Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีกับนาฏศิลป์ไทย

ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีกับนาฏศิลป์ไทย

Published by Guset User, 2021-12-16 02:59:26

Description: ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีกับนาฏศิลป์ไทย

Search

Read the Text Version

วิชาภาษาและวัฒนธรรม ความสัมพันธ์ระหว่าง วรรณคดีกับนาฏศิลป์ ไทย

ความหมาย นาฏศิลป์เป็นส่วนหนึ่งของศิลปะสาขาวิจิตรศิลป์ และเป็นมรดก ทางวัฒนธรรม การศึกษานาฏศิลป์จึงเป็น การศึกษาวัฒนธรรมแขนงหนึ่งซึ่ง นอกจากแสดงความเป็นอารยะของประเทศแล้ว นาฏศิลป์ยังเป็นแหล่งรวมศิลปะ และการแสดงหลายรูปแบบเข้าด้วยกัน การศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับนาฏศิลป์ไทย คุณค่าของนาฏศิลป์ไทย สุนทรียภาพและการแต่งกายของ นาฏศิลป์ไทย จึงเป็นสิ่งที่จะส่งเสริมให้ บุคคลผู้นั้นเป็นเยาวชนที่ดี ในอนาคต สามารถที่จะสร้างสรรค์ อนุรักษ์และถ่ายทอดต่อไปได้

ที่มาของนาฏศิลป์ นาฏศิลป์ ก็มีวิวัฒนาการมาจาการเอาชนะ ธรรมชาติเช่นเดียวกับศิลปะอื่น ๆ ซึ่งก็มีวิวัฒนาการเป็ นขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่ 1 เมื่อมนุษย์เกิดอารมณ์อย่างใดก็แสดง อารมณ์ นั้นออกมา เช่น ดีใจก็ตบมือ หัวเราะ เสียใจ ก็ร้องไห้ ขั้นที่ 2 เมื่อมนุษย์เจริญขึ้นรู้จักใช้กิริยาแทนคำ พูดอย่างที่เรียกว่า “ภาษาใบ้” เช่น กวักมือเข้า หมายถึง ให้เข้ามาหา โบกมือออก หมายถึง ให้ออกไป ขั้นที่ 3 ต่อมาพวกนักปราชญ์ได้ดัดแปลงกิริยา เหล่านี้ ประดิษฐ์ท่าทาง ใช้แทนคำพูดให้สวยงามแสดงความรื่ นเริง สนุกสนาน โดยมีกฎเกณฑ์ส่วน สัดงดงามตรึงตาตรึงใจเปลี่ยนแปลงปรับปรุงให้ดี ยิ่งขึ้นตามยุคตามสมัย และความนิ ยม

ดังนั้นคำว่า “นาฏศิลป์ ” นอกจากจะหมายถึง การฟ้ อนรำหรือระบำแล้ว ยังต้องถือเอาความหมายของการร้อง และการบรรเลงเข้าร่วมด้วย หรืออาจกล่าวได้ว่า “นาฏศิลป์ ” หมายถึง ศิลปะการละครและฟ้ อนรำ นาฏศิลป์ ประจำชาติไทย ไ ด้แก่ โขน ละคร และระบำ ทั้ง 3 ประเภท นี้เป็ นของที่มีมาแต่โบราณรักษา แบบแผนถ่ายทอดกันมาเป็ นเวลาหลายร้อยปี และได้ปรับปรุงให้ประณี ตงดงาม ขึ้นตามลำดับ แม้ว่าแต่ เดิมเราจะได้มาจากชาติ อื่ นก็ตามแต่ก็ได้รับการปรับปรุง จนเป็ นรูปลักษณะของไทย และเข้ากับรสนิ ยมของ คนไทยก็ถือว่าเป็ นของไทย

ประโยชน์ ในการศึกษาวิชานาฏศิลป์ ประโยชน์ โดยทางตรง ใช้เป็ นวิชาชีพ ผู้ที่ศึกษาวิชานาฏศิลป์ อย่าง จัดเจน ชำนิชำนาญ สามารถยึด เป็ นอาชีพได้ เพราะในกิจกรรมต่าง ๆ วิชา นาฏศิลป์ เข้าไปมีส่วนร่วมอยู่เสมอ เป็ นการบริหารร่างกายให้มีสุขภาพสมบูรณ์ โดยเฉพาะวิชานาฏศิลป์ นั้น ในขณะฝึ กหัดนัยว่าเป็ นการออกกำลังกาย อย่างดีเยี่ยม ได้บริหารร่างกายทั่วทุกส่วน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook