Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารสุขภาพสำนักอนามัย ปีที่ 6 ฉบับที่ 4

วารสารสุขภาพสำนักอนามัย ปีที่ 6 ฉบับที่ 4

Published by health.ed.media, 2018-11-09 04:32:58

Description: วารสารสุขภาพสำนักอนามัย ปีที่ 6 ฉบับที่ 4

Search

Read the Text Version

วสา�ำรนสัการอสนุขาภมายัพ อาหารคลีน กนิ อย่างไรใหป้ ลอดภยัท�ำไม วยั ใสตดิ หวานกินยาอย่างไรให้ได้ผลดีการออกก�ำลงั กายในผู้ท่ีมนี �ำ้ หนกั เกินการป้องกนั โรคกระดกู พรุน รู้ไหม ขายอาหารตอ้ งตรวจสุขภาพ วยั ใส...วยั ขยบั ควรทำ� อยา่ งไร... ถา้ จำ� เปน็ ตอ้ งกนิ ยาปฏชิ วี นะ Care giver ดูแลใสใ่ จ ผูป้ ่วยอลั ไซเมอร์ การออกกำ� ลังกายในท่ีทำ� งาน

บก. ขอคยุ สารบัญ ปที ่ี 6 ฉบบั ท่ี 4 เดอื นกรกฎาคม - กนั ยายน พ.ศ. 2560 ISSN : 2229-0540 สวัสดีค่ะ พบกับ รกั ษส์ ุขภาพวารสารสุขภาพส�ำนักอนามัยอกี เชน่ เคย ชว่ งนส้ี ภาพอากาศ พัฒนาระบบการดูแลสุขภาพผูส้ ูงอายุ 3เปลยี่ นแปลงอยตู่ ลอดเดย๋ี วรอ้ นเดี๋ยวฝน ขอให้ทุกท่านดูแล ท่ีมภี าวะพง่ึ พงิรักษาสุขภาพ ทส่ี ำ� คัญอยา่ ลมืออกกำ� ลังกายกนั ด้วย เพอื่ จะ หว่ งใยแม่ ดูแลลูกได้มสี ขุ ภาพทีแ่ ขง็ แรงค่ะ สำ� หรับวารสารฉบบั น้เี ป็นฉบบั ท่ี 4ของปีน้ี ได้รับเกียรติจาก นายแพทย์ชวินทร์ ศิรินาค ปลดล็อกคณุ แมค่ นใหมห่ ลังคลอด 6ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักอนามยั กรงุ เทพมหานคร พดู คยุ ถึงแนวทางการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่มี วยั ใส ใส่ใจสขุ ภาพภาวะพึง่ พงิ เน่อื งจากสังคมไทยไดเ้ ขา้ สู่ “สงั คมผ้สู งู อาย”ุและปัญหาท่มี กั พบในกลุ่มผ้สู ูงอายุ คอื ความเส่อื มถอย ทำ� ไมวัยใสติดหวาน 8 ของรา่ งกาย และภาวะโรคตา่ งๆท่นี �ำไปส่ภู าวะพ่ึงพงิ ซ่ึงมีแนวโน้มเพิ่มมากข้ึน นอกจากนี้ยังมีวิธีการดูแลสุขภาพ ดแู ลสขุ ภาพสไตลค์ นเมอื งทค่ี ดั สรรมาให้อา่ นกนั อย่างจใุ จ ไดแ้ ก่ ท�ำไมวัยใสติดหวานเลอื กนำ�้ มนั พชื อยา่ งไรใหด้ ตี อ่ สขุ ภาพ อาหารคลนี กนิ อยา่ งไร การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม 10ให้ปลอดภัย การป้องกันโรคกระดูกพรุน กินยาอย่างไรให้ไดผ้ ลดี คอลัมนพ์ บแพทยส์ นอ. มาพดู คยุ เร่อื ง ภัยเงียบ สขุ ภาพ ผูส้ งู วยัตอ่ ดวงตาทแ่ี ฝงกบั การใช้สมาร์ทโฟน สว่ นท่านทมี่ ีปัญหาเรื่องน้�ำหนักตัว ไม่ชอบออกก�ำลังกาย ต้องลองอ่าน การป้องกันโรคกระดกู พรนุ 12 การออกกำ� ลงั กายในผู้ทม่ี ีน�้ำหนักเกนิ และยังพาไปเที่ยวป่านิเวศของคนกรุงเทพฯ พร้อมค�ำถามร่วมสนกุ ชิงรางวลั เตมิ ใจ ใส่ย้ิมของที่ระลกึ จากทีมงานเช่นเคย ดิฉันและทีมงานขอขอบคุณทุกท่านท่ีให้ มหัศจรรย์พลงั แหง่ การกอด 14ความสนใจติดตามอ่านวารสารสุขภาพส�ำนักอนามัยมาโดยตลอด มคี �ำแนะนำ� ติชมอยา่ งไร ส่งมาพดู คุยกันได้ เร่อื งนา่ รู้ คผู่ บู้ ริโภคนะคะ เพอื่ จะน�ำไปพฒั นาวารสารฯใหด้ ียิง่ ขนึ้ หวังวา่ ทุกคร้ังทท่ี า่ นมปี ญั หาสขุ ภาพจะนกึ ถงึ วารสารสขุ ภาพสำ� นกั อนามยั คะ่ อาหารคลนี กินอย่างไรใหป้ ลอดภัย 16 แพทย์หญิงภาวณิ ี ร่งุ ทนต์กจิ กนิ เปน็ เน้นสุขภาพ ผ้อู �ำนวยการสำ� นกั งานพัฒนาระบบสาธารณสุข เลือกน�ำ้ มนั พชื อยา่ งไรให้ดตี ่อสขุ ภาพ 18 บรรณาธกิ าร พบแพทย์ สนอ. ภยั เงยี บต่อดวงตาทม่ี าแฝงกับการใชส้ มารท์ โฟน 20 (Smart phone) ออกกำ� ลังกาย สรา้ งสุขภาพ การออกกำ� ลังกายในผทู้ ่มี นี ำ้� หนกั เกนิ 22 ถอดรหัส สัตวเ์ ล้ยี ง เรียนรู้ผา่ น...แสตมปท์ ร่ี ะลึก สนุ ขั ทรงเลีย้ ง 24 “คณุ ทองแดง” อาสาพาเทยี่ ว เทีย่ วปา่ ในกรุง... ปา่ นิเวศของคนกรงุ เทพฯ 26 ยาและสมุนไพร กนิ ยาอย่างไรให้ไดผ้ ลด ี 28 29 คำ� ถามน้ี...มคี ำ� ตอบ 30 รอบรั้ว กทม. 31 มุมสบาย คลายเครยี ด

รักษส์ ขุ ภาพพฒั นาระบบการดูแลสขุ ภาพ ผู้สงู อายทุ ่ีมภี าวะพึง่ พิง นายแพทยช์ วินทร์ ศริ นิ าค ผู้อ�ำนวยการสำ� นักอนามัย ปัจจุบันสังคมไทยมีโครงสร้างประชากรผู้สูงอายุ 60 ปีข้ึนไป เกินร้อยละ 10 ของประชากรท้ังหมดจึงถือไดว้ า่ สังคมไทยได้เขา้ สู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) แลว้ ดังนัน้ การเตรยี มความพรอ้ มและพฒั นาระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ เป็นส่ิงส�ำคญั ทกี่ รุงเทพมหานครให้ความสำ� คัญมาโดยตลอด เน่ืองจากสิ่งทีเ่ ป็นผลสบื เนื่องมาจากการที่ผู้สูงอายุมีอายุยืนยาวข้ึน คือ ภาวะเจ็บป่วยเร้ือรัง ทุพพลภาพ ซึ่งน�ำไปสู่ภาวะพึ่งพิงที่ส่งผลต่อสุขภาวะและคณุ ภาพชวี ิตของผ้สู ูงอายใุ นที่สดุ วารสารสุขภาพส�ำนกั อนามัยฉบบั น้ไี ด้รบั เกียรติจาก นายแพทยช์ วนิ ทร์ ศิรนิ าค ผู้อ�ำนวยการส�ำนกั อนามัยมาพูดคยุ ถงึ แนวทางการพัฒนาระบบการดูแลสขุ ภาพผูส้ งู วัยท่ีมีภาวะพ่ึงพา เพอ่ื ให้ผสู้ ูงอายุไดร้ ับการดูแลสขุ ภาพที่เปน็ ระบบ ได้มาตรฐาน สามารถอยรู่ ่วมกับครอบครวั และชมุ ชน ไดอ้ ย่างมีความสขุ สอดคล้องตามนโยบาย“ผลักดันทันใจ แก้ไขทนั ที” ของพลตำ� รวจเอกอศั วนิ ขวัญเมือง ผูว้ า่ ราชการกรงุ เทพมหานคร นโยบายท่ี 4“คณุ ภาพชีวติ ด”ี (CARE) : ภารกิจที่ 3 Bangkok Special Care ดแู ลผสู้ งู อายเุ ปน็ พเิ ศษ ผ้สู ูงอายทุ ่มี ภี าวะพง่ึ พิง คอื กลุม่ ใดบา้ ง และสำ� นักอนามัยมเี ปา้ หมายในการดแู ลอยา่ งไร สำ� นักอนามัย กรุงเทพมหานครไดพ้ ัฒนาระบบการดูแลสุขภาพของผสู้ ูงอายุทีค่ รอบคลมุ ทัง้ 3 กลุ่ม ไดแ้ ก่ กลมุ่ ตดิ สังคม กลมุ่ ติดบา้ น และกลุ่มติดเตียง โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มติดบ้าน และกลุ่มติดเตียง ซ่ึงเป็นกลุม่ ผู้สูงอายทุ ่มี ภี าวะพ่ึงพงิ เพื่อใหไ้ ด้รบั การดแู ลอย่างเหมาะสมจากผูด้ แู ลโดยอยู่ภายใต้การควบคุมมาตรฐานการดูแลของพยาบาลวิชาชีพสำ� นักอนามัย ดังน้ี กลุ่มตดิ บา้ น เปน็ กลุม่ ผูส้ ูงอายุทีม่ โี รคเร้ือรังท่ีควบคมุ ไม่ได้หรอื มภี าวะแทรกซอ้ น และอาจมคี วามจำ� กดั ในการทำ� กจิ วตั รประจำ� วนั พน้ื ฐานต้องการความช่วยเหลือจากผู้อ่ืนบ้างบางส่วน เช่น การเคล่ือนไหวการรับประทานอาหาร การขบั ถา่ ย ดงั นน้ั เปา้ หมายของการดูแลกลุ่มน้ีคอื การปอ้ งกนั ภาวะแทรกซ้อน การป้องกันการเสอ่ื มถอยของการท�ำกิจวตั รประจ�ำวันพน้ื ฐาน และปอ้ งกนั การเกดิ โรคใหม่เพิม่ ข้ึน วารสส�ำนารักสอุขนภาามพัย 3

กลุ่มติดเตียง เป็นกลุ่มผู้สูงอายุท่ีมี โรคเรอ้ื รังหลายโรคและมีภาวะแทรกซ้อน ไม่สามารถ ช่วยเหลือตนเองในการท�ำกิจวัตร ประจ�ำวันได้เลย เปา้ หมายของการใหก้ ารดแู ลในกลมุ่ น้ี คือ การควบคมุ อาการ การประคับประคอง และการดแู ลระยะสุดท้าย เพ่ือให้สามารถใช้ชีวิตอยู่ในครอบครัวและชุมชนได้ ตามอตั ภาพจนถงึ ระยะทา้ ยของชีวิต สำ� นักอนามัย มีการดำ� เนนิ งานพัฒนาระบบการดแู ลสุขภาพผสู้ ูงอายทุ ี่มภี าวะพง่ึ พงิ อย่างไร การเพม่ิ ของผูส้ ูงอายนุ ้นั จะส่งผลกระทบตอ่ สภาพสังคม เศรษฐกจิ การจดั สรรทรพั ยากรทางสขุ ภาพ เพราะมีผู้สูงอายุจ�ำนวนไม่น้อยที่เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่ส�ำคัญ ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง ฯลฯ ส�ำนกั อนามยั ตระหนกั และเห็นความส�ำคัญในการดแู ลผสู้ งู อายุในชมุ ชนท่ีมปี ญั หาสขุ ภาพ และอยใู่ นภาวะพึ่งพงิ เนื่องจากหากขาดการดูแลดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุขที่เปน็ ระบบอย่างตอ่ เนื่อง จะส่งผลให้ เกดิ การเจบ็ ปว่ ยท่รี ุนแรงขนึ้ เกิดภาวะแทรกซ้อน และอาจนำ� ไปสภู่ าวะวกิ ฤต รวมทงั้ เสยี ค่าใช้จ่ายในการดูแล สุขภาพมากขนึ้ ด้วย ท้งั นีจ้ ากการดำ� เนนิ งานดแู ลผู้ปว่ ยต่อเนื่องทีบ่ า้ น (Home Health Care) ของส�ำนักอนามัย พบวา่ จำ� นวนผู้ป่วยและผสู้ งู อายุทม่ี ีภาวะพ่ึงพิงมีแนวโนม้ เพิม่ ขึ้นอยา่ งต่อเน่อื ง โดยปี 2559 มีจำ� นวน 27,130 คน แตใ่ นปี 2560 เพิ่มข้ึนเปน็ 46,278 คน ซึ่งส�ำนกั อนามัย ตระหนกั และเหน็ ความส�ำคัญจึงไดพ้ ัฒนาระบบการดแู ลผปู้ ่วย และผู้สงู อายุท่ีมีภาวะพึง่ พิง ให้มปี ระสิทธิภาพยงิ่ ขน้ึ ดงั นี้ จัดต้ังศูนย์ส่งต่อเพ่ือการพยาบาลต่อเนื่องท่ีบ้าน กรุงเทพมหานคร (BMA Home Ward Referral Center) ซ่ึงตัง้ อยู่ทกี่ องการพยาบาลสาธารณสขุ ส�ำนักอนามัย เพ่ือเปน็ ศนู ย์กลางประสานการสง่ ตอ่ ผูป้ ว่ ย และผสู้ งู อายทุ ม่ี ภี าวะพง่ึ พงิ ทจ่ี ำ� เปน็ ตอ้ งไดร้ บั การดแู ลตอ่ เนอื่ ง ที่บ้านแบบไร้รอยต่อระหว่างโรงพยาบาลภาคีเครือข่ายและ ศูนยบ์ ริการสาธารณสขุ ท้งั 68 แห่ง ผา่ นโปรแกรม BMA Home Ward Referral ในระบบออนไลน์ ซ่ึงจะช่วยให้ผู้ป่วย และผ้สู ูงอายุได้รับการตดิ ตามอาการ และใหก้ ารพยาบาล ได้ทันท่วงที มุ่งเน้นที่ตัวผู้สูงอายุ และครอบครัวเป็น จุดศูนยก์ ลาง โดยใชบ้ า้ นเปรยี บเสมือนเปน็ Ward เตียงทบี่ ้าน เป็นเสมอื นเตยี งผ้ปู ่วย สร้างระบบการดูแลแบบ HOME WARD เพ่ือใหเ้ กดิ การดูแลผ้ปู ว่ ยที่ชว่ ยเหลอื ตนเองไม่ได้ และกลมุ่ ผสู้ งู อายุเกนิ 65 ปขี ึน้ ไป ครอบคลมุ พืน้ ท่กี รงุ เทพมหานคร ซงึ่ เปรยี บเหมอื นการยกโรงพยาบาลไปไวท้ บ่ี า้ น โดยศนู ยบ์ รกิ าร สาธารณสุขเป็นหนว่ ยงานทช่ี ่วยใหค้ ำ� แนะน�ำ และรว่ มดแู ล ผูป้ ว่ ย4 สวา�ำรนสักาอรนสาุขมภัยาพ

พัฒนาศักยภาพแกนน�ำผู้ดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพ่ึงพิง ทจ่ี ำ� เป็นตอ้ งได้รับการดแู ลตอ่ เนอ่ื งที่บา้ น ซึง่ เริม่ ดำ� เนินการตัง้ แตป่ ี พ.ศ. 2559 เพื่อให้ผ้ดู แู ลซึ่งเปน็ กลมุ่ ประชาชนท่ัวไป ญาตผิ ้ปู ว่ ย อาสาสมัครสาธารณสุข พนักงานชว่ ยงานสาธารณสุขของศูนย์บริการสาธารณสขุ ทง้ั 68 แหง่ และบคุ ลากรของคลนิ กิ อบอนุ่ มคี วามรู้และทกั ษะพน้ื ฐานทางการพยาบาล สามารถช่วยงานพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องท่บี า้ น ซ่ึงปัจจบุ นั สำ� นักอนามยั กรงุ เทพมหานคร มีผดู้ ูแล (Caregiver) รวมท้งั สิ้น 2,373 คน ในการจดั บรกิ ารสุขภาพให้เข้าถึงประชาชนและผู้สูงอายุท่ีมีภาวะเจ็บป่วยและจ�ำเป็นต้องได้รับการดูแลต่อเน่ืองที่บ้านแบบHOME WARD อย่างครอบคลุมและทัว่ ถงึ พฒั นาพยาบาลวชิ าชพี เปน็ ผจู้ ดั การสขุ ภาพ(Nurse Care Manager) เปน็ พเ่ี ลยี้ งสอนสาธติ ใหค้ ำ� ปรกึ ษาแนะนำ� และนำ� ผูด้ แู ลเขา้ เยี่ยมบา้ นผู้ปว่ ยในครัง้ แรก (Firstvisit) เพ่ือใหเ้ กิดความมน่ั ใจในการปฏบิ ตั ิงาน สามารถตดิ ตามชว่ ยเหลอื ดแู ลผปู้ ว่ ยและผสู้ งู อายทุ ต่ี อ้ งไดร้ บั การดแู ลตอ่ เนอื่ งท่ีบ้านไดส้ ม่�ำเสมอ ประจ�ำในลกั ษณะ HOME WARD มีผู้ตรวจการพยาบาล (Supervise NurseHome Ward) ลงพนื้ ทร่ี ว่ มเยย่ี มบา้ นเปน็ พเ่ี ลย้ี ง ใหค้ ำ� ปรกึ ษาแนะน�ำ และติดตามควบคุมก�ำกับคุณภาพการดูแลของพยาบาลวิชาชีพ (Nurse Care Manager) และผู้ดูแล(Care giver) เพือ่ ใหผ้ ปู้ ว่ ยและผ้สู ูงอายตุ ดิ บา้ น ตดิ เตียงไดร้ ับบรกิ ารทด่ี ี มีคุณภาพตามมาตรฐานการดแู ลผปู้ ่วยและผู้สงู อายุทต่ี อ้ งไดร้ บั การดแู ลทีบ่ า้ น ส�ำนักอนามยั กรงุ เทพมหานครหว่ งใยสุขภาพผู้สูงอายุ โดยเฉพาะทมี่ ีภาวะพง่ึ พิงโดยมกี ารเตรียมความพร้อม และให้ความส�ำคัญในการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่มุ่งเน้นการเชื่อมโยง และบูรณาการงานของทุกภาคสว่ นอย่างเปน็ ระบบทัง้ ภายในและนอกองคก์ ร เพื่อใหส้ ามารถเข้าถงึ ผปู้ ่วย ติดบ้านติดเตยี ง และกลมุ่ ผสู้ ูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ได้อยา่ งครอบคลุมและท่ัวถึง อนั จะสง่ ผลให้ผ้สู งู อายุในสงั คมมสี ุขภาวะท่ดี ีทั้งร่างกายและจติ ใจ ดำ� รงชวี ติ อย่างมีความสุขสมศกั ดิศ์ รคี วามเป็นมนุษยใ์ นมหานครแหง่ น้ี บทสมั ภาษณ์โดย ทรงพร วทิ ยานนั ท์ นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชำ� นาญการ สำ� นกั งานพฒั นาระบบสาธารณสขุ สำ� นกั อนามยั กรงุ เทพมหานคร วารสส�ำนารักสอุขนภาามพัย 5

หว่ งใยแม่ ดแู ลลกูปลดลอ็ ก.. คหลณุ งั แคมล่คอนดใหม.่ .. มยรุ า สรอ้ ยช่อื นกั วชิ าการสาธารณสขุ ปฏบิ ตั กิ าร สำ� นกั งานพฒั นาระบบสาธารณสขุ สำ� นกั อนามยั กรงุ เทพมหานครคลายกังวล คณุ แมห่ ลังคลอด การตง้ั ครรภ์ และคลอดบุตร ทำ� ให้ร่างกายมกี ารเปลีย่ นแปลงได้ ดงั นั้นการฟ้ืนฟใู ห้ร่างกายกลับมาสู่สภาพปกติ จึงต้องได้รบั การดูแลและปฏิบัติตนอย่างถูกต้องเหมาะสม โดยเฉพาะสว่ นต่างๆที่ส�ำคญั ของรา่ งกายของคุณแมห่ ลังคลอด มดลกู ปกตจิ ะมขี นาดเลก็ ประมาณผลชมพู่ แตเ่ มอ่ื ตง้ั ครรภจ์ ะขยายใหญข่ น้ึ เพอ่ื รองรบั ทารกในครรภ์หญิงหลงั คลอดอาจมีอาการเจบ็ ปวดในช่องท้องไดบ้ า้ ง การดแู ลอาจท�ำไดโ้ ดยการประคบดว้ ยความร้อนหรือใช้วธิ ีการอยไู่ ฟแบบแพทยแ์ ผนไทยในระหวา่ งนจี้ ะมนี ำ้� คาวปลาถกู ขบั ออกมาจากโพรงมดลกู โดยวนั แรกจะมสี เี ขม้ เหมอื นเลอื ดเกา่และมกี ลนิ่ คลา้ ยประจำ� เดอื น วนั ทส่ี องสจี ะจางลงเปน็ สชี มพแู ละคอ่ ยๆ จางลงเรอื่ ยๆ จนหมดภายใน 4-6 สปั ดาหห์ ลงั คลอด ฝเี ยบ็ เป็นผิวหนงั ทอี่ ยรู่ ะหวา่ งอวยั วะเพศกบั ทวารหนกั ในการคลอดอาจจะถกู กรีดเพือ่ ให้สะดวกตอ่ การคลอดทารก เม่ือคลอดแลว้ จะเยบ็ ตดิ ไว้ หลังคลอดจะร้สู ึกเจ็บปวดแผลบา้ งและจะคอ่ ยๆ ทเุ ทาลงจนเปน็ ปกติใน 5-7 วนั ระบบขับถ่าย วนั แรกอาจไมถ่ า่ ยเพราะหญงิ ตง้ั ครรภม์ กั งดอาหารและนำ�้ ก่อนคลอด แตจ่ ะกลบั เขา้ สู่ภาวะปกตภิ ายใน 6-8 ช่วั โมงหลงั รบั ประทานอาหาร เต้านม หลังคลอดอาจเกดิ อาการตงึ คัดเตา้ นม ดงั นั้นคณุ แมค่ วรให้ลกู ดูดนม เพราะนอกจากจะชว่ ยลดอาการตงึ คดั แลว้ ทารกยงั ไดร้ บั สารอาหารท่ีมีคณุ คา่ รวมท้งั ภมู ติ า้ นทานท่ีเหมาะสมและดที ี่สุดจากแม่ กลา้ มเนอื้ หนา้ ท้อง หลังคลอดอาจมอี าการตงึ ตวั ของกลา้ มเน้ือหนา้ ท้อง โดยปกตจิ ะกลับคนื สู่สภาพปกติภายใน 6 สัปดาห์หลงั คลอด แตถ่ ้าบริหารสม่�ำเสมอจะชว่ ยให้กลบั คืนสู่สภาพเดมิ ไดเ้ รว็ ขน้ึเร่อื งสำ� คัญท่คี ณุ แม่ควรใสใ่ จดแู ลหลงั คลอด อาหาร ต้องค�ำนึงถงึ ปริมาณ คณุ คา่ และประโยชน์ของอาหารท่ีตอ้ งไดร้ ับอยา่ งพอเพยี งในแตล่ ะวนัรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ด่ืมนำ้� บ่อยๆ วนั ละ 6-8 แก้ว และหลกี เล่ยี งเคร่ืองดมื่ แอลกอฮอล์ เครื่องด่มื คาเฟอนีน�ำ้ หวาน อาหารหวาน และอาหารท่มี ไี ขมนั เตา้ นม เตา้ นมจะมขี นาดและน�ำ้ หนกั เปน็ 3 เท่าของเตา้ นมปกติ ดงั น้ัน ควรสวมยกทรงเพ่ือช่วย พยุงไว้เพอื่ ปอ้ งกนั การหย่อนยาน แตไ่ ม่ควรสวมยกทรงแบบมีโครงเหลก็ เพราะอาจจะไปกดทับท่อน้�ำนมได้ ควรทำ� ความสะอาดเต้านม และลา้ งมอื ทกุ คร้งั กอ่ น-หลังให้นมลูก6 วสา�ำรนสักาอรนสาุขมภัยาพ

การมีประจำ� เดอื น ช่วงใหล้ ูกกนิ นมแม่ อาจมผี ลท�ำให้ไมม่ ปี ระจำ� เดือนในช่วง 6 เดือนแรก แตค่ นทีไ่ ม่ได้ให้ลูกกินนมแม่ ประจำ� เดอื นอาจจะมาตามปกติภายใน 6 สัปดาห์หลงั คลอด การมเี พศสัมพนั ธ์ ควรงดมเี พศสัมพนั ธใ์ นชว่ ง 4-6 สปั ดาห์หลังคลอด เพอื่ ความปลอดภยั และป้องกันการติดเชือ้ ในโพรงมดลูก หากเลีย่ งไมไ่ ด้ควรสวมถงุ ยางอนามัยทุกคร้งั เพ่อื ป้องกนั การตง้ั ครรภ์ และควรตรวจร่างกายหลังคลอด 4-6 สปั ดาห์ เพอื่ ตรวจดูการคนื สภาพของปากมดลกู อวัยวะภายในอุ้งเชงิ กราน และตรวจหาความผดิ ปกติต่างๆ เชน่ มะเรง็ ปากมดลกู เปน็ ต้น การคุมก�ำเนดิ ภายหลังคลอดควรเว้นการมีบตุ รอย่างนอ้ ย 2 ปี เพื่อฟ้นื ฟสู ภาพของรา่ งกายและอวัยวะภายในอุ้งเชิงกราน และควรปรึกษาแพทย์เกยี่ วกบั วิธีคมุ ก�ำเนดิ อย่างเหมาะสม การพกั ผอ่ น ควรนอนหลบั อย่างนอ้ ยวันละ 8 ชวั่ โมง ในเวลากลางวันควรหลบั ประมาณ 1ชั่วโมง แต่ระมัดระวังอยา่ หลบั ขณะใหน้ มลกู เพราะเตา้ นมอาจปดิ จมูกของลูกจนท�ำให้หายใจไมอ่ อกได้ การท�ำงาน สัปดาห์แรกไม่ควรท�ำงานหนักหรือยกของหนักๆแต่สามารถท�ำงานเบาๆได้ เช่นกวาดบา้ น ซกั ผ้าไดบ้ า้ ง และสามารถทำ� งานตามปกติภายใน 4-6 สปั ดาหห์ ลงั คลอด สุขภาพจติ ใจ อาจพบโรคซมึ เศร้าในคุณแมห่ ลังคลอด อาการของโรคท่สี ำ� คญั คอื ซมึ เศร้า รสู้ กึสน้ิ หวัง ทอ้ แท้ เครียด กงั วล เบื่อหน่าย นอนไมห่ ลับ ขาดสมาธิ มกั รูส้ กึ ว่าตนเองผดิ มคี วามคดิ หมกม่นุ สบั สนไม่สนใจตนเองและเพศตรงข้าม ดังนนั้ คุณแมต่ อ้ งดูแลและป้องกนั ตนเองไม่ใหเ้ จ็บปว่ ยเป็นโรคซึมเศร้า โดยการทำ�จติ ใจใหผ้ อ่ นคลาย และระบายความรูส้ ึก เมอ่ื อดึ อดั คบั ขอ้ งใจ และที่ส�ำคัญควรไดร้ ับการเอาใจใสด่ แู ลและกำ� ลังใจจากคนใกล้ชดิ เช่น คุณพ่อและญาติ เป็นต้น ซงึ่ จะชว่ ยใหค้ ณุ แมม่ ีสภาวะจิตใจที่ดีอาการผิดปกต.ิ ..ที่คณุ แมต่ ้องกลับมาพบแพทย์โดยเรว็ 1. มไี ข้ และมอี าการอกั เสบของอวัยวะอื่นๆ 2. ปัสสาวะแสบขัด อาจเกิดจากการติดเชอื้ ของทางเดนิ ปสั สาวะ เน่อื งจากดูแลความสะอาดช่องคลอดและอวยั วะสืบพนั ธุไ์ มด่ ีพอ 3. ปวดศีรษะบ่อยและเป็นเวลานาน อาจเกดิ จากความดนั โลหติ สูงพกั ผอ่ นไมเ่ พียงพอหรอื เครยี ดจากการคลอด 4. มีเลือดออกทางช่องคลอด สว่ นมากจะเกดิ จากแผลในโพรงมดลูกบริเวณท่ีรกเกาะเน่ืองจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดีหรือมีเศษรกตกค้างในโพรงมดลูก 5. นำ�้ คาวปลาผิดปกติ สีไมจ่ างลง จำ� นวนไมล่ ดลง มกี ้อนเลือดปนหรือมกี ล่ินเหมน็ 6. มดลกู เข้าอ่ชู ้า หลังคลอด 2 สปั ดาห์ไปแล้วยงั สามารถคล�ำพบมดลกู ทางหนา้ ท้อง 7. กรณผี า่ คลอด แผลทีเ่ ยบ็ มอี าการอักเสบ ปวดบวม แดงรายการอ้างอิง กรมอนามยั .(2556). คู่มอื ดแู ลมารดาหลังคลอดและการดแู ลทารก.[ออนไลน]์ .สืบค้นจาก http://www.mebmarket.com/index.php?action=BookDetails&book_id=7541.[เขา้ ถึงวันท่ี 22 กรกฎาคม 2560]. วารสส�ำนารักสอุขนภาามพัย 7

วยั ใส ใส่ใจสุขภาพ ทำ� ไมวยั ใสตดิ หวาน จะหวานไปไหน...? ขนมหวานและเคร่ืองด่ืมรสหวานเป็นที่นิยมมากในกลุ่มวัยรุ่นยุคปัจจุบัน ท�ำให้วัยรุ่นส่วนใหญ่ใช้เวลา หลงั เลกิ เรียนในการพบปะสังสรรค์ในร้านขนมและเครอ่ื งด่มื นอกจากนอี้ ิทธพิ ลจากต่างชาติทำ� ใหร้ า้ นถกู สร้างสรรค์ ตกแต่งบรรยากาศในรูปแบบท่ีทันสมัย จัดวางขนม และเคร่ืองด่ืมให้น่ารับประทานเพ่ือดึงดูดให้วัยรุ่นซ่ึงเป็น กลมุ่ เป้าหมายเขา้ ใช้บรกิ าร อยา่ งไรก็ตามขนมหวานและเครอ่ื งดมื่ มนี ้�ำตาลเป็นสว่ นประกอบจงึ ตอ้ งรบั ประทาน อย่างระวังไมค่ วรกินมากเกินท่ีปริมาณร่างกายควรได้รับ ความหวานกบั ปัญหาสุขภาพ เปน็ ที่ทราบกันดีวา่ ขนมหวานและเครื่องดื่มรสหวานมนี ้ำ� ตาลเปน็ ส่วนประกอบ นำ้� ตาลคล้ายสารเสพติด ถา้ หากบริโภคในปริมาณมากเปน็ ประจ�ำจะทำ� ให้เกิดความเคยชนิ ติดรสหวาน ถ้าหยดุ กินจะมีความรู้สึกหดหู่ ซมึ เศร้า ขาดสมาธิ เนอ่ื งจากเป็นช่วงทภี่ าวะน้�ำตาลในเลอื ดตำ่� อาการดงั กล่าวเรยี กว่า เสพติดนำ�้ ตาล (Sugar Blues) เม่ือบริโภคน�้ำตาลเข้าสู่ร่างกายมากเกินไป น้�ำตาลจะเข้าสู่กระแสเลือดและร่างกายจะส่งไปเก็บไว้ที่ตับ ในรปู แบบไกลโคเจน (Glycogen) ซ่งึ จะเก็บไว้ไดเ้ ป็นจ�ำนวน 50 กรมั หากปรมิ าณมากกว่านต้ี ับจะส่งกลับไปท่ ี กระแสเลือดแล้วเปลี่ยนเป็นกรดไขมันไปสะสมในส่วนต่างๆ ของร่างกายทไ่ี มค่ อ่ ยไดเ้ คลือ่ นไหว เช่น สะโพก หน้าท้อง ตน้ ขา ตน้ แขน หากยังบริโภคน้�ำตาลอย่างตอ่ เนื่อง กรดไขมันก็จะไปสะสมตามอวัยวะภายในต่างๆ เชน่ หวั ใจ ตับ ไต เป็นตน้ สง่ ผลให้เกิด โรคอ้วนและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non- communicable diseases : NCDs) ในอนาคต เช่น โรคเบาหวาน หวั ใจและ หลอดเลอื ด ความดนั โลหติ สงู เป็นต้น8 สวา�ำรนสักาอรนสาุขมภัยาพ

หากเกิดการเหนื่อยล้าอย่าเข้าใจผิด วา่ การรับประทานของหวานจะชว่ ยได้ ถา้ เพลยี มากๆ ควรนอนพกั ผอ่ น ไมค่ วรรับประทานของหวานเพ่ือเพ่มิ ความกระชุ่มกระชวย เกบ็ ของหวานใหไ้ กลตวั ทส่ี ดุ หรอื ถา้ เปน็ ไปได้ อย่าใหม้ ีอยู่ในบา้ น บนโตะ๊ ทำ� งาน หรอื ในกระเป๋า งดนำ้� ตาลเทยี มทกุ ชนดิ เพราะแมจ้ ะไมท่ ำ� ให้ อว้ น แต่กท็ �ำใหต้ ดิ รสหวานไดเ้ ชน่ กนัอยากหยดุ หวานตอ้ งทำ� อยา่ งไร... ใช้น�ำ้ ตาลธรรมชาติแท้ๆ แทน เชน่ น้�ำผง้ึ นำ้� เช่ือมจากข้าวโพด ดมื่ นำ�้ มากๆ จะชว่ ยลดความอยากรบั ประทาน รับประทานอาหารให้ครบ 3 ม้ือ และ น�้ำตาลตรงเวลา สว่ นอาหารเสริมอกี 1-2 มอื้ ควรเปน็ ผลไม้ ออกก�ำลังกายอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยเพื่อปรับให้ร่างกายคุ้นเคยกับการรับสารอาหาร 30 นาทีตอ่ วัน หรือใช้กำ� ลังมากกวา่ ปกติ เชน่ แอโรบคิอย่างเตม็ ท่ี เปน็ การรักษาระดับน�ำ้ ตาลในเลือดให้ปกติ วง่ิ โยคะ เพือ่ ให้รา่ งกายได้น�ำน�ำ้ ตาลส่วนเกนิ ออกมาใช้ เลือกรับประทานผักและผลไม้สด อ่านฉลากก่อนทุกครั้งท่ีจะต้องซ้ืออาหารเปน็ หลกั หากตอ้ งการของหวานมากๆ ใหเ้ นน้ ผลไมท้ ี่มี ท่มี ีรสหวาน ถา้ เป็นอาหารชนดิ เดียวกัน ให้ลองเลือกดูรสหวาน เช่น สม้ มะละกอ แอปเปิ้ล เพราะนำ้� ตาลจาก จากหลายๆ ยีห่ ้อ และเทยี บปริมาณน้ำ� ตาลดูว่าย่ีห้อไหน มีน้�ำตาลนอ้ ยทส่ี ุดใหเ้ ลอื กยี่ห้อน้นัผลไม้สดจะไม่เป็นอันตรายต่อสขุ ภาพ ถงึ แม้วา่ อาหารประเภทของหวานน่ารับประทานมาก แต่หากทานเกนิ ไปก็ส่งผลเสยี ต่อรา่ งกายไดอ้ ยา่ งมหาศาล แมอ้ าหารท่ีมนี �ำ้ ตาลมากบางชนิดไมม่ ีไขมันเปน็ สว่ นประกอบ แต่เมอ่ืรับประทานเขา้ ไปในปริมาณมากแล้วรา่ งกายจะเกบ็ สะสมอยใู่ นรูปของไขมนั หากรบั ประทานมากเกินไปจะท�ำให้ไขมนั ไตรกลีเซอไรดส์ ูง สง่ ผลให้หวั ใจท�ำงานหนัก เพราะฉะน้นั ในหนง่ึ วนัรา่ งกายของเราไมค่ วรได้รับนำ้� ตาลเกนิ 4-6 ช้อนชา หรือ ประมาณ 2 ชอ้ นโต๊ะ วารสส�ำนารักสอุขนภาามพัย 9

ดแู ลสขุ ภาพสไตลค์ นเมือง การดูแลสขุ ภาพแบบองค์รวม นพ.อรรถพล ฉัตรอารยี กลุ ผอู้ ำ� นวยศนู ยบ์ รกิ ารสาธารณสขุ 47 คลองขวาง ศนู ยบ์ รกิ ารสาธารณสขุ 47 คลองขวาง สำ� นกั อนามยั กรงุ เทพมหานคร เรื่องของสุขภาพนนั้ อาจกล่าวไดว้ า่ เปน็ หนง่ึ สขุ ภาพตาม พ.รบ.สุขภาพแห่งชาติ หมายถึง “ภาวะของมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ในเรอื่ งทส่ี ำ� คญั ทส่ี ดุ (หรอื อาจจะสำ� คญั ทส่ี ดุ ) ของมนษุ ย์ ทง้ั ทางกาย ทางจติ ทางปัญญา และ ทางสงั คม เชอ่ื มโยงกนั เปน็ องคร์ วมอยา่ งทุกๆ คนกว็ ่าได้ ดังจะเห็นไดจ้ ากเรามักจะอวยพรกนั สมดุล”ในโอกาสพิเศษต่างๆ ว่า “ขอให้มีสุขภาพแข็งแรงอายุยืนยาว ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ” แต่ล�ำพังคำ� อวยพรเพยี งอยา่ งเดยี ว คงจะยากทจี่ ะทำ� ใหเ้ ปน็ จรงิ ได้หากเราไม่เข้าใจเรื่องของสุขภาพและลงมือท�ำด้วยตนเอง ดงั ค�ำกลา่ วทว่ี า่ “สุขภาพดีไม่มีขาย อยากได้ต้องสรา้ งเอง” หากดตู ามความหมายแล้วเห็นจะมปี ระเดน็ ทีน่ ่าสนใจอย่หู ลายประเดน็ ประเด็นแรก คือ ค�ำวา่ สุขภาพ น้ันมีความหมายในทางท่ีดีอยู่แล้ว (สุขแปลว่าดี) เป็นภาวะท่ีสมบูรณ์พร้อมทุกด้าน ดังนั้นท่ีเรานิยม พูดกนั วา่ ขอใหม้ สี ุขภาพดี สุขภาพแข็งแรง อาจไม่จ�ำเปน็ ต้องมีคำ� วา่ ดี หรอื แขง็ แรงตอ่ ท้ายกไ็ ด้ ประเดน็ ตอ่ มาคอื สขุ ภาพนน้ั มอี ยู่ 4 ดา้ น ไมใ่ ชเ่ พยี งสขุ ภาพกายหรอื จติ ใจทเ่ี รารจู้ กั กนั ดเี ทา่ นนั้ เพราะหากขาด ดา้ นสำ� คัญทเ่ี หลืออกี 2 ด้าน มนุษย์ทุกคนคงจะไมม่ คี วามสุขเปน็ แน่แท้ 1. สุขภาพทางกาย คอื การไม่มีโรคภัยไข้เจบ็ ทางกาย เชน่ ไมม่ ไี ข้ ปวดหัว ตวั ร้อน ไมม่ ีโรคยอดนิยมต่างๆ ในปัจจบุ ัน ไดแ้ ก่ โรคอว้ น (ความอว้ นถอื เปน็ โรคแล้วนะครับ) โรคความดนั โลหติ สงู โรคเบาหวาน โรคไขมนั ในเลือดสงู เป็นตน้10 สวา�ำรนสักาอรนสาุขมภัยาพ

2. สขุ ภาพทางจติ คอื การไมม่ โี รคภยั ทางจิตใจ เช่น ไม่มีภาวะซมึ เศรา้ ภาวะวิตกกงั วล โรคจิตเภท (ที่บางคนเรียกวา่เปน็ คนบ้า) เป็นตน้ 3. สขุ ภาพทางปญั ญา คอื ความรู้ทัว่ รูเ้ ท่าทันและความเขา้ ใจอยา่ งแยกได้ในเหตุผลแห่งความดี ความช่ัว ความมีประโยชน์และความมีโทษ ซ่ึงน�ำไปสู่ความมีจิตอันดีงามและเอ้ือเฟื้อเผื่อแผ่ การฝึกให้มีสุขภาพทางปัญญานั้น วิธีง่ายๆทางหนงึ่ กค็ อื การฝกึ ปฎบิ ตั ติ ามหลกั คำ� สอนของทกุ ศาสนา ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากคนรวยจำ� นวนมากกย็ งั นยิ มเขา้ วดั ฟงั ธรรมนงั่ สมาธิ เน่อื งจากปฏิบัติแล้วเกดิ ความสุขทางปญั ญานน่ั เอง 4. สขุ ภาพทางสงั คม มีคนกลา่ ววา่ “มนุษย์เป็นสัตวส์ งั คม ยอ่ มไม่อาจอยู่ตามล�ำพงั ได้” เรม่ิ จากหนว่ ยเลก็ สุด คือ ต้องมีครอบครัวท่ีดี รักใคร่เอาใจใส่ดแู ลกัน อยู่อาศยั ในชมุ ชน หมู่บ้านทีด่ ี มีอัธยาศัยท่ีดี เก้อื กูลกัน จนถึงปฏิบตั ติ ัวเป็นพลเมอื งท่ีดีของชาติ และเปน็ พลโลก (พลเมอื งของโลก) ที่ดดี ว้ ย ประเดน็ สดุ ทา้ ยคือ ภาวะสขุ ภาพท้งั 4 ด้านนีจ้ ะต้องเชอื่ มโยงกันเป็นองคร์ วมอยา่ งสมดุล องค์รวมแปลวา่ ครบถว้ น ไมข่ าดดา้ นใดดา้ นหนง่ึ ไป ส่วนสมดุลแปลว่าต้องมีในปริมาณท่ีพอเหมาะพอดี เหมาะสมกนั ในแตล่ ะด้านของแตล่ ะคน เรอื่ งนเี้ ปน็ เรอื่ งส�ำคญั ดังจะยกตัวอยา่ งเชน่ ลุงแดงไมม่ โี รคทางกายใดๆ แตม่ นี ิสยั เปน็ คนเครียด โมโหร้ายอยูเ่ ปน็ ประจ�ำ เมอ่ื เทียบกับป้าส้มซึ่งแม้จะป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานแต่ก็ดูแลตนเองเปน็ อยา่ งดี ทานยาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และเขา้ ใจวา่ เกดิ แก่ เจบ็ ตายเปน็ เรอื่ งธรรมดา ไมเ่ ครยี ด ไม่กังวล เป็นอาสาสมัครของชมรมผสู้ ูงอายุ ช่วยเหลอืผปู้ ่วยรายอืน่ เป็นประจำ� ก็สามารถกลา่ วได้ว่าป้าสม้ มีภาวะสุขภาพทด่ี กี ว่าลุงแดง ทา้ ยนีผ้ มขอให้ทา่ นผอู้ า่ นทกุ ทา่ นสละเวลาใส่ใจดแู ลสุขภาพของทา่ นเองให้ครบถว้ น เพื่อใหส้ ุขภาพอยู่กบั ทา่ นไปตลอดครบั(Mabyethweithheyaolut)h วารสส�ำนารักสอุขนภาามพัย 11

สขุ ภาพ ผสู้ ูงวัยการปอ้ งกนั โรคกระดกู พรุน รตั นา มลู นางเดยี ว นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชำ� นาญการ กองสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ สำ� นกั อนามยั กรงุ เทพมหานครโรคกระดกู พรุน คอื อะไร โรคกระดูกพรนุ คอื ภาวะทีเ่ นอื้ กระดูกผกุ ร่อนไปจากปกติ เนื้อกระดูกอาจลดลงจนถึงขั้นอันตรายจ า ก โ ค ร ง ก ร ะ ดู ก ที่ เ ค ย แ ข็ ง แ ก ร ่ ง อ า จ เ ป ลี่ ย น เ ป ็ นโครงกระดกู ทผ่ี ุกรอ่ น พร้อมจะเกิดการแตกหกั ไดท้ กุ เม่อืแม้เพียงแค่การยกของหนักหรือการถูกกระทบกระแทก ผทู้ ีม่ ีความเสย่ี งต่อการเกิดเลก็ นอ้ ยเทา่ นน้ั โรคกระดูกพรุนสาเหตขุ องโรคกระดกู พรุน 1. ผสู้ งู อายทุ ง้ั เพศชายและเพศหญงิ โดยเฉพาะ โดยปกติเนื้อเยื่อจะมีการเส่ือมสลายและ ในผ้หู ญงิจะมีการสร้างเสริมได้ตลอดเวลาต้ังแต่วัยเด็กจนถึงวัยรุ่น 2. ผหู้ ญงิ ทไ่ี ดร้ บั การผา่ ตดั เอารงั ไขอ่ อกทง้ั 2 ขา้ งในชว่ งวัยนกี้ ระดูกจะแข็งแรง เนอื่ งจากการมีเนือ้ กระดกู 3. ผหู้ ญิงหลงั วัยหมดประจ�ำเดอื นเพม่ิ มากกวา่ การสญู เสยี แตห่ ลงั จากนคี้ อื เมอ่ื อายุ 30 ปขี น้ึ ไป 4. ผู้ที่มีประวัติบุคคลในครอบครัวเคยเป็นกระบวนการเสริมสร้างกระดูกจะเร่ิมลดลงทั้งเพศชาย โรคกระดูกพรุนหรือมีประวัติกระดูกหักและเพศหญิง ซึง่ โดยปกติเพศหญงิ จะมมี วลกระดูกน้อย จากโรคกระดูกพรนุกว่าเพศชายและเมือ่ ถึงวัยหมดประจ�ำเดอื น เพศหญิง 5. ผทู้ ่มี รี ูปรา่ งผอมบางจะยิ่งมีอัตราการสูญเสียมากกว่าการสร้างกระดูก 6. ผู้ท่ีดื่มสุราหรือเครื่องด่ืมที่มีแอลกอฮอล์โดยปกติกระบวนการสร้างและสลายกระดูกของ และผู้ท่ีสบู บุหรจ่ี ัดเซลล์สรา้ งกระดกู (Osteoblast) ซ่งึ ท�ำหนา้ ท่สี ร้างกระดูก 7. ผู้ท่ีได้รับยาบางชนิดเป็นเวลานาน เช่นเพ่ือทดแทนการสลายกระดูกจากเซลล์สลายกระดูก ยาสเตียรอยด์ ไทร็อกซิน ยากนั ชกั(Osteoclast) มีผลท�ำให้กระดูกแข็งแรง เพราะเมื่อ 8. ผทู้ ีม่ ีพฤติกรรมนั่งๆ นอนๆ ไม่ออกกำ� ลังกายมีการสลายกระดูกเพ่ิมขึ้น ก็จะมีการสร้างทดแทน ท�ำงานนง่ั โตะ๊ และผ้ทู ี่ตอ้ งทำ� งานอยูใ่ นรม่อยา่ งสมดลุ ย์ แตถ่ า้ มกี ารสรา้ งทดแทนนอ้ ยกวา่ การสลาย ตลอดเวลาก็จะมีผลท�ำใหก้ ระดกู พรนุ12 วสา�ำรนสักาอรนสาุขมภัยาพ

การปอ้ งกันโรคกระดูกพรุน 1. การป้องกนั ในวัยรุ่น ควรเน้นให้มกี ารสะสมเนื้อกระดูกให้มากท่สี ดุ ด้วยการเพ่มิ สารแคลเซยี มใหไ้ ด้ในปริมาณทรี่ ่างกายต้องการ โดยเลอื กกินอาหารทมี่ ีสารแคลเซยี มสูง 2. การป้องกันก่อนหมดประจ�ำเดือนโดยพยายามรักษาปริมาณเน้ือกระดูกให้คงเดิมให้มากที่สุดด้วยการรับประทานอาหารท่มี ปี ริมาณแคลเซยี มมากพอ 3. การปอ้ งกนั หลังหมดประจ�ำเดอื น โดยเน้นการชะลอการถดถอยของเนอ้ื กระดกู ปอ้ งกันความเส่ยี งต่อการเกิดกระดูกหักโดยเฉพาะต�ำแหน่งที่อาจเกิดข้ึนบ่อยไดแ้ ก่ กระดกู ข้อตะโพก กระดกู สนั หลงั และกระดูกขอ้ มือการปฏิบัติเพอ่ื ป้องกนั โรคกระดกู พรุน 1. ให้ร่างกายได้รับสารแคลเซียมในปริมาณที่เพียงพอ คือประมาณ 800-1200 มิลลิกรัมต่อวันโดยเลือกกินอาหารที่มีสารแคลเซียม เช่น นม เนย ผลิตภัณฑ์จากนม ปลาเล็กปลาน้อยพร้อมกระดูกปลากระป๋องพรอ้ มกระดูก กุง้ แหง้ กงุ้ ฝอย กะปิ ถว่ั แดง งาดำ� ผกั ใบเขยี วทกุ ชนิด และอาหารทะเล เปน็ ตน้ 2. เพ่มิ การดดู ซึมสารแคลเซยี ม โดยการเพ่มิ วติ ามินดใี นรปู ของอาหารหรือยา อาหารท่มี วี ติ ามนิ ดสี ูงไดแ้ ก่ นม นำ�้ มนั ตบั ปลา เนยแขง็ เนย ไข่ ตบั เปน็ ตน้ รวมถงึ การไดร้ บั แสงแดดออ่ นจะชว่ ยเพม่ิ การสงั เคราะหว์ ติ ามนิ ดีทางผวิ หนงั สำ� หรบั ยาเสรมิ แคลเซยี มควรกนิ หลงั อาหาร เพอ่ื กระตนุ้ กรดในกระเพาะอาหารใหห้ ลง่ั ออกมายอ่ ยแคลเซยี มสว่ นยาเคลอื บกระเพาะอาหาร ซ่งึ มีภาวะเปน็ ดา่ งจะมผี ลทำ� ใหก้ ารดดู ซึมแคลเซ่ยี มลดลง 3. ควรหลีกเลยี่ งการสบู บุหร่ี ดมื่ เหลา้ หรอื เครื่องดม่ื ทมี่ สี ว่ นผสมของแอลกอฮอล์ และยาบางชนิด เช่นยาลูกกลอน ยากนั ชัก 4. ควรดม่ื น้�ำท่มี ีสารฟลูออไรด์ 5. ออกกำ� ลังกายสมำ�่ เสมอเพอ่ื ใหร้ ะบบกล้ามเนอื้ และกระดูกแขง็ แรง ระบบหัวใจและปอดมีประสิทธิภาพในการท�ำงานเพ่มิ ขึน้ 6. เพศหญงิ ทป่ี ระจำ� เดอื นมาไมเ่ ปน็ ปกตหิ รอื หมดประจำ� เดอื นกอ่ นวยั อนั ควร ควรไดร้ บั ฮอรโ์ มนเอสโตรเจนเสรมิโดยขอรับค�ำแนะน�ำจากแพทย์ โดยธรรมชาติแล้วเน้ือกระดูกจะบางลงทุกปีตามอายุที่เพิ่มขึ้นโดยเฉพาะ ในกลมุ่ ทมี่ ปี จั จัยเส่ียงต่างๆ แตท่ ่นี ่าตกใจ คือ ไม่มีสัญญาณหรอื อาการเตือนภยั ใดๆ ดังนั้นจึงต้องใช้กลวิธีการป้องกันการเกิดภาวะกระดูกพรุนและการเกิดกระดูกหัก เพราะหากมภี าวะดงั กลา่ วเกดิ ขนึ้ แลว้ จะมคี า่ ใชจ้ า่ ยในการรกั ษาพยาบาลสงู และอาจไมส่ ามารถ รกั ษาใหก้ ลบั คืนส่สู ภาพเดิมได้ วารสส�ำนารักสอุขนภาามพัย 13

เตมิ ใจ ใส่ยิ้ม มหศั จรรยพ์ ลังแหง่ การกอด จุฑาทพิ วงษส์ ุวรรณ นกั จติ วทิ ยาชำ� นาญการพเิ ศษ กองสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ สำ� นกั อนามยั กรงุ เทพมหานคร ท่ามกลางสภาพเศรษฐกจิ และสังคมท่ีมีความเรง่ รีบ สมาชกิ ในครอบครวั มเี วลาให้กันนอ้ ยลง เปน็ สาเหตุ ของการน�ำไปสปู่ ัญหาครอบครัว ไดแ้ ก่ ปญั หาดา้ นสมั พันธภาพระหว่างสามี ภรรยา ความไม่เข้าใจกันระหว่าง พ่อแม่ลูก วัคซีนทีจ่ ะเปน็ ภูมิคมุ้ กันปอ้ งกนั ปญั หาครอบครัวและส่งเสรมิ ให้มสี มั พนั ธภาพที่ดีต่อกันน้ัน ไม่ตอ้ งซอ้ื หา หรอื ไขวค่ วา้ จากทไี่ หน เพยี งแตม่ สี องแขนและออ้ มกอด เพยี งเทา่ นก้ี ส็ ามารถชว่ ยเสรมิ สรา้ งความสมั พนั ธใ์ นครอบครวั ใหแ้ นน่ แฟ้นข้ึนได้ “กอด” เป็นสมั ผสั พเิ ศษ เพยี งออ้ มกอดเลก็ ๆ สามารถสง่ ผลต่อสุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ได้ มรี ายงาน การวิจยั ท่ีระบวุ า่ บุคคลทไ่ี ดร้ บั การกอดหรือได้กอดผู้อนื่ จะส่งผลให้บุคคลน้นั เกดิ ความรูส้ ึกสดช่ืน มชี วี ติ ชีวา นอกจากนก้ี ารกอดในเดก็ จะชว่ ยให้เกิดการพัฒนา ความฉลาดทางสตปิ ญั ญา เพราะการกอดจะชว่ ย กระตุ้นและเสริมสร้างพัฒนาการด้านต่างๆ ใหก้ บั เดก็ รวมถงึ เปน็ การถา่ ยทอดความอบอนุ่ ทางจติ ใจ ทำ� ใหเ้ พม่ิ สายสมั พนั ธแ์ ละความผกู พนั ทง้ั ผู้กอดและผูถ้ กู กอด นอกจากนก้ี ารกอด ถอื เป็นสอ่ื ภาษาทางกายท่ีดที ่สี ดุ โดยเฉพาะ เ ด็ ก ที่ ไ ว ต ่ อ ก า ร สั ม ผั ส อ า ร ม ณ ์ ค ว า ม รู ้ สึ ก การกอดจึงเป็นการแสดงความรักความห่วงใย ความผกู พนั และการให้กำ� ลังใจ ถอื เป็นความต้องการ ขนั้ พ้ืนฐานของมนุษย์ท่ีสง่ ผลใหร้ สู้ กึ ดี ปลอดภัย ผ่อนคลาย มีความสุขและมีก�ำลงั ใจ มองเห็นคณุ ค่าของตนเองและเกดิ ความรัก ความมัน่ ใจ การกอดถือเป็นการสัมผสั แบบ 3 มิติ ทีถ่ ่ายทอดความรกั ความห่วงใยไดด้ ีกว่าการสัมผสั แบบ 2 มติ ิ เชน่ การดูรูป การอ่านข้อความ ฯลฯ การกอดนอกจากจะเป็นการแสดงออกแบบ 3 มิตแิ ล้ว ยังสามารถใช้การจับมือ การพูดคยุ ร่วมกับการกอดไดด้ ว้ ย14 สวา�ำรนสักาอรนสาุขมภัยาพ

เทคนคิ การกอดทเี่ หมาะสม • การกอดเด็ก หากมีการกอดแนน่ เกินไป เนอ่ื งจากการเอน็ ดหู มนั่ เขี้ยวเด็กจะไม่ชอบเพราะเจ็บ • การกอดเด็กวัยรุ่น การกอดลกู วยั รนุ่ อาจตอ้ งระมดั ระวังมากขน้ึในการสมั ผสั พื้นท่ีบางแหง่ เช่น กอดลูกสาววยั รุ่นควรกอดแนบแนน่ ตรงระดบั หวั ไหล่ตำ�่ จากนน้ั ปลอ่ ยหลวมๆ หรอื กอดลกู ชายวยั รนุ่ ใหโ้ อบเตม็ กลา้ มเนอ้ื ทอ่ นแขนและทรวงอกตำ่� จากทอ้ งลงไปปลอ่ ยหลวมๆ เป็นต้น การกอดเพ่ือแสดงความรกั กับลูกวัยรนุ่ น้นัหากยังไมเ่ คยกอดควรเรมิ่ ฝึกฝน โดยเริม่ ตน้ จากการยิม้ ใหก้ ันและค่อยๆ เรม่ิ สมั ผัสใหอ้ กี ฝ่ายได้รบั รู้ถงึ ความปรารถนาดี เมือ่ รสู้ ึกชินจึงคอ่ ยๆ เปดิ วงแขนออกและกอด เพอ่ื ถา่ ยทอดความรกั ความอบอ่นุ • การกอดผสู้ งู อายุ การกอดจะทำ� ใหผ้ สู้ งู อายมุ คี วามแขง็ แรง แตต่ อ้ งเปน็ ออ้ มกอดทส่ี อ่ื ถงึ ความรสู้ กึ ทอ่ี บอนุ่และแสดงความรกั จากใจดว้ ยความรูส้ กึ ท่อี ยากกอดจรงิ ๆ ไม่ใช่กอดดว้ ยการถกู บงั คับ อ้อมกอดสำ� หรับผ้สู งู อายุ มหี ลากหลายรูปแบบดังนี้ กอดแบบหมี (Bear Hug) เปน็ การกอดด้วยการเบียดตัวอยา่ งเตม็ ท่ี และรวดเร็ว เชน่ หลานโผเขา้ กอดอยา่ งเตม็ ตวั เปน็ การกอดท่ีแสดงถงึ ความพิเศษของผ้ทู ถี่ ูกกอด บง่ บอกความรัก ความปลอดภยั และใหค้ วามรู้สกึอบอ่นุ ทา่ น้ีจึงเหมาะสมกับผสู้ ูงอายุทีย่ ังแข็งแรง หรือกำ� ลงั นง่ั อยใู่ นทา่ ทีม่ ่นั คงเทา่ นั้น กอดแบบโอบเอวด้านข้าง (Side to Side) ท่าน้ีเป็นการกอดดว้ ยการโอบเอวจากดา้ นขา้ ง เหมาะทผี่ สู้ งู อายจุ ะแสดงความรกั กบั หลาน กอดแบบแซนดว์ ิช (Sandwich Hug) เปน็ การกอดกนั แบบ3-4 คน โดยให้ผู้สูงอายุอยู่ตรงกลางในท่านั่งแล้วหลาน 2-3 คนโอบกอดจากทั้งด้านหน้า ด้านหลัง ด้านข้าง แสดงถึงความรักความผกู พันใหแ้ นบแน่นขึ้น การกอดเริ่มต้นได้ง่ายๆ กับคนในครอบครัว การกอดมีความส�ำคญั ในตัวเอง ถงึ แม้ว่าโลกทุกวนั นี้จะมีเทคโนโลยกี ารส่ือสารท่ีก้าวหนา้ รวมถึงมสี อ่ื กลางทแี่ สดงออกทางอารมณผ์ ่านแอพพลิเคชน่ัต่างๆ เชน่ การแชต การสง่ สติกเกอร์ แต่ทดแทนคุณค่าของการกอดด้วยการสัมผัสกันจริงๆไม่ได้ ผลท่ีตามมาจากการกอดท�ำให้เกิดความเหนียวแนน่ ของสายสมั พนั ธใ์ นครอบครัว ก่อเกดิ ความเขา้ ใจซง่ึ กันและกนั เปน็ ครอบครวั ทมี่ คี วามสุขอย่างหาทีเ่ ปรยี บไม่ได้ วารสส�ำนารักสอุขนภาามพัย 15

เรอื่ งน่ารู้ ผู้บริโภคอาหารคลีนกนิ อย่างไรใหป้ ลอดภยั ตะวนั ฉาย เตียนศรี นกั วชิ าการสขุ าภบิ าลปฏบิ ตั กิ าร กองสขุ าภบิ าลอาหาร สำ� นกั อนามยั กรงุ เทพมหานคร ในสังคมปัจจุบัน เรามักจะได้ยินบทสนทนา 2) ปนเปอ้ื นจากพยาธิ เชน่ การกนิ อาหารเร่ือง อาหารคลนี (clean food) มากขนึ้ และเปน็ ทน่ี ยิ ม ทส่ี กุ ๆ ดบิ ๆ การกนิ อาหารทไ่ี มร่ ะมดั ระวงั เรอื่ งความสะอาดอย่างมากในกลุ่มคนรักสุขภาพ แต่ก็มีคนเข้าใจเรื่อง ก็มกี ารปนเป้ือนพยาธไิ ด้อาหารคลีนแตกต่างกันไป ดังน้ัน วันนี้เราจะมา 3) ปนเป้ือนสารเคมี เช่น อาหารทะเลท�ำความรู้จักกบั ความหมาย แช่สารฟอร์มาลีน ผักผลไม้ดองปนเปื้อนสารกันราของอาหารคลนี และ หมูบดปนเปื้อนสารบอแรกซ์ ผักมียาฆ่าแมลงปะปนอยู่การกนิ อาหารคลีน อาหารที่ใสส่ ซี ง่ึ ไม่ใชส่ ีผสมอาหาร อาหารทมี่ พี ิษ นำ้� มันอยา่ งไรให้ ทอดซ้ำ� ถั่วลิสงทีม่ ีอะฟลาทอกซิน เป็นต้นปลอดภยั กันความหมายของอาหารคลนี (Clean Food) ตามค�ำอธิบายของอาจารย์สง่า ดามาพงษ์ผู้เช่ียวชาญด้านโภชนาการ และผู้จัดการโครงการโภชนาการสมวยั สำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิสุขภาพ (สสส.) บอกว่า มีความหมายอยู่ 2 นัย คืออาหารปลอดภยั ไมป่ นเปอ้ื น และอาหารถกู หลกั โภชนาการดังนี้ 1. อาหารท่ีไมป่ นเป้ือน หมายถึง อาหารท่ี 2. อาหารท่ถี ูกหลกั โภชนาการ เช่น ต้องกินกินเข้าไปแล้วมีประโยชน์และไม่เป็นพิษต่อร่างกาย อาหารใหค้ รบ 5 หมู่ และต้องกนิ ใหไ้ ดส้ ัดส่วน ปริมาณท่ีการปนเปื้อนก็มอี ยู่ 3 ทางดว้ ยกนั คอื เพยี งพอ ไมม่ ากนอ้ ยจนเกนิ ไป รวมถงึ มคี วามหลากหลาย 1) ปนเป้อื นเชอื้ โรค คือ มีเชอื้ จลุ นิ ทรีย์ เลี่ยงอาหารหวานจดั เคม็ จดั มนั จดั สดุ ทา้ ยกนิ ผักผลไม้เขา้ ไปปะปนในอาหาร ไมว่ า่ จะเปน็ อาหารทไี่ มส่ กุ อาหารที่ ให้มาก ซง่ึ ท้ังหมด คอื การกนิ อาหารใหถ้ กู หลกั โภชนาการคา้ งคนื มแี มลงวนั ตอม ปรงุ ไม่สะอาด ก็นำ� มาซ่ึงอาการ ในแบบทตี่ รงกับคำ� ว่า อาหารคลนี (Clean Food) หรอืทอ้ งเดินได้ อีกความหมาย คือ อาหารที่ไม่ผ่านการปรุงแต่งและ16 วสา�ำรนสักาอรนสาุขมภัยาพ

ขัดสีด้วยสารเคมีต่างๆ หรือผ่านการแปรรูปน้อยท่ีสุด อาหารเหล่านี้จะเป็นอาหารที่สดสะอาดไม่ผ่านกระบวนการหมักดองหรือปรุงรสใดๆมากจนเกินไป เช่น เค็มจัดหรือหวานจัด รวมถึงอาหารขยะและอาหารส�ำเร็จรูปทมี่ ปี รมิ าณแป้ง ผงชรู ส และโซเดียมในปรมิ าณสงูกินอาหารคลนี อย่างไรใหป้ ลอดภยั 1. เลอื กซอื้ และบรโิ ภคอาหารคลนี /วตั ถดุ บิ ทปี่ ลอดภยั ควรเลอื กซอ้ือาหารทีผ่ ลิตหรือจ�ำหนา่ ยจากแหลง่ ผลติ ทีส่ ะอาด ปลอดภัย ได้มาตรฐาน เช่นอาหารปรุงสุกไมว่ างจ�ำหน่ายบนพนื้ อาหารปรงุ สกุ ตอ้ งมกี ารปกปดิ และเก็บในอุณหภูมทิ ี่เหมาะสม และอ่านฉลากทกุ คร้งั เปน็ ต้น 2. หากท�ำอาหารคลีนรับประทานเอง ควรปรุงอาหารด้วยความร้อนให้สุกอย่างทั่วถึง อาหารดิบเช่น เนือ้ หมู เนอ้ื ไก่ ไข่และอาหารทะเล เป็นต้น มักมเี ช้อื โรคปนเป้อื นอยู่ เมอื่ น�ำอาหารดบิ มาปรุง ตอ้ งใชค้ วามร้อนท่สี ูงอยา่ งน้อย 70 องศาเซลเซียส เพ่อื ทำ� ให้อาหารสุกท่ัวถึงทุกสว่ น 3. การปรุงแตง่ อาหารคลีนจะเนน้ ความเป็นธรรมชาติ อาจผ่านการปรุงแต่งบ้างเลก็ นอ้ ยหรอื อาจจะไมผ่ ่านการปรุงแต่งเลยกเ็ ป็นได้ เชน่ ใช้เกลือในการปรุงรสอาหารเพยี งเล็กน้อยแทนน�้ำปลา (ซึ่งอาจจะใชเ้ ป็นเกลือชนดิ โซเดยี มต่�ำ) หรอื อาจจะเปน็ ซีอว๊ิ ขาวชนดิ ทไี่ ม่มีผงชูรสเจอื ปน ท่สี ำ� คัญจะไมใ่ ช้ผงชรู สในการปรุงอาหาร 4. รับประทานอาหารท่ปี รุงสกุ ใหมท่ นั ทหี ลังจากปรุงอาหารให้สุกด้วยความร้อนแล้ว 5. เก็บอาหารปรงุ สกุ อยา่ งเหมาะสม สามารถท�ำได้ 2 วธิ ี คอื เกบ็ ในที่ร้อนซึง่ มีอุณหภูมสิ ูงกวา่ หรือเทา่ กับ 60 องศาเซลเซยี ส เช่น การอนุ่ บนเตาไฟ การแชใ่ นอ่างน�้ำรอ้ น เป็นตน้ หรือเก็บในทเ่ี ย็นท่ีมีอุณหภูมติ ำ่� กวา่5 องศาเซลเซยี ส ควรแบ่งในภาชนะกว้างและตน้ื เพื่อใหค้ วามเย็นกระจายซึมผา่ นไดท้ วั่ ถงึ และตอ้ งน�ำมาอ่นุใหร้ ้อนอยา่ งทั่วถึงกอ่ นบรโิ ภค การกินอาหารคลนี ใหป้ ลอดภยั ไม่ไดย้ ากเลยค่ะ เพียงแคท่ �ำตามวธิ กี ารขา้ งตน้ ทุกคนก็จะได้บรโิ ภคอาหารคลนี ทด่ี ีต่อสุขภาพอย่างยงั่ ยืนต่อไปรายการอา้ งอิง 1. ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ (ออนไลน์). สบื คน้ จาก http://www.thaihealth.or.th. (วนั ที่เขา้ ถึง 4 พ.ค. 2560) 2. ศุภมนัส พริกบญุ จันทร.์ 2551 (ออนไลน)์ . สืบคน้ จาก http://oknation.nationtv.tv/blog/ION. (วนั ทเ่ี ข้าถึง 4 พ.ค. 2560) วารสส�ำนารักสอุขนภาามพัย 17

กนิ เปน็ เนน้ สุขภาพ เลือกนำ�้ มันพชื อย่างไรให้ดตี ่อสุขภาพ ปรีชาญ อุ่นรตั นะ นกั โภชนาการชำ� นาญการ กองสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ สำ� นกั อนามยั กรงุ เทพมหานคร น้�ำมันพืชเป็นส่วนประกอบส�ำคัญในการ 2. น�้ำมันท่ีมีกรดไขมันไม่อิ่มตัวหลายต�ำแหน่งปรงุ อาหาร ไม่ว่าจะเปน็ การผดั หรือการทอด การเลือก เป็นน�้ำมันที่ใช้ในการผัด เช่น น้�ำมันถั่วเหลืองน�ำ้ มนั พืชให้เหมาะสมในการปรุงอาหาร นอกจากจะท�ำให้ น้�ำมันร�ำข้าว น�้ำมันข้าวโพด น้�ำมันเมล็ดทานตะวันอาหารท่ีปรงุ ออกมานา่ รบั ประทานแล้ว ยังมีความส�ำคัญ น�้ำมันดอกค�ำฝอย (ซึ่งเราต้องกินน�้ำมันเข้าไปด้วย)ต่อการดูแลสุขภาพของเราและคนในครอบครัว เปน็ นำ้� มนั ทมี่ จี ดุ เกดิ ควนั ตำ่� ไขมนั ชนดิ นย้ี อ่ ยงา่ ย รา่ งกายผู้บรโิ ภคทว่ั ไปมักมีทัศนคตทิ ไี่ ม่ดีต่อการกนิ ไขมนั ทั้งที่ สามารถน�ำไปใช้ในการสรา้ งเซลต่างๆ จึงเหมาะกบั เดก็ ท่ีไขมันนั้นจ�ำเป็นต่อการด�ำรงอยู่ของชีวิต ความรู้สึกนี้ รา่ งกายกำ� ลงั เจรญิ เตบิ โต และยงั ชว่ ยลดคลอเลสเตอรอลอาจเกิดเน่ืองจากได้รับข้อมูลข่าวสารในทางร้ายจากส่ือ ในเลอื ดของผู้ที่มีปัญหาคลอเลสเตอรอลสูง วา่ ไขมนั กอ่ ใหเ้ กิดโรคอ้วน โรคหัวใจ และโรคเสน้ เลอื ดในสมอง แต่ความเป็นจรงิ แลว้ ปญั หาท่ีเกิดนน้ั สืบเนอ่ื งมาจากการกนิ ทไี่ มถ่ กู ตอ้ ง หรอื การไมบ่ งั คบั ใจของผบู้ รโิ ภคใหก้ นิ พอเหมาะพอดี เพราะอาหารทม่ี ไี ขมนั สงู นน้ั มกั อรอ่ ยจนท�ำใหเ้ กดิ ความเพลิดเพลินในการกนิชนดิ ของน้ำ� มนั ในการปรุงอาหาร 1. นำ�้ มนั ทมี่ กี รดไขมนั อมิ่ ตวั เชน่ นำ�้ มนั มะพรา้ ว อนั ตรายของน้ำ� มันทอดซำ�้น้�ำมนั ปาล์ม เป็นน้ำ� มนั ที่มีจุดเกิดควันค่อนขา้ งสงู จงึ ควร น้�ำมันพืชท่ีใช้แล้วไม่ควรน�ำมาใช้อีกหรือใชใ้ นการทอดอาหาร เพราะไมท่ ำ� ใหก้ ลน่ิ และรสของอาหาร หากจะใช้ซ�้ำก็ไม่ควรใช้เกิน 2 คร้ัง เพราะการผ่าน ความร้อนซ�้ำๆ จะก่อให้เกิดสารอนุมูลอิสระซึ่งเป็นเปล่ียนไปมากนัก อันตรายต่อรา่ งกาย หากจำ� เปน็ ต้องใช้ซ้ำ� ก็ต้องกรองเอา เศษอาหารออกให้หมดอยา่ ให้เหลือไว้ เทนำ�้ มนั เก่าทิง้ หนง่ึ ในสาม และเตมิ น�้ำมนั ใหมก่ ่อนเริ่มการทอดอาหาร ครง้ั ตอ่ ไป แตถ่ า้ นำ�้ มนั ทอดอาหารมกี ลนิ่ เหมน็ หนื เหนยี วขน้ สีดำ� ฟองมาก เปน็ ควันมากและเหม็นไหมค้ วรท้งิ น�้ำมนั นั้นไป เพราะความสกปรกจะเร่งให้เกิดปฏิกิริยาทาง เคมที เี่ ปน็ สารพษิ ตอ่ รา่ งกาย ทำ� ใหเ้ ซลในรา่ งกายเสอื่ มเรว็ แก่ก่อนวัย18 สวา�ำรนสักาอรนสาุขมภัยาพ

ความสำ� คญั ของการเลอื กใช้นำ้� มนั ในการปรงุ อาหาร การเลือกใช้น�้ำมันในการปรุงอาหารมีหลักการส�ำคัญอยู่ที่การท�ำให้มื้ออาหารมีการกระจายไขมันท้ังกรดไขมนั อ่มิ ตัว และไมอ่ มิ่ ตัวในปรมิ าณทเี่ หมาะสม มีคำ� แนะน�ำจากคณะกรรมการจัดทำ� ขอ้ ก�ำหนดสารอาหารที่ควรได้รับประจำ� วันสำ� หรับคนไทยว่า การบรโิ ภคไขมนั ท่ีพอเหมาะควรได้รบั พลังงานจากไขมัน รอ้ ยละ 20-35ของพลงั งานทไ่ี ดร้ บั ตอ่ วนั โดยมไี ขมนั อม่ิ ตวั นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 7 หรอื 15.5 กรมั คดิ เปน็ ไขมนั 3.1 ชอ้ นชา กรดไขมนั ไมอ่ ม่ิ ตวัไม่เกนิ ร้อยละ 10 หรอื 22 กรัม คดิ เป็นไขมัน 4.4 ชอ้ นชา ตวั เลขดังกล่าวเปน็ การเทียบกบั การบรโิ ภคในผ้ใู หญ่ท่ีได้รบั พลังงานวนั ละ 2,000 กโิ ลแคลอรี สามารถบริโภคไขมนั ได้ 44 – 77 กรมั คิดเปน็ ไขมนั 8.8 – 15.5 ชอ้ นชาทั้งน้ีในอาหารประจ�ำวันเราจะได้รับไขมนั จากเน้อื สัตว์ ผลิตภณั ฑ์จากนม และถ่วั ดังนน้ั ควรจ�ำกดั ปรมิ าณน้�ำมันในการปรงุ อาหาร ซงึ่ มีขอ้ แนะน�ำท่ัวไปส�ำหรับคนไทยโดยเฉลี่ยทกุ กล่มุ วัยไมค่ วรบริโภคน�้ำมันเกิน 6 ช้อนชาต่อวัน ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพ มีไขมันสูงในหลอดเลือด หรือเป็นโรคหัวใจควรกินอาหารประเภททอดน้อยลง ควรปรุงอาหารโดยใช้น�้ำมันแต่น้อยก็จะท�ำให้ร่างกาย ได้รับกรดไขมันในปริมาณที่เหมาะสมเพียงพอ เพ่ือลด ความเสยี่ งในการสะสมสารเคมใี นรา่ งกาย ควรเลือกซอ้ื นำ�้ มนั พชื สลบั ยห่ี อ้ สลบั ชนดิ กนั บา้ ง ไมค่ วรใชช้ นดิ ใดชนดิ หนง่ึ ประจำ� เพียงอย่างเดยี วรายการอ้างองิ 1. คณะกรรมการจดั ทำ� ข้อก�ำหนดสารอาหารท่ีควรได้รบั ประจ�ำวนั สำ� หรบั คนไทย. กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ .ปริมาณสารอาหารอา้ งองิ ทีค่ วรได้รบั ประจำ� วนั ส�ำหรับคนไทย พ.ศ. 2546 2. Institute of shortening and Edible Oils. Food Fat and Oils. Tenth Edition. วารสส�ำนารักสอุขนภาามพัย 19

พบแพทย์ สนอ.ภัยเงยี บตอ่ ดวงตาทม่ี าแฝงกบั การใชส้ มาร์ทโฟน (Smart phone) พญ.ลลิดา วีระวทิ ยานนั ต์ นายแพทยช์ ำ� นาญการ ศนู ยบ์ รกิ ารสาธารณสขุ 18 มงคล-วอน วงั ตาล สำ� นกั อนามยั กรงุ เทพมหานครสมารท์ โฟน อนั ตรายตอ่ ดวงตาเราจรงิ หรือ 2. แสงสฟี า้ จากหน้าจอสมารท์ โฟน (High energy visible blue light) คงเป็นค�ำถามที่ใครหลายคนอยากรู้ค�ำตอบอยู่ แสงสีฟ้า คือ คลื่นแสงพลังงานสูงท่ีมีมากทเี ดียว เพราะในปจั จุบนั สมาร์ทโฟน (Smart phone) ความยาวคลน่ื ราว 400 - 500 นาโนเมตร แสงสฟี า้ จะมอี ยู่ดูเหมือนจะเป็นอุปกรณ์ท่ีคนทุกเพศทุกวัยคุ้นเคยและ รอบตวั เรา พบไดท้ ง้ั ในแสงแดด หลอดไฟฟลอู อเรสเซนส์ใช้กันอยเู่ ปน็ ประจำ� ซ่งึ สอดคล้องกบั ผลส�ำรวจพฤติกรรม หน้าจอโทรทัศน์ หน้าจอคอมพิวเตอร์ รวมทั้งหน้าจอการใช้สมาร์ทโฟน ในปี 2559 ของคนไทยท่สี งู เฉล่ียถงึ สมารท์ โฟน ท่ีเรานิยมใชก้ ันตลอดเวลาดว้ ย6.2 ชวั่ โมง/วนั และยงั มแี นวโน้มเพม่ิ ข้นึ อยา่ งต่อเนื่อง(อ้างองิ : จากส�ำนกั พฒั นาธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์,EDTA) โดยมสี ิง่ ที่แฝงมากบั สมารท์ โฟน คอื 1. สมาร์ทโฟนจะรับและส่งคล่นื วิทยุ (radio waves) ซ่ึงเป็นพลังงานชนิดหนึ่งที่เม่ือมันผา่ นเขา้ ไปยงั เนือ้ เยือ่ สว่ นตา่ งๆ ของตาแล้วจะกอ่ ให้เกิดความรอ้ นขน้ึ พลงั งานความรอ้ นทส่ี ะสมตอ่ เนอ่ื งระยะยาวจะก่อให้เกิดความเส่ือมสภาพของเนื้อเยื่อองค์ประกอบต่างๆ ของตาได้ในที่สุด20 วสา�ำรนสักาอรนสาุขมภัยาพ

สมาร์ทโฟนท�ำให้เกิดอนั ตรายตอ่ ดวงตาอยา่ งไร 1. ภาวะตาแหง้ แสบตา ตาพรา่ มวั ช่ัวคราว ปวดตา เมอ่ื ยลา้ ตา ซึ่งเป็นภาวะทพี่ บ บ่อยมากทส่ี ุด 2. ในระยะยาวเสย่ี งต่อการเกิดตอ้ กระจกไดเ้ ร็วกวา่ ปกติ (มีรายงานทางการแพทย์ กรณสี งสยั ในคน และมรี ายงานการท�ำวจิ ยั ในสตั ว์ เป็นขอ้ มลู สนบั สนนุ ) 3. จอประสาทตาเสอื่ ม (macular degeneration) มขี ้อมลู ทางหอ้ งปฏบิ ตั ิการและ การศกึ ษาในสตั วท์ ดลอง รายงานพบการทำ� ลายเซลลใ์ นชนั้ จอประสาทตา ซง่ึ เกดิ จาก แสงสฟี า้ ทะลผุ ่านเขา้ ไปในดวงตา แต่ทั้งนี้ ยงั ไม่พบข้อสรปุ วา่ ต้องสัมผสั แสงสีฟา้ ปรมิ าณมากเทา่ ไหร่ และนานเทา่ ไหร่จึงเกิดภาวะน้ใี นคน 4. แนวโนม้ การเกดิ ภาวะสายตาสัน้ สูงข้นึ (มีการสรปุ ทางสถิติพบวา่ อบุ ัติการณ์การเกดิ สายตาสัน้ เพิ่มสูงขึ้นในกล่มุ ผ้ใู ช้สมาร์ทโฟน) แม้ยงั ไม่ทราบเหตผุ ลทแี่ น่ชัดควรใช้สมารท์ โฟนอยา่ งไร เพ่ือลดอนั ตรายทอ่ี าจสง่ ผลตอ่ ดวงตา 1. ใช้อุปกรณเ์ หลา่ นนี้ อ้ ยทส่ี ดุ เท่าที่จ�ำเป็น 2. วาง Smart phone ให้ห่างสายตาในระยะโดยประมาณ 30-40 เซนตเิ มตร ปรับแสงสว่างของสิ่งแวดลอ้ มและหน้าจอ Smart phone ให้เหมาะสม ไมม่ ดื หรือสวา่ งจา้ จนเกนิ ไป 3. ใชห้ ลัก “20-20-20 rule” หมายถงึ พกั สายตาทกุ 20 นาที ระยะพกั ครั้งละ 20 วินาที และโดยลดการมองในระยะใกล้ โดยให้มองวัถตุที่ห่างออกไป มากกว่า 20 ฟตุ 4. อาจพิจารณาการใช้วัสดุอุปกรณ์เพิ่ม เพอื่ ลดผลของแสงสฟี า้ การสะทอ้ น และ การหักเหของแสงเข้าตา เชน่ การใช้ ฟิล์มป้องกัน, การเลือกเลนส์ ชนิด Anti-reffl lfl ective (AR) coating เป็นต้น11:30 11:30 12 การใช้สมาร์ทโฟนกลายเป็นหน่ึงปัจจัยส�ำคัญในการส่ือสาร การท�ำงาน ตลอดจนการใช้ชีวิตประจ�ำวัน แตก่ ารใช้สมารท์ โฟนมากเกนิ ไปอาจจะสง่ ผลต่อดวงตาทั้งระยะสัน้ และระยะยาว เราจึงควรใช้อย่างพอเหมาะเพ่ือช่วยป้องกันอันตราย และถนอมดวงตาของเราให้ใช้งานไปอกี นาน วารสส�ำนารักสอุขนภาามพัย 21

ออกก�ำลงั กาย สรา้ งสุขภาพ ใกนาผรอ้ทู อีม่ กีนก�ำ้ ห�ำลนงัักกเกานิย นพ.ดฐิ พงศ์  เจริญววิ ฒั นกลุ นายแพทยช์ ำ� นาญการ ศนู ย์บรกิ ารสาธารณสุข 29 ช่วง-นุชเนตร สำ� นกั อนามัย กรงุ เทพมหานคร โรคอว้ น คอื ความผดิ ปกตจิ ากการมนี ำ้� หนกั ตวั เกนิ มาตรฐาน เนือ่ งจากรา่ งกายมีภาวะไขมนั สะสมตาม ส่วนต่างๆ มากเกนิ กวา่ ปกติ สาเหตสุ �ำคญั ของโรคอ้วน เกิดจากการใช้พลังงานน้อยกว่าที่ได้รับจากการ รบั ประทานอาหาร พลงั งานทไี่ ดจ้ งึ มากเกนิ ความตอ้ งการ ในแต่ละวนั ท�ำใหร้ า่ งกายเกบ็ สะสมพลงั งานสว่ นเกินไว้ ในรูปไขมันตามส่วนต่างๆของร่างกายและน�ำมา ซึง่ สาเหตุของโรคเรื้อรังต่างๆ หลกั ส�ำคญั ในการลดน้�ำหนักในคนอว้ น คือ ลดการบริโภค และเพิ่มการใช้พลังงานด้วยการเพ่ิม การเคล่ือนไหวร่างกายและออกก�ำลังกาย การเพ่ิม การเคล่ือนไหวร่างกายท�ำได้โดยปรับการด�ำเนินชีวิต ประจำ� วัน เช่น เดินแทนการใชร้ ถยนตห์ รือลิฟต์ จอดรถ ใหไ้ กลขน้ึ เดนิ ยดื เสน้ ยดื สายหลงั รบั ประทานอาหาร ลกุ ขน้ึ ไปเปล่ียนช่องหรือปิดทีวีแทนการใช้รีโมทคอนโทรล เปน็ ตน้ การออกกำ� ลังกาย การออกก�ำลังกายที่ดีที่สุดส�ำหรับคนอ้วน คอื การออกกำ� ลงั กายแบบแอโรบกิ เปน็ การออกกำ� ลงั กาย ท่ีมีการเคลื่อนไหวร่างกายอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน ช่วยกระตุ้นร่างกายให้สามารถเผาผลาญไขมัน มาใช้เปน็ พลังงานได้มากข้นึ ในชว่ งเรมิ่ ต้น ความถ่แี ละ ระยะเวลาการออกก�ำลังกายส�ำคัญมากกว่าความหนัก โดยควรออกก�ำลังกายอย่างน้อย 5 วัน/สัปดาห์ ระยะเวลาอย่างน้อย 30 นาที ในคนท่ีอ้วนมากหรือ ไม่เคยออกก�ำลังกายมากอ่ น สภาพร่างกายยงั ไมพ่ ร้อม อาจแบ่งการออกก�ำลังกายเปน็ ชว่ งสัน้ ๆ 3 ชว่ ง ชว่ งละ 10 นาที การปรับโปรแกรมการออกกำ� ลงั กายให้ทำ� แบบ22 สวา�ำรนสักาอรนสาุขมภัยาพ

คอ่ ยเปน็ คอ่ ยไป โดยคอ่ ยๆ เพมิ่ ระยะเวลากอ่ น เมอ่ื รา่ งกาย ข้อแนะนำ� เพิ่มเตมิเกดิ ความเคยชนิ จงึ คอ่ ยเพม่ิ ความหนกั เมอื่ ออกกำ� ลงั กาย เนื่องจากคนอ้วนมักจะเสี่ยงต่อการมีโรคหรือไปได้สักระยะ ไขมันในร่างกายอาจลดลงแต่น�้ำหนัก ภาวะทเี่ ป็นข้อหา้ มในการออกกำ� ลังกาย จึงควรพบแพทย์จะไม่ลดตาม เพราะร่างกายมกี ารเสรมิ สร้างกลา้ มเนื้อ เพ่ือประเมินสุขภาพก่อนเริ่มโปรแกรมการออกก�ำลังกายใหใ้ หญข่ นึ้ แขง็ แรงขึน้ และกลา้ มเนอ้ื กม็ ีน้�ำหนกั มากกว่าไขมัน  ดังน้ันในช่วงน้ีจะใช้น�้ำหนักตัวมาเป็นตัววัดผล ก่อนการออกก�ำลังกายควรอบอุ่นร่างกายก่อนของการออกก�ำลงั กายไม่ได ้ ควรดูที่สดั ส่วนรปู รา่ งและ ประมาณ 5 นาที เป็นการเตรียมร่างกายให้พร้อมความแข็งแรงของร่างกายซึ่งเม่ือร่างกายแข็งแรงขึ้น เพ่ือป้องกันและลดอาการบาดเจ็บที่อาจจะเกิดข้ึนก็จะสามารถออกก�ำลังกายได้มากขึ้นและเหนื่อยน้อยลง จากการออกก�ำลังกาย เม่ือจะเลิกออกก�ำลังกาย ไม่ควรหยุดออกก�ำลังกายทันทีทันใด จะต้องค่อยๆ ลดการออกก�ำลังกายทีละน้อยใช้เวลาประมาณ 5-10 นาที เพื่อปรับสภาพร่างกายให้เข้าสู่ภาวะปกติ อยา่ งค่อยเปน็ คอ่ ยไป ป้องกนั อาการผดิ ปกติ จากการคงั่ ของเลอื ดบริเวณกล้ามเนอ้ื ระหว่างการออกก�ำลังกาย ร่างกายจะมี ความร้อนเพิม่ ขึ้น ในคนอว้ นรา่ งกายระบายความรอ้ น ได้ไม่คอ่ ยดีและเกิดการขาดน้�ำไดง้ ่าย จึงควรสวมเส้อื ผ้า บางๆ และด่ืมน�้ำบ่อยๆ ท้ังก่อน ระหว่าง และหลัง การออกกำ� ลงั กาย การออกก�ำลังกายเป็นปัจจัยส�ำคัญในการเพิ่ม การใช้พลังงานทเ่ี กบ็ สะสม ช่วยเพ่ิมการเผาผลาญไขมัน คนอ้วนมีนำ้� หนกั ตัวมาก ขณะออกก�ำลังกาย ส่วนเกิน จึงเปน็ วธิ ีการท่ีช่วยควบคุมน้ำ� หนักได้ แตต่ ้องข้อต่อต้องรับน้�ำหนักเพิ่มมากขึ้น จึงมีโอกาสเกิด ท�ำควบคู่กับการจ�ำกัดอาหารจึงจะเห็นผลได้ชัดเจน การบาดเจ็บทางระบบข้อต่อและกล้ามเน้ือได้ และทส่ี �ำคัญตอ้ งปรับพฤตกิ รรมให้กนิ อาหารทีพ่ อเหมาะในการออกก�ำลังกายควรเลือกในประเภทท่ีไม่มีแรง และออกก�ำลงั กายอย่างสมำ่� เสมอเปน็ ประจำ� จึงจะเปน็กระแทกที่รุนแรงนัก เช่น การเดนิ การปนั่ จักรยาน คนท่มี ีรา่ งกายสมส่วนและมสี ขุ ภาพดอี ย่างยงั่ ยืนอยูก่ บั ที่ การเต้นลีลาศ หรอื การเตน้ แอโรบกิ นอกจากนี้การออกก�ำลังกายในนำ้� เชน่ เดินในน้ำ� วง่ิ ในน�ำ้ หรือว่ายน�้ำก็นับว่าเป็นการออกก�ำลังกายที่เหมาะสมส�ำหรับคนอ้วน เพราะน้�ำจะช่วยพยุงน�้ำหนักตัวไว้ ลดแรงกระแทกที่ข้อตอ่ จึงชว่ ยป้องกันการเกิดการบาดเจ็บได้ นอกเหนือจากการออกก�ำลังกายแบบแอโรบิก ควรจัดใหม้ ีการออกกำ� ลังกายแบบมีแรงตา้ น 2-3 วัน/สปั ดาห ์ เพอื่ ชว่ ยเพิ่มความแขง็ แรงและความทนทานของกลา้ มเน้อื และในระยะยาวจะช่วยเพ่มิ การเผาผลาญพลังงานในขณะพักของรา่ งกาย วารสส�ำนารักสอุขนภาามพัย 23

ถอดรหสั สัตว์เล้ยี ง เรียนร้ผู า่ น...แสตม“ปค์ท่รีณุ ะลทกึ อสงนุ แขั ดทงรง”เลยี้ ง น.สพ.ภัทรพงศ์ จันทรเ์ จรญิ นายสตั วแพทยช์ ำ� นาญการ สำ� นกั งานสตั วแพทยส์ าธารณสขุ สำ� นกั อนามยั กรงุ เทพมหานคร หนึ่งในดวงตราไปรษณียากรที่น่าสนใจและสะสมเป็นของ ทร่ี ะลกึ ไว้นั่นก็คือ ชุดคณุ ทองแดง สนุ ขั ทรงเลยี้ งในพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช (รชั กาลที่ 9) ซ่ึงเป็นสุนัขทรงเลี้ยงท่ีประทับใจของพสกนิกรชาวไทยเป็นอย่างย่ิง และบริษัทไปรษณีย์ไทย จ�ำกัด ได้รับ ความอนเุ คราะหภ์ าพจากกองงานส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา พระราชวงั ดสุ ิต มาจดั สรา้ งแสตมปช์ ดุ คณุ ทองแดง สนุ ขั ทรงเลย้ี งและครอบครวั 4 แบบ ชนดิ ราคา 3 บาท จำ� นวน 1 ล้านชุด พร้อมแผน่ ชที ทรี่ ะลกึ แผ่นละ 17 บาท และซองวันแรกจำ� หนา่ ยซองละ 22 บาท ออกวางจำ� หนา่ ยเมือ่ วนั ท่ี 1 กันยายน พ.ศ. 2549 ท้งั นีเ้ ป็นฝมี ือการวาด และออกแบบโดย คุณวีณา จนั ทนทัศน์ หัวหนา้ งานออกแบบ แผนกจดั สร้าง ฝา่ ยตราไปรษณยี ากร และมีประสบการณ์ ในการวาดภาพลงบนแสตมป์มากกว่า 20 ป ี คุณทองแดง เป็นสุนัขทรงเลี้ยงสุนัขท่ี 17 ในพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เม่ือย้อนประวัติในปี พ.ศ. 2541 แม่คุณทองแดงช่ือ “แดง” สุนัขจรจัดบริเวณซอยศูนย์แพทย์พัฒนา ถนนพระราม 9 ไดค้ ลอดลูกออกท้ังหมด 7 ตวั เป็นตวั เมยี 6 ตวั และตวั ผู้ 1 ตวั เมอื่ วนั เสาร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541 และหนงึ่ ในบรรดาลกู สุนขั 7 ตวั คณุ ทองแดงมีลกั ษณะพิเศษต่างจากลูกสนุ ขั ตวั อน่ื คือ มีสายสร้อย รอบคอคร่งึ เสน้ มถี ุงเทา้ ขาวทั้ง 4 ขา มีหางม้วนขดเป็นวง ปลายหางดอก สีขาว และมจี มูกแดน่ คร้นั เม่ือพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว รชั กาลที่ 9 เสดจ็ พระราชด�ำเนนิ ไปทรงเปดิ ศนู ยก์ ารแพทยพ์ ระราม 9 ไดม้ ีนายแพทย์ ทา่ นหน่ึงน�ำคณุ ทองแดงมาทูลเกลา้ ฯ ใหพ้ ระองค์ทา่ นทอดพระเนตร แลว้ จึง มรี บั สั่งวา่ ใหน้ ำ� เขา้ มาเลี้ยงในพระต�ำหนกั จิตรลดาฯ เม่อื วนั ท่ี 13 ธนั วาคม พ.ศ. 2541 ขณะมีอายุได้ 5 สปั ดาห์ และทรงยกคุณทองแดงให้ “คณุ มะล”ิ เลยี้ งดู พรอ้ มกบั ลูกๆ ของตัวเองอกี 9 ตวั “คณุ ทองแดง” เป็นทีโ่ ปรดปรานของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว รัชกาลที่ 9 เน่ืองจากเป็นสนุ ัขท่แี สนรู้ ผิดกับสุนัขท่วั ไป และรปู ร่างของคุณทองแดงนัน้ พระองค์ทรงระลึกว่าเคยทอดพระเนตรเห็นในหนังสือเกีย่ วกบั สนุ ขั พนั ธุ์ตา่ งๆ เม่อื ทรงคน้ ในหนังสือเล่มนั้น ก็ปรากฏวา่ ทองแดงมลี กั ษณะบางประการคล้ายคลงึ กบั สุนขั พันธ์ุ “บาเซนจ”ิ (ก่อนหน้านีท้ รงเรยี กวา่ เปน็ สนุ ขั พนั ธเุ์ ทศ ย่อมาจาก เทศบาล) ลกั ษณะเดน่ ของสุนขั พนั ธ์ุ บาเซนจิ คอื ไม่เห่า ไม่มกี ลิ่นตัว มที ่วงทา่ สงา่ งาม ซ่ึงคณุ ทองแดงมีขนาดตัวใหญก่ ว่าสุนัขพนั ธบุ์ าเซนจทิ ่ัวไป24 สวา�ำรนสักาอรนสาุขมภัยาพ

คุณทองแดงเป็นสุนัขทรงเลี้ยงที่ติดตามถวายงานรบั ใช้พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั รัชกาลที่ 9ทุกครั้ง ไม่ว่าจะเสดจ็ พระราชดำ� เนินไปที่ใด นอกจากน้ีคุณทองแดงยังเป็นสุนัขท่ีไม่ค่อยเข้ามาเคลียคลอพระองคท์ ่าน เวลาพระองคท์ ่านเสดจ็ พระราชด�ำเนินคุณทองแดงจะน�ำเสด็จอยู่หน้าพระองค์ท่าน เวลาพระองค์ท่านประทับน่งั คุณทองแดงก็จะนั่งหมอบอยู่     นอกจากน้ีมีโครงการ “ศนู ย์รักษส์ นุ ขั หัวหิน”ดา้ นหนา้ ใชส้ องขาหนา้ เกยกนั เหมอื นคนกำ� ลงั หมอบคลาน (Hua-Hin Dog Shelter) เกดิ ขนึ้ ไดด้ ว้ ยนำ�้ พระราชหฤทยัแล้วหนั หนา้ ออกไปด้านนอก คอยระแวดระวังด้านนอก อันเปี่ยมล้นไปด้วยพระเมตตาของพระบาทสมเด็จอย่างเดียว แต่หากระยะเวลาในการเข้าเฝ้าฯ นาน พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทที่ รงหว่ งใยในสนุ ขั จรจดัคุณทองแดงจะเงยหน้าขึ้นมองพระพักตร์และผู้มา สัตวเ์ ล้ียงที่ถูกทอดทิ้ง ครัง้ เสด็จแปรพระราชฐานประทับเขา้ เฝา้ ฯ พรอ้ มกบั ถอนใจยาว แตก่ ็ไมล่ กุ ไปไหน ยงั คง ณ วงั ไกลกังวล เมือ่ ปี พ.ศ. 2546 ทรงตระหนกั ถงึ ปัญหา ของสุนัขจรจัดและสุนัขเร่ร่อนในเขตเทศบาลเมืองหัวหินหมอบเฝา้ อย่เู ชน่ นั้น ซ่ึงส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยวของเมืองหัวหิน ในปี พ.ศ. 2545 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ดว้ ยสนุ ขั จรจดั ทม่ี อี ยเู่ ปน็ จำ� นวนมาก ตามชายหาด ชมุ ชนรัชกาลที่ 9 พระราชนิพนธ์ เรือ่ ง ทองแดง (The Story ย่านการคา้ และสถานทีท่ อ่ งเทยี่ วต่างๆ ซ่ึงนับวันมีแต่of Tongdaeng) เผยแพรเ่ ปน็ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ จะเพ่ิมจ�ำนวนมากขึ้น หากมิได้รับการแก้ไขควบคุมในเล่มเดียวกัน เป็นหนังสือพระราชนิพนธ์ท่ีติดอันดับ และบริหารจัดการอย่างถูกวิธี ก็จะเป็นสาเหตุให้เกิดขายดีที่สุดของประเทศ ซ่ึงสร้างปรากฏการณ์ใหม่ให้ โรคพษิ สุนขั บ้าติดต่อมาสู่คนได้ อาจจะเกิดการสูญเสยีวงการหนังสือจากยอดจ�ำหน่ายจ�ำนวน 50,000 เล่ม ที่ ป ร ะ ม า ณ ค ่ า มิ ไ ด ้และจำ� หน่ายหมดแผงในวนั แรก ท่สี �ำคญั หนงั สือยังเกิด จงึ ควรดำ� เนนิ การใหส้ นุ ขัการขาดตลาดไม่เพียงพอกับความต้องการของประชาชน เหล่านี้ได้รับการบริหารจนท�ำให้มียอดส่ังจองหนังสือล่วงหน้าทั่วประเทศ จดั การอยา่ งเปน็ ระบบตามมาอีกกว่า 150,000 เล่ม ต่อมาในปี พ.ศ. 2547พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้จัดพิมพ์อีกครั้งหนึ่ง ด้วยส�ำนึกในในรปู แบบลายเสน้ การต์ นู โดยใชช้ อื่ “ทองแดงฉบบั การต์ นู ” พระมหากรุณาธิคุณ เปน็ ล้นพ้น อันหาท่สี ดุ นับต้ังแต่ปี พ.ศ. 2549 - พ.ศ. 2557 มิได้ จะขอน้อมนำ� และพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 พระราชทาน สืบสานพระราชปณิธานส.ค.ส. แก่ประชาชน ช่วงปีดังกลา่ วนั้นจะปรากฏภาพ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชของคณุ ทองแดงหมอบอยูท่ ีป่ ลายพระบาททุกครั้ง เพ่ือควบคุมและบริหารจัดการแก้ไขปัญหาสุนัขจรจัด หรอื สัตวเ์ ล้ียงทถี่ กู ทอดทงิ้ ต่อไป คุณทองแดง เป็นสุนัขทรงเล้ียงที่ท�ำให้ ทีม่ าแหล่งขอ้ มลู :พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระเกษมสำ� ราญ ตราบจนเมอื่ วนั ที่ 26 ธนั วาคม 2558คณุ ทองแดงกจ็ ากไปอยา่ งสงบดว้ ยภาวะชราในเวลา 23.10 น.ณ วังไกลกังวล อำ� เภอหวั หนิ จงั หวัดประจวบครี ีขันธ์รวมอายุได้ 17 ปี 1 เดือน 9 วัน มูลนิธศิ นู ย์รักษส์ นุ ขั หัวหิน สารคดีคุณทองแดง กองทุนคณุ ทองแดง ในพระบรมราชปู ถัมภ์ เพ่อื ชว่ ยเหลอื สัตว์ วารสส�ำนารักสอุขนภาามพัย 25

อาสาพาเที่ยวเท่ยี วปา่ ในกรุง...ปา่ นเิ วศของคนกรุงเทพฯ โครงการปา่ ในกรงุ ตง้ั อยทู่ ่ี ถนนสขุ าภบิ าล 2 เขตประเวศ สรา้ งขนึ้ โดย ปตท. เพอื่ เฉลมิ พระเกยี รติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ เม่ือวันที่2 เมษายน 2558 ให้เป็นปอดแห่งใหมข่ องคนกรุงเทพฯ เพ่ิมพนื้ ท่สี ีเขยี วให้คนเมือง ป่าในกรงุ ถกู ปลูกขึ้นตามทฤษฎกี ารปลกู ปา่ นเิ วศของ ศ.ดร.อาคริ ะ มยิ าวากิ ซงึ่ เปน็ ปา่ ทมี่ นษุ ย์ ฟนื้ ฟขู ึ้นตามหลักการฟืน้ ฟู ปา่ นิเวศ (Eco Forest) โดยจะสร้างป่าไม้เลียนแบบธรรมชาติด้วยพันธุ์ไม้ ท้องถ่ินดั้งเดิม มีความหลากหลายทางชีวภาพ มีการเตรียมดินให้มีความอุดมสมบูรณ์ก่อนปลูกป่า ซึ่งป่านิเวศแบบนี้จะใช้การดูแลบ�ำรุงรักษาในช่วง 2 – 3 ปีแรก จากนน้ั จะปลอ่ ยให้ธรรมชาตจิ ัดการ ตัวเอง ปา่ ในกรงุ มแี นวคดิ ทใ่ี หค้ น ปา่ และเมอื ง อยรู่ ว่ มกนั มพี น้ื ทป่ี ระมาณ 12 ไร่ แบง่ พนื้ ท่อี อกเป็น อาคารเพือ่ การเรียนรู้ ถกู ออกแบบเป็น ต้นแบบ ของนวัตกรรมอาคารเขียว ท่ีได้รับการรับรองประเมิน อาคารประหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม LEED ระดับ Platinum โดยมีการท�ำผนังอาคารจาก วสั ดดุ นิ บดอดั มหี ลงั คาเขยี วหรอื สวนบนหลงั คาทจ่ี ะชว่ ยกนั ความรอ้ นเขา้ สอู่ าคาร ภายในประกอบดว้ ย โซนนิทรรศการเมลด็ ไม้ ทร่ี วบรวมพนั ธุ์ไม้หายากไว้ 60 ชนิด โซนนิทรรศการผลกระทบตอ่ เมือง แสดงผลกระทบตอ่ สิ่งแวดลอ้ มในกรงุ เทพฯ26 สวา�ำรนสักาอรนสาุขมภัยาพ

โซนป่าบางกอก สังคมพืชที่เคยมีอย่างอดุ มสมบูรณใ์ นอดตี ในปา่ บางกอก โซนปา่ เตบิ โตอย่างย่ังยนื องค์ความรู้ทเ่ี กิดจากการผสมผสานในการปลูกปา่ ท่ีนำ� มาใช้ในพน้ื ทปี่ า่ ในกรุงฯ ห้องฉายภาพยนตร์ขนาดเล็ก จัดแสดงภาพยนตร์สน้ั “คน ป่าเมือง พึ่งพาและเก้ือกลู กนั ตลอดไป” ทสี่ ร้างแรงจูงใจและปลูกจิตสำ� นึกใหร้ ักษ์ป่าและตน้ ไม้ ทางเดนิ ยกระดบั และหอคอยชมปา่ ให้เรียนรู้สังคมพืชต่างๆระหวา่ งทางเดนิ ทมี่ คี วามสงู ตงั้ แตร่ ะดบั พน้ื ดนิ ถงึ ระดบั ความสงู 10.2 เมตรจนถงึ หอคอยชมปา่ ที่มีความสงู 23 เมตร ท่ีจะสามารถมองเหน็ พ้ืนท่ปี ่าในกรุงไดร้ อบทิศทางแบบ 360 องศา ผา่ นระดบั ชัน้ เรือนยอดของต้นไม้ ปา่ ในกรงุ ประกอบดว้ ยพนั ธุ์ไมด้ ้ังเดมิ ของกรงุ เทพฯ และเปน็ พนั ธ์ุไม้หายาก จำ� นวนกวา่ 270 ชนดิ ใชก้ ลา้ ไมก้ วา่ 40,000 ตน้ มรี ปู แบบการจดั เปน็ สงั คมพชื ปา่ แบบต่างๆ จำ� นวน 11 สังคมพืช ไดแ้ ก่ ปา่ ดบิ ล่มุ ปา่ เบญจพรรณ ป่ารอบนำ�้ ตก ปา่ น้�ำกรอ่ ย ไมน้ ำ�้ ปา่ ชายหาด ป่าไผ่ ปา่ กลว้ ย ป่าริมน้ำ� ปา่ ตาล และไม้ล้มลุก สำ� หรบั ทา่ นท่ีสนใจต้องการมาเยีย่ มชม ศูนยก์ าร เรียนรูโ้ ครงการปา่ ในกรงุ เปดิ ท�ำการในวนั อังคาร – อาทิตย์ ตั้งแต่เวลา 09.00 – 18.00 น. สามารถWalk in ไดต้ ลอดเวลาท�ำการ แตห่ ากต้องการศกึ ษาดูงานหรอื มีวิทยากรบรรยายนั้น สามารถจองผ่านเวบ็ ไซต์ http://www.pttreforestation.com/BookingProjects โดยคลก๊ิเลอื กทโี่ ครงการป่าในกรุง ก่อนวนั เขา้ ศึกษาดูงานล่วงหน้า 3 วัน ซงึ่ ทางโครงการจะมวี ทิ ยากรนำ� ชมตลอด 90 นาที มบี ริการ 4 รอบตอ่ วัน ซง่ึ จะรับไมเ่ กนิ 30 คนตอ่ รอบ หรอื สามารถตดิ ตอ่ สอบถามไดท้ ่ี 0 2136 6380 (หยุดทุกวนั จันทร)์การเดินทางมาศูนย์การเรยี นรโู้ ครงการปา่ ในกรงุรถโดยสารสาธารณะ : สาย ปอ. 92 (ปอ.รถรว่ ม) หรอื สาย 517 (ขสมก.-รถธรรมดา) ลงปา้ ย รพ.สริ ินธร (บรเิ วณซอยออ่ นนุช 90) จากนน้ัตอ่ รถสองแถวสนี �้ำเงนิ ตลาด 999 (น�ำชัย)-วัดกิ่งแก้ว ท่ีฝั่งโรงพยาบาล ศนู ย์เรียนรู้ป่าในกรุงฯ จะอยทู่ างซ้ายมอื ระหว่างถนนสขุ าภบิ าล 2ซอย 23 กับ ซอย 25รถไฟฟ้า BTS : ลงสถานอี อ่ นนชุ ออกประตูทางออกหมายเลข 1 เดินมาไปทีบ่ ก๊ิ ซี เอ็กตรา้ อ่อนนชุ ข้ามถนนมาต่อรถประจำ� ทางสาย 1013พระโขนง-หวั ตะเข้ ลงทีโ่ รงพยาบาลสริ นิ ธร แล้วข้ามถนนเพื่อตอ่ รถสองแถวสนี ำ้� เงนิ ตลาด 999 (นำ� ชยั ) - วดั ก่ิงแกว้รถไฟฟ้า แอรพ์ อร์ตลิ้งค์ : ลงสถานีลาดกระบัง ขึ้นรถสองแถวหวั แดง ร.ร.เอกวทิ ย์-วัดลานบญุ -SCS ซอยสยาม ลงปา้ ยโรงพยาบาลสิรินธรจากน้ันตอ่ รถสองแถวสีนำ้� เงิน ตลาด 999 (น�ำชยั )-วัดกิง่ แก้ว พาเทย่ี วโดย : มณรี ตั น์ อธริ าษฎร์ไพศาลรถยนต์ส่วนบุคคล : ให้เข้ามาทางถนนอ่อนนุช-ลาดกระบัง จากน้ันเข้ามาทาง นกั วชิ าการสาธารณสขุ ปฏบิ ตั กิ ารถนนสุขาภบิ าล 2 ศูนยเ์ รยี นร้ปู า่ ในกรุงฯ จะอยู่ทางซ้ายมอื ระหว่างถนนสขุ าภิบาล 2 สำ� นกั งานพฒั นาระบบสาธารณสขุซอย 23 กบั ซอย 25 ค่ะ สำ� นกั อนามยั กรงุ เทพมหานคร วารสส�ำนารักสอุขนภาามพัย 27

ยาและสมุนไพร กินยาอย่างไร ให้ได้ผลดี ศิริภทั ร เฑยี รกลุ เภสชั กรปฏบิ ตั กิ าร กองเภสชั กรรม สำ� นกั อนามยั กรงุ เทพมหานคร การกินยาต่างๆ ควรพิจารณาข้อมูลของยาให้ดี ยาหลังอาหาร มักจะเป็นยาทรี่ ะคายเคืองกระเพาะและควรปฏบิ ัตติ ามหลกั ดงั ต่อไปนี้ อาหาร ควรกินยาหลังอาหาร 15 – 30 นาที 1. อ่านฉลากยาอย่างละเอียด ปฏิบัติตามฉลาก ยาระหว่างมื้ออาหาร ควรกินก่อนหรือหลังอาหารอยา่ งเคร่งครัด 1 – 2 ชัว่ โมง 2. กนิ ยาใหถ้ กู โรค โดยผปู้ ว่ ยตอ้ งกนิ ยาตามขอ้ บง่ ใช้ ยาก่อนนอน กินก่อนเข้านอน 15 – 30 นาทีเชน่  ยาต้านจุลชีพ มีขอ้ บ่งใช้แตกต่างกนั ไป ผูป้ ่วยไมค่ วร เน่ืองจากยาบางชนิดอาจมีผลข้างเคียงท�ำให้ง่วงนอนกินยาต้านแบคทีเรียหากเป็นไข้หวัดจากการติดเชื้อไวรัส หรอื วงิ เวยี นศรี ษะ กรณยี าทช่ี ว่ ยใหห้ ลบั จะใชเ้ วลาประมาณเน่ืองจากการใช้ยาต้านแบคทีเรียพร�่ำเพร่ือจะท�ำให้เกิด 15 – 30 นาที ก่อนจะออกฤทธช์ิ ว่ ยใหห้ ลบัปญั หาเชอื้ ดอื้ ยาได้ และไมค่ วรกนิ ยาระบายเพอื่ ลดนำ�้ หนกั ยาที่กนิ สัปดาหล์ ะคร้งั หากกินยาวนั ใดควรกินวนั นน้ั3. ใช้ยาให้ถูกวธิ ี เชน่ ยาแคปซลู ควรกินทง้ั แคปซูล ในทกุ ๆ สัปดาห์ เชน่ เรมิ่ กนิ ยาวนั อาทติ ยก์ ใ็ หก้ ินยาน้นัไมค่ วรแกะแคปซลู ออก และไมค่ วรกนิ ยาบางชนดิ พรอ้ มกนั ทุกวันอาทิตย์ เปน็ ตน้เพราะมีผลต่อการดูดซึมยาในทางเดินอาหาร เช่น ยาที่กินเม่ือมีอาการต่างๆ เช่น กินทกุ 4 – 6 ชว่ั โมงยาต้านจุลชีพบางประเภทไม่ควรกินพร้อมกับยาลดกรด ทกุ 8 ช่วั โมง หรอื ทุก 12 ชั่วโมง เมอื่ มอี าการสามารถในกระเพาะอาหาร กินได้โดยไม่ตอ้ งค�ำนงึ ถงึ มอ้ื อาหาร4. ใช้ยาให้ถูกขนาด เชน่ ขนาดหรอื ปริมาณยาทใ่ี ช้ กรณีลมื กินยา ถา้ เปน็ ยาสามญั ประจำ� บา้ น จะใช้ในเดก็ และผ้ใู หญแ่ ตกต่างกนั เมอื่ มอี าการเทา่ นน้ั หากเปน็ ยาทผี่ ปู้ ว่ ยตอ้ งกนิ เปน็ ประจำ�5. ใชย้ าใหถ้ ูกกบั บุคคล กอ่ นใช้ยาควรปรกึ ษาแพทย์ เพื่อรักษาโรคประจ�ำตัว เช่น โรคความดันโลหิตสูงหรอื เภสัชกร เนือ่ งจากยาบางชนิดไม่ควรใชใ้ นผู้ปว่ ยท่มี ี โรคไขมันในเลือดสูง ถ้าลืมกินยาให้กินยาทันทีท่ีนึกได้โรคประจำ� ตัวต่างๆ หรือหญิงตงั้ ครรภ์ หญงิ ท่ีกำ� ลังให้นม แต่ถ้านึกได้ใกล้กับมื้อถัดไป ให้ข้ามไปกินยาม้ือถัดไปบตุ ร หรือผทู้ ม่ี ีความผดิ ปกติของตับหรือไต โดยไม่ต้องเพิม่ ขนาดยาเป็นสองเทา่ แต่หากเป็นยารักษา6. ใชย้ าใหถ้ ูกเวลา เพราะยาบางชนดิ อาจถกู รบกวน เบาหวานให้กินยาในมื้อถัดไปท่ีสัมพันธ์กับม้ืออาหารโดยการดูดซึมของอาหารได้ และยาบางชนิดมีผลต่อ ตามแพทย์สั่งกระเพาะอาหาร ดังน้ันวิธีการกินยาจึงมีความส�ำคัญ นอกจากน้ี ถา้ ผปู้ ่วยตอ้ งกินยาตา้ นจุลชพี ควรกนิควรท�ำความเขา้ ใจดงั น้ี ตดิ ตอ่ กนั ใหค้ รบกำ� หนดตามทแ่ี พทยห์ รอื เภสชั กรแนะนำ� ยาก่อนอาหาร ควรกนิ ยากอ่ นอาหาร (รวมถึง นม หากลืมกินยาให้กินยาทันทีท่ีนึกได้ แต่ถ้านึกได้ใกล้กับขนม) อย่างนอ้ ย 30 นาที มอ้ื ถดั ไป ใหข้ า้ มไปกินยาม้ือถดั ไป ยาพร้อมอาหารหรือหลังอาหารทันที มกั จะเป็นยา โดยไมต่ อ้ งเพมิ่ ขนาดยาเปน็ สองเทา่ท่ีระคายเคอื งกระเพาะอาหารมาก ควรกนิ ยาหลังอาหาร และกินยาตดิ ต่อกันทนั ที อาจกินพรอ้ มอาหารหรอื กนิ อาหารคำ� สดุ ทา้ ยแล้ว ใหค้ รบก�ำหนดกนิ ยาทันทพี ร้อมดม่ื น้�ำตามมากๆ28 วสา�ำรนสักาอรนสาุขมภัยาพ

คำ� ถามนี้... มีค�ำตอบQ โรคผน่ื ภมู ิแพผ้ วิ หนังมีลกั ษณะเป็นอย่างไร พญ.พรรณพร ศรเี จรญิ ล่�ำซำ�A โรคผ่ืนภูมแิ พ้ผวิ หนัง (Atopic Dermatitis) เป็นโรคผิวหนงั อกั เสบ แพทย์ผวิ หนังเดก็ ศนู ยบ์ ริการสาธารณสขุ 12 จันทรเ์ ทย่ี ง เนตรวิเศษ เรอ้ื รงั ทพ่ี บไดบ้ อ่ ยในวยั เดก็ มลี กั ษณะทางคลนิ กิ ทสี่ ำ� คญั คอื มอี าการ ส�ำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร คันมาก ผวิ หนังแห้งอกั เสบ และมีการกำ� เริบเปน็ ระยะๆ การกระจายและลกั ษณะเฉพาะของผ่ืนภูมแพผ้ ิวหนังQ จะทราบได้อย่างไรว่าผื่นท่ีเป็นน้ันคือผื่นผิวหนังที่เกิดจาก ในเดก็ เล็ก โรคภูมแิ พ้ และมีวธิ สี ังเกตอย่างไร รูปภาพประกอบจากเว็บไซต์ www.horapa.com/board/viewtopic.php?No=5323A ผู้ป่วยมักมีผื่นคันร่วมกับมีประวัติภูมิแพ้ของตนเองและครอบครัว การกระจายและลกั ษณะเฉพาะของผื่นภมู แพ้ผวิ หนัง เช่น โรคภมู แิ พอ้ ากาศ โรคหอบหดื มีประวัตกิ ารแพ้อาหาร มกั มี ในเด็กโตและผู้ใหญ่ ผื่นผิวหนังอักเสบเรื้อรังเป็นๆ หายๆ มีการกระจายของผ่ืนท่ีมี ลักษณะเฉพาะของโรค คือมีผื่นคันบริเวณใบหน้า ซอกคอ และ รูปภาพประกอบจากเว็บไซต์ ด้านนอกของแขนขาในวัยทารกและเด็กเล็ก ส่วนในเด็กโตหรือ www.starclipnews.com/health_page/1414/ ผ้ใู หญม่ ักพบผ่ืนดงั กล่าวบริเวณข้อพบั แขนขา นอกจากนยี้ ังอาจมี อาการรว่ มอ่ืนๆ เช่น ผิวแห้ง กลากน�ำ้ นม ขนคดุ และเส้นลายมือ โรคผื่นภมู ิแพผ้ วิ หนัง.html ชัดลกึ เปน็ ตน้ วารสส�ำนารักสอุขนภาามพัย 29Q วิธีการป้องกันและบรรเทาอาการเมื่อลูกน้อยมีผ่ืนภูมิแพ้ ผิวหนังเกดิ ขนึ้A 1. การหลีกเลี่ยงปัจจัยหรือตัวกระตุ้นที่ท�ำให้เกิดการก�ำเริบ ของผน่ื เชน่ สารกอ่ ภมู แิ พใ้ นอากาศ (ไรฝนุ่ สตั วเ์ ลยี้ ง หรอื ละอองเกสร) ยา และอาหาร (ท่ีก่อให้เกิดอาการแพ้ได้บ่อย ได้แก่ ไข่ นมวัว และแปง้ สาล)ี หลกี เลยี่ งการใสเ่ สอ้ื ผา้ เนอ้ื หยาบทอ่ี าจกอ่ ใหเ้ กดิ อาการ ระคายเคอื ง เชน่ ผา้ ขนสตั วห์ รอื ผา้ ใยสงั เคราะห์ เปน็ ตน้ ผา้ ทเ่ี หมาะสม คือ ผา้ ฝา้ ย 2. การอาบน้�ำท่ีเหมาะสมควรใช้สบู่ท่ีไม่ระคายเคืองและ ไม่ควรจะใช้เวลานานเกินไป เวลาทเี่ หมาะสม คือ ไม่เกิน 5-10 นาที โดยอณุ หภมู ขิ องนำ�้ ต้องไม่ร้อนจัดจนเกินไป ควรใช้น้�ำอนุ่ หรอื น�ำ้ อณุ หภูมหิ อ้ ง หลังจากอาบน้�ำเสรจ็ แนะน�ำใหซ้ ับตวั หมาดๆ แล้วทา สารเพิม่ ความช่มุ ชืน้ ผิวหนัง (emollient) ทันที 3. การบรรเทาอาการด้วยการทายาสเตียรอยด์ที่มีฤทธ์ิ อ่อนหรือปานกลางวันละ 2 คร้ัง เมื่อควบคุมอาการได้ควรลด การใช้ยาลงหรอื หยดุ ยา อาจใช้ยาทาเปน็ ช่วงๆ และควรใชย้ าทา สเตียรอยดท์ ่มี ฤี ทธิ์อ่อนที่สุดทส่ี ามารถควบคมุ โรคได ้ 4. พบแพทย์เมอ่ื มีอาการผ่นื ภมู แิ พ้ผิวหนังรุนแรง

รอบรั้ว กทม.กทม. รับมอบอาหารสนุ ัขพระราชทานพล.อ.ต. ธวชั ชยั ศรีแกว้ ผู้เชิญอาหารสนุ ัขพระราชทานในนามคุณฟูฟูสุนขั ทรงเลยี้ ง มอบเพื่อเปน็ ขวัญและก�ำลงั ใจใหก้ บัศนู ย์ควบคุมสนุ ัขกรงุ เทพมหานคร โดยมนี ายทวศี ักด์ิ เลศิ ประพนั ธ์รองผวู้ า่ ราชการกรงุ เทพมหานคร นายแพทยว์ งวฒั น์ ลว่ิ ลักษณ์รองผอู้ �ำนวยการสำ� นักอนามยั ผู้อ�ำนวยการเขตประเวศ ผ้บู รหิ ารและข้าราชการส�ำนักอนามัย รว่ มใหก้ ารต้อนรับและรับมอบณ ศูนย์ควบคมุ สนุ ัขกรุงเทพมหานคร เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร เยาวราช ยา่ นอาหารปลอดภัยของ กทม. พลต�ำรวจเอกอศั วิน ขวญั เมอื ง ผวู้ ่าราชการกรงุ เทพมหานคร เป็นประธานเปดิ งานเยาวราชยา่ นอาหารปลอดภัยของ กรงุ เทพมหานคร พรอ้ มมอบปา้ ยรบั รองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ให้แกผ่ ู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยจ�ำหนา่ ยอาหารริมบาท วถิ ี โดยมี แพทยห์ ญิงวันทนีย์ วัฒนะ รองปลดั กรุงเทพมหานคร นายแพทยช์ วนิ ทร์ ศริ ินาค ผ้อู �ำนวยการสำ� นักอนามัย ผ้บู ริหาร และข้าราชการสำ� นกั อนามัยร่วมงาน ณ วงเวียนโอเดียน เขตสมั พนั ธวงศ์ กรุงเทพมหานครสดุ ยอดหอ้ งน�ำ้ มาตรฐานดเี ด่นแห่งปี 2560นายทวีศกั ดิ์ เลศิ ประพันธ์ รองผ้วู า่ ราชการกรุงเทพมหานครเปน็ ประธานมอบรางวัลสดุ ยอดห้องน้ำ� แห่งปี และรางวลั หอ้ งน�้ำมาตรฐานดีเดน่ ประจำ� ปี 2560 ใหแ้ กเ่ จ้าของสถานทีห่ อ้ งน�้ำสาธารณะที่ผ่านเกณฑม์ าตรฐาน เพอื่ รณรงค์ส่งเสริมให้มกี ารพัฒนาสุขลกั ษณะหอ้ งน้�ำสาธารณะให้ได้เกณฑ์มาตรฐาน และจัดใหม้ ีกิจกรรมการประกวดสุดยอดหอ้ งน้�ำแห่งปีของกรุงเทพมหานครณ หอ้ งรตั นโกสินทร์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร เสาชิงช้า จักรยานประเพณี มจธ.บางมด-บางขุนเทยี น ครั้งท่ี 5 นายทวีศกั ดิ์ เลิศประพนั ธ์ รองผวู้ า่ ราชการกรงุ เทพมหานครเป็นประธาน เปดิ โครงการจักรยานประเพณี มธจ.บางมด – บางขนุ เทยี น คร้งั ที่ 5 “ป่ันจักรยาน ปลูกป่าชายเลน เฉลิมพระเกยี รติ สมเด็จพระนางเจา้ สิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ ีนาถ ในรัชกาลท่ี 9 เน่อื งในโอกาสพระราชพิธมี หามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา 12 สงิ หาคม 2560” เพอื่ ร่วมขบั เคลอื่ นเมอื งสุขภาวะที่ยัง่ ยนื โดยมนี ายแพทยส์ ุนทร สนุ ทรชาติ รองผูอ้ ำ� นวยการส�ำนกั อนามัยรว่ มกจิ กรรม ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ ี แขวงบางมด เขตทงุ่ ครุ กรงุ เทพมหานคร30 วสา�ำรนสักาอรนสาุขมภัยาพ

มุมสบาย คลายเครยี ด กรุงเทพมหานคร หว่ งใยสุขภาพอนามัยของประชาชน เนือ่ งจากช่วงท่อี ากาศเย็นลง มักท�ำให้หลายท่านเจ็บป่วยด้วยโรคระบบทางเดินหายใจ โดยเฉพาะอย่างย่ิงโรคไขห้ วัดใหญ่ ซ่งึ มีความรุนแรงกว่าโรคหวดั ธรรมดา และพบเปน็ สาเหตอุ นั ดับแรกๆของอาการไขท้ เี่ กิดขึน้ อย่างเฉียบพลนัจงึ ขอเชิญชวนให้ทกุ ทา่ นดูแลสขุ ภาพรา่ งกายให้แข็งแรง เพื่อสรา้ งเสรมิ ภมู ิคุม้ กันโรค ด้วยการออกก�ำลงั กาย รบั ประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ พักผ่อนอย่างเพียงพอ แต่หากมีอาการไข้ข้ึนสูงให้รีบพบแพทย์ ณ ศูนย์บริการสาธารณสุข ส�ำนักอนามัยกรงุ เทพมหานคร หรือสถานพยาบาลใกล้บ้านท่านเกร็ดความรู้...คู่สุขภาพ มมุ นมี้ รี างวัล1. อนั ตรายจากรองเทา้ สน้ แบน ค�ำถามรว่ มสนุก การสวมใสร่ องเท้าสน้ แบน เปน็ ประจ�ำติดต่อกนั เป็นเวลานานๆ จะสง่ ผลเสียหลายอยา่ ง เชน่ 1. ผู้ท่ีมีความเส่ียงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน ผสู้ วมใสม่ กั จะเดนิ ลากเทา้ จะทำ� ใหเ้ สยี 2. อันตรายของน�้ำมันทอดซ�้ำ และการเลือกใช้ บคุ ลิกภาพ น้�ำมันในการปรุงอาหาร เมื่อใส่รองเทา้ สน้ แบน เท้ามกั จะไถลไปขา้ งหนา้ ท�ำใหเ้ สน้ เอน็ ถกู ดึงจนหวั แมเ่ ทา้ อยใู่ นตำ� แหนง่ ทไี่ มเ่ หมาะสม อาจทำ� ใหเ้ กดิ อาการบาดเจบ็ และสง่ ผลเสยี ------------------------ต่อหัวเข่าได้อกี ด้วย สง่ คำ� ตอบพรอ้ มช่อื ทอ่ี ยู่ เบอร์โทรศพั ท์ ไปที่กลุ่มพัฒนาสุขศึกษาและพฤติกรรม2. วธิ ีเกบ็ รกั ษามะนาวไว้ใช้ สขุ ภาพ ส�ำนกั งานพัฒนาระบบสาธารณสขุ มะนาวเป็นผลไม้ชนิดหน่ึง มีรสเปรี้ยวจัด นิยมใช้เป็นเคร่ืองปรุง สำ� นักอนามยั อาคาร 2 กรงุ เทพมหานคร 2รสตา่ งๆไดม้ ากมาย เชน่ ยำ� นำ�้ พรกิ ตม้ ยำ� เปน็ ตน้ นอกจากนม้ี ะนาวยงั มคี ณุ คา่ ดินแดง แขวงดินแดง เขตดินแดง กทม.ทางโภชนาการและทางการแพทยด์ ้วย เชน่ ใช้เป็นยา แกไ้ อ แกเ้ จบ็ คอ 10400 ภายในวันท่ี 26 กนั ยายน 2560แกส้ ิวฝา้ เปน็ ตน้ แต่เนอื่ งจากมะนาวมรี าคาถูกบ้าง แพงบา้ ง ซึง่ บางครงั้ ------------------------อาจจะมรี าคาถงึ ลกู ละ 8 บาทเลยทเี ดยี ว เพราะฉะนนั้ ในชว่ งทม่ี ะนาวมรี าคาถกู ของท่ีระลึกสำ� หรับผตู้ อบคำ� ถามหลายบ้านมักจะหาซอ้ื ติดครัวไวม้ าก แต่ผลท่ีเกดิ ขน้ึ คือ มะนาวเน่าเสียกอ่ น (จากการจบั สลาก)จะน�ำมาใช้ วนั น้ี เรามีวธิ ีท่ีจะเกบ็ มะนาวไวใ้ ช้มาฝากกันค่ะ 1 คณุ ปยิ พล เพียงผล การหอ่ กระดาษ น�ำมะนาวลา้ งน�ำ้ ให้สะอาด แลว้ ผึง่ ลมใหแ้ หง้ 2 คณุ เสถียร รกั บำ� รงุจากนัน้ น�ำกระดาษหนงั สือพมิ พม์ าหอ่ มะนาวเป็นลูกๆ ใส่ลงไปในถุงพลาสติก 3 คุณอรอุมา จันสว่างมัดปากถุงให้แน่น เก็บเข้าตู้เย็นในช่องแช่ผัก จะสามารถเก็บมะนาวไว้ได้ 4 คณุ วินยั สุขแสงประมาณ 3 เดือน โดยที่มะนาวไมแ่ ห้งหรือว่าเนา่ เลย 5 คุณเพียง ศิริธีราเจษฎ์ การคนั้ น้�ำมะนาว น�ำมะนาวมาลา้ งน้�ำให้สะอาด ผา่ คร่งึ มะนาว 6 คุณชลธชา อ่ิมเจรญิแลว้ คัน้ เอาแตน่ �้ำมะนาว บรรจุใส่ภาชนะทสี่ ะอาด 7 คณุ วนิ ตั น์ วงค์มติ รไมตรีและมีฝาปิดมดิ ชิด (ภาชนะควรเป็นภาชนะแก้ว 8 คุณทองอาบ แกว้ ประดับไมค่ วรใช้ภาชนะสแตนเลส หรือพลาสตกิ ) 9 คณุ ธรี วัต มณสี มจากน้ันน�ำไปเข้าตู้เย็นในช่องแช่แข็ง 10 คณุ ศกั สุริยา ยังขูจะสามารถเก็บมะนาวไว้ได้นาน และรสชาติกไ็ มเ่ ปลีย่ นอีกดว้ ย วารสส�ำนารักสอุขนภาามพัย 31

ส�ำนกั อนามัย ดแู ลห่วงใย ใส่ใจสุขภาพ รถคลายเครียดเคลอ่ื นทขี่ องสำ� นักอนามัย ให้บรกิ ารสรา้ งเสรมิ และป้องกันปัญหาสุขภาพจิตเชิงรุกแก่ประชาชนในกรุงเทพมหานคร โดยการประเมนิ และใหก้ ารปรึกษาปญั หาสุขภาพจติ ฝึกการผอ่ นคลายเพ่อื คลายเครยี ด และบริการเก้าอ้นี วดไฟฟ้า โดยทีมสหวิชาชีพ ไดแ้ ก่ นักจติ วทิ ยา นักสงั คมสงเคราะห์ พยาบาลวชิ าชพี สอบถามเพิม่ เติมไดท้ ่ี กล่มุ งานสขุ ภาพจติ กองสร้างเสรมิ สุขภาพ ส�ำนกั อนามัย กรุงเทพมหานคร โทร. 0 2247 6467ทีป่ รกึ ษา : นพ.ชวินทร ์ ศิรนิ าค ผูอ้ �ำนวยการส�ำนักอนามยั นพ.สนุ ทร สนุ ทรชาติ รองผู้อำ� นวยการส�ำนกั อนามยั นพ.วงวฒั น์ ลิ่วลักษณ ์ รองผู้อ�ำนวยการสำ� นักอนามยั นางเพ็ญจนั ทร์ เจียมกรกต รองผู้อ�ำนวยการส�ำนกั อนามัยบรรณาธิการ : พญ.ภาวณิ ี รุง่ ทนตก์ ิจ นางสชุ ฎา เอ้ือชจู ติ ต์กองบรรณาธิการ : นพ.ธรี วรี ์ วรี วรรณ พญ.สุธี สฤษฏศ์ ิร ิ พญ.จติ ราพรรณ เวชพร พญ.ลลดิ า วีระวิทยานนั ต์ นพ.ดิฐพงศ์ เจรญิ ววิ ัฒนกลุ นพ.อรรถพล ฉัตรอารยี กลุ พญ.พรรณพร ศรีเจรญิ ล�ำ่ ซำ� ทพ.เฉลมิ พงศ์ ตง้ั วจิ ิตรสกุล น.สพ.ภทั รพงศ์ จนั ทร์เจรญิ น.ส.จุฑาทพิ วงษส์ วุ รรณ น.ส.ประเทอื งทิพย ์ แกว้ ศรี นายปรีชาญ อุ่นรตั นะ นางรตั นา มูลนางเดียว น.ส.ตะวนั ฉาย เตียนศร ี น.ส.ณฐั ยาภรณ ์ สรอ้ ยนาค น.ส.ศิริภัทร เฑียรกุล น.ส.ปิยะวรรณ จนั ตรี น.ส.เสาวนีย ์ บุญเก้ือ น.ส. จรี าวรรณ นามพันธ ์ นางรตั ตนิ นั ท์ สายสมคณุ นางเกษร เตม็ เจริญ นายสากล เพิ่มทองค�ำ นางทรงพร วิทยานนั ท ์ น.ส.สกุ ญั ญา พิมพาเรือ น.ส.มณรี ัตน์ อธิราษฎร์ไพศาล น.ส.ชมพนู ุช จันทรเ์ พญ็ นางมยุรา สร้อยช่ือ น.ส.ประกายดาว ตาลสกุ น.ส.ปมติ รา เหล็กจาน น.ส.ศริ ธิ ร ทองภู นายวชั ระ วีรวงศต์ ระกูล น.ส.วชั ร ี ธนะรุง่ น.ส.อารยา ดาราพันธ์ุวัตถปุ ระสงค ์ 1. เพือ่ เผยแพร่ความรู้ ข้อมูล ข่าวสารในการดแู ลสขุ ภาพ ป้องกันโรค และสรา้ งเสริมสุขภาพแก่ประชาชน บคุ คลในครอบครัว และชุมชน 2. เพ่อื เผยแพรป่ ระชาสัมพนั ธบ์ ริการด้านการแพทย์และสาธารณสขุ ของสำ� นกั อนามยั ให้ประชาชนสามารถรบั รู้ เขา้ ถงึ และเลอื กใชบ้ ริการ ดา้ นการแพทย์และสาธารณสขุ ของส�ำนักอนามัย ได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม ส�ำนกั งานพัฒนาระบบสาโธทารร. ณ0 2ส2ขุ 47ส6ำ� 6น6ัก0อนามัย กรุงเทพมหานคร สพธ. 05/02/60 ศนู ย์ กทม. 1555 www.bangkok.go.th/health @bma.health


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook