) ใส่ในโปรแกรม Blooket 4.2 ขัน้ เร้าความสนใจ (Engagement Phase) ในขน้ั นีเ้ ป็นการนำเขา้ สบู่ ทเรียน ในเรื่องทส่ี นใจ ซึ่งเกิดจากความสนใจของตัวนกั เรยี นเองหรือเกิดจากการอภิปรายภายในกลมุ่ อาจมาจากเหตุการณ์ที่กำลังเกดิ ข้นึ ในชว่ งเวลานัน้ หรือเป็นเรอื่ งท่ีเชอื่ มโยงกบั ความรู้เดิมทน่ี ักเรียน ไดเ้ รียนรมู้ า ครูผู้สอนเปน็ ผ้กู ระต้นุ ใหน้ ักเรียนสร้างคำถาม โดยใช้คำถามระดบั ความจำ (Remembering) ความเข้าใจ (Understanding) ใสใ่ นโปรแกรม Blooket 4.3 ขน้ั สำรวจและค้นหา (Exploration Phase) ในขนั้ น้ีมีการวางแผน กำหนด แนวทาง สำรวจตรวจสอบ ตงั้ สมมตฐิ าน กำหนดทางเลือกท่ีเป็นไปได้ ลงมอื ปฏิบตั เิ พ่อื เก็บรวบรวม ข้อมลู โดยครผู ้สู อนสนับสนุนการเรียนรู้ของนักเรียน โดยใช้คำถามระดบั ความเขา้ ใจ (Understanding) การวเิ คราะห์ (Analyzing) ใส่ในโปรแกรม Blooket

24 4.4 ขน้ั อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation Phase) ในขั้นนเ้ี มอื่ นกั เรียนได้ข้อมลู มาอย่างเพียงพอจากการสำรวจตรวจสอบแลว้ จึงนำข้อมลู ท่ีได้มาวิเคราะห์ แปลสรปุ ผล นำเสนอ อภปิ รายผลร่วมกนั เพื่อสรปุ ความร้ใู นเร่ืองที่ศึกษา โดยใชค้ ำถามระดับความเข้าใจ (Understanding) การวเิ คราะห์ (Analyzing) ใส่ในโปรแกรม Blooket 4.5 ขนั้ ขยายความคดิ (Elaboration Phase) ในข้นั นเี้ ป็นการนำความรู้ ท่ีสรา้ งขน้ึ ไปเชอ่ื มโยงกบั ความรู้เดิม แนวคิดท่ไี ด้คน้ คว้าเพ่มิ เติม การนำข้อสรุปที่ไดไ้ ปใชอ้ ธิบายสถานการณ์ อนื่ ๆ ทำใหเ้ กิดความรู้สึกกวา้ งขวางขนึ้ โดยใชค้ ำถามระดับการวิเคราะห์ (Analyzing) ใส่ในโปรแกรม Blooket 4.6 ข้นั ประเมินผล (Evaluation Phase) ในข้ันน้เี ปน็ การประเมนิ การเรยี นรู้ ดว้ ย กระบวนการต่างๆ วา่ นกั เรยี นมคี วามรู้ เป็นอย่างไร มากน้อยเพียงใด โดยใช้คำถามระดับความเขา้ ใจ (Understanding) การวิเคราะห์ (Analyzing) ใสใ่ นโปรแกรม Blooket 4.7 ขน้ั นำความรู้ ไปใช้ (Extension Phase) ในขน้ั นี้ครผู สู้ อนจะต้องมีการจัดเตรียม โอกาสใหน้ ักเรยี นไดน้ ำสิ่งที่ได้เรียนมาไปประยกุ ต์ใชใ้ หเ้ กิดประโยชนใ์ นชวี ิตประจำวัน กระตนุ้ ให้ นกั เรียนสามารถนำความรทู้ ี่ไดร้ บั ไปสรา้ งเป็นความรู้ใหม่ โดยใชค้ ำถามระดบั การนำไปใช้ (Applying) ใสใ่ นโปรแกรม Blooket 5. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวิทยาศาสตร์ หมายถงึ ความรู้ ทกั ษะ หรือสมรรถภาพทางสมอง และสตปิ ญั ญา จากการเรยี นรู้ของนักเรียนอนั เป็นผลจากการเรยี นการสอน เนอื้ หา เรื่อ วงจรไฟฟ้า อยา่ งงา่ ย จากการทไี่ ดร้ บั การจัดกจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ขัน้ รว่ มกับเทคนคิ การใชค้ ำถามโดย Blooket ซงึ่ เป็นพฤติกรรมที่สามารถวดั ได้โดยใช้แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรียนทผี่ ้ศู กึ ษาสรา้ งข้ึน เป็นแบบทดสอบชนิด 4 ตวั เลือก จำนวน 30 ข้อ โดยวดั ความสามารถ ด้านต่างๆ 4 ดา้ น คือ 5.1 ด้านความจำ (Remembering) หมายถึง ความสามารถในการนำความรู้ ความทรงจำมาใช้ในการบอกความหมายของนยิ าม ขอ้ เท็จจรงิ รายการขอ้ มูลหรือการท่ีนักเรยี น สามารถท่องจำหรอื นำข้อมูลจากความทรงจำมาใช้ได้ 5.2 ดา้ นความเข้าใจ (Understanding) หมายถงึ ความสามารถในการตคี วาม การยกตวั อย่าง การแยกแยะ การสรปุ การอนุมาน การเปรียบเทียบ และการอธบิ าย 5.3 ดา้ นการนำไปใช้ (Applying) หมายถึง ความสามารถในการนำสิง่ ท่ีเดรยี นมา ข้ันตอนหรือกระบวนการที่ได้มาทำการศึกษามาปฏิบัติ หรือการนำขอ้ มูลท่ีได้เรียนมาประยุกต์ใน สถานการณต์ ่างๆ โดยออกมาในรูปแบบจำลอง การคำนวณ

25 5.4 การวิเคราะห์ (Analyzing) หมายถึง ความสามารถในการนำข้อมลู หรอื ความคิด เปน็ ส่วนๆ และพจิ ารณาวา่ แต่ละส่วนมคี วามเกย่ี วข้องระหว่างกนั หรอื เกยี่ วข้องกับโครงสร้างทง้ั หมด อยา่ งไร สิ่งท่ีนักเรยี นต้องใชใ้ นขัน้ นีค้ อื ความสามารถในการแยกแยะให้เหน็ ความแตกตา่ ง 6. ความพึงพอใจ หมายถึง ความคดิ เห็นหรือความร้สู กึ ในด้านที่ดขี องนกั เรียนท่ีมี ต่อการจดั การเรียนรู้แบบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ข้นั ร่วมกบั เทคนิคการใชค้ ำถามโดย Blooket จากแบบสอบถามความพึงพอใจที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้น มีลักษณะเปน็ แบบมาตราสว่ นประมาณค่า (Rating Scale) กำหนดค่าออกเป็น 5 ระดบั ตามวิธกี ารของลเิ คิรท์ (Likert) จำนวน 20 ขอ้ โดยวัด ความพึงพอใจ 4 ด้าน ได้แก่ 1) ดา้ นกระบวนการจดั การเรียนรู้ 2) ด้านบรรยากาศการเรียนการสอน 3) ด้านการใชส้ ื่อการเรียนการสอน 4) ด้านการวดั ผลและประเมินผล กรอบแนวคิดในการศกึ ษา การสอนตามแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขนั้ เป็นการสอนทเี่ น้นการถา่ ยโอนการเรยี นรู้ และ ความสำคัญเก่ยี วกับการตรวจสอบความรู้เดิมของนกั เรยี น ซงึ่ จะทำใหน้ กั เรยี นเกดิ การเรียนรู้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ (ธญั ชนก โหนง่ กดหลด. 2554: 43-46) ประกอบกับการใช้คำถามที่ดีเพราะคำถาม เป็นหวั ใจสำคญั ในการเรยี นการสอน เปน็ เครอ่ื งมือสำคญั ที่ใช้ในการแสวงหาความรู้ การใช้คำถามเปน็ สง่ิ ทกี่ อ่ ใหเ้ กิดความอยากรู้อยากเหน็ และชว่ ยกระตุ้นใหน้ กั เรยี นเกิดการพฒั นาการคดิ (Omairah. 2009: 1-18) และเมื่อนำเทคโนโลยเี ข้ามาจดั การเรยี นรู้กจ็ ะช่วยเพ่มิ บรรยากาศการเรียนรู้ในชัน้ เรยี น และทำใหน้ ักเรียนมีความสนใจในการเรียนเพิ่มมากข้ึน ซึ่งโปรแกรม Blooket สามารถใช้งานไดง้ ่าย ทงั้ ตอ่ ตัวนักเรียนและครูผู้สอนทจี่ ะเรยี นรใู้ นห้องเรียน อีกทั้งยงั เปน็ โปรแกรมที่สรา้ งความสนกุ ความคดิ สร้างสรรค์ และทำให้นกั เรียนมสี ว่ นร่วมในการเรียน ส่งเสริมใหน้ กั เรยี นมีผลสมั ฤทธิ์ท่ีดแี ละมี ความพึงพอใจต่อการจดั การเรียนรแู้ บบวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ข้ัน ร่วมกับเทคนคิ การใช้คำถามโดย Blooket โดยสรปุ เปน็ กรอบแนวคดิ ในการศึกษา ดังภาพประกอบ 1 ตวั แปรอิสระ ตัวแปรตาม การจดั การเรียนรแู้ บบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขน้ั - ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวทิ ยาศาสตร์ รว่ มกับเทคนิคการใช้คำถามโดย Blooket - ความพึงพอใจของนักเรยี นท่ีมีตอ่ การ จัดการเรยี นรแู้ บบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ข้นั ร่วมกบั เทคนคิ การใช้คำถาม โดย Blooket

26 2.2 รปู แบบเทคนคิ วิธีการแกป้ ัญหาหรือพัฒนา การจัดการเรียนรู้ท่เี นน้ ผูเ้ รยี นเป็นสำคญั 2.2.1 รปู แบบการจดั การเรียนรูแ้ บบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขัน้ การจดั การเรยี นแบบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขั้น เป็นรูปแบบในการจัดการเรยี นรแู้ บบสืบเสาะ หาความรู้ เพื่อใหน้ ักเรยี นสร้างองค์ความรู้ใหมโ่ ดยเชื่อมโยงสิ่งทเ่ี รยี นรู้เข้ากบั ประสบการณ์หรอื ความรู้ เดมิ เปน็ ความรู้หรือแนวคิดของนกั เรียนเรยี กรปู แบบการสอนนวี้ า่ Inquiry cycle หรือวัฏจกั รการ เรียนรู้ วฏั จักรการเรยี นรู้เป็นรูปแบบของกระบวนการเรยี นรู้ของนักวทิ ยาศาสตร์ท่ีได้ศกึ ษา คิดคน้ ขน้ึ เพอื่ ให้นักเรยี นไดใ้ ชว้ ธิ กี ารสบื เสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในการคน้ พบความรู้หรือ ประสบการณ์การเรยี นรู้อยา่ งมีความหมายดว้ ยตนเอง ครูผู้สอนเปน็ ผ้กู ระตุ้นให้นกั เรียน เกิดการเรยี นรู้ซ่ึงไม่เน้นการสอนแบบบรรยาย บอกเลา่ หรือใหน้ ักเรยี นเปน็ ผู้รับเนื้อหาวิชาตา่ งๆ จากครูผสู้ อน หากแตค่ รูผูส้ อนจะต้องกระตนุ้ ใหน้ กั เรียนเกิดการเรียนรู้ ดว้ ยตนเองภายใต้ สภาพแวดล้อมทเี่ หมาะสม เป็นกระบวนการทเี่ กิดขน้ึ อย่างต่อเนือ่ งกนั ไปในลักษณะการเรียนรู้ แบบวฏั จกั รหรอื การเรียนร้แู บบค้นพบ วฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ข้ัน เปน็ การสอนท่เี นน้ การถา่ ยโอนการเรยี นรู้ และความสำคญั เกยี่ วกบั การตรวจสอบความรูเ้ ดิมของนักเรียน ซ่งึ เป็นสงิ่ ที่ครผู ูส้ อนละเลยไม่ได้ และการตรวจสอบความรู้ พนื้ ฐานเดิมของนักเรียนจะทำให้คน้ พบว่านักเรียนตอ้ งเรียนรูอ้ ะไรก่อนที่จะเรียนร้ใู นเนอ้ื หาบทเรยี น น้นั ๆ ซงึ่ จะใหน้ ักเรยี นเกดิ การเรยี นรู้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ข้ันของการเรียนรู้ ตามแนวคิดของไอนเ์ ซน คราฟต์ มเี นื้อหาสาระ ดังนี้ 1. ขนั้ ตรวจสอบความร้เู ดมิ (Elicitation Phase) ครูผู้สอนจะต้องทำหนา้ ท่ี ต้งั คำถาม เพ่ือกระตนุ้ ใหน้ ักเรียนไดแ้ สดงความรเู้ ดิม คำถามอาจจะเป็นประเด็นปัญหาทีเ่ กิดข้ึนตาม สภาพสงั คมท้องถิ่น หรือประเด็นขอ้ ค้นพบทางวิทยาศาสตร์ การนำวทิ ยาศาสตร์มาใชใ้ น ชีวิตประจำวันและ นกั เรยี นสามารถเชือ่ มโยงการเรียนร้ไู ปยังประสบการณท์ ตี่ นมี ทำให้ทราบว่า นักเรียนแต่ละคนมคี วามรู้พ้ืนฐานเปน็ อย่างไร ควรเตมิ เต็มส่วนใดใหก้ ับนักเรียน และยังสามารถวาง แผนการเรยี นรู้ได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการของนักเรียน 2. ข้ันเรา้ ความสนใจ (Engagement Phase) ข้นั นีเ้ ป็นการนำเข้าสเู่ น้ือหาใน บทเรียนหรอื เรื่องที่น่าสนใจซึ่งอาจเกิดความสนใจของนักเรียน หรือเกิดจากการอภปิ รายภายในกลมุ่ เรอื่ งทน่ี ่าสนใจอาจมาจากเหตุการณท์ ี่กำลงั เกิดขน้ึ ในชว่ งเวลานัน้ หรอื เป็นเรือ่ งทเี่ ชอ่ื มโยงกับความรู้ เดิมทีเ่ พ่งิ เรียนรูม้ า ครผู ู้สอนทำหนา้ ทีก่ ระตุ้นให้นกั เรียนสร้างคำถาม และกำหนดประเดน็ ท่จี ะศึกษา แก่นกั เรียน ในกรณที ย่ี ังไม่มีประเด็นทีน่ ่าสนใจ อาจให้ศึกษาจากส่อื ต่างๆ เชน่ หนงั สือพิมพ์ วารสาร อินเตอร์เน็ต เป็นตน้ ซึง่ ทำให้นกั เรียนเกิดความคิดขดั แยง้ จากสิ่งทนี่ ักเรยี นเคยรู้มาก่อน ครูผู้สอน

27 เปน็ ผู้ทีท่ ำหน้าที่กระตุ้นให้นกั เรียนคิด โดยเสนอประเดน็ ทสี่ ำคญั ขึ้นมาก่อน แต่ไม่ควรบังคับให้ นกั เรียนยอมรับประเด็น เพอ่ื นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบในขน้ั ตอนต่อไป 3. ข้ันสำรวจค้นหา (Exploration Phase) เมอื่ นกั เรียนทำความเขา้ ใจประเดน็ หรอื คำถามที่สนใจและศึกษาอยา่ งถ่องแทแ้ ล้ว มีการวางแผน กำหนดแนวทางสำรวจตรวจสอบ ต้ังสมมตฐิ านกำหนดทางเลือกที่เป็นไปได้ ลงมอื ปฏิบตั ิเพ่ือเกบ็ รวบรวมข้อมลู ขอ้ สนเทศหรอื ปรากฏการณ์ต่างๆ วิธกี ารตรวจสอบ อาจทำได้หลายวิธี เชน่ สืบคน้ ข้อมูล สำรวจ ทดลอง กิจกรรม ภาคสนาม เป็นตน้ เพ่ือให้ไดข้ ้อมลู อย่างพอเพยี ง ครูผสู้ อนทำหน้าที่กระตนุ้ ใหน้ กั เรียนตรวจสอบ ปัญหา และดำเนนิ การ สำรวจ ตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง 4. ขั้นอธบิ าย (Explanation Phase) เมอ่ื นกั เรยี นไดข้ ้อมลู มาแล้ว นักเรียนจะนำ ข้อมูลเหลา่ นั้นมาทำการวเิ คราะห์แปลผล สรุปผล และนำเสนอผลทไ่ี ดใ้ นรูปแบบต่างๆ เช่น บรรยาย สรุป สร้างแบบจำลอง รปู วาด ตาราง กราฟ ฯลฯ ซงึ่ จะชว่ ยให้นกั เรียนเหน็ แนวโนม้ หรอื ความสมั พันธ์ ของข้อมูล สรปุ และอภิปรายผลการทดลอง โดยอ้างอิงประจกั ษ์พยานอย่างชัดเจนเพื่อนำเสนอแนวคิด ตอ่ ไป ข้ันน้ีจะทำใหน้ กั เรียนไดส้ ร้างองค์ความรูใ้ หม่ การค้นพบในข้ันนี้อาจเปน็ ไปได้หลายทาง เชน่ สนับสนุนสมมติฐาน แต่ผลท่ีไดจ้ ะอย่ใู นรูปแบบใดกส็ ามารถสร้างความรู้ และช่วยนักเรียนได้เกิด การเรียนรู้ 5. ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration Phase) ขน้ั น้ีเปน็ การนำความรู้ทส่ี ร้างขน้ึ ไป เชือ่ มโยงกบั ความรู้เดิมหรือแนวคิดเดิมทค่ี น้ คว้าเพิ่มเตมิ แบบจำลองข้อสรปุ ที่ไดไ้ ปใช้ อธิบาย สถานการณห์ รือเหตุการณ์อ่นื ๆ ถา้ ใช้อธิบายเร่ืองราวต่างๆ ไดม้ ากก็แสดงว่ามีข้อจำกดั น้อย ซ่งึ กจ็ ะ ชว่ ยให้เช่อื มโยงเกยี่ วกับเรือ่ งราวตา่ งๆ และทำใหเ้ กดิ ความร้กู วา้ งขวางขึ้น ครูผูส้ อนควรจัดกิจกรรม หรือสถานการณ์ให้นักเรียนมีความรู้มากขน้ึ และขยายแนวกรอบความคดิ ของตนเองและต่อเติมให้ สอดคลอ้ งกับประสบการณเ์ ดิม ควรส่งเสรมิ ให้นกั เรียนตั้งประเด็นเพื่ออภิปรายและแสดงความคิดเหน็ เพ่มิ เติมให้ชัดเจนมากย่งิ ขึน้ 6. ขั้นประเมินผล (Evaluation Phase) ขน้ั นเ้ี ป็นการประเมินการเรยี นร้ดู ว้ ย กระบวนการต่างๆ ว่านกั เรยี นรู้ อะไรบ้าง อย่างไร และมากนอ้ ยเพียงใด ขนั้ นีจ้ ะชว่ ยให้นักเรยี น นำความรู้ทไี่ ด้มาประมวลและปรับประยกุ ต์ใช้ในเรอ่ื งอ่ืนๆ ได้ ครผู ู้สอนควรสง่ เสริมใหน้ ักเรียนนำ ความร้ใู หมท่ ี่ได้ไปเช่อื มโยงกับความร้เู ดมิ และสรา้ งเป็นองค์ความรูใ้ หม่ ควรเปิดโอกาสให้นักเรียน ได้ตรวจสอบ 7. ข้ันนำความร้ไู ปใช้ (Extension Phase) ขน้ั นี้ครูผู้สอนจะตอ้ งมกี ารจัดเตรยี ม โอกาสใหน้ กั เรยี นนำความรู้ที่ได้ไปปรบั ประยกุ ต์ใชใ้ หเ้ หมาะสมและเกิดประโยชนต์ ่อชวี ติ ประจำวนั ครูผู้สอนทำหนา้ ที่กระต้นุ ใหน้ ักเรยี นสามารถนำความรู้ไปสร้างความรใู้ หม่ ซงึ่ จะชว่ ยใหน้ ักเรยี น สามารถถ่ายโอนการเรยี นรู้ได้

28 การเรียนรแู้ บบวัฏจักร 7 ขน้ั เป็นรูปแบบเหมาะสมอย่างยิ่งกับกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ ซึ่งเนน้ กระบวนการสบื เสาะหาความรอู้ นั ทจ่ี ะทำใหน้ กั เรยี นเขา้ ถงึ ความรู้ ความจริงได้ ด้วยตนเอง และนักเรยี นได้รบั การกระต้นุ ให้เกิดการเรยี นรู้อยา่ งมีความสขุ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ทั้ง 7 ขั้น ควรระลกึ อยูเ่ สมอว่า ครูผู้สอนเป็นเพียงผ้ทู ำหน้าที่คอยช่วยเหลือ เออ้ื เฟอ้ื และแบ่งปัน ประสบการณ์ จดั สถานการณ์เรา้ ใหน้ กั เรียนได้คดิ ตงั้ คำถามและลงมือ ตรวจสอบ นอกจากนคี้ วรจัด กจิ กรรมการเรียนรู้ ใหเ้ หมาะสมกบั ความรู้ ความสามารถบนพื้นฐานของ ความสนใจ ความถนดั และ ความแตกต่างระหว่างบุคคล อันจะทำให้การจดั การเรียนรู้ บรรลุสจู่ ดุ มงุ่ หมายของการจัดการเรียน การสอนท่ีเน้นนักเรยี นเป็นสำคัญ 2.2.2 เทคนิคการใช้คำถาม เทคนิคการใชค้ ำถาม หมายถึง เทคนคิ การสอนท่มี ีประสิทธภิ าพในการเรยี นการสอน วทิ ยาศาสตรใ์ นระดบั มธั ยมศึกษาที่ มุ่งให้นกั เรยี นสามารถศึกษาค้นคว้าหาความรู้แกป้ ัญหา และสรุป แนวคิดหลกั ไดด้ ว้ ยตนเอง และไม่ว่าครผู ู้สอนจะใชว้ ิธกี ารสอนแบบใด การใชค้ ำถามกย็ งั มบี ทบาท สำคญั เสมอ การใช้คำถามมบี ทบาทสำคัญตอ่ การเรยี นการสอน เป็นการกระตนุ้ ความคดิ ของนักเรียน ครผู ูส้ อนมคี วามสามารถในการถามคำถามอย่างมีประสิทธิภาพ จะช่วยให้นกั เรยี นได้พัฒนาทกั ษะ การคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณได้ดี หาแนวทางเลือกปฏิบตั ิอย่างเหมาะสม ดังนน้ั จำเปน็ อยา่ งยิ่ง ทค่ี รผู สู้ อนต้องมีทักษะในการถามคำถามทม่ี ีประสทิ ธิภาพ จึงจะชว่ ยใหน้ ักเรยี นมที ักษะการคดิ คำถาม ท่ดี ี สามารถพัฒนาความคิดของนกั เรียน (ภพ เลาหไพบูลย.์ 2537: 157-175; ประจวบจติ คำจตรุ ัส. 2537: 24; อาภรณ์ ใจเท่ียง. 2546: 182-187; สวุ ิทย์ มูลคำ และอรทยั มูลคำ. 2545: 78-87) คำถามเป็นหัวใจสำคัญในการเรยี นการสอนและเปน็ เครื่องมือสำคัญท่ีใชใ้ นการแสวงหา ความรู้ การใชค้ ำถามเป็นส่ิงที่กอ่ ใหเ้ กดิ ความอยากรู้ อยากเห็น และช่วยกระตนุ้ ใหน้ ักเรยี นเกดิ การ พฒั นาการคิด การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์อยา่ งมีความหมายนนั้ จำเปน็ ทีจ่ ะตอ้ งใชว้ ธิ ีการสอนแบบ สืบเสาะเปน็ ฐาน (Inquiry-based) รว่ มกับเทคนิคการใชค้ ำถามที่มปี ระสิทธภิ าพ ซ่ึงการใช้คำถามที่มี ประสทิ ธิภาพของครูผ้สู อนในการจัดการเรียนการสอนนน้ั อาจอยู่ในรูปแบบของสมมตฐิ านทีท่ า้ ทาย คำถามทีแ่ สดงใหเ้ ห็นความขัดแย้งจะช่วยให้นกั เรยี นมีความเขา้ ใจในเน้ือหาบทเรียนและช่วยกระตุ้น ความอยากรูอ้ ยากเห็น จนิ ตนาการจะส่งเสริมการแสวงหาความรู้ใหม่ ทำใหน้ ักเรียนเกิดความสนใจ โดยใหน้ ักเรียนมสี ่วนร่วมในการตอบคำถามนำไปสูข่ ้อสรปุ ซ่งึ ครผู ้สู อนท่ีมคี วามชำนาญในการใช้ คำถามกจ็ ะช่วยยกระดบั ความคิดของนักเรยี น ฝึกใหค้ ิดและแสวงหาความร้ดู ว้ ยตนเองและรู้จกั เรียงลำดบั ขัน้ ตอนในการคิด การใช้คำถามเปน็ วธิ ีการหนง่ึ ท่คี รูผู้สอนใช้เพื่อชว่ ยนำทางนักเรียนไปใน ทิศทางท่ถี ูกตอ้ งให้นักเรียนได้ใชค้ วามคดิ และท้ายทีส่ ดุ ประสบผลสำเรจ็ ในการคน้ พบมโนทัศน์หรอื หลกั การทางวทิ ยาศาสตร์ (Omairah. 2009: 1-18; จนั ทร์เพญ็ เช้ือพานิช. 2527: 153; Sound; & Trowbridge L. W. 1973: 631)

29 การตั้งคำถามของครผู สู้ อนท่ีดี นอกจากจะชว่ ยใหค้ รผู ูส้ อนสามารถจดั การเรียนการสอนได้ ตรงตามวัตถปุ ระสงค์ และช่วยใหน้ กั เรยี นเกดิ การเรยี นรูต้ ามไปดว้ ยแลว้ ครูผสู้ อนต้องมีเทคนิคการต้ัง คำถามท่ดี ีด้วย (วนดิ า ธนประโยชน์ศกั ด.์ิ 2555: 12-64) 1. ตง้ั คำถาม (Ask the question) คำถามทีด่ ีควรเปน็ คำถามที่ชัดเจนไม่คลมุ เครือ ครูผูส้ อนต้องมีการวางแผนการสอนไว้ลว่ งหนา้ ว่าจะถามคำถามประเภทใด โดยในการใชค้ ำถาม เรม่ิ แรกอาจใชค้ ำถามกว้างๆ ก่อน หรือคำถามงา่ ยๆ จากน้ันจึงจะใช้คำถามเฉพาะเจาะจงมากขน้ึ 2. หยุดและคอยคำตอบ (Pause and wait) เมอื่ ถามคำถามไปแลว้ ครผู ูส้ อนควรเวน้ ชว่ งระยะเวลาให้นักเรยี นได้คิดค้นหาคำตอบ ซ่งึ เวลาทีใ่ ช้ในการรอคอยคำตอบน้ันขนึ้ อยู่กับประเภท ของคำถามวา่ มีความงา่ ยหรือยาก 3. การตอบสนองของนกั เรียนต่อคำถาม (Reacting to the response) ในกรณีที่ ไมม่ ี นกั เรยี นคนใดตอบคำถาม ครผู สู้ อนควรใชค้ ำถามเดิมถามซำ้ อีกคร้ัง (Repeat the question) และสอบถามวา่ นักเรียนเขา้ ใจคำถามหรือไม่ 4. ให้ความเห็นเกยี่ วกบั คำตอบ (Comment on answer) เม่ือนกั เรยี นตอบคำถาม เสร็จเรียบร้อยแลว้ หากคำตอบนัน้ ถูกต้องหรอื ตอบไดต้ รงประเดน็ ครผู ้สู อนควรเสริมแรงจงู ใจให้แก่ นกั เรียนดว้ ยการชมเชย (Reinforce) เย่ียมมาก เก่งมาก ดีมาก เป็นตน้ แตห่ ากนักเรยี นตอบไม่ตรง คำถามหรือตอบถูกบางสว่ น ครูผู้สอนอาจถามคำถามนัน้ กับนกั เรียนคนอนื่ (Redirect) หรอื ถาม คำถามเพ่ิมเติม (Probing) ให้นักเรียนในชั้นสามารถชว่ ยกันตอบคำถามได้ 5. เน้นคำตอบท่ีถูกต้อง (Emphasize Correct answer ) ในข้ันสุดท้ายของเทคนิค การตัง้ คำถามน้ี ครผู ู้สอนควรเน้นเฉลยคำตอบทีถ่ ูกต้องใหแ้ ก่นกั เรยี นทง้ั ห้องไห้ได้รับทราบ คำถามเป็นหวั ใจสำคัญในการเรยี นการสอนและเป็นเคร่ืองมอื สำคญั ทใ่ี ช้ในการแสวงหา ความรู้ การใชค้ ำถามเป็นสงิ่ ท่ีกอ่ ใหเ้ กดิ ความอยากรอู้ ยากเหน็ และชว่ ยกระตุน้ ให้ นกั เรียนเกดิ การ พฒั นาการคดิ ครูผูส้ อนที่มีความชำนาญในการใช้คำถามก็จะช่วยยกระดบั ความคดิ ของนักเรยี น ฝกึ ใหน้ ักเรียนคดิ และแสวงหาความรูด้ ้วยตนเอง ร้จู ักเรียงลำดับขนั้ ตอนในการคดิ การใช้คำถามเป็น วิธกี ารหน่งึ ทคี่ รูผสู้ อนใชเ้ พอื่ ช่วยนำทางนกั เรียนไปในทิศทางที่ถูกตอ้ ง การใชค้ ำถาม (Questioning) เป็นวธิ ีการเรียนการสอนอย่างหน่งึ ท่ีใช้ได้ดใี นทุกสถานการณน์ น้ั เน่ืองจากช่วยใหค้ รผู สู้ อนสามารถ ตรวจสอบความรู้พืน้ ฐานของนักเรียน ก่อนท่ีจะเริ่มจดั การเรยี นการสอนในเนื้อหาน้ันๆ การใชค้ ำถาม ยังช่วยกระตุน้ ใหน้ ักเรยี นมีสว่ นรว่ มในการเรยี น นอกจากนั้นครผู สู้ อนยงั สามารถใช้คำถามเพื่อใช้ ประเมินความเขา้ ใจเนื้อหานักเรียนทีเ่ รยี นไป คำถามทดี่ ีควรเป็นคำถามทีช่ ดั เจน เม่ือถามคำถาม ไปแลว้ ครูผ้สู อนควรเวน้ ช่วงระยะเวลาใหน้ ักเรียนได้คดิ ค้นหาคำตอบ ดูการตอบสนองของนักเรียน ต่อคำถาม ให้ความเหน็ เกยี่ วกับคำตอบ ครูผสู้ อนควรเนน้ เฉลยคำตอบท่ีถกู ต้องให้แกน่ ักเรียนอกี ด้วย

30 2.3 การนำรูปแบบเทคนิควิธกี ารแก้ปญั หาหรอื พฒั นาไปใชใ้ นการแกป้ ญั หาหรอื พฒั นาและผลที่เกิดขนึ้ 2.3.1 ประชากรที่ใชใ้ นการศกึ ษา ประชากรทใี่ ชใ้ นการศึกษาครั้งนี้ ประกอบด้วยนกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรยี นวงั จนั ทร์วิทยา ที่เรียนวชิ าวิทยาศาสตร์ 6 จำนวน 10 หอ้ งเรียน รวมทัง้ หมด 331 คน 2.3.2 กลุ่มตวั อย่างท่ใี ช้ในการศึกษา กลุ่มตัวอยา่ งทใ่ี ช้ในการศึกษาคร้ังน้ี ประกอบดว้ ย นกั เรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3/3 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 จำนวนนักเรยี น 35 คน ซ่ึงได้มาจากวธิ กี ารเลอื กแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เนอื่ งจากเป็นห้องเรยี นทีผ่ ศู้ ึกษาทำการจัดการเรยี นการสอน 2.3.3 รปู แบบการศึกษาคน้ ควา้ การศึกษาค้นคว้าครงั้ นี้เป็นการศึกษาค้นควา้ กึ่งทดลอง (Quasi Experimental Research) ผูศ้ ึกษาค้นควา้ ได้ใช้แบบแผนการทดลองแบบ One - Group Pretest -Posttest Design (ลว้ น สายยศ และอังคณา สายยศ. 2538 : 248 - 249) ดังตาราง 6 ตาราง 6 แบบแผนการทดลองแบบ One - Group Pretest -Posttest Design กลุม่ Pre-test Treatment Post-test ทดลอง T1 X T2 ความหมายสญั ลักษณ์ T1 หมายถึง ทดสอบก่อนเรยี น (Pre-test) T2 หมายถึง ทดสอบก่อนเรียน (Post-test) X หมายถงึ การสอนโดยการใชแ้ ผนการจัดการเรยี นรู้แบบวัฏจักร การเรยี นรู้ 7 ขั้น รว่ มกับเทคนิคการใชค้ ำถามโดย Blooket 2.3.4 เคร่ืองมือทีใ่ ชใ้ นการศึกษาค้นควา้ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคน้ ควา้ มี 3 ชนิด 1. แผนการจัดการเรียนรู้โดยใชก้ ารจัดการเรยี นรู้แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ข้นั ร่วมกบั เทคนิคการใชค้ ำถามโดย Blooket 2. แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น วชิ าวิทยาศาสตร์ เรือ่ ง วงจรไฟฟา้ อย่างงา่ ย 3. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรยี นทเ่ี รียนโดยใชก้ ารจัดการเรียนรู้แบบ วฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขน้ั รว่ มกับเทคนิคการใชค้ ำถามโดย Blooket

31 2.3.5 วธิ ีการสรา้ งและหาคณุ ภาพเครื่องมอื 1. แผนการจดั การเรยี นร้โู ดยใช้การจัดการเรยี นรูแ้ บบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ข้นั รว่ มกับ เทคนิคการใชค้ ำถามโดย Blooket 1.1 ศกึ ษาหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนวงั จนั ทร์วิทยา 1.2 ศึกษาหลักสตู รสถานศึกษา โรงเรยี นวงั จันทรว์ ิทยา กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 และ ทฤษฎี เอกสารที่เกี่ยวข้องกบั การสร้างแผนการจดั การเรยี นรู้ เพื่อกำหนดองค์ประกอบตา่ งๆ 1.3 ศึกษาการสรา้ งคำถามตามเทคนิคการตง้ั คำถามของบลูม ได้แก่ ขัน้ ความจำ ขนั้ ความเข้าใจ ขั้นนำไปใช้ ขั้นวิเคราะห์ โดยคำนึงถึงเนื้อหาและลกั ษณะกจิ กรรมของแต่ละข้ันตอน 1.4 ศึกษาวิธีการใช้ และการสรา้ งคำถามจากโปรแกรม Blooket แบบปรนัย โดยคำนึงถงึ เนื้อหาและลักษณะคำถามทใี่ ชใ้ นการจดั การเรียนร้แู บบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ขน้ั 1.5 ศึกษาเอกสารทเ่ี กี่ยวข้องกบั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้โดยใช้การจดั การเรยี นรู้ แบบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ขน้ั 1.6 วเิ คราะห์หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2551 หลักสูตร โรงเรยี นวังจันทร์วทิ ยา กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 และ ผลการเรียนรู้ เพอ่ื เปน็ กรอบในการทำแผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ เรอ่ื ง วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย กำหนด จุดประสงคแ์ ละสาระการเรยี นรู้ซงึ่ สามารถแบง่ เนื้อหาได้ 2 เร่อื ง ใช้เวลาในการจัดกจิ กรรม 6 คาบเรียน ดงั นี้ ตาราง 7 แผนการจัดการเรยี นรโู้ ดยใชก้ ารจัดการเรยี นรูแ้ บบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ข้ัน รว่ มกบั เทคนคิ การใช้คำถามโดย Blooket เรือ่ ง วงจรไฟฟ้าอยา่ งง่าย แผนการ เนอื้ หา สาระสำคญั เวลาท่ีใช้ จัดการเรยี นรู้ ปริมาณทางไฟฟ้า (คาบ) - กระแสไฟฟ้า 1 วงจรไฟฟ้า - ความต่างศกั ย์ไฟฟ้า 3 - ความตา้ นทานไฟฟ้า 2 รวม - วงจรไฟฟ้าแบบ 3 อนกุ รม 6 - วงจรไฟฟา้ แบบ ขนาน

32 1.7 จัดทำแผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ โดยใชก้ ารจดั การเรยี นรู้แบบวฏั จักร การเรียนรู้ 7ขัน้ ร่วมกับเทคนิคการใชค้ ำถามโดย Blooket เป็นเนื้อหากลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 เร่ือง วงจรไฟฟ้าอย่างงา่ ย โดยแตล่ ะแผน ประกอบดว้ ย 1.7.1 สาระสำคัญ 1.7.2 มาตรฐานการเรยี นรู้ 1.7.3 ผลการเรียนรู้ 1.7.4 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1.7.5 สาระการเรียนรู้ 1.7.6 กิจกรรมการเรียนรู้ 1.7.7 สือ่ การเรียนร/ู้ แหลง่ การเรยี นรู้ 1.7.8 การวดั ผลและประเมินผลการเรยี นรู้ 1.7.9 บันทกึ หลงั สอน 1.7.10 ข้อเสนอแนะ 1.8 นำแผนการจัดการเรยี นรู้ที่สรา้ งเสรจ็ เรียบรอ้ ยแล้ว เสนอตอ่ ผเู้ ชี่ยวชาญ 5 ทา่ น โดยเปน็ ผ้เู ชีย่ วชาญดา้ นวิทยาศาสตร์ เพอ่ื ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ความเหมาะสมของภาษาทใ่ี ช้ ความสอดคล้องในแตล่ ะหัวข้อ ความเหมาะสมของการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ความเหมาะสม ของการวัดประเมนิ ผล เพ่ือนำผลจากการตรวจไปแก้ไขปรับปรงุ 1.9 ปรบั ปรงุ และแก้ไขข้อบกพรอ่ งของแผนการจัดการเรียนรู้อีกคร้ังใหส้ มบูรณ์ ก่อนท่จี ะนำไปใช้จรงิ 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย 2.1 ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานพุทธศักราช 2551 มาตรฐานและ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2.2 ศกึ ษาเอกสารทเี่ ก่ยี วข้องกับวธิ ีการสร้างแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น เร่ือง วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย 2.3 สรา้ งตารางวิเคราะห์แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น เร่ือง วงจรไฟฟ้า อย่างง่าย ดังตาราง 8

33 ตาราง 8 วเิ คราะหแ์ บบทดสอบวัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน เร่อื ง วงจรไฟฟา้ อย่างงา่ ย เรื่อง ระดับคำถาม รวม จำ เขา้ ใจ นำไปใช้ วเิ คราะห์ 20 1 ปริมาณทางไฟฟ้า 2 8 2 8 20 40 2 วงจรไฟฟ้า 2 4 4 10 รวม 6 12 6 18 2.4 สรา้ งแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นวิชา วทิ ยาศาสตร์ เรอ่ื ง วงจรไฟฟ้าอยา่ งง่าย ครอบคลมุ เน้ือหาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวงั จันทรว์ ทิ ยา กลุม่ สาระ การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 โดยผู้ศึกษาสร้างเป็นแบบทดสอบปรนยั 4 ตัวเลือก จำนวน 40 ขอ้ ในแต่ละข้อมี คำตอบถกู เพียงคำตอบเดยี วในแตล่ ะข้อถา้ ตอบถกู ได้ 1 คะแนน ตอบผดิ ได้ 0 คะแนน โดยสร้าง ใหส้ อดคล้องกบั ตารางวิเคราะหแ์ บบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น 2.5 นำแบบทดสอบทไ่ี ด้รบั การตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ 5 ทา่ นชุดเดิม มาคำนวณหาคา่ ดัชนีความสอดคลอ้ ง IOC (Index of item objective Congruence) ตามสูตร ของโรวิเนลลีแ่ ละแฮมเบิลตนั (บุญเชิด ภญิ โญอนนั ตพงษ์. 2526 : 88-90)และได้ข้อสอบท่มี ีค่า IOC ตง้ั แต่ 0.60-1.00 จำนวน 40 ข้อ นำแบบทดสอบที่คดั เลือกแลว้ ไปทำการทดสอบนักเรียน ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรียนวงั จนั ทรว์ ิทยา อำเภอวังจันทร์ จงั หวดั ระยอง เน่ืองจากเรยี นเรือ่ ง วงจรไฟฟา้ อยา่ งง่าย ผา่ นมาแลว้ จำนวน 30 คน ทไ่ี ม่ใช่กลุ่มตวั อย่างเพ่ือหาคุณภาพของแบบทดสอบ 2.6 ตรวจใหค้ ะแนนแบบทดสอบท่ีนกั เรียนทำ โดยใหค้ ะแนน 1 คะแนนสำหรบั ข้อทีต่ อบถูก และให้ 0 คะแนน สำหรบั ขอ้ ท่ตี อบผิด ไม่ตอบหรือตอบเกนิ 1 คำตอบ 2.7 นำผลจากขอ้ 2.6 มาวิเคราะห์เป็นรายข้อ เพ่ือหาความยากงา่ ย (p) ของขอ้ สอบ โดยสูตรอตั ราส่วนระหว่างจำนวนนกั เรยี นทีท่ ำข้อสอบข้อนั้นถูกกับจำนวนนักเรียนทั้งหมด และค่า อำนาจจำแนก (r) โดยใชด้ ชั นแี บรนดอน คัดเลือกแบบทดสอบเฉพาะขอ้ สอบทีม่ ีความยากง่าย (p) ระหว่าง 0.31-0.76 ค่าอำนาจจำแนก (r) 0.51 – 0.87 จำนวน 30 ขอ้ และนำแบบทดสอบ ทคี่ ดั เลือกแลว้ จำนวน 30 ขอ้ ไปทดสอบกบั นักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2562 โรงเรียนวงั จนั ทร์วิทยา อำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง เน่อื งจากเรียนเรื่องวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ผา่ นมาแลว้ จำนวน 30 คน ที่ไมใ่ ชก่ ลุ่มตวั อย่างเพื่อหาความเชอ่ื ม่ันของแบบทดสอบโดยใชส้ ูตร

34 KR-20 (ลว้ น สายยศ และองั คณา สายยศ. 2538 : 197-199) ได้คา่ ความเชื่อมนั่ 0.90 แลว้ จงึ นำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นวิชาคณติ ศาสตร์ทีไ่ ด้ไปใชก้ ับกลมุ่ ตัวอย่าง 3. แบบสอบถามความพึงพอใจของนกั เรยี นที่เรียนโดยใช้การจัดการเรยี นรู้แบบ วัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น รว่ มกับเทคนคิ การใช้คำถามโดย Blooket 3.1 ศึกษาวธิ กี ารสรา้ งแบบสอบถามความพงึ พอใจจากเอกสาร ตำราทเ่ี กยี่ วข้องกับ วธิ กี ารและหลกั การสร้างแบบสอบถามความพงึ พอใจ แล้วกำหนดแนวทางในการออกแบบสอบถาม ความพึงพอใจตามวิธขี องลิเคิรต์ ( Likert ) บญุ ชม ศรีสะอาด (2554: 121) 3.2 สร้างแบบสอบถามความพงึ พอใจของนักเรยี นทเี่ รียนโดยใชก้ ารจัดการเรียนรู้ แบบวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ขน้ั รว่ มกบั เทคนิคการใช้คำถามโดย Blooket ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 จำนวน 10 ขอ้ มลี ักษณะเปน็ แบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า ( Rating Scales) ของลิเคิร์ต (Likret) มี 5 ระดับ ดงั น้ี 5 หมายถงึ มีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับมากทส่ี ุด 4 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดบั มาก 3 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจอยู่ในระดบั ปานกลาง 2 หมายถงึ มีความพึงพอใจอยใู่ นระดับน้อย 1 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจอยูใ่ นระดบั นอ้ ยทส่ี ดุ กำหนดเกณฑ์การใหค้ ะแนนแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีเรียนโดยใช้ การจัดการเรยี นรู้แบบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ข้นั ร่วมกบั เทคนคิ การใช้คำถามโดย Blooket ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ตามรปู แบบของ บุญชม ศรสี ะอาด (2554: 209) ดังนี้ คะแนนเฉลี่ย 4.51- 5.00 หมายความว่า มีความพงึ พอใจอยใู่ นระดับดมี าก คะแนนเฉลี่ย 3.51- 4.50 หมายความวา่ มคี วามพงึ พอใจอยใู่ นระดับดี คะแนนเฉลี่ย 2.51- 3.50 หมายความว่า มคี วามพึงพอใจอยู่ในระดบั ปานกลาง คะแนนเฉลยี่ 1.51- 2.50 หมายความวา่ มีความพึงพอใจอยใู่ นระดับนอ้ ย คะแนนเฉลย่ี 1.00- 1.50 หมายความว่า มีความพึงพอใจอย่ใู นระดับนอ้ ยท่ีสดุ 3.3 นำแบบสอบถามความพงึ พอใจไปใหผ้ ู้เชีย่ วชาญชดุ เดมิ ตรวจสอบความถูกต้อง เหมาะสม พิจารณาตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสมของแบบวัดความพงึ พอใจ โดยเพื่อตรวจสอบ ความเท่ยี งตรงเชงิ เนื้อหา และความเหมาะสมในดา้ นการใชภ้ าษา 3.4 ปรบั ปรุงแบบสอบถามความพึงพอใจตามขอ้ เสนอแนะของผู้เช่ยี วชาญ 3.5 นำแบบสอบถามความพงึ พอใจที่ไดป้ รบั ปรุงแก้ไขแลว้ ไปทดลองใช้กบั นกั เรยี น ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 โรงเรยี นวงั จนั ทร์วทิ ยา อำเภอวังจันทร์ จังหวดั ระยอง จำนวน 30 คน ทอี่ ยู่ในขนั้ ทดลองกลมุ่ ใหญ่ (Field Try out) จากนนั้ นำมาหาค่า

35 ความเชือ่ มัน่ ของแบบสอบถามความพึงพอใจโดยใชว้ ิธหี าสมั ประสิทธิ์แอลฟา (α-coefficient) ของครอนบราค (Cronbach) (ลว้ น สายยศ และอังคณา สายยศ. 2538 : 200) ไดค้ ่าความเช่ือมน่ั ทัง้ ฉบับเท่ากบั 0.82 3.6 นำแบบสอบถามความพงึ พอใจของนักเรียนท่ีเรยี นโดยใช้การจัดการเรียนรู้ แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขน้ั รว่ มกับเทคนิคการใช้คำถามโดย Blooket ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ไปใชก้ บั กลุ่มตัวอยา่ งต่อไป 2.3.6 ขั้นตอนการดำเนินการศึกษาคน้ คว้า 1. ช้แี จงใหน้ ักเรยี นท่ีเป็นกลุ่มตวั อยา่ งทราบถงึ การเรยี นการสอนโดยใชว้ ัฏจกั ร การเรยี นรู้ 7 ข้นั ร่วมกบั เทคนคิ การใชค้ ำถามโดย Blooket เพอื่ ท่ีนักเรียนจะได้ปฏบิ ัติได้อยา่ งถูกต้อง 2. นำแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นท่ผี ูศ้ ึกษาไดส้ รา้ งขึ้นไปทำการทดสอบ กับนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3 ทเ่ี ป็นกลมุ่ ตัวอย่างแลว้ บนั ทกึ คะแนนกลมุ่ ตัวอย่างท่ีได้จากการ ทดลองครั้งนเี้ ป็นคะแนนกอ่ นเรยี น (Pre-test) 3. ดำเนินการสอนโดยใช้แผนการจดั การเรยี นรูโ้ ดยใช้การจัดการเรยี นรแู้ บบวัฏจกั ร การเรยี นรู้ 7 ขนั้ ร่วมกับเทคนคิ การใช้คำถามโดย Blooket โดยผู้ศกึ ษาเปน็ ผู้สอนเอง จำนวน 35 คน จำนวน 6 คาบเรยี น 4. ทำการทดสอบหลังเรยี น (Post-test) โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาวทิ ยาศาสตร์ ซ่ึงเปน็ แบบทดสอบเดยี วกบั ที่ใชท้ ดสอบกอ่ นเรียนแล้วบันทกึ ผล การสอบใหเ้ ป็นคะแนนหลงั เรียน 5. ตรวจให้คะแนนแบบทดสอบ นำคะแนนที่ได้ไปวิเคราะห์วธิ ีทางสถติ ิ เพือ่ ตรวจสอบสมมติฐานต่อไป 6. ทำการสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรียนท่เี รียนโดยใช้การจดั การเรียนรู้ แบบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ข้ัน รว่ มกบั เทคนิคการใช้คำถามโดย Blooket 2.3.7 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู และสถติ ิทีใ่ ช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูล สถิติพน้ื ฐาน คะแนนเฉลีย่ (Mean) โดยคำนวณจากสตู ร (ล้วน สายยศ และองั คณา สายยศ. 2538 : 73) X= x n เม่ือ X แทน คะแนนเฉล่ยี  x แทน ผลรวมคะแนนทัง้ หมด n แทน จำนวนนักเรยี นในกลมุ่ ตัวอย่าง

36 ความเบีย่ งเบนมาตรฐาน คำนวณจากสตู ร (ลว้ น สายยศ และอังคณา สายยศ. 2538 : 73) nx2 -(x)2 S.D. = n(n - 1) เมอ่ื S.D. แทน ความเบ่ยี งเบนมาตรฐานของคะแนน X แทน คะแนนนักเรียนแตล่ ะคน  x แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด n แทน จำนวนนักเรยี นในกลุม่ ตวั อย่าง n – 1 แทน จำนวนตวั แปรอิสระ (Degree of Freedom) สถิตทิ ่ีใชใ้ นการทดสอบสมมติฐาน สมมติฐานข้อที่ 1 เปรียบเทยี บผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน วชิ าวิทยาศาสตร์ของนักเรยี น ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ทเ่ี รยี นโดยใช้แผนการจดั การเรียนรูโ้ ดยใชก้ ารจดั การเรยี นรู้แบบวฏั จักร การเรียนรู้ 7 ข้ัน ร่วมกบั เทคนคิ การใช้คำถามโดย Blooket ระหวา่ งการทดสอบก่อนเรยี นกับ หลงั เรียน โดยคำนวณจากสูตร t-test for Dependent Samples (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. 2540 : 248) ดังนี้ ∑D ( )n∑D2 - ∑D 2 t = n-1 เม่อื t แทน คา่ ทีใ่ ชใ้ นการพจิ ารณา (t-test Dependent) D แทน ความแตกต่างระหว่างคะแนนแต่ละคู่ แทน ผลรวมของ D แต่ละตวั ยกกำลัง  D2 แทน ผลรวมของ D ท้ังหมดยกกำลงั สอง (D)2 แทน จำนวนผูเ้ รยี นในกลมุ่ ตัวอยา่ ง n

37 สมมติฐานข้อที่ 2 - 3 เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนและความพงึ พอใจ เมือ่ เทียบกบั เกณฑ์ที่กำหนด ใช้การทดสอบค่าที (t-test for One Sample) t = x−̅ μ0 โดยมี df = n -1 S √n เมือ่ x̅ แทน ค่าเฉลีย่ ของกลุ่มตัวอยา่ ง μ0 แทน ค่าเฉลีย่ ของกลุ่มประชากร หรอื เกณฑ์ทต่ี ้งั ขึน้ S แทน ความเบ่ยี งเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอยา่ ง n แทน ขนาดของกลมุ่ ตัวอยา่ ง df แทน ชนั้ แหง่ ความเป็นอิสระ (degree of freedom) ผศู้ ึกษาคน้ คว้าเสนอผลการวิเคราะห์ ดงั นี้ 1. วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรโู้ ดยใชก้ ารจัดการเรยี นรู้ แบบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ข้ัน ร่วมกบั เทคนิคการใช้คำถามโดย Blooket โดยใช้สถิติพ้ืนฐาน ได้แก่ ค่าเฉล่ีย รอ้ ยละ และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของคะแนนท่ีไดจ้ ากผลการทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี น ดังตาราง 9 ตาราง 9 แสดงคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรยี นและหลงั การเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น รว่ มกับเทคนิคการใชค้ ำถามโดย Blooket เลขท่ี เลขประจำตวั นักเรียน ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน (30 คะแนน) 1 13458 ก่อนเรยี น หลังเรยี น 2 13497 3 13504 13 25 4 13505 5 13506 17 28 6 13507 7 13508 16 27 8 13509 9 13513 19 28 17 26 16 26 18 28 17 27 17 26

38 ตาราง 9 (ตอ่ ) ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน (30 คะแนน) เลขท่ี เลขประจำตัวนักเรียน กอ่ นเรียน หลังเรียน 10 13522 15 26 11 13524 12 13530 17 25 13 13531 14 13539 18 27 15 13542 16 13543 16 28 17 13545 18 13550 17 27 19 13555 20 13568 19 29 21 13572 22 13573 19 27 23 13578 24 13598 17 26 25 13603 26 13608 17 27 27 13624 28 13633 16 25 29 13635 30 13654 15 26 31 13659 32 13664 17 28 33 13685 34 13732 18 27 35 13740 15 26 17 26 17 27 18 26 15 25 18 27 18 27 15 26 16 28 16 27 14 25 14 26 18 25

39 ตาราง 9 (ต่อ) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น (30 คะแนน) เลขท่ี เลขประจำตัวนักเรยี น ก่อนเรียน หลงั เรียน ผลรวม 582 930 คา่ เฉล่ยี S.D. 16.63 26.57 รอ้ ยละ 1.48 1.07 55.44 88.57 จากตาราง 9 พบว่าคะแนนผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของนักเรยี นหลังเรียน ( X = 26.57 , S.D. = 1.07 , รอ้ ยละ 88.57) ทเ่ี รียนจากแผนการจัดการเรียนรู้การเรยี นรู้แบบวฏั จกั ร การเรียนรู้ 7 ขั้น ร่วมกับเทคนิคการใชค้ ำถามโดย Blooket เรื่อง วงจรไฟฟ้าอย่างงา่ ย ช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 3 กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สูงกวา่ ก่อนเรียน ( X = 16.63 , S.D. = 1.48 , รอ้ ยละ 55.44) 2. เปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นกอ่ นและหลังการเรยี นรู้แบบวฏั จักร การเรยี นรู้ 7 ขั้น ร่วมกับเทคนคิ การใช้คำถามโดย Blooket ตาราง 10 การเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นก่อนและหลงั การเรยี นรู้แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขัน้ รว่ มกับเทคนคิ การใช้คำถามโดย Blooket การทดสอบ k X S.D. t1 ก่อนเรียน 30 16.63 1.48 หลังเรยี น 26.57 1.07 45.88* * มนี ยั สำคญั ทางสถิติท่ีระดับ .05 จากตาราง 10 การเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นก่อนและหลังการเรียนรู้แบบวัฏจักร การเรียนรู้ 7 ข้ัน ร่วมกับเทคนคิ การใช้คำถามโดย Blooket มคี วามแตกต่างกันอยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดบั .05 น่ันคือ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นวทิ ยาศาสตรข์ องนักเรียนท่ีไดร้ ับการสอนด้วย กจิ กรรมการเรียนรูแ้ บบวฏั จักร 7 ขน้ั รว่ มกบั เทคนิคการใชค้ ำถามโดย Blooket หลงั เรียนสูงกวา่ ก่อนเรยี น ซง่ึ เปน็ ไปตามสมมตฐิ านขอ้ ท่ี 1

40 3. เปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลงั การเรียนรู้แบบวฏั จกั ร การเรียนรู้ 7 ขน้ั ร่วมกบั เทคนคิ การใชค้ ำถามโดย Blooket กับเกณฑ์ทีก่ ำหนด (รอ้ ยละ 70) ตาราง 11 การเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนหลงั เรียนดว้ ยการเรยี นรู้แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขน้ั รว่ มกบั เทคนคิ การใช้คำถามโดย Blooket กบั เกณฑท์ ่ีกำหนด (รอ้ ยละ 70) การทดสอบ k กอ่ นเรียน หลังเรยี น t1 เกณฑ์ t2 X S.D. X S.D. ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน 30 16.63 1.48 26.57 1.07 45.88* 88.57 30.95* * มีนยั สำคญั ทางสถิติท่รี ะดับ .05 จากตาราง 11 แสดงวา่ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นหลังการเรยี นรู้แบบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ขั้น รว่ มกบั เทคนิคการใช้คำถามโดย Blooket กบั เกณฑท์ ่ีกำหนด (รอ้ ยละ 70) มีความแตกตา่ ง อยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05 นน่ั คือ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นวิทยาศาสตร์ของนักเรียนทีไ่ ดร้ บั การสอนด้วยกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ข้ัน รว่ มกับเทคนิคการใชค้ ำถาม โดย Blooket หลังเรียนสูงกวา่ เกณฑท์ ก่ี ำหนด (ร้อยละ 88.57) ซ่ึงเปน็ ไปตามสมมตฐิ านข้อท่ี 2 4. เปรียบเทียบคะแนนเฉลีย่ ความพึงพอใจของนกั เรยี นที่ได้รบั การจัดการ เรยี นรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขนั้ ร่วมกับเทคนคิ การใช้คำถามโดย Blooket กบั เกณฑ์ที่กำหนด ( X = 3.51) ตาราง 12 เปรยี บเทยี บความพงึ พอใจของนักเรยี นท่ีไดร้ ับการจดั การเรยี นร้แู บบวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ขั้น รว่ มกับเทคนคิ การใช้คำถามโดย Booket กบั เกณฑ์ที่กำหนด ( X = 3.51) ความพึงพอใจ หลังเรยี น t2 การแปล X S.D. ความหมาย ดา้ นกระบวนการเรยี นการสอน 4.60 0.75 ด้านบรรยากาศการเรยี นการสอน 4.53 0.88 0.21* มากที่สุด ดา้ นการใชส้ อ่ื การเรียนการสอน 4.60 0.70 0.17* มากทีส่ ุด ด้านการวดั ผลและประเมนิ ผล 4.39 0.94 0.23* มากทส่ี ุด ความพงึ พอใจรวม 4.53 0.82 0.13* มาก 0.18* มากทสี่ ดุ * มีนยั สำคญั ทางสถติ ทิ ่ีระดับ .05

41 จากตาราง 12 แสดงวา่ นักเรยี นที่ได้รบั การจดั การเรียนรแู้ บบวัฏจักร 7 ขัน้ รว่ มกบั เทคนิค การใชค้ ำถามโดย Blooket มีคะแนนความพึงพอใจด้านกระบวนการจดั การเรียนรู้ บรรยากาศ การเรียนการสอน การใชส้ อ่ื การเรยี นการสอน การวดั ผลและประเมินผล ( X = 4.53) อยู่ในระดับ ดมี าก ซ่ึงสูงกวา่ เกณฑ์ที่กำหนด ( X = 3.51) อย่างมนี ยั สำคญั ทางสถิตทิ ร่ี ะดบั .05 ซง่ึ เปน็ ไปตาม สมมตฐิ านข้อที่ 3 สรุปผลการศึกษา 1. นกั เรียนทไี่ ด้รับการจัดการเรียนร้แู บบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขั้น ร่วมกบั เทคนคิ การใช้ คำถามโดย Blooket มผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนหลังเรยี นสูงกว่ากอ่ นเรียน อยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิติ ทรี่ ะดับ .05 2. นกั เรียนท่ีไดร้ ับการจัดการเรยี นรแู้ บบวัฏจกั ร 7 ขนั้ รว่ มกับเทคนิคการใชค้ ำถาม โดย Blooket มผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นสูงกว่าเกณฑ์ทีก่ ำหนด (ร้อยละ 70) 3. นกั เรยี นท่ีไดร้ ับการจัดการเรยี นรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขน้ั ร่วมกับเทคนคิ การใช้ คำถามโดย Blooket มีความพงึ พอใจของนักเรียนอยูใ่ นระดับดีมาก ซงึ่ สงู กวา่ เกณฑ์ทกี่ ำหนด (เฉลีย่ = 3.51) อย่างมนี ัยสำคญั ทางสถิติท่รี ะดับ .05 อภิปรายผลการศึกษา จากการศึกษาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นวทิ ยาศาสตร์ของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ท่ีได้รบั การจัดการเรยี นรแู้ บบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ขน้ั ร่วมกับเทคนิคการใชค้ ำถามโดย Blooket สามารถ อภปิ รายผลการศกึ ษาได้ ดังนี้ 1. เม่ือเปรียบเทียบนักเรียนที่ไดร้ บั การจดั การเรยี นรแู้ บบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ขัน้ รว่ มกับ เทคนิคการใชค้ ำถามโดย Blooket มีผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นหลงั เรยี นสงู กวา่ กอ่ นเรียน โดยมีคะแนน เฉลยี่ ก่อนเรยี นเทา่ กับ 16.63 คะแนน คะแนนเฉล่ยี หลังเรยี นเท่ากบั 26.57 คะแนน จะเห็นไดว้ ่า นกั เรยี นมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรียนหลงั เรียนสูงกว่าก่อนเรียนอยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิติทร่ี ะดับ .05 เป็นไปตามสมมติฐานข้อท่ี 1 ซึง่ สอดคล้องกับคำกล่าวของ เสาวรสธ์ พลโคตร และจนิ ดารตั น์ แกว้ พิกุล รูปแบบของกระบวนการเรยี นรู้ของนักวิทยาศาสตรไ์ ด้ศึกษาคิดค้นข้ึน เพื่อให้นักเรียนไดใ้ ช้ วธิ กี ารสบื เสาะหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตรใ์ นการค้นพบความรู้ หรือประสบการณ์การเรียนรู้อย่างมี ความหมายดว้ ยตนเอง ครผู ้สู อนกระต้นุ ใหน้ ักเรยี นเกิดการเรยี นรู้ด้วยตนเองภายใตส้ ภาพแวดล้อม ทเ่ี หมาะสม ซ่งึ สอดคลอ้ งกับงานวิจยั ของ จำนง ทองช่วย ได้ศึกษาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน วิทยาศาสตรแ์ ละเจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์ โดยใช้การสอนแบบซปิ ปาร่วมกับเทคนคิ การใชค้ ำถามของ นกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ผลการวจิ ัยพบว่าผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนวิทยาศาสตร์ของนกั เรียน

42 ทไ่ี ดร้ ับการสอนแบบซปิ ปาร่วมกับเทคนคิ การใชค้ ำถามหลงั เรียนสงู กว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคญั ทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .01 2. เมอ่ื เปรยี บเทยี บนักเรียนท่ีได้รับการจัดการเรียนรูแ้ บบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ขั้น รว่ มกับ เทคนิคการใช้คำถามโดย Blooket มผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นสูงกว่าเกณฑ์ท่ีไดก้ ำหนด (ร้อยละ 70) โดยมคี ะแนนเฉลี่ยหลังเรยี นเท่ากับ 26.57 คะแนน คดิ เปน็ ร้อยละ 88.57 จะเหน็ ไดว้ ่า นักเรยี นมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสงู กว่าเกณฑ์ทีก่ ำหนด (ร้อยละ 70) อย่างมนี ัยสำคัญทางสถติ ิทร่ี ะดับ .05 เป็นไปตามสมมติฐานข้อท่ี 2 ซงึ่ สอดคล้องกับคำกลา่ วของ ธัญชนก โหน่งกดหลด กลา่ ววา่ รูปแบบ การจดั การสอนตามแนวคิดของ ไอนเ์ ซนคราฟต์ เปน็ รูปแบบท่คี รูผสู้ อนสามารถนำไปประยุกตใ์ ห้ เหมาะสมตามธรรมชาตวิ ิชา โดยเฉพาะอย่างยง่ิ กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ ซ่งึ เนน้ กระบวนการ สืบเสาะหาความรู้อันที่จะทำใหน้ ักเรียนเขา้ ถึงความรู้ความจริงไดด้ ้วยตนเอง และนักเรยี นได้รับ การกระตุ้นใหเ้ กิดการเรียนรู้อยา่ งมคี วามสุข การจัดกิจกรรมการเรยี นรูท้ ้ัง 7 ขน้ั ควรระลกึ อยเู่ สมอว่า ครผู ้สู อนเป็นเพยี งผทู้ ำหนา้ ท่ีคอยช่วยเหลือและแบง่ ปนั ประสบการณ์ จดั สถานการณ์เร้าให้นกั เรยี น ไดค้ ิดต้ังคำถามและลงมือตรวจสอบ นอกจากน้คี วรจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ใหเ้ หมาะสมกับความรู้ ความสามารถบนพนื้ ฐานของความสนใจ ความถนัด และความแตกต่างระหว่างบคุ คล อันจะทำให้ การจดั การเรียนรบู้ รรลุจดุ มงุ่ หมายของการจัดการเรยี นการสอนท่เี น้นนกั เรยี นเป็นสำคัญ และ จินดารตั น์ แกว้ พกิ ลุ กล่าววา่ วัฏจกั รการเรยี นร้เู หมาะทจี่ ะใชก้ ับนกั เรยี นทกุ ระดบั ชั้น โดยเฉพาะ ในการจดั การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เพราะเนน้ ทักษะการคิดโดยเฉพาะการคดิ แก้ปัญหา การคดิ ไตรต่ รอง การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณและการคดิ สรา้ งสรรค์ ซึง่ ส่งผลให้นักเรียนสามารถค้นพบหรือ เรยี นรู้ทกั ษะทางวทิ ยาศาสตร์ได้ด้วยตนเองอยา่ งเตม็ ศักยภาพ ซ่ึงสอดคล้องกบั งานวิจัยของ ณฐั กา นาเลือ่ น ไดศ้ ึกษาผลการสอนโดยใช้รปู แบบวงจรการเรยี นรู้ 7E ร่วมกบั เทคนิคการใชค้ ำถาม ท่ีมีต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 5 ผลการวจิ ยั พบว่า ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนวิทยาศาสตรข์ องนกั เรียนทไ่ี ดร้ บั การสอนโดยใชร้ ปู แบบวงจรการเรยี นรู้ 7E รว่ มกบั เทคนิคการใช้คำถามหลังเรยี นสูงกว่าก่อนเรยี น อยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิตทิ ีร่ ะดบั .01 3. จากการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนทีไ่ ดร้ ับการจัดการเรียนรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขัน้ ร่วมกบั เทคนิคการใชค้ ำถามโดย Blooket พบวา่ นักเรียนทไี่ ด้รับการจดั การเรียนรู้แบบวัฏจกั ร การเรยี นรู้ 7 ขน้ั รว่ มกับเทคนคิ การใช้คำถามโดย Blooket มคี า่ เฉลย่ี เท่ากับ 4.53 อยู่ในระดับมาก ทสี่ ดุ จะเห็นไดว้ ่านักเรียนมคี วามพงึ พอใจสงู กว่าเกณฑ์ท่ีกำหนด (เฉลย่ี = 3.51) อย่างมีนัยสำคญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดับ .05 เป็นไปตามสมมติฐานข้อท่ี 3 เน่ืองจากคณุ ค่าของเกมเป็นเคร่อื งมอื ในการสอน สร้างแรงบันดาลใจให้กับนักเรียนอยู่ในขณะน้ี และไดร้ ับการยอมรับเป็นอย่างดใี นเกือบทกุ ระดับ ของการศึกษา ครผู ู้สอนหลายคนขาดโอกาสประสบการณห์ รือความเขา้ ใจในการใช้ดิจติ อลเกมภายใน

43 ห้องเรียน แต่ Blooket เป็นโปรแกรมท่ีใช้งานง่ายสำหรับนักเรียนและใช้งานง่ายสำหรับครทู จ่ี ะเรียนรู้ ในหอ้ งเรยี น Blooket เป็นโปรแกรม ที่สรา้ งความสนกุ ความคิดสรา้ งสรรคแ์ ละการมีส่วนรว่ มของ นกั เรียน ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ปิยะมาศ อาจหาญ ศกึ ษาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนวชิ าฟิสิกส์ และความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ ของนักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 จำนวน 2 ห้องเรียน หอ้ งเรยี นละ 45 คน ท่ไี ดร้ บั การจัดการเรยี นรู้ แบบบูรณาการและการจัดการเรยี นรู้ แบบสืบเสาะ หาความรู้ (7E) ผลการวจิ ัย พบว่า นกั เรียนทไี่ ดร้ บั การจัดการเรยี นรู้แบบบูรณาการและนกั เรยี น ทไี่ ด้รับการจดั การเรียนรแู้ บบสบื เสาะหาความรู้มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นวชิ าฟิสิกส์แตกต่างกนั เมือ่ เปรยี บเทียบนกั เรียนทั้ง 2 กลุ่ม พบว่ามคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะหไ์ มแ่ ตกตา่ งกนั เนื่องจาก การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้แบบบูรณาการเพ่ือสง่ เสริมการคิดวเิ คราะหม์ ีการสร้างสถานการณ์ ทเี่ ก่ียวข้องกบั ชีวติ จรงิ มาใหน้ ักเรยี นฝึกการคิดวเิ คราะห์ นกั เรียนมีการเช่อื มโยงและหาความสมั พันธ์ ส่ิงที่เรยี นกบั สิง่ ท่ีอย่รู อบๆ ตัว เป็นการเร้าใหเ้ กิดความสนใจในการตอบปญั หาและการคดิ อย่างมี เหตผุ ล 2.4 ข้อเสนอเชิงนโยบายในการแก้ปัญหาและพัฒนาในอนาคต ขอ้ เสนอแนะเพื่อการนำไปใช้ 1. ผ้สู อนที่จะนำเอาแนวความคิดน้ีไปใช้ ควรวางแผนและเตรียมตวั ให้พร้อม ก่อนทำการสอน ทำการศึกษาและทำความเขา้ ใจกบั ผู้เรียน การจดั สภาพแวดลอ้ มในชน้ั เรยี น เตรยี ม วัสดุ อุปกรณ์ และสื่อการเรยี นรู้ที่เหมาะสมกบั การเรยี นรู้ของผ้เู รียนใหเ้ รียบร้อย กิจกรรมและใบงาน ท่ีจัดให้ควรมีความหลากหลาย และควรมีการเสริมแรง เพ่อื จะทำให้การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้โดย ใชว้ ัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ข้นั ร่วมกับเทคนคิ การใช้คำถามโดย Blooket เปน็ ไปอยา่ งสมบรู ณแ์ ละ มปี ระสิทธิภาพ 2. ผลการศกึ ษาค้นควา้ ในครั้งน้ี พบวา่ มีสงิ่ ทผี่ ู้สอนควรปรับปรุงหลายเรื่อง เชน่ เรื่องของเวลาที่ใชใ้ นการสอนในแต่ละแผน จะต้องปรับเปล่ียนใหเ้ หมาะสมกบั เนื้อหา หรืออาจจะปรับ กิจกรรมให้เหมาะสมกับเวลา และปลกู ฝังใหน้ ักเรยี นมีความซอื่ สตั ย์ มีความสามัคคี และรู้จกั ยอมรบั ฟงั ความคดิ เห็นของผู้อืน่ 3. ในขณะที่นักเรยี นทำกจิ กรรม ครูควรสงั เกตพฤติกรรมนักเรียนทกุ คน เพอื่ จะแก้ไขปรับปรงุ พฤตกิ รรมของนักเรยี นให้ถกู ต้องเหมาะสม โดยเฉพาะพฤติกรรมจิตอาสา 4. ควรมกี ารเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวา่ งการเรียนรู้ดว้ ยแบบ วฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขน้ั รว่ มกบั เทคนิคการใชค้ ำถามโดย Blooket กับวธิ ีสอนแบบอ่ืน ๆ เชน่ การสอนแบบศูนย์การเรยี น การเรยี นโดยใช้ชดุ การสอนการเรยี นโดยโครงงาน เป็นต้น

44 5. ควรมีการพฒั นาการจดั การเรียนรู้โดยใช้วฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขน้ั ร่วมกับ เทคนคิ การใชค้ ำถามโดย Blooket ในระดบั ช้นั ตา่ งๆ และเนอื้ หาวชิ าอืน่ ๆ เชน่ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ เปน็ ต้น (รายละเอยี ดดังภาคผนวก ก หน้า 49 – 52) 3. ปรมิ าณและสภาพของงาน (ณ วันท่ีย่ืนคำขอรับการประเมนิ ) 3.1 ปริมาณงาน (ปีการศกึ ษา 2564) - จำนวนชั่วโมงที่สอนตอ่ สปั ดาห์ 21 ชั่วโมง - จำนวนกลุม่ สาระการเรยี นรู้ / กลมุ่ ประสบการณ์ / สาขาวชิ า /รายวิชา และระดบั ชน้ั ท่สี อน ดังตาราง 13 ตาราง 13 แสดงปริมาณงานและจำนวนชวั่ โมงท่ีสอนต่อสัปดาห์ สอนช้นั รายวชิ า/รหสั วิชา จำนวน จำนวนนกั เรยี น ชัว่ โมง (คน) มัธยมศึกษาปที ี่ 1/1, 3, 5, 7, 9 วิทยาศาสตร์ 1 (ว21101) 166 15 44 มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4/3 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 1 1 (ว31261) มัธยมศึกษาปีที่ 1 กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี 1 327 1 37 มธั ยมศึกษาปที ่ี 1/7 กจิ กรรมชุมนุม 1 22 1 37 มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 กิจกรรมลดเวลาเรยี น เพ่ิมเวลารู้ 1 327 21 960 มัธยมศึกษาปที ี่ 1/7 กจิ กรรมแนะแนว มธั ยมศึกษาปีที่ 1 กิจกรรมสง่ เสรมิ สุขภาพ รวม จากตาราง 13 พบวา่ ปริมาณงานและจำนวนช่ัวโมงทีส่ อนต่อสัปดาห์ รายวิชากล่มุ สาระ การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นวังจันทรว์ ิทยา จำนวน 16 ชั่วโมง กจิ กรรมพัฒนา ผ้เู รียนจำนวน 5 ชั่วโมง รวมจำนวนช่ัวโมงที่สอนต่อสัปดาห์ 21 ช่ัวโมง จำนวนนกั เรยี นทส่ี อน 960 คน ปฏิบัตงิ านอ่ืน ดังต่อไปน้ี 1. ครทู ีป่ รึกษานักเรยี น ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1/7 จำนวนนกั เรยี น 37 คน

45 2. งานแผนงานงบประมาณ ติดตาม ประเมินผล และสรปุ รายงานการ ดำเนนิ งานโครงการประจำปีงบประมาณ ให้มีความสอดคล้องโครงการกิจกรรมในแผนปฏบิ ัติการ ประจำปงี บประมาณ 3. ครแู กนนำฐานการเรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพียงการเล้ยี งผ้งึ ชนั โรง 4. งานระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น 5. งานเวรประจำวันองั คารและงานเวรรักษาการณ์ประจำวันหยดุ ตามคำสัง่ โรงเรยี น 6. ปฏบิ ตั ิงานอ่ืน ๆ ที่ได้รับมอบหมายตามคำส่งั โรงเรียน และผบู้ ังคับบัญชา ข้าพเจา้ ปฏบิ ัติงานตามขอบข่ายงาน ดงั นี้ ข้าพเจ้าไดร้ ับมอบหมายให้ทำการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซง่ึ ในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนไดว้ เิ คราะห์หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรงุ พุทธศกั ราช 2560) วเิ คราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ วิเคราะหส์ าระ การเรยี นรู้ จดั ทำหลักสตู รสถานศกึ ษา จัดทำหน่วยการเรียนรู้ วางแผนการจัดการเรียนรู้ วิเคราะห์ ผเู้ รยี น จัดทำแผนการเรียนรู้ จัดทำสื่อประกอบการจัดการเรียนรเู้ พอ่ื พัฒนาผู้เรยี น จดั ทำการวัด และประเมนิ ผลตามสภาพจริง ปฏิบตั งิ านครทู ปี่ รกึ ษา ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1/7 โรงเรยี นวังจันทร์วิทยา โดยวิธีการ ศึกษานักเรียนเปน็ รายบุคคล สงั เกตสมั ภาษณ์ สอบถามประวัติ และเยีย่ มบ้านนักเรยี น โดยให้ คำปรึกษาแนะนำแก่นักเรยี นทุกเรอ่ื ง ทัง้ เร่ืองการเรียน เรื่องส่วนตัว ปญั หาทางครอบครัว ตดิ ตาม เรือ่ งการมาสาย การขาดเรียน โดยไดป้ ระสานงานและร่วมมือกนั แก้ไขพฤติกรรมกบั ผู้ปกครองตาม ระบบการดูแลช่วยเหลอื นักเรียน ฝึกให้นกั เรียนมีความรบั ผดิ ชอบ เช่น การดแู ลเขตพืน้ ที่ การทำความสะอาดหอ้ งเรยี น ข้าพเจา้ ไดร้ บั มอบหมายงานแผนงานงบประมาณ ปฏิบตั ิหน้าท่ีแผนงานและยทุ ธศาสตร์ การพฒั นา ดำเนินการในสว่ นการขออนมุ ัติใช้เงนิ งบประมาณการดำเนินโครงการในสถานศึกษา การติดตามการดำเนินโครงการและสรุปผลงานดำเนินโครงการ สรปุ การขออนุมตั ใิ ชเ้ งนิ ในแตล่ ะ โครงการ ส่งผลใหส้ ถานศึกษามรี ะบบบริหารงานแผนงานและงบประมาณทีเ่ ป็นระบบ มีเอกสาร ทค่ี รอบคลุม โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ครูแกนนำฐานการเรียนรเู ศรษฐกิจพอเพยี งการเลี้ยงผงึ้ ชันโรง โดยสรา้ งฐาน การเรียนรู้การเลี้ยงผึง้ ชนั โรง ดแู ลฐานการเรยี นรูก้ ารเล้ยี งผ้ึงชนั โรง ให้เป็นแหลง่ เรยี นรขู้ องนักเรยี น ผูป้ กครอง ชมุ ชน ประสานสมั พันธ์การดำเนินการเล้ียงผงึ้ ชันโรงโดยมผี ปู้ กครองและชุมชนเขา้ มา มีส่วนร่วมในฐานการเรียนรู้ ดำเนนิ การแปรรูปผลิตภัณฑ์และจำหนา่ ยผลติ ภณั ฑใ์ ห้กับบุคคลท่ีสนใจ โดยมบี ญั ชีรายรบั – รายจา่ ย ของฐานการเรียนร้เู ศรษกิจพอเพยี งการเลี้ยงผงึ้ ชันโรง ท่โี ปรง่ ใส

46 ตรวจสอบได้ มีเอกสารความร้เู กย่ี วกบั การเลีย้ งผึง้ ชันโรง และสง่ เสริมสนบั สนุนให้นกั เรยี นแกนนำ เปน็ ผดู้ ำเนนิ การปฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเองในทุกข้ันตอนของการเรียนรู้ทงั้ ในเวลาและนอกเวลาราชการ ข้าพเจ้าไดร้ ับมอบหมายงานระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน ดแู ลสอดสอ่ งเอาใจใส่ นกั เรยี นในทีป่ รึกษาดำเนนิ การ ประสาน คัดกรองนกั เรียนและรวบรวมเปน็ ระบบฐานข้อมลู ของ โรงเรียน จัดระบบปอ้ งกันและจดั กิจกรรมเพ่ือปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมนักเรยี น ดำเนินการสรรหา เครอื ข่ายผู้ปกครองและจดั ให้มีการประชุมประสานสมั พันธ์เครอื ข่ายผ้ปู กครอง แจ้งข้อมูลขา่ วสาร ผ้ปู กครองและการประสานกับผู้ปกครองเพ่ือตดิ ตามนกั เรียน ขา้ พเจา้ รบั มอบหมายงานเวรประจำวันองั คาร เวรประตูเชา้ โดยปฏบิ ตั ิหน้ารับนกั เรยี น หนา้ ประตโู รงเรยี น ต้ังแต่เวลา 6.30 น. คดั กรองนักเรียน โดยทำการวดั อณุ หภมู ิ ล้างมือด้วยเจล แอลกอฮอล์ การสวมหนา้ กากอนามัย ดูแลความเรยี นรอ้ ยของนักเรยี นก่อนเขา้ โรงเรียนในเร่อื ง การแต่งกาย กระเปา๋ บัตรนกั เรียน และบนั ทกึ การปฏบิ ตั หิ นา้ ทใ่ี นสมุดบันทึกการปฏบิ ตั ิหน้าท่ี เวรประจำวนั ดา้ นกิจกรรมรว่ มกบั ชุมชน ขา้ พเจา้ รว่ มกับชมุ ชนในงานจติ อาสา และทำบุญที่วัดในวัน สำคัญทางศาสนา และให้ความร่วมมือและชว่ ยเหลอื กจิ กรรมของชมุ ชนโดยเข้ารว่ มในงานประเพณี ตา่ งๆ ของชุมชน เชน่ งานแหเ่ ทยี นเข้าพรรษา งานตักบาตรเทโวโรหนะ เป็นต้น จากผลการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายดังกล่าวทำให้ผลงานที่ทำประสบความสำเร็จ บรรลุ ตามวัตถปุ ระสงคท์ ่ีกำหนดงานมีคณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพ สามารถเป็นแบบอยา่ งใหก้ บั ผู้อื่นได้ (รายละเอียดดงั ภาคผนวก จ หนา้ 116 – 252) 3.2 สภาพของงาน  รับผดิ ชอบนักเรียนทีม่ ีความตอ้ งการจำเป็นพิเศษ  รับผดิ ชอบนกั เรียนที่มีความต้องการพเิ ศษหลายประเภทความพิการและ มลี ักษณะอาการรนุ แรง  รับผิดชอบนักเรียนท่มี คี วามหลากหลายทางเศรษฐกิจ / วัฒนธรรม  สถานศกึ ษาตั้งอยบู่ นพืน้ ท่ีปกติ  สถานศึกษาทตี่ ้ังอยู่ในพื้นท่ีภูเขา หรอื เกาะหรือติดกับรอยตะเข็บชายแดน  สถานศกึ ษาทตี่ ั้งอยู่ในพ้ืนที่ท่มี ลี ักษณะพิเศษ เช่น กันดาร เส่ยี งภยั ตามประกาศของทางราชการ เปน็ ตน้ (รายละเอยี ดดังภาคผนวก จ หนา้ 116 – 252)

47 ขอรับรองว่าข้อมลู ดังกลา่ วข้างต้นถูกต้อง และเปน็ ความจรงิ (ลงช่ือ)...................................................ผ้ขู อรบั การประเมิน (นางสาวธนั ยาภรณ์ จุลศักด์ิ) ตำแหนง่ ครู อนั ดบั คศ.1 วนั ที่ 21 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2564 การตรวจสอบและรับรองของผู้บงั คับบัญชา ได้ตรวจสอบแลว้ รบั รองว่าขอ้ มลู ถูกต้อง และเป็นความจริง (ลงชื่อ)...................................................ผ้บู งั คบั บัญชาชั้นตน้ (นายทวีวัฒน์ เบญจมาศ) รองผู้อำนวยการโรงเรียนวงั จนั ทร์วทิ ยา รกั ษาการในตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนวงั จันทรว์ ิทยา วันท่ี 21 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2564

ภาคผนวก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook