Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารสุขภาพสำนักอนามัย ปีที่ 6 ฉบับที่ 1

วารสารสุขภาพสำนักอนามัย ปีที่ 6 ฉบับที่ 1

Published by health.ed.media, 2018-11-08 22:55:23

Description: วารสารสุขภาพสำนักอนามัย ปีที่ 6 ฉบับที่ 1

Search

Read the Text Version

วสา�ำรนสัการอสนุขาภมายัพศนู ย์สง่ ต่อเพอื่ การพยาบาลต่อเน่ืองที่บา้ น กรงุ เทพมหานคร (BMA Home Ward Referral Center) รู้ไหม ขายอาหารต้องตรวจสุขภาพ วยั ใส...วยั ขยบั ควรทำ� อยา่ งไร... ถา้ จำ� เปน็ ตอ้ งกนิ ยาปฏชิ วี นะ Care giver ดแู ลใสใ่ จ ผู้ป่วยอลั ไซเมอร์ การออกกำ� ลังกายในท่ที �ำงาน

บก. ขอคุย สารบญั สวัสดีค่ะ พบกับ ปที ี่ 6 ฉบบั ที่ 1 เดอื นตลุ าคม - ธนั วาคม พ.ศ. 2559 วารสารสุขภาพส�ำนักอนามัย ISSN : 2229-0540 อกี เช่นเคย ฉบับนี้มาพร้อมกบั สาระสขุ ภาพ หลากหลายทีเ่ ป็น รกั ษส์ ขุ ภาพ 3 ป ร ะ โ ย ช น ์ อ ย ่ า ง ยิ่ ง ส� ำ ห รั บ ทุกท่าน โดยได้รับเกียรติจาก สู่เส้นทางการพฒั นาสขุ ภาพคนกรุงเทพฯ 6 นายทวีศกั ดิ์ เลิศประพนั ธ์ 8 รองผ้วู ่าราชการกรงุ เทพมหานคร พูดคยุ ถงึ นโยบายและ “ผลกั ดันทันใจ แกไ้ ขทันท”ี 10 แนวทางการด�ำเนินงานเพื่อวางรากฐานในการพัฒนาเมือง 12 และสร้างเสริมสขุ ภาพคนกรุงเทพฯ อย่างรวดเร็ว เหน็ ผล ห่วงใยแม่ ดแู ลลูก 14 อย่างเปน็ รปู ธรรมท่ชี ัดเจน สอดคล้องตามบรบิ ทและสภาพ 16 ปัญหาของกรุงเทพมหานคร ภายใต้นโยบาย “ผลักดัน หญงิ ตั้งครรภ์ พึงระวังโรคติดเชือ้ ไวรัสซกิ า 18 ทนั ใจ แกไ้ ขทนั ที” นอกจากนี้ ยังมีสาระสขุ ภาพในการ ดูแลสขุ ภาพท่หี ลากหลายจัดเต็มให้อา่ นกนั อยา่ งจุใจ ไดแ้ ก่ วยั ใส ใส่ใจสขุ ภาพ 20 หญิงต้ังครรภ์ พงึ ระวงั โรคตดิ เชื้อไวรสั ซกิ า วยั ใส วยั ขยบั มาร้จู กั กับโรคทอ้ งเสียจากเชอ้ื โนโรไวรสั ควรทำ� อย่างไร... วัยใส... วัยขยบั 22 ถ้าจำ� เปน็ ตอ้ งกินยาปฏิชีวนะ Care giver ดแู ลใส่ใจผู้ปว่ ย 24 อัลไซเมอร์ ร้ไู หม ขายอาหารตอ้ งตรวจสขุ ภาพ กนิ อาหาร ดแู ลสขุ ภาพสไตล์คนเมอื ง 26 จานดว่ นแบบไทยใหห้ า่ งไกลโรคอยา่ งไร พรอ้ มรยึ งั กอ่ นเลยี้ ง 28 สตั ว์ในบา้ น พบแพทย์ สนอ. พดู คุยเรื่องหมอครอบครัว มาร้จู ักกบั ... โรคท้องเสียจากเชอ้ื โนโรไวรัส 29 ส�ำนกั อนามยั และยังพาไปชมหอรัชมงคล สวนหลวง ร. 9 30 พร้อมคำ� ถามรว่ มสนกุ ชงิ รางวัลของทร่ี ะลกึ จากทมี งาน สขุ ภาพ ผ้สู งู วัย 31 ดิฉันและทีมงานขอขอบคุณทุกท่านที่ให้ความสนใจ Care giver ดูแลใส่ใจผู้ป่วยอัลไซเมอร ์ ติดตามอ่านวารสารสุขภาพส�ำนักอนามัย มาโดยตลอด หวงั วา่ วารสารฯ ฉบบั นจี้ ะเปน็ วารสารสขุ ภาพประจำ� ครอบครวั เตมิ ใจ ใส่ยมิ้ ส�ำหรับให้ทุกท่านได้อ่าน เพ่ือเป็นประโยชน์ในการดูแล สรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ มคี �ำแนะนำ� ตชิ มอยา่ งไร สง่ มาพูดคยุ ผู้สูงวัยกบั หลัก 5 สขุ กันไดน้ ะคะ พบกนั ใหม่ฉบับหนา้ สวสั ดคี ่ะ เรอื่ งนา่ รู้ คผู่ ู้บรโิ ภค แพทยห์ ญิงภาวิณี รุ่งทนต์กิจ ผอู้ �ำนวยการสำ� นกั งานพฒั นาระบบสาธารณสขุ รูไ้ หม ขายอาหารตอ้ งตรวจสขุ ภาพ บรรณาธิการ กนิ เปน็ เน้นสขุ ภาพ กนิ อาหารจานดว่ นแบบไทย... ใหห้ ่างไกลโรคอยา่ งไร พบแพทย์ สนอ. หมอครอบครวั สำ� นกั อนามยั ดแู ล ใสใ่ จสขุ ภาพคนกรงุ เทพฯ ออกกำ� ลังกาย สรา้ งสุขภาพ การออกกำ� ลงั กายในทที่ ำ� งาน ถอดรหสั สตั ว์เลี้ยง พรอ้ มหรอื ยงั ...กอ่ นเลยี้ งสตั วใ์ นบา้ น อาสาพาเทยี่ ว เท่ยี วชมหอรชั มงคล สวนหลวง ร. 9 ยาและสมุนไพร ควรทำ� อยา่ งไร... ถา้ จ�ำเปน็ ต้องกนิ ยาปฏชิ วี นะ ค�ำถามน้.ี .. มีคำ� ตอบ รอบรวั้ กทม. มมุ สบาย คลายเครียด

รกั ษส์ ุขภาพ สเู่ สน้ ทางการพัฒนาสุขภาพคนกรุงเทพฯ “ผลักดันทันใจ แก้ไขทันที” นายทวศี ักดิ์ เลศิ ประพนั ธ์ รองผวู้ า่ ราชการกรงุ เทพมหานคร วถิ ชี วี ิตแบบคนเมอื งซึง่ เตม็ ไปดว้ ยความเรง่ รบี ความเครียด การแข่งขนั การน่ังท�ำงาน หน้าคอมพิวเตอร์เปน็ เวลานานๆ รว่ มกบั ขาดการดแู ลทางดานโภชนาการ ตลอดจนขาดการออกกำ� ลังกายทีส่ มำ่� เสมอและเหมาะสมลว้ นแลว้ แตเ่ ปน็ ปจั จยั ทสี่ ง่ ผลใหค้ นกรงุ เทพฯ มปี ญ หาสขุ ภาพดา้ นตา่ งๆ เชน่ ปญ หาโรคเรอื้ รงั ไดแ้ ก่ ความดนั โลหติ สงูเบาหวาน ไขมันในเลอื ดสูง โรคจากการท�ำงาน ปญ หาสขุ ภาพจิต ดังนัน้ ถงึ เวลาแลว้ ท่ที กุ หน่วยงานและทกุ ภาคสว่ นต้องบูรณาการร่วมกนั ในการด�ำเนนิ งานเพ่ือผลักดนั ใหเ้ กดิ การพฒั นาสขุ ภาพคนกรุงเทพฯ อย่างจรงิ จัง และตอ่ เนอ่ื ง ทรพั ยากรท่มี ีอยู่อย่างมีประสทิ ธิภาพ ประหยัด และเกิด 3 ประโยชนส์ ูงสดุ เพอื่ ใหค้ นกรงุ เทพฯ มีคณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี ทั้งทางด้านกาย จิต และสังคม โดยด�ำเนินงาน ภายใต้นโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พลต�ำรวจเอกอัศวิน ขวัญเมอื ง “ผลักดนั ทนั ใจ แกไ้ ข ทนั ท”ี ซงึ่ ประกอบดว้ ย “1 ภารกจิ พิเศษ 5 นโยบาย ทนั ใจ 19 ภารกิจผลกั ดันทนั ท”ี ดังนี้ 1. สะอาด (CLEAN) โดยเรง่ รัดการจดั เก็บขยะ ในพน้ื ทีส่ าธารณะ และพฒั นาการการก�ำจัดขยะที่เป็น วารสารสุขภาพส�ำนักอนามัยได้รับเกียรติจาก มติ รกบั สิง่ แวดล้อม ปรับปรงุ คุณภาพน�้ำในคลอง จัดท�ำนายทวศี กั ด์ิ เลศิ ประพนั ธ์ รองผวู้ า่ ราชการกรงุ เทพมหานคร ตลาดใหม้ คี วามสะอาด จดั ทำ� ทางเทา้ สะดวกปลอดภยัมาพูดคุยถึงนโยบายและแนวทางการด�ำเนินงานเพ่ือ รวมท้ังจะบริหารราชการด้วยความโปร่งใสตามหลักวางรากฐานในการพัฒนาเมืองและสร้างเสริมสุขภาพ ธรรมาภิบาลคนกรงุ เทพฯ อยา่ งรวดเร็ว เห็นผลอย่างเปน็ รปู ธรรมท่ีชดั เจน ภายใตน้ โยบาย “ผลักดันทนั ใจ แกไ้ ขทันท”ีกรงุ เทพมหานคร มแี นวทางการดำ� เนนิ งานอยา่ งไร ภายใต้นโยบาย “ผลกั ดันทนั ใจ แก้ไขทนั ท”ี กรงุ เทพมหานคร มีแนวทางในการด�ำเนินงานพัฒนาเมืองและสุขภาพคนกรุงเทพฯ โดยบูรณาการความร่วมมอื กับหน่วยงานตา่ งๆ ทั้งภาครฐั ภาคเอกชนภาคประชาสงั คมและภาคประชาชน ในการแก้ไขปญั หา 2. สะดวก (CONVENIENT) โดยเรง่ รดั ปรบั ปรงุต่างๆ ของกรุงเทพมหานคร โดยมคี วามสอดคล้องตาม ระบบระบายนำ้� การลอกทอ่ ระบายนำ�้ การเพม่ิ พนื้ ทแี่ กม้ ลงิบริบทและสภาพปัญหาของกรงุ เทพมหานคร ด้วยการใช้ ในอาคาร การแก้ไขปัญหาจุดตัดทางแยกของถนน วารสส�ำนารักสอุขนภาามพัย

การพฒั นาระบบขนสง่ มวลชนทง้ั ระบบหลกั ระบบรอง และทางเลือก การพัฒนาปรับปรงุ ป้ายอัจฉรยิ ะ การน�ำ ระบบสารสนเทศมาใชจ้ ดั การจราจร ตลอดจนการจัดระเบยี บทางเท้าและสาธารณูปโภค 3. ปลอดภยั (COMMUNITY) โดยปรบั สภาพแวดลอ้ ม ก�ำจัดจุดเสยี่ ง ติดตั้งกล้องโทรทัศนว์ งจรปิด (CCTV) เพม่ิ Public eyes (สายตาประชาชน) เพอ่ื ชว่ ยกนั สอดสอ่ งดแู ล และ Private security หรอื การปอ้ งกนั ภยั ภาคเอกชน 4. คุณภาพชีวติ ดี (CARE) โดยการพัฒนาโรงเรยี นกทม. โรงเรียนฝึกอาชีพ หอสมุดเมอื ง หอ้ งสมดุ ชมุ ชน การทอ่ งเทย่ี วการพฒั นาผลติ ภณั ฑข์ องกทม. เพม่ิ ขดี ความสามารถการใหบ้ รกิ ารทางการแพทย์ เฝา้ ระวงั ดา้ นสาธารณสขุ ตลอดจนเตรยี มพรอ้ มการเขา้ สู่สังคมผู้สูงวยั 5. วถิ พี อเพยี ง (COMMON WAYS OF LIVING) เปน็ การส่งเสรมิ ให้ประชาชนเรียนรู้แนวพระราชดำ� ริ หลักการทรงงาน ตลอดจนโครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชด�ำริ จดั ระเบยี บเมอื งด้วยการจดั การจราจร จดั จ�ำหนา่ ย สนิ ค้า และ Street Food เพอ่ื เป็นการส่งเสรมิ เศรษฐกิจชุมชนบนวถิ พี อเพยี ง  กรงุ เทพมหานคร มแี นวทางในการสร้างเสริมสขุ ภาพคนกรุงเทพฯ อย่างไร กรงุ เทพมหานคร มหี นว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบดแู ลสขุ ภาพ ไดแ้ ก่ สำ� นกั อนามยั และสำ� นกั การแพทย์ ในสว่ นของสำ� นกั อนามยั ประกอบดว้ ยหนว่ ยงานระดบั สำ� นกั งาน และกอง รวม 13 แหง่ ศูนยบ์ ริการสาธารณสุข 68 แห่ง และศนู ย์บริการสาธารณสุข สาขา 76 แห่ง ในการร่วมกันบรู ณาการ การดำ� เนินโครงการ และกจิ กรรมดา้ นสาธารณสขุ โดยทมี สหวชิ าชพี ทง้ั เชงิ รบั และ เชงิ รุกอยา่ งตอ่ เนอื่ งครอบคลุม 4 มติ ิ ไดแ้ ก่ ส่งเสริมสุขภาพ ควบคมุ ป้องกนั โรค รักษาพยาบาล และฟนื้ ฟูสุขภาพประชาชน ในกรุงเทพมหานคร ซง่ึ สอดคลอ้ งตามนโยบายการบรหิ าร ราชการกรุงเทพมหานคร ภายใต้แนวคิด “ผลักดันทันใจ แกไ้ ขทันที” ดงั นี้ 1. ด�ำเนินงานโครงการพัฒนาการสุขาภิบาล สง่ิ แวดลอ้ มของกรงุ เทพมหานคร Bangkok Clean and Green โดยจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนามาตรฐานความสะอาดและ สงิ่ แวดลอ้ มในอาคารสาธารณะ และกจิ กรรมพฒั นาสขุ ลกั ษณะ ส้วมสาธารณะในกรุงเทพมหานคร นับเป็นการส่งเสริม การจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัยของ สถานประกอบกิจการ และการจดั การสขุ าภบิ าลส่งิ แวดล้อม ของอาคารที่พกั อาศยั ให้มสี ภาวะสขุ าภบิ าลสงิ่ แวดล้อมทีด่ ี นอกจากนยี้ งั รวมพลงั ชาวกรงุ เทพฯ จดั กจิ กรรม Big Cleaning Day เมอื งกรงุ เทพฯ สะอาด โดยทงั้ ผปู้ ระกอบการ เจา้ ของบา้ น ร้านค้า และจิตอาสาร่วมกันท�ำความสะอาด ย่านชุมชน ย่านการคา้ คู คลอง ท่วั กรุงเทพฯ อย่างน้อย เดอื นละ 1 คร้งั4 สวา�ำรนสักาอรนสาุขมภัยาพ

2. บรู ณาการการด�ำเนนิ งานรว่ มกบั ส�ำนกั งานเขตทง้ั 50 แหง่ ในการด�ำเนนิ การตามค�ำสง่ั หวั หนา้ คณะรกั ษา 5ความสงบแหง่ ชาตทิ ี่ 22/2558 โดยร่วมกวดขันจัดระเบียบสถานบรกิ ารเปดิ เกนิ เวลา จำ� หนา่ ยเคร่ืองด่มื แอลกอฮอล์ใหเ้ ด็กอายุต�ำ่ กวา่ 20 ปี ปลอ่ ยปละละเลยให้มีการนำ� อาวุธหรือยาเสพตดิ เขา้ สถานบรกิ าร ส่งเสยี งดังกอ่ เหตุเดอื ดร้อนรำ� คาญ ซ่งึ หากพบจะส่ังปิดสถานบริการฝ่าฝืนกฎหมายทันที 3. ด�ำเนินงานด้านส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเพ่ือให้ผ้สู ูงอายมุ สี ุขภาพอนามยั ทดี่ ี สมบรู ณ์แขง็ แรงทัง้ ทางร่างกายและจติ ใจ เปน็ บุคคลทม่ี ีคุณคา่ ไดร้ บั การยกย่องจากครอบครวั และสังคม ได้แก่ จัดสิ่งอ�ำนวยความสะดวกให้แก่คนพกิ ารและผู้สูงอายุ ตามโครงการจัดหาอุปกรณช์ ว่ ยเหลอืทางการเคลือ่ นไหวแกค่ นพิการ ผสู้ ูงอายุ และผทู้ ่ีประสบปญั หาทางการเคลอื่ นไหว ดูแลสุขภาพในช่องปากและบ�ำบัดรักษาทางทันตกรรม ตามโครงการคนกรุงเทพฯ รักฟัน(เพอ่ื ผู้สูงวยั ฟนั ด)ี พัฒนาศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยและผสู้ ูงอายุทีต่ ้องไดร้ บั การดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ตามโครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุต่อเน่ืองที่บ้านซึ่งจะส่งผลให้ผู้ดูแล (Care Giver) มีความรู้และทักษะพื้นฐานทางการพยาบาล สามารถช่วยงานพยาบาลในการดูแลผปู้ ว่ ยและผู้สงู อายุที่ต้องได้รับการดแู ลต่อเนื่องท่บี า้ น กจิ กรรมการพฒั นาการดูแลสุขภาพทีบ่ ้าน (Home Health Care) โดยศนู ยบ์ รกิ ารสาธารณสขุเพื่อให้สามารถดูแลสขุ ภาพผ้ปู ว่ ยและผูส้ งู อายุตอ่ เนือ่ งท่ีบา้ นได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ 4. จัดกจิ กรรมการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ตามโครงการโครงการกรุงเทพฯ เมอื งอาหารปลอดภัยเพอื่ ปรับปรุง ยกระดบั มาตรฐานด้านสขุ ลกั ษณะการจ�ำหนา่ ยอาหารในสถานประกอบการ และสร้างความมั่นใจให้แก่ผบู้ ริโภคในการบริโภคอาหารทสี่ ะอาดปลอดภัย กรงุ เทพมหานคร ตระหนกั มงุ่ มน่ั และให้ความส�ำคัญกับการดูแลสุขภาพ ประชาชนเป็นอย่างยิ่ง จึงได้เร่งพัฒนา การดำ� เนินงานด้านตา่ งๆ อนั จะส่งผลให้ ประชาชนมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี และด�ำเนนิ ชีวติ อย่างมคี วามสขุ ภายใต้ นโยบาย “ผลกั ดนั ทนั ใจ แกไ้ ขทนั ท”ี ซง่ึ เปน็ ร า ก ฐ า น ใ น ก า ร พั ฒ น า เ มื อ ง แ ล ะ ดู แ ล คนกรงุ เทพฯ อยา่ งย่งั ยนื ตอ่ ไป บทสมั ภาษณ์โดย ทรงพร วทิ ยานนั ท์ นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชำ� นาญการ สำ� นกั งานพฒั นาระบบสาธารณสขุ สำ� นกั อนามยั กรงุ เทพมหานคร วารสส�ำนารักสอุขนภาามพัย

ห่วงใยแม่ ดแู ลลกู หญิงต้ังครรภ์ พึงระวัง!!! โรคติดเชื้อไวรัสซกิ า (Zika virus disease) มยรุ า สรอ้ ยช่ือ นกั วชิ าการสาธารณสขุ ปฏบิ ตั กิ าร สำ� นกั งานพฒั นาระบบสาธารณสขุ สำ� นกั อนามยั กรงุ เทพมหานครโรคติดเช้อื ไวรสั ซิกา...ภัยเงยี บจากยงุ ลาย หากกล่าวถงึ ภัยจากยุงลายที่เรารจู้ ักกันดีนอกจากโรคไขเ้ ลอื ดออก โรคไข้ปวดข้อยงุ ลาย (Chikungunya)และไขเ้ หลืองแลว้ ยงั มีอีกโรคหน่ึง คือ “โรคติดเชื้อไวรสั ซิกา” ทีม่ ีการแพรร่ ะบาดอยา่ งมาก จนองค์การอนามัยโลก(WHO) ประกาศใหก้ ารระบาดของไวรสั ซกิ าเป็นภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสขุ ระหวา่ งประเทศ เม่ือวันที่ 1 กุมภาพันธ์2559 แม้ว่าพบอัตราการเสียชีวิตจากไวรัสซิกาน้อย แต่ก็ต้องเฝ้าระวังโรค เพราะโรคนี้สามารถแพร่เชื้อไดโ้ ดยยุงลายท่ีมีเชอ้ื ไวรัสซกิ าและไปกัดคน ระยะฟกั ตัวของโรคประมาณ 3 - 12 วันเหตุผลใด ?..... และทำ� ไม ?..... 2. ยงั ไมม่ ีวคั ซนี ปอ้ งกันโรค เป็นเพยี งการรกั ษา ตามอาการท่ีพบ โดยหญิงต้ังครรภค์ วรไดร้ บั การดูแล“โรคติดเช้ือไวรสั ซกิ า”หญิงต้ังครรภต์ อ้ งใสใ่ จ ตรวจครรภ์อย่างต่อเนื่อง และปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำ ของแพทย์ 3. หากมีความจ�ำเปน็ ต้องไปตา่ งประเทศหรือ 1. หญิงตั้งครรภ์มีความเส่ียงติดเชื้อไวรัสซิกา ในพ้ืนที่ที่มีการระบาดของโรคเชื้อไวรัสซิกาให้หลีกเล่ียงเชน่ เดยี วกบั คนทว่ั ไป ซง่ึ มเี พยี ง 1 ใน 4 คนทตี่ ดิ เชอ้ื เทา่ นน้ั การถกู ยุงกัดเพอื่ ปอ้ งกนั การติดเชือ้ ไวรสั ซิกา รวมท้งัท่ีแสดงอาการ แต่ไม่รุนแรง อาการจะเกิดหลังจาก ควรปรกึ ษาแพทยก์ ่อนเดนิ ทาง และแจง้ ใหแ้ พทย์ทราบการถกู ยงุ ทม่ี เี ชอ้ื กดั 2 - 7 วนั โดยพบวา่ โรคเชอ้ื ไวรสั ซกิ า เม่ือไปตรวจครรภต์ ามนดั ทกุ ครั้งมีความสัมพันธ์ต่อการเกิดภาวะศีรษะเล็กแต่ก�ำเนิดของทารกในครรภ์ โดยเฉพาะในชว่ งไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ ซึ่งก�ำลังยังอยู่ในช่วงการศึกษาวิจัยถึงความเป็นไปได้ของการถ่ายทอดเช้ือไวรัสจากแม่สู่ลูกและผลกระทบต่อทารก ดังนั้นหญิงต้ังครรภ์และหญิงในวัยเจริญพันธุ์ควรหลีกเล่ียงการถูกยุงกัดโดยหญิงต้ังครรภ์ท่ีติดเชื้อไวรัสซิกาควรได้รับการติดตามและดแู ลสขุ ภาพอย่างใกล้ชิด การตดิ เชื้อในหญิงต้ังครรภ์....อาจท�ำเกดิ ภาวะศรษี ะเลก็ ในเด็กแรกเกิด6 สวา�ำรนสักาอรนสาุขมภัยาพ เรยี กวา่ “ Microcephaly”

ภาวะศรี ษะเล็กแต่ก�ำเนดิ ...คอื อะไร การรักษาโรคตดิ เช้อื ไวรสั ซกิ า เปน็ ความผดิ ปกติ ซงึ่ อาจมสี าเหตจุ ากพนั ธกุ รรม ปจั จบุ นั ยงั ไมม่ ยี ารกั ษา สว่ นใหญเ่ ปน็ แลว้ หายไดเ้ องหรือสิง่ แวดล้อมทเ่ี ป็นพิษ การฉายรงั สี หรอื การตดิ เชอ้ื ภายใน 2 - 7 วัน มักมีอาการไม่รุนแรง โดยเบอ้ื งตน้ซึง่ เดก็ แรกเกดิ ท่ีมีรอบศรี ษะขนาดเล็กปกติ เมื่อพจิ ารณา สามารถปฏบิ ัตติ นได้ ดงั นี้ตามอายคุ รรภท์ ่ีแรกคลอด และเพศ โดยภาวะศรี ษะเล็ก 1) การพักผ่อนใหเ้ พยี งพอ ดืม่ นำ้� มากๆอาจเกิดขึ้นเองแต่ก�ำเนิดหรืออาจจะมีความเก่ียวข้อง 2) รกั ษาตามอาการ เช่น ใช้ยาลดไข้ หรอื ยากบั อาการอ่นื ๆ เชน่ อาการชัก พฒั นาการล่าชา้ หรอื บรรเทาอาการปวด แนะนำ� ใหร้ บั ประทานยาพาราเซตามอลความผิดปกติในการดูด หรือกลืน อาการเหล่าน้ีมี หา้ มรบั ประทานยาแอสไพรนิ หรอื ยากลมุ่ ลดอกั เสบทไ่ี มใ่ ช่ความแตกตา่ งกนั ของความรุนแรง และอาจเป็นอนั ตราย สเตยี รอยด์ (NSAIDs) เพราะมยี าบางชนดิ ทเ่ี ปน็ อนั ตรายถงึ ชีวิต ซึ่งขณะน้ยี ังไม่มีการรกั ษาท่เี ฉพาะสำ� หรบั ภาวะ 3) ควรหมัน่ สังเกตอาการตนเอง เพราะโรคศีรษะเล็กแตก่ �ำเนิด ติดเช้อื ไวรัสซิกา อาจท�ำใหเ้ ลอื ดออกในอวัยวะภายใน ได้ง่ายข้นึ หากอาการไม่ดขี ้นึ ควรรีบไปพบแพทย์โดยเร็ว การปอ้ งกนั โรค ส�ำคัญท่ีสดุ คือ ป้องกันไม่ให้ยุงกดั และทำ� ลาย แหลง่ เพาะพนั ธข์ องยุงลาย ดังน้ี 1) สวมใสเ่ สอื้ ผา้ ใหม้ ดิ ชดิ ปอ้ งกนั อยา่ ใหใ้ หย้ งุ กดั 2) ก�ำจัดลูกน�้ำยุงลายและท�ำลายแหล่ง เพาะพันธุ์ ส่ิงแวดล้อมภายในบ้านและบริเวณบ้าน ตามหลัก 3 เก็บ คือ เก็บบ้าน เก็บน้�ำ เก็บขยะ ต่อเนื่อง ทุกสัปดาห์ และ 5 ป. “การวัดรอบศีรษะในทารกแรกเกิด 2 ครัง้ ป.ที่ 1 ปดิ ปดิ ภาชนะขังน้�ำใหม้ ดิ ชิดครงั้ แรกเม่อื แรกเกดิ และคร้ังท่ี 2 เมื่ออายุ 24 ชั่วโมง ปอ้ งกันยุงลายลงไปวางไข่ เปน็ วิธีประเมินวา่ ทารกมภี าวะศีรษะเลก็ แต่ก�ำเนิด” ป.ท่ี 2 เปลี่ยน เปลีย่ นน�้ำในแจกัน ถงั เก็บน้�ำ ทุก 7 วนั ป.ที่ 3 ปล่อย ปลอ่ ยปลากินลกู น้ำ�อาการสำ� คญั ของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั ซกิ า ป.ท่ี 4 ปรับปรงุ ปรับปรงุ ส่ิงแวดล้อม อาการของโรคติดเชื้อไวรัสซิกาจะคล้ายกับ ใหป้ ลอดโปร่งอาการทม่ี แี มลงเปน็ พาหะนำ� โรค เชน่ โรคไขส้ มองอกั เสบ ป.ท่ี 5 ปฏิบตั เิ ปน็ ประจำ� จนเป็นนิสยัโรคไขเ้ หลือง และโรคไข้เลือดออก เปน็ ตน้ โดยมอี าการ ปอ้ งกันโรคไวรัสซกิ าส�ำคัญดังน้ี 1) มีไข้ 2) มีผ่ืนแดง เยื่อบุตาอักเสบ 3) หญงิ ต้งั ครรภ์ ควรหลกี เลย่ี งทจ่ี ะเดนิ ทาง3) ปวดกลา้ มเนอื้ ปวดขอ้ ออ่ นเพลยี 4) ปวดศรี ษะ ไปยังพืน้ ทท่ี ี่มกี ารระบาดโดยอาการต่างๆ เหลา่ นจี้ ะเปน็ เพยี งเล็กน้อย และเป็น 4) หากมีอาการไข้ ออกผื่น ตาแดง หรือประมาณ 2 - 7 วนั ปวดขอ้ อาจมีโอกาสทีจ่ ะเปน็ โรคนไี้ ด้ โดยเฉพาะหญงิ ต้ังครรภ์ ให้รบี ไปพบแพทย์โดยเร็วรายการอ้างองิ ส�ำนักโรคติดตอ่ อบุ ัติใหม่ กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข. 2559. โรคติดเชือ้ ไวรสั ซิกา. [ออนไลน]์ สืบค้นจากhttp://beid.ddc.moph.go.th/beid_2014/th/diseases/2078.[วันทเี่ ข้าถึง 25 กพ 2560] วารสส�ำนารักสอุขนภาามพัย 7

วัยใส ใสใ่ จสขุ ภาพ ววัยยั ใใสส....ววัยยั ขขยยบั บั วัยรุน่ เป็นวยั ที่มีการเปลีย่ นแปลงในทุกๆด้าน โดยเฉพาะอย่างย่ิงการเปล่ยี นแปลงทางด้านรา่ งกาย วยั นส้ี ามารถเคลอื่ นไหวไดอ้ ยา่ งคล่องแคลว่ เพราะกระดูกและกล้ามเน้ือเจรญิ เติบโตอย่างเต็มท่ี อย่างไรก็ตาม สมรรถภาพรา่ งกายของแตล่ ะคนจะแตกต่างกนั ออกไป ขนึ้ อย่กู บั ปจั จยั แวดลอ้ มและการดแู ลในวยั เดก็ ของแต่ละบุคคล ในปัจจุบันมีความโน้มเอียงท่ีหญิงและชายมีความเท่าเทียม เสมอภาคกันในมิตทิ างสังคม แตใ่ นมติ ิทางกีฬาหรอื การออกก�ำลังกายแลว้ เพศชายและเพศหญิงจะมคี วามแตกต่างกัน เน่ืองจากธรรมชาติของหญิง และชายแตกต่างกัน การทผี่ ูห้ ญงิ จะเล่นกีฬาเหมือนชายท้ังหมด อาจมี ผลเสยี มากกวา่ ผลดี ผชู้ ายจะออกกำ� ลงั กายเพอ่ื ใหเ้ กดิ กำ� ลงั ความแขง็ แรง รวดเร็ว และฝึกความอดทน เช่น วิ่ง ปั่นจักรยาน บาสเกตบอล วอลเลย์บอล โปโลน้�ำ ฟตุ บอล กระโดดสูง เปน็ ต้น ในขณะทีผ่ ู้หญิง จะเน้นออกก�ำลงั กายทที่ �ำให้ร่างกายแขง็ แรง และเสริมสร้างทรวดทรง เช่น ว่ายน�ำ้ ยิมนาสติก และวอลเลยบ์ อลเป็นต้น ออกก�ำลงั กายแล้ว...ดอี ยา่ งไร 1. ชว่ ยทำ� ให้ระบบอวยั วะตา่ งๆ ภายในรา่ งกายมีการเคลือ่ นไหว สง่ ผลให้กลา้ มเน้ือแข็งแรงและอดทนยง่ิ ขนึ้ 2. ท�ำใหร้ ปู รา่ งดี น้�ำหนักตวั อยใู่ นเกณฑ์ 3. ท�ำให้จิตใจแจ่มใส ผ่อนคลายความเครียด ไม่ซึมเศร้า ไม่วิตกกงั วล สขุ ภาพจิตดขี ึ้นและนอนหลับสบาย 4. ชว่ ยใหร้ ะบบไหลเวียนเลอื ด ปอด หัวใจท�ำงานดีย่งิ ขน้ึ ป้องกันโรคหวั ใจและความดันโลหติ สงู 5. ช่วยให้ระบบขบั ถา่ ยดีขน้ึ8 สวา�ำรนสักาอรนสาุขมภัยาพ

ถา้ ไมอ่ อกก�ำลงั กายจะเกดิ อะไรข้นึ1. การเจริญเตบิ โต การออกก�ำลงั กายจะทำ� ใหก้ ระดูกมีความแขง็ แกร่ง คงทน และมีความหนา เน่ืองจากมกี ารเพิม่ การสะสมของธาตุแคลเซียมในกระดูก วัยร่นุ ทข่ี าดการออกก�ำลังกาย กระดกู จะเลก็ เปราะบาง และท�ำให้เติบโตชา้2. รูปร่างทรวดทรง วยั รนุ่ บางคนกินอาหารมากแต่ขาดการออกกำ� ลงั กาย จึงท�ำให้เป็นโรคอว้ น โรคภาวะโภชนาการเกิน และมกี ลา้ มเนอ้ื นอ้ ย ทำ� ใหม้ รี ปู รา่ งไมส่ มสว่ น3. สขุ ภาพท่วั ไป วัยรุน่ ทข่ี าดการออกก�ำลังกาย ร่างกายจะออ่ นแอมภี ูมิคุ้มกันต่ำ� เจ็บป่วยไดง้ ่าย มีโอกาสเกิดโรคแทรกซอ้ นไดง้ ่าย4. สมรรถภาพทางกาย การออกก�ำลังกายแบบไม่หนัก แต่ใช้เวลานานติดต่อกันจะเพ่ิมความอดทนให้กับร่างกาย วัยรุ่นท่ีขาดการออกก�ำลังกายอาจเกิดอุบัติเหตุจากการออกก�ำลังกายได้ง่าย เนือ่ งจากการประสานงานระหวา่ งระบบประสาทกับกล้ามเนอ้ื ตำ่�5. ด้านสงั คมและจิตใจ การออกก�ำลังกายจะท�ำให้วัยรุ่นรู้จักปรับตัวเข้ากบั สงั คม ร่าเริง มีความเชื่อมน่ั ในตัวเอง เม่อื เติบโตเป็นผู้ใหญ่จะมีนิสัยการออกก�ำลังกายติดตัวไปด้วยในขณะท่ีวัยรุ่นบางคนที่ขาดการออกก�ำลังกายมักจะเก็บตัวมีเพอื่ นนอ้ ย บางคนหนั ไปพ่ึงยาเสพตดิ ซึ่งจะกลายเปน็ปัญหาของสงั คมในอนาคต การออกก�ำลังกายนับเป็นส่ิงจ�ำเป็นอย่างยิ่ง ช่วยส่งเสริมให้มีการเจริญเติบโตของระบบกระดูกระบบกล้ามเนื้อ และระบบขอ้ ต่อของรา่ งกาย นอกจากน้ียงั ท�ำให้เกดิ ผลดตี อ่ ระบบหัวใจและหลอดเลอื ดการควบคุมน�้ำหนัก รวมไปถึงการสร้างเสริมสุขภาพจิต ที่ส�ำคัญเป็นการสร้างนิสัยการออกก�ำลังกายอย่างสม่�ำเสมอ กิจกรรมที่เหมาะสมที่ช่วยกระตุ้นให้วัยใส ตระหนักและรักนิสัยการออกก�ำลังกาย คือการท�ำกิจกรรมออกก�ำลังกายที่ง่ายและสนุกเป็นประจ�ำทุกวัน ได้แก่ การว่ิง การว่ายน้�ำ แบตมินตันวอลเลย์บอล และฟุตบอล เป็นตน้ โดยออกกำ� ลังกายวันละ 30-60 นาที อยา่ งนอ้ ยสปั ดาห์ละ 3 คร้งัอยา่ งสม่�ำเสมอ วารสส�ำนารักสอุขนภาามพัย 9

ดูแลสุขภาพสไตล์คนเมือง มารจู้ กั กบั โรคท้องเสยี จากเช้อื โนโรไวรสั รตั ตินนั ท์ สายสมคณุ นกั วชิ าการสาธารณสขุ ปฏบิ ตั กิ าร กองควบคมุ โรคตดิ ตอ่ สำ� นกั อนามยั กรงุ เทพมหานคร เชอ้ื โนโรไวรสั (Norovirus Infection) เปน็ ไวรัสชนดิ หนง่ึ ที่เปน็ สาเหตขุ องโรคท้องเสยี หรอื อาหารเป็นพษิ พบไดใ้ นทกุ เพศ ทกุ วัย ส่วนใหญ่มกั พบในกลมุ่ เดก็ และกล่มุ คนทีม่ พี ฤติกรรมอนามยั ไมถ่ ูกสขุ ลกั ษณะ หรืออยูใ่ นสภาพสุขาภิบาลส่ิงแวดลอ้ มที่เอื้อต่อการเกดิ โรค โดยมักจะระบาดในฤดูหนาว โรคนี้ตดิ ต่อกนั ได้อย่างไร จากการรบั ประทานอาหารหรือน้�ำทม่ี ีการปนเปื้อนเช้ือโนโรไวรัสเขา้ ไป ในร่างกาย อาหารทมี่ ักกอ่ ให้เกดิ การติดเชื้อไดบ้ อ่ ย ได้แก่ น�้ำ น้�ำแขง็ ท่ีปนเปอื้ นเชอื้ อาหารประเภทหอย และอาหารทะเล สัมผัสกับสารคัดหลงั่ จากผ้ปู ่วยเช่น เลือด น�้ำเหลือง น้�ำตา เหง่ือ น้ำ� มกู นำ�้ ลาย ปัสสาวะ เปน็ ต้น โดยผูท้ ตี่ ิดเช้อื แล้วจะแพร่เชื้อตอ่ ไปไดอ้ ีกประมาณ 3 วนั เป็นแล้วมีอาการอย่างไร ผทู้ ไ่ี ดร้ บั เชอื้ โนโรไวรสั จะปรากฏอาการหลงั จากไดร้ บั เชอ้ื เขา้ ไปเพยี ง 12 - 48 ชวั่ โมง อาการทพี่ บคอื คล่ืนไส้ อาเจยี น มีไข้แตไ่ ม่สงู มาก ปวดศีรษะ ปวดทอ้ ง ทอ้ งเสยี และอ่อนเพลีย โดยจะมีอาการประมาณ 2 - 3 วนั บางรายสามารถหายได้เอง แตใ่ นบางรายอาจมีอาการขาดนำ้� ต้องใหน้ ้�ำเกลอื หรือตอ้ งเข้ารบั การรักษาตวั ที่โรงพยาบาล การดแู ลเบ้อื งต้น ให้ดืม่ น�ำ้ ละลายผงน้ำ� ตาลเกลือแร่ (โอ อาร์ เอส) เพือ่ ทดแทนการสูญเสยี น�้ำ หากผ้ปู ว่ ยอาการไม่ดีข้นึ ถา่ ยบ่อย หรืออุจจาระเปน็ มกู ปนเลือด ให้รบี ไปพบแพทย์ วิธกี ารผสมผงน�้ำตาลเกลือแร่ ผสมผงนำ�้ ตาลเกลือแร่ 1 ซอง ในน้ำ� ตม้ สกุ ทเ่ี ยน็ แลว้ ตามสัดสว่ นท่ีกำ� หนด ถา้ ไมม่ ีผงน�้ำตาลเกลือแร่ (โอ อาร์ เอส) สามารถเตรียมสารละลายเกลอื แรไ่ ด้ ดงั นี้ หากผสมแลว้ ดื่มไม่หมดภายใน 24 ชม. ให้เททง้ิ และผสมใหม่10 สวา�ำรนสักาอรนสาุขมภัยาพ

ปฏิบั ติอย่างไรให้ห่างไกลโรคท้องเสีย ล้างมือให้สะอาดก่อนและหลัง รับประทานอาหาร ค ว ร เ ลื อ ก รั บ ป ร ะ ท า น อ า ห า ร ปรงุ สุกใหม่ๆ ไม่หมดอายุ ไม่มรี า ใช้ช้อนกลางเม่ือต้องรับประทานอาหาร ร่วมกับผู้อื่น ควรเก็บอาหารที่ยังไม่รับประทาน ไว้ในตู้เย็นที่อุณหภมู ิ 4 องศาเซลเซยี ส อาหารทะเลควรเลือกซ้ือที่สดและ สะอาด หลกี เลยี่ งการรบั ประทานอาหาร ประเภทที่สุกๆ ดบิ ๆ เช่น ลาบ กอ้ ย ควรบริโภคน้�ำหรือเคร่ืองดื่มท่ีมีเครื่องหมายรับรองคุณภาพจากส�ำนักงานคณะกรรมการอาหาร และยา (อย.) หรือดืม่ นำ้� ตม้ สุก ล้างผกั และผลไม้ใหส้ ะอาดกอ่ นน�ำมารับประทาน โดยการคลีใ่ บล้างผ่านนำ�้ ให้สะอาดหลายๆ ครัง้ เลอื กซ้อื และรับประทานเห็ดท่ีไมเ่ ป็นพิษ และเหด็ ท่ีรจู้ ักจริงเท่าน้ัน เลอื กซื้ออาหารทบี่ รรจุในกระป๋องท่สี ภาพดี ควรดูวนั หมดอายุทุกครงั้ กอ่ นน�ำมารับประทาน ล้างมือให้สะอาด ปราศจากโรค1. ฝ่ามอื ถกู นั 3. ฝ่ามือถฝู ่ามอื และนว้ิ ถซู อกนิ้ว 2. ฝา่ มือถูหลังมือ 4. หลงั นิว้ มือถฝู ่ามือ และถซู อกนว้ิ มือ5. ถนู ้วิ หวั แมม่ อื โดยรอบ 6. ปลายนวิ้ มือถูขวาง 7. ถูกรอบขอ้ มอื ดว้ ยฝ่ามือ ฝ่ามือ วารสส�ำนารักสอุขนภาามพัย 11

สุขภาพ ผู้สงู วัย Care giver ดแู ลใสใ่ จ ผู้ปว่ ยอัลไซเมอร์ สุชญั ญา บณั ฑติ สกุล และศศมิ า ชีพัฒน์ พยาบาลวชิ าชพี ชำ� นาญการ ศนู ยบ์ รกิ ารสาธารณสขุ 66 ตำ� หนกั พระแมก่ วนอมิ ฯ สำ� นกั อนามยั กรงุ เทพมหานคร อลั ไซเมอร์ (Alzheimer’s disease) ไม่สามารถเรียกช่ือส่ิงของท่ีมองเห็นอยู่ตรงหน้าได้เป็นโรคสมองเสื่อมท่ีพบได้บ่อยที่สุด อาการ คือ การท�ำกิจวัตรประจ�ำวันต่างๆ ก็จะเร่ิมมีปัญหา เช่นความจ�ำเส่ือม หลงลืม พฤติกรรมและนิสัยเปลี่ยนไป การแตง่ ตัว ไมร่ ู้วา่ ชุดไหนควรเอาไวใ้ ส่เวลาใด อาจมีอาการจะด�ำเนินไปอย่างช้าๆ แต่รุนแรงขึ้นเร่ือยๆ อาการหลงผิด เห็นภาพหลอน กลบั บา้ นไมถ่ ูก ไมเ่ ขา้ ใจจนในท่สี ดุ จะชว่ ยเหลอื ตัวเองไมไ่ ด้ และเสียชวี ติ ในทส่ี ุด หรือลมื วา่ การกระท�ำเช่นนี้ไม่เหมาะสม เชน่ เมอื่ อากาศไม่มีวิธีป้องกันหรือรักษาให้หาย มักจะพบในผู้สูงอายุ รอ้ นก็ถอดเสอื้ ผา้ ออกหมดแม้จะอยูใ่ นท่สี าธารณะย่ิงอายุมากขึ้นก็จะพบอัตราการเป็นโรคมากข้ึน สมองเส่ือมระยะสุดท้าย ความทรงจ�ำอาการจะแบ่งเป็นระยะต่างๆ คอื ในระยะสน้ั ความทรงจำ� ในระยะยาว และความจำ� ใน ระยะกอ่ นสมองเสอ่ื ม ผปู้ ว่ ยจะมคี วามบกพรอ่ ง การท�ำส่ิงต่างๆ เช่น การใช้ช้อนส้อมจะสูญเสียไปทางการเรียนร้เู ล็กน้อย มีปัญหาในการจดจ�ำข้อมูลทีเ่ พิ่ง การใช้ภาษาจะลดลงอย่างมาก อาจพดู เพยี งวลีง่ายๆเรียนรู้มาไม่นาน หรือไม่สามารถรับข้อมูลใหม่ๆ ได้ หรอื คำ� เดยี่ วๆ จนไมส่ ามารถพดู ไดเ้ ลย พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วแต่โดยทั่วไปยังสามารถด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันได้เป็น จะลดลง ตอ้ งอาศยั พงึ่ พาผดู้ แู ลตลอดเวลา การทำ� กจิ วตั รปกติ ยงั ตดั สนิ ใจท�ำในสงิ่ ตา่ งๆ ได้ ยกเว้นเรือ่ งท่สี ลับ ประจ�ำวันต่างๆ จะค่อยๆ ลดลง จนไม่สามารถท�ำซับซ้อน กิจกรรมใดๆ ได้เลย สุดท้ายผู้ป่วยก็จะเสียชีวิตจาก สมองเสือ่ มระยะแรก มีการสูญเสยี ความจำ� ภาวะแทรกซอ้ นตา่ งๆ เชน่ เกดิ แผลกดทบั และการตดิ เชอ้ืในระยะส้ัน ความจำ� ใหม่ หรอื ความจ�ำทเ่ี พงิ่ เรยี นรู้มาเช่น ลมื ว่าเกบ็ กญุ แจไวท้ ีไ่ หน ลืมนดั ถามซ้�ำ พดู ซ�้ำ แต่ความทรงจ�ำในระยะยาวท่ีเกิดขึ้นเฉพาะตัวของผู้ป่วยเช่น เกดิ ที่จังหวดั ไหนยงั จำ� ได้เปน็ ปกติ การใช้ชวี ติ เริ่มไม่เปน็ ปกติ เชน่ จ�ำไมไ่ ดว้ ่าสถานท่นี ัน้ ตอ้ งไปทางไหนและอาจจะกลับบ้านไม่ถูก จ�ำไม่ได้ว่าจ่ายเงินไปแล้วท�ำกิจวัตรประจ�ำวันไมค่ ลอ่ งแคลว่ อารมณ์เร่ิมเปลี่ยนไป สมองเส่ือมระยะปานกลาง นอกจากสูญเสียความทรงจ�ำในระยะสัน้ แลว้ ความจำ� ในระยะยาว และความรู้ท่วั ไปกจ็ ะค่อยๆ บกพรอ่ งไป ผู้ป่วยจะจ�ำช่ือและหนา้ ตาของเพอ่ื นๆ ไมไ่ ด้ และอาจจะจำ� คนในครอบครวั ไมไ่ ด้12 สวา�ำรนสักาอรนสาุขมภัยาพ

ผู้ดูแลเป็นบุคคลที่มีบทบาทส�ำคัญท่ีสุดในการดูแลผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์เพราะถือว่าเป็นงานที่ยาก เนื่องจากตอ้ งชว่ ยดแู ลไมใ่ ห้ผู้ปว่ ยมีอาการเพมิ่ ขนึ้ และยงั ตอ้ งตอ่ สูก้ บั อารมณ์ของตนเองไม่ให้โกรธ เศร้าหมอง หดหู่ หรือทอ้ แท้ ศูนย์บริการสาธารณสุข 66 ต�ำหนกั พระแม่กวนอิม โชคชัย 4สำ� นกั อนามยั กรงุ เทพมหานคร ไดม้ โี อกาสเขา้ ไปเยยี่ มบา้ นครอบครวั หนงึ่ ซง่ึ มคี ณุ ตาเปน็ ผปู้ ว่ ยตดิ เตยี งเนอ่ื งจากเสน้ เลอื ดสมองแตกและโรคอลั ไซเมอร์ สว่ นคณุ ยาย ปว่ ยดว้ ยโรคอลั ไซเมอร์ และโรคอารมณ์แปรปรวนสองขัว้ โดยญาติมคี วามวิตกกงั วลตอ่ อาการและการดแู ลผู้ป่วยท้ังสองอย่างเห็นได้ชัด ศูนยบ์ ริการสาธารณสุข 66 ไดม้ ีการสรา้ ง สมั พนั ธภาพกบั ผปู้ ว่ ยและญาติตลอดจนใหค้ ำ� แนะนำ� ในการดูแลผูป้ ว่ ย ซง่ึ มกี ารจดั เตยี งนอนของคณุ ตา คณุ ยายใหอ้ ยตู่ ดิ กนั และกระตนุ้ ใหค้ ณุ ตากบั คณุ ยาย ได้พูดคยุ กัน ไม่มใี ครทราบวา่ คุณยายรับรู้เรื่องราว ทคี่ ณุ ตาพดู คยุ ดว้ ยหรอื ไม่ แมว้ า่ จะไมม่ กี ารโตต้ อบใดๆ ออกมาแต่ก็มีรอยย้ิมแห่งความสุขของคุณยาย ปรากฏอยูบ่ นใบหนา้ เสมอ นอกจากน้ี ไดใ้ หค้ ำ� ปรกึ ษาแนะนำ� ในเรอื่ งการท�ำความเข้าใจภาวะสมองเสื่อม โดยยดึ หลักการใช้ความไม่โกรธ หรือโมโห ซ่ึงผดู้ ูแลไมค่ วรบงั คับให้ผู้ปว่ ยจ�ำ หรือทำ� ในส่งิ ทีไ่ มค่ นุ้ เคยยดึ หลกัความยดื หยนุ่ ปรบั ตวั ยอมรบั การเปลยี่ นแปลงและลดความคาดหวงั ในตวั ผปู้ ว่ ยลง ดแู ลการพกั ผอ่ นการท�ำกิจกรรม และจัดอาหารที่เหมาะสมและการรับประทานอาหารให้เป็นเวลาการกระตุ้นการเคล่ือนไหวและการออกกำ� ลังกายจัดสภาพแวดลอ้ มให้เรยี บรอ้ ย ไม่ปรบั เปล่ยี นสภาพห้องบ่อยๆเพราะจะทำ� ใหผ้ ูป้ ่วยสบั สนไดง้ า่ ย พยายามหลีกเล่ียงไมใ่ ห้มีเสียงดังเน่ืองจากจะเป็นการกระตุน้ ให้ผปู้ ว่ ยกลวั และตกใจได้ สง่ิ สำ� คัญทสี่ ุด คอื การใช้ความรัก ความกตัญญู และความเขา้ ใจ จะเปน็สิ่งท่ีชว่ ยใหผ้ ดู้ ูแลสามารถดแู ลผปู้ ่วยอลั ไซเมอรไ์ ดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ การลงพน้ื ทเี่ ยี่ยมบา้ น เพือ่ ใหก้ ารพยาบาลให้คำ� ปรึกษาแนะน�ำใหผ้ ูด้ แู ลไดเ้ รยี นรูเ้ ข้าใจถงึ อาการของโรค และทราบถึงการดแู ลผปู้ ว่ ยทถี่ กู วธิ ี จึงเปน็ สิง่ ท่ีมปี ระโยชนอ์ ยา่ งยิง่ ซ่ึงจะส่งผลให้ผูป้ ว่ ยไม่เกดิ ภาวะแทรกซอ้ น นอกจากน้ยี ังเปน็ การสรา้ งความม่ันใจในการดแู ลผปู้ ว่ ยให้กบั ผู้ดแู ลและชว่ ยผอ่ นคลายความเครยี ดของผดู้ ูแลอีกด้วย วารสส�ำนารักสอุขนภาามพัย 13

เติมใจ ใสย่ มิ้5ผู้สูงวยั กับหลัก สุข จุฑาทพิ วงษ์สวุ รรณ นกั จติ วทิ ยาชำ� นาญการพเิ ศษ กองสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ สำ� นกั อนามยั กรงุ เทพมหานคร การเปล่ยี นแปลงโครงสร้างประชากรทำ� ใหส้ งั คมไทยก้าวส่สู งั คมผสู้ งู อายตุ ัง้ แต่ปี 2550 เปน็ ตน้ มาและการเจ็บป่วยในวัยสูงอายุพบว่าค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาสุขภาพสูงกว่าประชากรกลุ่มวัยอื่นขณะเดียวกันมีหลักฐานทางการแพทย์และงานวิจัยท่ีมีความเห็นว่าการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตสามารถชะลอความเส่ือมของรา่ งกายไดด้ ีกว่าการรักษาเมือ่ พบความเจ็บป่วย • กลมุ่ ตดิ สงั คม เปน็ กลมุ่ ผสู้ งู อายทุ ช่ี ว่ ยเหลอื ตนเองไดด้ ี ด�ำเนินชวี ิตในสังคมไดอ้ ิสระ สุขภาพทั่วไปดี ไม่มีโรคเรือ้ รงั หรอื มีโรคเรื้อรงั 1 - 2 โรคทคี่ วบคมุ โรคได้ • กลมุ่ ตดิ บา้ น เปน็ กลมุ่ ผสู้ งู อายทุ ชี่ ว่ ยเหลอื ตนเองได้บ้างหรือต้องการความช่วยเหลือจากผู้อ่ืน เพียงบางสว่ น มีความจ�ำกดั ในการด�ำเนินชวี ิตในสังคม • กลมุ่ ตดิ เตยี ง เปน็ กลมุ่ ผสู้ งู อายทุ ไี่ มส่ ามารถ ชว่ ยเหลอื ตนเองในกจิ วตั รประจำ� วนั ตอ้ งการความชว่ ยเหลอื จากผู้อ่นื ในเร่ืองการเคล่อื นยา้ ย หลัก 5 สุข เป็นมิติความสุขของผู้สูงอายุ เพอื่ การปฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ ความสขุ ไดแ้ ก่ สขุ สบาย สขุ สนกุ การบง่ ชี้การมีสุขภาพดีของผู้สูงอายุ นอกเหนอื สุขสง่า สขุ สวา่ ง และสุขสงบ ซ่ึงแนวทางในการดแู ลจากการให้ความส�ำคัญกับสุขภาพกายและการท�ำงาน ปฏบิ ตั ิ เพอ่ื ความสขุ มกี ารออกแบบใหเ้ กดิ ความเหมาะสมของสมอง การประกอบกจิ วตั รประจำ� วนั การเข้าถงึ กบั ลกั ษณะสขุ ภาพและสงั คมของผสู้ งู อายใุ นแตล่ ะกลมุ่บรกิ ารตา่ งๆ และการมสี ภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสม ประเดน็ ดงั นี้ของสภาพจติ ใจ อารมณ์ ความรสู้ กึ เปน็ หวั ใจหลกั ทม่ี สี ว่ น สุขสบาย - เปน็ การดูแลสุขภาพรา่ งกาย ใหม้ ีช่วยสนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีสุขภาวะที่ดี การพัฒนา สมรรถภาพร่างกายแข็งแรง คล่องแคล่ว มีก�ำลังสภาพจิตใจ ถา้ จะกลา่ วให้เปน็ รูปธรรม คือ ความสขุ ตอบสนองต่อความต้องการได้ตามสภาพท่ีเป็นอยู่เชิงจิตวิทยาท่ีใช้เพื่อส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค มีสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมสุขภาพ ส�ำหรับผู้สูงอายุให้กบั ผู้สงู อายทุ ลี่ ูกหลานหรอื ผู้ดูแล รวมถงึ ผ้สู ูงอายุเอง กลุม่ ตดิ สงั คม คือการมสี ุขภาพดีเช่นเดยี วกับผู้มีสขุ ภาพดีควรใส่ใจ เพ่อื การกา้ วไปสูส่ งั คมผูส้ งู วยั อย่างมคี วามสุข ทวั่ ไป ส่วนกลุ่มติดบ้าน และกลุ่มติดเตียง เป็นการดแู ลอย่างไรก็ตามผู้สูงอายุในปัจจุบันมีการแบ่งกลุ่ม สุขภาพร่างกายตามสภาพที่เป็นอยู่ มีเศรษฐกิจ หรือตามลกั ษณะสุขภาพและสงั คมของผู้สูงอายุ ซ่งึ ประกอบ ปจั จยั ท่ีจ�ำเปน็ พอเพยี ง มีสภาพแวดลอ้ มทไี่ ม่ก่อใหเ้ กิดไปด้วย อุบตั ิเหตุ14 สวา�ำรนสักาอรนสาุขมภัยาพ

สขุ สนุก - เป็นความสามารถในการเลอื กวถิ ชี ีวิตทีร่ น่ื รมย์สนุกสนาน ท�ำกิจกรรมทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ อารมณ์เปน็ สุข สดชืน่ มคี ณุ ภาพชวี ิตท่ดี ี ลดความเครียด กังวล เศร้า โดยท�ำกิจกรรมในเวลาวา่ งด้วยความสมัครใจ เปน็ กิจกรรมเด่ยี วหรือรวมกลมุ่ สำ� หรับผู้สูงอายุกลมุ่ ตดิ สังคมและกลุ่มติดบา้ น กิจกรรมอาจแสดงออกในรปู แบบกีฬา ดนตรี ศลิ ปะ งานอดเิ รก ส่วนกลมุ่ ติดเตียง การทำ� กิจกรรมเพ่ือให้สามารถปรับตัว สรา้ งพลัง ความมีชวี ิตชวี ารูปแบบ อาจเป็นกิจกรรมนันทนาการ เพ่ือให้เกิดอารมณ์เป็นสุข สนุกสนานการออกกำ� ลงั กายที่เหมาะสมกบั สภาพร่างกาย เป็นตน้ สุขสง่า - เปน็ ความพงึ พอใจชวี ติ ภาคภมู ิใจ เชอื่ มั่น เหน็ คณุ คา่ในตนเอง มีสว่ นรว่ มในการช่วยเหลือผูอ้ ่นื ในสงั คม เกดิ มมุ มองการใช้ชวี ิตเชงิ บวก เช่น การมีจิตอาสา ส�ำหรบั ผูส้ งู อายุกลุม่ ติดบ้านและติดเตยี งกิจกรรมท่ีท�ำให้เกิดสุข ท�ำเพ่ือความมีคุณค่าในตนเอง ไม่ซึมเศร้าท้อแท้ เป็นการน�ำความรู้และประสบการณ์ในอดีต มาใช้ให้เกิดประโยชน์ เพ่ือให้เกิดความรู้สึกในแง่ดีต่อตนเองและผู้อื่น รู้จักเหน็ อกเหน็ ใจผูอ้ ืน่ สุขสว่าง - เป็นความสามารถของผู้สูงอายุด้านความจ�ำความคดิ อย่างมีเหตุมีผล สอื่ สาร วางแผน แกไ้ ขปญั หาและจดั การกบั ส่ิงต่างๆไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ การมีกจิ กรรมของผสู้ งู อายุกลุ่มติดสังคม เพ่อื ความสุขสวา่ งเป็นกิจกรรมท่นี �ำความรูใ้ นอดตี มาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์แกผ่ อู้ นื่ และเพอื่ ให้มคี วามสามารถทางสังคม สร้างปฏิสมั พนั ธ์อย่างมปี ระสิทธิภาพ ส่วนกลมุ่ ตดิ เตยี งเปน็ กจิ กรรมท่ชี ะลอความเสย่ี งของสมอง เนน้ การรับรู้ การเคลื่อนไหวความจำ� สขุ สงบ - เปน็ ความสามารถในการรับรู้ เขา้ ใจ ความร้สู ึก ควบคุมอารมณ์ จัดการกับอารมณท์ เ่ี กิดขนึ้ ได้ยอมรับสภาพท่ีเป็นจรงิ เพื่อให้เกิดความสุขสงบข้นึ กับตนเอง โดยเฉพาะในผู้สงู อายุกล่มุ ตดิ เตยี ง ควรดแู ลจัดการกบั ความรู้สกึ ด้านลบที่เกดิ ขึ้น เพ่อื ใหต้ ระหนักร้เู ข้าใจอารมณข์ องตนเองตามความเป็นจรงิ เพอ่ื ป้องกนั โรคซมึ เศรา้และการทำ� รา้ ยตนเอง การสง่ เสรมิ ใหล้ กู หลาน ผดู้ แู ล หรอื ผสู้ งู อายเุ องไดด้ แู ลรกั ษา สขุ ภาพกายและใจของผู้สงู อายุด้วยหลัก 5 สขุ เป็นการเตรยี มตวั ทดี่ ที จ่ี ะทำ� ใหผ้ สู้ งู อายมุ คี วามแขง็ แรงทางรา่ งกายและมคี วามเขม้ แขง็ ทางใจ เปน็ พลังร่วมสร้างสรรค์สังคมเตรยี มพรอ้ มท่จี ะอยูร่ ่วมกบั ครอบครัว และสังคมไดอ้ ย่างมีความสุขรายการอา้ งองิ สำ� นักพฒั นาสขุ ภาพจิต กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสขุ . คูม่ อื “ความสุข 5 มติ ิ” ส�ำหรบั ผูส้ งู อายุ. พิมพ์ครัง้ ที่ 2 โรงพมิ พช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำ� กัด; มนี าคม 2556. วารสส�ำนารักสอุขนภาามพัย 15

เรื่องนา่ รู้ ผู้บริโภค รู้ไหม ? ขายอาหารต้องตรวจสุขภาพ ณัฐยาภรณ์ สร้อยนาค นกั วชิ าการสขุ าภบิ าลชำ� นาญการ กองสขุ าภบิ าลอาหาร สำ� นกั อนามยั กรงุ เทพมหานคร อาหารที่วางจ�ำหน่ายทวั่ ไปในพน้ื ที่กรงุ เทพมหานครมคี วามหลากหลาย พบวา่ ประชาชนสว่ นใหญ่นยิ มซอื้ อาหาร มารับประทาน เน่อื งจากวถิ ีชวี ติ ของคนกรงุ เทพมหานคร มคี วามเร่งรบี แขง่ ขัน ไมม่ เี วลาในการเตรยี มประกอบ ปรงุ อาหารรับประทาน ซึ่งจะพบว่า การจ�ำหนา่ ยอาหารในรา้ นอาหาร ภตั ตาคาร หรือแผงลอยจำ� หน่ายอาหารรมิ บาทวิถี ก็ลว้ นแต่ตอ้ งผา่ นกระบวนการเตรยี ม ประกอบปรงุ อาหารโดยผสู้ ัมผัสอาหาร ซึ่งมที งั้ คนปรงุ คนเสิร์ฟ คนเตรียม วตั ถดุ ิบ โดยหากพบว่าบคุ คลเหลา่ นม้ี สี ุขภาพไม่แขง็ แรง เจ็บป่วยดว้ ยโรคทส่ี ามารถตดิ ตอ่ จากการรบั ประทานอาหาร ก็จะส่งผลกระทบตอ่ ผ้บู รโิ ภคให้มกี ารเจ็บป่วยได้ด้วย ดงั นน้ั เพอื่ เปน็ การคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคใหไ้ ดบ้ รโิ ภค มีเหตุควรเชื่อว่าป่วยเป็นโรคติดต่อ ท�ำการจ�ำหน่าย อาหารท่ีสะอาด ปลอดภัยจากเชื้อโรค หนอนพยาธิ ท�ำ ประกอบ ปรุง เกบ็ หรอื สะสมอาหาร โดยมีแพทย์ และสารเคมอี นั ตราย กรงุ เทพมหานครจงึ ไดอ้ อกกฎหมาย รับรองอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้งและข้อบัญญัติ ให้ผู้ประกอบการต้องขออนุญาตจัดต้ังสถานที่ กรุงเทพมหานคร เร่ือง การจ�ำหน่ายสินค้าในที่หรือ จ�ำหน่ายอาหารตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข ทางสาธารณะ พ.ศ. 2545 ขอ้ 10 หา้ มผจู้ ำ� หนา่ ยและ พ.ศ. 2535 ซึ่งมขี ้อกำ� หนดทีส่ ำ� คญั คอื ผู้สมั ผสั อาหาร ผู้ช่วยจ�ำหน่ายสินค้าประกอบกิจการเมื่อมีเหตุควรเช่ือ ตอ้ งไม่เป็นโรคติดตอ่ ตามกฎหมายว่าด้วยโรคตดิ ตอ่ โดย ว่าเป็นโรคติดต่อหรือเม่ือเจ้าพนักงานสาธารณสุขได้ จะตอ้ งมกี ารตรวจสขุ ภาพตามขอ้ บญั ญตั กิ รงุ เทพมหานคร ตรวจพบว่าเปน็ พาหะของโรคตดิ ตอ่ ดังต่อไปน้ี 1. วณั โรค เรอื่ ง สถานทจี่ �ำหนา่ ยอาหารและสถานที่สะสมอาหาร 2. อหวิ าตกโรค 3. ไขร้ ากสาดน้อย (ไทฟอยด์) 4. โรคบิด พ.ศ. 2545 ข้อ 10 ผู้ได้รับใบอนุญาตหรือผู้ได้รับ 5. ไขส้ กุ ใส 6. โรคคางทมู 7. โรคเรือ้ น 8. โรคผิวหนัง หนังสือรับรองการแจ้งต้องไม่เป็นโรคติดต่อตามกฎหมาย ทน่ี า่ รงั เกยี จ 9. โรคตบั อกั เสบทเ่ี กดิ จากไวรสั 10. โรคอน่ื ๆ ว่าด้วยโรคติดต่อ และไม่จ้างหรือใช้บุคคลที่ป่วยหรือ ตามทรี่ าชการกำ� หนด16 สวา�ำรนสักาอรนสาุขมภัยาพ

เนอ่ื งจากผู้สัมผัสอาหาร เป็นบุคคลสำ� คัญทีม่ ผี ล ดังนั้น เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรคท�ำให้อาหารปนเปื้อน และเกิดการแพร่กระจายของ จากผสู้ มั ผัสอาหารไปสู่ผูบ้ ริโภค ผู้สมั ผสั อาหารตอ้ งมีเชื้อโรคสารเคมวี ัตถปุ ลอมปนตา่ งๆ ไปสูผ่ บู้ ริโภคได้โดย สขุ ภาพดไี มเ่ จบ็ ปว่ ยดว้ ยโรคตดิ ตอ่ บางชนดิ เชน่ อหวิ าตกโรคผ้สู ัมผัสอาหารทีเ่ จบ็ ปว่ ยสามารถแพร่เชือ้ โรคได้ ดังน้ี ไขร้ ากสาดนอ้ ย (ไทฟอยด)์ โรคบดิ โรคตบั อกั เสบทเี่ กดิ จาก • โรคระบบทางเดินหายใจ หรอื โรคผวิ หนงั ไวรัส เปน็ ต้น เพราะถ้าหากเจบ็ ปว่ ยด้วยโรคดงั กลา่ วสามารถตดิ ต่อไดท้ างการสมั ผสั แล้วก็จะท�ำให้เช้ือโรคเกิดการแพร่กระจายลงสู่อาหาร • โรคอุจจาระร่วง บิดไทฟอยด์ซึ่งเช้ือโรค ได้และกรณีที่ผู้บริโภคได้รับเชื้อเข้าไปในร่างกายก็อาจอาจติดไปกับมือของผู้สัมผัสอาหารหากผู้สัมผัสอาหาร จะทำ� ใหจ้ ะเกดิ การเจ็บป่วยได้ส�ำหรบั โรคบางชนิด เชน่ไม่ล้างมือให้สะอาดหลังออกจากห้องส้วมแล้วใช้มือ อหิวาตกโรคและไข้รากสาดน้อย อาจจะท�ำให้ผู้ป่วยหยบิ อาหาร ไม่แสดงอาการของโรคเรียกว่าเป็นพาหะน�ำโรคท่ีแฝงอยู่ • โรควณั โรค หวดั ตบั อกั เสบชนดิ เอ สามารถ (Healthcarrier) ซงึ่ จะพบเชอื้ โรคปะปนอยใู่ นอจุ จาระเสมอติดตอ่ ได้ทางนำ�้ มกู น�้ำลาย ในกรณไี อจามหรือพดู คุย และจะสงั เกตอาการภายนอกไดย้ าก จำ� เปน็ จะตอ้ งตรวจเชอื้รดอาหาร จากอุจจาระจึงจะทราบได้นอกจากน้ีบาดแผลท่ีมีหนอง • ในกรณที มี่ อื มบี าดแผล ฝหี นอง การอกั เสบ จะมีเชอื้ สแตปฟโิ ลคอคคัส ออเรยี ส (Staphylococcusของผวิ หนัง เชอื้ โรคในบาดแผลอาจจะปนเป้ือนลงใน aureus) ซึ่งอาจจะมีการสร้างสารพิษข้นึ และถ่ายทอดลงอาหารระหว่างการเตรยี ม ปรุง-ประกอบอาหาร ในขณะ สู่อาหารท�ำให้ผู้บริโภคเสี่ยงต่อการเกิดโรคอาหารใช้มือทเี่ ปน็ แผลสมั ผสั อาหาร เป็นพิษได้ ดังนน้ั ผ้สู ัมผัสอาหารจะตอ้ งรักษาสขุ ภาพ ของตนเองเป็นประจ�ำ เพื่อไม่ให้เกิดโรคดังกล่าวหรือ หากเกดิ ขน้ึ แลว้ กต็ อ้ งรกั ษาโรคใหห้ ายกอ่ นจะเรมิ่ ปฏบิ ตั งิ าน ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั อาหารนอกจากน้ี ผสู้ มั ผสั อาหารกค็ วรหมน่ั สงั เกตตัวเองอย่างสมำ�่ เสมอ หากพบว่ามคี วามผดิ ปกติ ก็ควรรบี พบแพทย์เพ่อื ท�ำการรกั ษาต่อไปรายการอา้ งอิง 17 1. ข้อบัญญัตกิ รงุ เทพมหานคร เรือ่ ง สถานทีจ่ ำ� หน่ายอาหารและสถานทส่ี ะสมอาหาร พ.ศ. 2545 2. ระเบียบกรุงเทพมหานครวา่ ดว้ ยหลกั เกณฑ์การจัดต้ังสถานทจ่ี ำ� หน่ายอาหารและสถานท่ีสะสมอาหาร พ.ศ. 2546 3. ขอ้ บญั ญัตกิ รุงเทพมหานคร เร่อื ง การจ�ำหน่ายสนิ คา้ ในทีห่ รือทางสาธารณะ พ.ศ. 2545 4. ส�ำนักสุขาภบิ าลอาหารและน้ำ� กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ . ค่มู ือผสู้ มั ผสั อาหาร โรงพิมพ์ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตร แห่งประเทศไทย. พ.ศ. 2553. 5. ส�ำนักสุขาภิบาลอาหารและนำ�้ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ . คมู่ อื วิชาการสุขาภบิ าลอาหารสำ� หรบั เจา้ หน้าท่ี Principles of Food Sanitation Inspector. พ.ศ. 2541 6. กองสขุ าภิบาลอาหาร ส�ำนกั อนามัย กรุงเทพมหานคร. คูม่ ือผปู้ ระกอบการรา้ นอาหาร. บริษัท พี ทู ดไี ซน์ แอนด์พล๊ินท์ จำ� กดั . พ.ศ. 2553 วารสส�ำนารักสอุขนภาามพัย

กนิ เปน็ เน้นสุขภาพ พลอยไพลิน ศรศี ริ ิ กินอาหารจานดว่ นแบบไทย... นกั โภชนาการปฏบิ ตั กิ าร กองสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ ให้หา่ งไกลโรคอยา่ งไร สำ� นกั อนามยั กรงุ เทพมหานคร อาหารจานด่วน หมายถึง อาหารทป่ี รงุ เสรจ็ ในเวลาอันรวดเร็ว หรอื ทนั เวลาพอดี และพร้อมกินไดท้ นั ทีโดยท่ัวไปคนมักจะนึกถึงแต่อาหารจานด่วนแบบตะวันตก ได้แก่ ไก่ทอด พิซซ่า แฮมเบอร์เกอร์ ฯลฯซงึ่ ได้รับความนยิ มอย่างแพร่หลายในปจั จุบนั อาหารประเภทนม้ี กั ใหพ้ ลังงานสงู เกินความตอ้ งการของร่างกายมีปริมาณไขมันอ่ิมตัวและโซเดียมสูง เส้นใยอาหารต่�ำ ส่งผลต่อปัญหาสุขภาพทางโภชนาการจนน�ำไปสู่การเกดิ โรคไม่ตดิ ตอ่ เรอ้ื รัง (NCDs) ได้แก่ โรคอว้ น เบาหวาน ความดนั โลหิตสงู โรคหัวใจและหลอดเลอื ด “อาหารจานดว่ นแบบไทย” อยู่ค่กู บั คนไทยมาชา้ นาน อาหารไทยบางประเภทถกู จดั อยู่ในกลุ่มอาหารจานดว่ น ด้วยเช่นกัน เช่น ข้าวราดแกง ก๋วยเต๋ียว สุกี้ อาหารตามส่ัง เป็นต้น จุดเด่นของอาหารไทย คือ เคร่ืองปรุง จากสมนุ ไพรหลายชนดิ อดุ มดว้ ยคณุ คา่ ทางโภชนาการ รวมไปถงึ มีสรรพคุณทางยา อาหารไทยส่วนใหญจ่ ึงเปน็ อาหารเพ่ือสุขภาพไมว่ า่ จะกินแบบส�ำรับ หรอื อาหารจานเดียว (อาหารจานด่วน) กใ็ ห้ประโยชนไ์ ม่แพ้กัน หากเรา ตระหนักและใหค้ วามส�ำคญั ในการเลอื กรายการอาหารให้มีความหลากหลายสอดคล้องกบั หลกั ทางโภชนาการ เลือกอาหารจานดว่ นแบบไทย ให้ได้คณุ ค่าครบครัน ประโยชนค์ รบถว้ น 1. ปริมาณพอดี สัดสว่ นถูกตอ้ ง กินอาหารในปริมาณทเ่ี หมาะสมกับความต้องการของรา่ งกาย ไมม่ ากหรอื นอ้ ยเกนิ ไป เพอ่ื สรา้ งภาวะโภชนาการทด่ี ี รา่ งกายมคี วามสมดลุ ไมเ่ ปน็ โรคขาดสารอาหารหรอื เปน็ ผทู้ มี่ ภี าวะโภชนาการเกนิ ตวั อย่าง จานอาหาร 1 มอื้ สำ� หรับคนวัยท�ำงาน ประกอบด้วย กลมุ่ ขา้ ว-แป้ง 2-4 ทัพพี กล่มุ ผัก อยา่ งน้อย 1 ทพั พี และกลุม่ เน้อื สัตว์ 2-3 ชอ้ นกินข้าว ปรมิ าณอาหารในแตล่ ะกล่มุ สามารถเพมิ่ ลด ไดเ้ ล็กน้อย 2. คุณค่าครบถ้วน กนิ อาหารใหห้ ลากหลายในแต่ละกล่มุ อาหาร เพอื่ ใหไ้ ด้สารอาหารครบถว้ น อาหารกลุ่ม ข้าว-แป้ง ให้เลอื กกินขา้ วทีข่ ัดสนี ้อยเป็นหลกั เช่น ขา้ วกลอ้ ง สลับกบั กว๋ ยเตยี๋ ว ขนมจนี เปน็ บางม้ือ อาหารกลมุ่ ผกั ใช้ผักหลากหลายสเี ป็นวัตถดุ ิบในการประกอบอาหาร เช่น สเี ขียว สขี าว สีแดง สีม่วง สีเหลืองและส้ม ส�ำหรบั อาหารกลมุ่ โปรตนี ใหเ้ ลอื กกินอาหารทม่ี ีโปรตนี คุณภาพดี เช่น เนือ้ สัตว์ ไข่ ปลา หลีกเลยี่ งเน้ือสัตว์ทม่ี ีไขมันแฝง เชน่ เน้ือสัตว์ติดมัน หนังไก่ หนังหมู เครือ่ งใน เปน็ ตน้ 3. ประเภทอาหาร/ปรุงประกอบเหมาะสม เลอื กประเภทอาหารทีใ่ หพ้ ลงั งานเหมาะสม พลงั งานทเ่ี ราจะได้ รับจากอาหารแตล่ ะประเภทแตกต่างกัน การบริโภคอาหารชนดิ เดยี วกนั อาจให้พลังงานต่างกันขน้ึ อยู่สว่ นผสม และวธิ กี ารปรงุ ประกอบ ควรเลอื กอาหารทีป่ รงุ ประกอบโดยวธิ ีต้ม น่ึง ยา่ ง อบ แทนอาหารประเภททอดทใ่ี ห้ พลงั งานสูงเกินความจำ� เป็น เช่น เลือกกินไขต่ ม้ แทนไขด่ าว ไข่เจยี ว เลอื กกนิ ปลานงึ่ แทนปลาทอด เลอื กกินไก่อบ/ หมูอบแทนไก่/หมูชุบแป้งทอด 4. ปรงุ รสด้วยสมุนไพร อาหารไทยนิยมปรงุ รสด้วยสมุนไพรเพอ่ื เสรมิ รสชาติ กล่นิ สี และเสริมคณุ คา่ อาหาร เช่น พริก กระเทียม ขงิ ข่า ตะไคร้ ใบมะกรดู ใบกะเพรา โหระพา ใบแมงลัก รวมไปถงึ ผกั สมุนไพร พ้ืนบา้ นทั้งหลาย เชน่ ผกั หวาน สะเดา ขเ้ี หล็ก ดอกแค ดอกโสน ผกั กระเฉด ผักบุง้ ถ่วั พู ผกั ชะอม มะเขอื พวง มะเขือเทศ ซงึ่ สามารถนำ� มาปรงุ ประกอบอาหาร ไดห้ ลายประเภท เชน่ ตม้ ขา่ ตม้ ยำ� แกงเลยี ง ผดั ผกั นำ้� พรกิ กนิ คกู่ บั ผกั เครอื่ งเคยี ง18 วสา�ำรนสักาอรนสาุขมภัยาพ

5. ลดหวาน มนั เค็ม การกินอาหารรสหวาน มัน เค็ม จนเกนิ พอดี จะมีผลเสยี ตอ่ สุขภาพได้ นอกจากรสหวานทีม่ าจากธรรมชาติแล้ว ควรจำ� กดั ปรมิ าณน�ำ้ ตาลใหน้ ้อยท่ีสุด ไมค่ วรกนิ น�้ำตาลเกินวนั ละ 6 ช้อนชา หลกี เลี่ยงอาหารประเภททอดหรอื อาหารทม่ี ีกะทิเป็นส่วนประกอบ ส�ำหรบั การผดั ควรใชน้ ้ำ� มนั แต่น้อย ไม่กินนำ�้ มนั เกนิ วนั ละ6 ช้อนชา สว่ นรสเค็มในอาหารไทยไดจ้ ากการเตมิ เกลอื น้�ำปลา ซอสปรุงรส ลดการกินเคม็ โดยไม่เติมเครอ่ื งปรุงรสทใ่ี หร้ สเคม็ เพ่ิม ลดการกนิ อาหารท่ีมีเครอื่ งปรงุ น�้ำจิม้ ในแต่ละวนั ไม่ควรกินเกลอื เกินวันละ 1 ชอ้ นชา รายการอาหารจานด่วนแบบไทยเสน้ หมีผ่ ดั ผกั กระเฉดกงุ้ - เสน้ หมี่ 3 ทัพพ ี พลังงาน 375 กิโลแคลอรี - ก้งุ สด 2 ชอ้ นกินข้าว - ผักกระเฉด 1 ทพั พี - นำ้� มนั 2 ช้อนชา - นำ้� ตาล 1 ชอ้ นชา ขา้ วกะเพราหมูใสถ่ ั่วฝกั ยาว - ขา้ วสวย 3 ทัพพ ี พลังงาน 478 กิโลแคลอรี - กะเพรา ถัว่ ฝักยาว 1 ทัพพี - เนอ้ื หมู 3 ชอ้ นกนิ ข้าว - น�้ำมนั 2 ช้อนชา - น�้ำตาล 1/2 ช้อนชาไข่ต้ม - ไข่ตม้ 1 ฟอง พลงั งาน 73 กิโลแคลอรี สุกี้น�้ำรวมมิตรทะเล - วุ้นเส้น 3 ทัพพ ี พลงั งาน 358 กโิ ลแคลอรี - กุ้งสด ปลาหมึก 2 ช้อนกนิ ขา้ ว - ไขไ่ ก่ 1 ฟอง - ผกั กาดขาว แครอท ขา้ วโพดออ่ น ผกั บงุ้ 2 ทัพพี - น้ำ� จิม้ สุกี้ 1 ช้อนกนิ ขา้ ว (น�ำ้ ตาล 1 ช้อนชา) ขา้ วผดั นำ้� พรกิ กะปิ ปลาททู อด - ขา้ วกล้องสกุ 3 ทัพพี พลงั งาน 360 กิโลแคลอรีผกั เครอื่ งเคียง - ถ่วั ฝักยาว มะเขือเปราะ ถ1ว่ั พช้อู 1นช1/า2) ท ัพ พ ี - ปลาททู อด 1 ตวั (นำ�้ มนั - นำ้� พริกกะปิ 1 ช้อนกนิ ขา้ ว (น้�ำตาล 1/2 ช้อนชา) ข้าวไกอ่ บ/หมอู บ - ขา้ วสวย 3 ทัพพี พลงั งาน 426 กิโลแคลอรี - เน้อื ไก/่ เนือ้ หมู 3 ช้อนกนิ ขา้ ว - ผักคะนา้ แครอท หอมหัวใหญ่ 1 ทัพพี - น�้ำมันพืช 1 ชอ้ นชา - นำ้� ตาล 1 ชอ้ นชา ขนมจีนน้�ำยาปา่ ผักสด - ขนมจีน 2 จบั พลังงาน 244 กิโลแคลอรี - เน้ือปลา 1 ชอ้ นกนิ ข้าว - ลกู ชิน้ ปลา 2 ชอ้ นกนิ ข้าว ( 4 ลูก) - ถ่วั ฝกั ยาว แตงกวา โหระพา ใบแมงลัก ผักบุ้งตม้ 1 1/2 ทพั พีข้าวสวย - ข้าวสวย 3 ทพั พ ี พลงั งาน 323 กิโลแคลอรีตม้ ย�ำไกน่ �ำ้ ใส - เน้อื ไก่ 2 ชอ้ นกินข้าว - เห็ดฟาง มะเขือเทศ 1 ทัพพีผดั ไทย - กว๋ ยเตยี๋ วเส้นจนั ทร์ 2 ทพั พี พลงั งาน 463 กโิ ลแคลอรี - กุง้ สด 1 ชอ้ นกินข้าว, ไขไ่ ก่ 1 ฟอง - เตา้ หู้แขง็ 2 ช้อนกินขา้ ว - ถัว่ งอก ต้นกยุ ชา่ ย 1 ทัพพี - นำ้� มนั พชื 2 ชอ้ นชา - นำ้� ตาล 1 ช้อนชาทัง้ น้ี พลังงานของอาหารแตล่ ะชนดิ ขนึ้ กบั ปริมาณวัตถุดิบท่ใี ช้เป็นสว่ นประกอบในอาหารชนดิ นน้ั ๆ วารสส�ำนารักสอุขนภาามพัย 19

พบแพทย์ สนอ. หมอครอบครวั สำ� นักอนามยั ดแู ล ใสใ่ จสุขภาพคนกรงุ เทพฯ พญ.ณฐั ินี อศิ รางกูร ณ อยุธยา ผอู้ ำ� นวยการศนู ยบ์ รกิ ารสาธารณสขุ 4 ดนิ แดง สำ� นกั อนามยั กรงุ เทพมหานคร 1. แพทยเ์ วชศาสตร์ครอบครัวคืออะไร เวชศาสตรค์ รอบครวั คือ สาขาการแพทยเ์ ฉพาะทางแขนงหนงึ่ ทีร่ วมความรทู้ างการแพทยแ์ ละสาขาวชิ า ทางสังคมอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้องเพื่อให้การดูแลสุขภาพของครอบครัว ซ่ึงเป็นหน่วยเล็กที่สุดของสังคม ตลอดจน ความสมั พนั ธ์ของบคุ คลภายในครอบครัว โดยมีหลกั การเหมอื นๆ กนั ทัว่ โลกมสี มาคมแพทยเ์ วชศาสตรค์ รอบครวั (WONCA - The World organization of Family Doctor) และมีวารสารของตนเอง (American Family Physicians, และอ่นื ๆ) 2. แพทยเ์ วชศาสตรค์ รอบครวั มคี วามหมายตา่ งจากเวชปฏบิ ตั คิ รอบครวั หรอื ไม่ อยา่ งไร เวชปฏิบัตคิ รอบครัว (Family Practice) เปน็ การท�ำเวชปฏบิ ัติโดยอาศยั หลกั การของ Family Medicine ซ่งึ อาจแตกตา่ งกนั ไปตามภูมปิ ระเทศ ขนบประเพณี ศาสนา และอืน่ ๆ ผู้ทท่ี ำ� เวชปฏิบัติครอบครัวไมจ่ �ำเปน็ ตอ้ งเป็น แพทยค์ รอบครัว (Family physicians) เท่านน้ั จะเปน็ แพทยแ์ ขนงอ่นื ก็ได้ 3. หลกั การทำ� งานของแพทยเ์ วชศาสตรค์ รอบครวั คอื อะไร 1. เปน็ แพทยท์ ด่ี แู ลแตแ่ รกทกุ เรอื่ ง และใหผ้ ปู้ ว่ ยไดม้ โี อกาสเขา้ สรู่ ะบบการบรบิ าลสขุ ภาพ (Care on fiif rst contact basis) เป็นระบบบริการทางการแพทยท์ ตี่ ัง้ อยูใ่ นชุมชน อยใู่ กล้บา้ นผูป้ ว่ ย (Primary Care) ประชาชน ทุกคนสามารถเข้าถึงบริการที่ได้มาตรฐานได้อย่างท่ัวถึง สะดวกสบาย เป็นการดูแลสุขภาพทุกเร่ืองต้ังแต่แรก สามารถให้บรกิ ารอย่างสม่�ำเสมอ ตามความจําเป็นทป่ี ระชาชนต้องการ พร้อมเนน้ การดแู ลสุขภาพด้วยตนเอง 2. การดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเน่ือง (Continuing care) คือ การดูแลประชาขนในเขตรับผิดชอบทุกคน นับตั้งแต่แรก ขณะสบายดี เริม่ ปว่ ย ระยะสุดท้ายของการปว่ ยจนกระทัง่ เสยี ชีวิต เปน็ การดแู ลตลอดชีวติ ของคนๆน้ัน รวมถึงครอบครัวและชุมชน โดยทีมสุขภาพที่มคี วามเข้าใจและต้งั ใจทดี่ ีในการออกเย่ียมบ้านผปู้ ่วยอย่างตอ่ เนอ่ื ง กอ่ ให้เกิดความเช่ือม่ัน ความไว้วางใจ ความศรัทธา และความสัมพนั ธ์ทดี่ รี ะหวา่ งแพทย์กับผู้ป่วย (doctor-patient relationship) 3. มีการดแู ลผปู้ ่วยแบบครอบคลมุ ผสมผสาน (Comprehensive care) คอื การดูแลผู้ป่วยทม่ี ิไดด้ ูแลผู้ป่วย เฉพาะการรักษาโรคแต่เพียงอย่างเดียว แต่ดูแลสุขภาพครบถ้วนทุกดา้ น ต้ังแต่การรักษาพยาบาลผ้ปู ่วย (treatment) ให้หายจากโรค การป้องกันโรค (prevention) ไมใ่ ห้เกิดการเจ็บป่วย การสง่ เสรมิ สุขภาพ (promotion) ให้มีสขุ ภาพ20 สวา�ำรนสักาอรนสาุขมภัยาพ

แขง็ แรง และการฟืน้ ฟูสภาพ (rehabilitation) ไมใ่ ห้ 5. การบริการ ณ ท่เี ข้าถงึ สะดวก (Accessibleเสอ่ื มถดถอยหรือพิการ ให้คาํ แนะนาํ วิธกี ารดูแลสขุ ภาพ care) ท�ำงานในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ท่ปี ระชาชนการปฏิบัติตัว การพ่ึงตนเองด้านสุขภาพให้เหมาะสม ไปใชบ้ ริการได้สะดวก และให้บริการเยี่ยมผู้ป่วยถึงท่ีบ้านเพอื่ ประชาชนมีสุขภาพแขง็ แรง ปราศจากความเสีย่ งตอ่ ในรายทีม่ ีขอ้ บ่งชี้การเกิดโรคภัยไข้เจ็บ รวมท้ังลดการดําเนินของโรค 6. มรี ะบบใหค้ าํ ปรกึ ษาและการสง่ ตอ่ (Consultationทีร่ นุ แรงลง and Referral system) เป็นผูใ้ หค้ าํ ปรกึ ษาเรอื่ งตา่ งๆ 4. บรกิ ารทางการแพทยแ์ บบองคร์ วม (Holistic ทุกกลุ่มอายุ ทุกกลุ่มโรคท่ีเก่ียวข้องกับการเจ็บป่วยcare) คือ การดูแล “คน” ไม่ใช่ดูแล “โรค” โดย แก่ประชาชนในการตัดสินใจก่อนที่จะได้รับการบริการแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวจะไม่มองผู้ป่วยเพียง ทางการแพทย์จากผเู้ ชีย่ วชาญเฉพาะทางอ่ืนๆ นอกจากนี้หนึ่งมุมมอง เฉพาะด้านชีววิทยา (โรค) ของผู้ป่วย ยังทําหน้าท่ีช่วยเชื่อมประสานและส่งต่อแพทย์แต่เพียงอย่างเดียว แต่จะมองผู้ป่วยทุกมิติทุกด้านท่ีมี ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านต่างๆ ได้อย่างเหมาะสมผลกระทบตอ่ การเจ็บป่วยทัง้ ในด้านร่างกาย จติ ใจ สงั คม หากโรคหรือปัญหาการเจ็บป่วยใดท่ีเกินขีดความสามารถวฒั นธรรม ความเชอื่ ขนบธรรมเนยี มประเพณี เศรษฐกจิ ของแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวท่ีจะให้การดูแลรักษาได้สังคม ส่ิงแวดล้อม บุคคล ครอบครัว และชุมชน พร้อมท้ังติดตามดูแลผลการรักษาตลอดการเจ็บป่วย(Bio psycho social spiritual) เพอื่ ความเปน็ มนุษย์ รว่ มกบั แพทยเ์ ฉพาะทาง เพอ่ื ประสทิ ธภิ าพและผลประโยชน์ท่สี มบรู ณ์ สูงสดุ ตอ่ ผปู้ ว่ ย การเยย่ี มบ้านโดยทมี สหวชิ าชีพ วารสส�ำนารักสอุขนภาามพัย 21

ออกก�ำลงั กาย สรา้ งสขุ ภาพ การออกกำ� ลังกาย ในทท่ี ำ� งาน นพ.วชั ระ ชาติกงั วานสนธ์ิ แพทยผ์ เู้ ชยี่ วชาญดา้ นเวชศาสตรฟ์ น้ื ฟู ศนู ยบ์ รกิ ารสาธารณสขุ 8 บญุ รอดฯ สำ� นกั อนามยั กรงุ เทพมหานคร ชีวติ คนเมอื งในปจั จบุ นั เต็มไปดว้ ยความเรง่ รบี ต้องทำ� งานกนั มากกว่า 8 ชว่ั โมงต่อวัน มากกว่า 5 วันตอ่ สัปดาห์ท�ำให้ไม่มีเวลาท่ีจะพักผ่อนและออกก�ำลังกาย คนจ�ำนวนไม่น้อยที่ต้องนั่งท�ำงานอยู่กับท่ีเป็นเวลานาน ที่เห็นได้ชัดเจนก็คือกลุ่มพนักงานออฟฟิศนั่นเอง การที่ร่างกายต้องถูกจ�ำกัดให้อยู่ในท่าเดียวเป็นเวลานาน รวมถึงการใชง้ านส่วนหนึง่ ส่วนใดซ�้ำๆ กันตลอดเวลา จะทำ� ใหเ้ กิดกลมุ่ โรคอาการเสอ่ื มของระบบกระดูกและกลา้ มเน้ือท่ีเราไดย้ นิ บอ่ ยและร้จู ักกันดกี ็คือ “ออฟฟศิ ซินโดรม” น่นั เอง ออฟฟิศ ซินโดรม (Offififice Syndrome) เป็นกลุ่มอาการท่ีพบบ่อยในคนที่ท�ำงานในสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นการน่ังท�ำงานตลอดเวลา ไม่มีการเคลื่อนไหวร่างกาย ส่ิงเหล่านี้ส่งผลให้เกิดอาการกล้ามเนื้อเกร็งตัว และปวดเมื่อยตามอวัยวะต่างๆ อาทิ หลัง ไหล่ บ่า แขน หรือข้อมือ และในผู้ที่มีโรคของระบบกระดูกและกลา้ มเน้ืออย่แู ล้วจะทำ� ให้มีอาการรนุ แรงมากข้นึ ได้ การท่ีจะป้องกันหรือบรรเทาภาวะดังกล่าว จะต้องมีการหยุดพักและเคล่ือนไหวร่างกายในขณะท�ำงานอย่างสม�ำ่ เสมอ จะเหน็ ได้จากสถานประกอบการหลายแหง่ จะมกี �ำหนดเวลาให้พนักงานไดล้ ุกจากโต๊ะ เพอื่ บรหิ ารรา่ งกายพร้อมกันเปน็ ระยะเวลาส้นั ๆ ซ่ึงเป็นส่งิ ที่ดีและควรท�ำตามเป็นแบบอยา่ ง หรอื ตัวพนกั งานเองอาจจะมีการพักเบรคชว่ งสัน้ ๆ ละสายตาจากจอคอมพวิ เตอร์ เพื่อบริหารรา่ งกายดว้ ยตนเองสัก 2-3 นาที กส็ ามารถท�ำได้ทา่ กายบรหิ ารในท่ีท�ำงาน ทา่ บรหิ ารที่แนะน�ำน้ี เป็นท่าบรหิ ารงา่ ยๆ ทีส่ ามารถท�ำไดเ้ มื่ออยูใ่ นท่ีท�ำงานและไมต่ ้องใช้อปุ กรณ์ทีย่ ุ่งยากจะเนน้ การคลายกล้ามเน้อื สว่ นต่างและกระตนุ้ ความกระฉับกระเฉง1. คลายกลา้ มเนอื้ ตน้ คอและบ่า - เร่ิมด้วยการละสายตาจากงาน - หันหน้าไปดา้ นขา้ งหลบั ตาและสูดหายใจเขา้ ออกลึกๆ สัก พยายามใหค้ างอยูต่ รงกบั15 วนิ าที แนวหัวไหลใ่ หม้ ากทส่ี ุด - เอียงศีรษะไปดา้ นข้างช้าๆ คา้ งไว้ 10 วินาทีใหแ้ รงโนม้ ถว่ งกับน้�ำหนักของ แล้วทำ� ซ้�ำดา้ นตรงข้ามศีรษะเป็นตัวดึงยืดกล้ามเน้ือบ่าเอียงสุดแล้วค้างไว้ 10 วินาทีแล้วทำ� ซำ้� ด้านตรงขา้ ม22 สวา�ำรนสักาอรนสาุขมภัยาพ

2. คลายกล้ามเนอื้ ไหล่และต้นแขน 4. คลายกลา้ มเน้อื หลงั และอก - นง่ั บนเกา้ อหี้ ลงั ตรง มอื วางบนหนา้ ขา หมนุ หวั ไหล่ไปดา้ นหนา้ และหลังอย่างละ 10 รอบ - นัง่ บนเกา้ อี้ โนม้ ตัวลงเอามอื จับบริเวณข้อเท้า - ยกศอกและแขนขึ้นไว้ด้านหลังศีรษะ ใช้มือ ให้รู้สึกว่ากล้ามเนื้อบริเวณก้น เอวและหลังคลายตัวอกี ขา้ งจบั ปลายศอก ดงึ พรอ้ มเอยี งตวั จนตงึ คา้ งไว้ 10 วนิ าที ท�ำค้างไว้ 10 วินาทีแล้วทำ� สลบั ดา้ นตรงขา้ ม - นง่ั บนเกา้ อแ้ี อน่ ตวั ตรง มอื ประสานกนั หลงั ศรี ษะ3. คลายกลา้ มเนือ้ มอื และแขน เกร็งกล้ามเนื้อให้สะบักเข้าหากัน ค้างไว้ 10 วินาที - นิ้วมือประสานกัน จนรู้สึกว่ากล้ามเนื้อบริเวณหนา้ อกคลายตัวหันฝ่ามือออกด้านนอกตัว 5. คลายกล้ามเน้อื ตน้ ขาและสะโพกยืดจนศอกตรง ให้ร้สู กึกลา้ มเนื้อทอ้ งแขนคลายตัวคา้ งไว้ 10 วนิ าที - ทำ� ทา่ พนมมือให้มมุ ข้อมอื ตั้งฉาก แล้วหมนุ มอื - นงั่ บนเก้าอ้ี มือ 2 ข้าง สอดใต้หวั เขา่ ยกตน้ ขาลงด้านล่าง จนรู้สกึ กล้ามเน้อื ท้องแขนคลายตัว ค้างไว้ ขน้ึ คา้ งไว้ 10 วนิ าที จนรสู้ กึ กลา้ มเนอ้ื หลงั ตน้ ขาคลายตวั10 วินาที - นัง่ เก้าอ้ไี ขว่ห้าง มอื ดา้ นตรงขา้ มจบั ยึดหัวเข่าไว้ แลว้ หมนุ ตัวไปด้านตรงขา้ มคา้ งไว้ 10 วินาที จนรสู้ กึ กล้ามเนือ้ สะโพกคลายตวั การออกก�ำลังกายในท่ีท�ำงานเหล่าน้ีเป็นสิ่งท่ี ท�ำได้ง่ายและใช้เวลาไม่นาน แต่สามารถป้องกัน การเกิดออฟฟศิ ซนิ โดรมอยา่ งได้ผลดี ดังนั้นผ้ทู ี่ต้อง น่ังท�ำงานเป็นเวลานานจึงสมควรเป็นอย่างย่ิง - ควำ�่ มือ 2 ข้าง เหยียดน้วิ ตรง กางน้ิวออกทกุ น้ิว ที่จะบริหารท่าออกก�ำลังกายเหล่านี้ด้วยตนเองใหห้ า่ งกันมากทส่ี ุด คา้ งไว้ 10 วนิ าที ทำ� สลบั ไปมากบัการงอน้วิ ทำ� สัก 3 นาที จะร้สู ึกวา่ ขยับนิว้ มอื ไดค้ ล่องขน้ึ เปน็ กิจวัตร ภาพประกอบ : นายวชั ระ วรี วงศต์ ระกลูลดอาการปวดน้ิวมือ นายชา่ งศลิ ปช์ ำ� นาญงาน สำ� นกั งานพฒั นาระบบสาธารณสขุ สำ� นกั อนามยั กรงุ เทพมหานคร วารสส�ำนารักสอุขนภาามพัย 23

ถอดรหสั สตั ว์เลยี้ ง พร้อมรึยงั ...ก่อนเลยี้ งสัตวใ์ นบ้าน น.สพ.ภทั รพงศ์ จนั ทรเ์ จรญิ นายสตั วแพทยช์ ำ� นาญการ สำ� นกั งานสตั วแพทยส์ าธารณสขุ สำ� นกั อนามยั กรงุ เทพมหานคร หลายคนนยิ มเล้ียงสตั ว์ในบา้ น โดยเฉพาะสนุ ขั และแมว ดว้ ยเหตุผลตา่ งๆ ได้แก่ เลยี้ งไวเ้ ปน็ เพอ่ื น หรอื แทนลกู เพ่อื แก้เหงาผอ่ นคลายหรือแก้เครยี ด เพ่ือปลูกฝงั ความรับผิดชอบและจติ ใจทีอ่ ่อนโยนใหล้ กู หรือเล้ยี งตามแฟชน่ั ตามสมยั นิยม ฯลฯ เป็นตน้ ก่อนเรม่ิ น�ำสัตว์มาเลี้ยงในบ้าน ต้องถามตวั เองก่อนวา่ ชอบสตั วเ์ ลี้ยงมากแคไ่ หน มเี วลาให้กบั สัตวเ์ ลย้ี งไหม และตอ้ งมีการวางแผนกอ่ น โดยพิจารณาไดจ้ าก การเลือกชนดิ สัตวเ์ ลยี้ งหรอื สายพนั ธ์ุ วิธกี ารจดั การสตั ว์เลย้ี ง รวมถึงตอ้ งน�ำสตั ว์เลย้ี งไปฉดี วคั ซนี ป้องกัน โรคพษิ สนุ ขั บา้ และวคั ซนี อนื่ ๆ ทจ่ี ำ� เปน็ ดว้ ย ปจั จบุ นั สตั วเ์ ลยี้ ง บางตัวก็มีโอกาสได้ใช้สินค้าคุณภาพและเข้ารับบริการดีๆ มากกว่าความจ�ำเป็นพ้ืนฐานท่ัวไป เช่น บริการตัดขน เสรมิ สวย นวดสปา เข้าโรงเรยี นฝึกสอนสุนขั ผอ่ นคลาย จากการวา่ ยนำ้� หรอื ไปทอ่ งเทย่ี วพรอ้ มกบั เจา้ ของ พกั ผอ่ น ท่โี รงแรมสตั วเ์ ล้ียง ซงึ่ กิจกรรมฯ เหล่านี้จะมคี า่ ใชจ้ า่ ย เพิ่มขนึ้ ขนั้ ตอนพจิ ารณาในการเลอื กซอื้ สตั วเ์ ลยี้ ง ควรศกึ ษา ปจั จยั 4 สำ� หรบั สตั วเ์ ลยี้ งทสี่ ำ� คญั และมคี วามจำ� เปน็ ข้อมูลต่างๆ ได้แก่ ต้องการเล้ียงสุนัขหรือแมวหรือ ตอ่ ชวี ติ คอื อาหาร เสอื้ ผา้ ทอ่ี ยอู่ าศยั ยารกั ษาโรค ซง่ึ เปน็ สัตวอ์ นื่ ๆ จะเลือกสายพันธ์ุแทห้ รอื สายพนั ธ์ุผสม หรอื ปจั จยั พนื้ ฐานเช่นเดยี วกับมนษุ ย์ ฉะนัน้ ควรศกึ ษาและ ตัวเล็ก/กลาง/ใหญ่ จะตอ้ งการซ้ือจากฟาร์มเพาะเลี้ยง ท�ำความเขา้ ใจเก่ยี วกับสัตวเ์ ล้ียงอย่างละเอียด ตลาดนัดจตจุ กั ร หรอื ขอสุนัขจากศนู ยพ์ ักพิงสนุ ขั กทม. 1. อาหารสตั ว์ หลายคนอาจไมส่ นใจวา่ อาหารสตั ว์ (เขตประเวศ) ไปเลี้ยง และควรค�ำนึงถึงพ้ืนท่ีในการ มีหลากหลายประเภท แตอ่ าจคดิ มแี ค่อาหารสุนขั และ เลี้ยงส�ำหรับสัตว์ว่าเพียงพอไหม ส่วนราคาสัตว์เล้ียง อาหารแมวเทา่ นนั้ ความจรงิ แลว้ อาหารสตั วจ์ ะมกี ารแบง่ อาจเร่ิมต้นหลักร้อยจนถึงหลายหม่ืนบาท ข้ึนอยู่กับ ตามชนดิ /สายพนั ธขุ์ องสัตว์ หรอื แบ่งตามนำ้� หนักตัวสัตว์ สายพนั ธ์แุ ละกระแสนิยม ควรเลือกซือ้ สตั ว์เลีย้ งที่ร่าเริง หรอื อายสุ ตั ว ์ แบง่ ตามสภาวะโรคประจำ� ตวั ของสตั ว์ เชน่ กระดกิ หาง ไมเ่ ซื่องซึม แต่บางคร้งั การท่ไี มเ่ หน็ วา่ สัตว์ สตั วท์ เ่ี ปน็ โรคไต โรคตบั หรอื เปน็ นวิ่ นอกจากนแี้ หลง่ ทมี่ า มอี าการผดิ ปกตใิ ดๆ ไมไ่ ด้หมายความว่าสัตวน์ นั้ แขง็ แรง อาหารสตั ว์บางส่วนอาจนำ� เข้ามาจากต่างประเทศ และ แต่อาจจะมีโอกาสป่วยติดเช้ือโรคท�ำให้สัตว์เล้ียงตายได้ ควรพถิ ีพิถนั ในการเลอื กซ้อื เนื่องจากลูกสัตว์ที่จะซื้ออาจยังไม่ได้รับการฉีดวัคซีน อาหารสัตว์ใหเ้ หมาะสมกบั ป้องกันโรค หรอื อยูใ่ นชว่ งระยะเวลาฟักตัวของเช้อื โรค สตั วเ์ ลยี้ งของพวกเรา กไ็ ด ้ ดว้ ยนะครับ24 วสา�ำรนสักาอรนสาุขมภัยาพ

2. เสอ้ื ผา้ สตั ว์เลี้ยง หลายคนมักไมเ่ ช่ือว่ามคี วามจ�ำเป็นสำ� หรับสนุ ขั แต่ในความจรงิแล้ว ทีม่ าของเสื้อผา้ สนุ ัขเร่มิ ต้นมาจากความจำ� เป็น เชน่ อากาศหนาวจัด ปอ้ งกันสุนัขเลยี แผล ฯลฯ ปจั จบุ นั เจา้ ของสตั ว์สนใจและมมี มุ มองเกย่ี วกับเสือ้ ผา้ สัตว์เลย้ี งกลายเปน็แฟชั่นคล้ายกบั คน และราคาเสอ้ื ผา้ สัตว์เล้ยี งรูปแบบเรยี บง่าย ราคา 100 กว่าบาทแตถ่ า้ มอี อกเส้อื ผ้าใหม้ ีรูปแบบดีๆ กต็ กตัวละราคาตัวละ 400-600 บาทข้ึนไป นอกจากนี้ยงั มีรองเทา้ สนุ ขั ราคาชดุ ละ 200-500 บาทข้นึ ไป แต่ถงึ ราคาจะสงู ขนาดน้กี ็ยงั มีเจ้าของจำ� นวนไม่น้อยที่ชอบแตง่ ตวั ให้สุนขั มากจนยอมซอื้ ตามแฟชนั่ ทกุ คอลเลกชน่ั หลายคนบอกวา่ การตดิ ตามแฟช่นั เสอ้ื ผ้าสุนขั ถือเป็นการเพิ่มความสุขและความบันเทิงให้กับเจา้ ของ 3. ท่อี ยูอ่ าศยั สตั ว์เลยี้ ง คอื อาณาเขตของสตั วเ์ ลย้ี ง อาจอย่แู คบ่ ริเวณนอกบา้ น หรอื ไม่ก็รวมพื้นท่ใี นบ้านชน้ั ล่าง แต่บางตวั อาจจะเข้าไปถงึห้องนอนและเตียงนอนของเจ้าของเลย แมแ้ ต่ธรุ กิจโรงแรมสัตว์เลย้ี ง ก็ยังมีรายการใหเ้ ลือกตั้งแต่ ทนี่ อน เตียง เตน็ ท์นอน บา้ นสัตว์เล้ียงมีทง้ั หอ้ งธรรมดาและใช้เทคโนโลยีนาโนปอ้ งกนั กลิ่นอบั และห้องติดเครื่องปรับอากาศ เปน็ ต้นสว่ นสตั วเ์ ลี้ยงท่นี อนนอกบ้านก็ มีกรงเปน็ ท่ีอยู่อาศัย หรือถูกลา่ มด้วยสายจูงทั้งนี้ราคากรงกม็ ตี ั้งแต่หลักรอ้ ยบาทจนถึงหมื่นกวา่ บาท ขึ้นอยู่กับขนาดและการออกแบบ ปัญหาทเ่ี จ้าของตอ้ งระมดั ระวงั ส�ำหรับสุนัขท่ตี ้องนอนนอกบ้านกค็ ือ โรคพยาธหิ นอนหัวใจ โดยมยี ุงเป็นตวั พาหะแพรเ่ ช้ือโรคอาจจำ� เป็นตอ้ งจดุ ยากนั ยุงให้สุนัข หรืออยู่ในกรงท่ีตดิ ม้งุ ลวด 4. ยารกั ษาโรคสตั วเ์ ลย้ี ง สามารถแยกเปน็ 2 ส่วน ไดแ้ ก่ 1) สว่ นท่ีปอ้ งกนั โรคส�ำหรบั สตั วเ์ ลีย้ ง ได้แก่ ยาถา่ ยพยาธเิ ร่มิ ใหส้ นุ ขั แมวตัง้ แต่อายุ 1 เดอื นขน้ึ ไป และให้ทุกๆ 6 เดอื น วัคซีนปอ้ งกันโรคหดั และส�ำไสอ้ กั เสบฯ ตง้ั แต่อายุ 2 เดอื นข้นึ ไปและฉดี กระตุ้นซ้ำ� ด้วย ทส่ี ำ� คัญอย่าลมื พาสุนัขและแมวไปฉดี วคั ซนี ป้องกันโรคพษิ สนุ ัขบ้า ต้งั แตอ่ ายุ 3 เดอื นขนึ้ ไป และต้องฉดี กระตนุ้ ทกุ ๆ ปี และควรป้องกนั โรคพยาธหิ นอนหัวใจ เปน็ ประจ�ำ 2) ส่วนท่ีรักษาโรคสัตว์ คกมว่ออานมคบจรงคะกัเวจปใทาหา็นมกไ่ี้กดปสกับ้อุขรนั ส่าใะผนหัตโยเก้มวรชบัม์เื่อลนเงีคจ้ยี ร์ไวา้งมาขาแว่มมอลนงเา้วชี้เกชื่อสกน่ วตั็กนา่ วนั้อเ์.“หย.เ”ลมตา่แ่ือ่อนลไทด้นัะหุม้กกวอคย็ งั บินนวดา่ ีในกรณสี ตั วม์ อี าการปว่ ย ซมึ ไมก่ นิ อาหารและมีอาการผิดปกติ ควรรบี พาไปหาคลินิกสัตวแพทย์ใกล้บ้าน และเม่ือสัตว์เลี้ยงมีอายุมากกว่า 4 ปีข้ึนไปควรน�ำสัตว์เล้ียงไปตรวจสุขภาพประจ�ำปีดว้ ย วารสส�ำนารักสอุขนภาามพัย 25

อาสาพาเที่ยว เทยี่ สววนชหมหลวองรชั รม.9งคล หอรชั มงคลตงั้ อยใู่ นสวนหลวง ร.9 สถานทที่ หี่ ลายคนเคยมาพกั ผอ่ นออกกำ� ลังกาย ชมสวนพฤกษศาสตร์ หรือเทีย่ วชมงานพรรณไม้งามอร่ามสวนหลวง ร.9 หอรชั มงคลเป็นอาคารทรง 9 เหล่ยี ม เป็นสถาปตั ยกรรมทีโ่ ดดเด่นที่สุดในสวนหลวง ร.9 สร้างข้ึนเพื่อถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรชั กาลท่ี 9 เนอ่ื งในศุภมงคลสมยั ทรงเจรญิ พระชนมพรรษาครบ 5 รอบในวนั ที่ 5 ธนั วาคม พ.ศ. 2530 ด้านหน้าหอรชั มงคล คอื อทุ ยานมหาราชมสี ระน�้ำพขุ นาดใหญ่สามสระตอ่ กัน ดา้ นหลังคือตระพังแก้วซ่ึงเปน็ อา่ งเก็บนำ้�ขุดขึ้นตามพระราชด�ำริเพอื่ ให้เปน็ ทร่ี บั นำ้� บรรเทาปัญหาน้ำ� ทว่ ม อาคารชน้ั บนมีลกั ษณะเปน็ ระเบยี ง ระเบยี งด้านนอกแบง่ ออกเป็น 9 ห้อง ดา้ นหน้าของแตล่ ะห้องเปน็ บานกระจกท้งั แผน่ ตกู้ ระจกกวา้ ง 5 เมตร หมายถึงพระชนมพรรษา 5 รอบ เพอ่ื ให้ผู้มาชมสามารถมองเห็นวัตถแุ ละเนอ้ื หาทีจ่ ัดแสดงซึ่งจะเปน็ พระราชจรยิ วตั รในด้านต่างๆ พระราชกรณยี กจิ และของใช้สว่ นพระองคข์ องพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช (รชั กาลท่ี 9)ต้งั ชอ่ื หอ้ งจัดแสดงทั้ง 9 หอ้ ง ไวค้ ล้องจองกัน ไดแ้ ก่ ห้องพระราชประวตั ิฝีพระหัตถฝ์ ากประชา กีฬาชน่ื บาน งานดนตรี พระราชกรณียกิจ พิพิธกุศลทานถน่ิ ฐานพทิ กั ษ์ บรริ กั ษช์ าวนาไร่ และโครงการในพระองค์ ซง่ึ แตล่ ะหอ้ งจดั แสดงเร่อื งราวตา่ งๆ เช่น ห้องพระราชประวัติ แสดงพระบรมฉายาลกั ษณ์ต้งั แตย่ ังทรงพระเยาว์ พระราชชนก พระราชชนนี รชั กาลท่ี 8 ภาพกบั พระบรมวงศานวุ งศ์และพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก ฯลฯ ห้องฝีพระหัตถ์ฝากประชา แสดงผลงานทางศิลปะและทางชา่ ง ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มที ง้ั จติ รกรรมและประตมิ ากรรม การถ่ายภาพนิ่ง การถ่ายภาพยนตร์ และงานประดิษฐ์ ส�ำหรบั จิตรกรรมฝพี ระหตั ถ์ มีประมาณ 107 ภาพ มีทั้งแนวเหมือนจริง เอ็กซเ์ พรสชนั นสิ ต์ และนามธรรม สว่ น ด้านงานชา่ งทรงออกแบบและต่อเรอื ใบเอง โดยศึกษาจากตำ� ราและผู้รู้ ทรงใช้โรงไม้ ในสวนจติ รลดาเปน็ สถานทต่ี อ่ เรอื มาตงั้ แต่ พ.ศ. 2507 เรอื ใบทท่ี รงตอ่ ขน้ึ มหี ลายประเภท ส�ำหรับประเภทม้อธ (International Moth Class) พระราชทานชื่อว่า “มด” “ไมโครมด” และ“ซูเปอร์มด”26 สวา�ำรนสักาอรนสาุขมภัยาพ

ห้องโครงการในพระองค์ แสดงแบบจ�ำลองโครงการสว่ นพระองค์ สวนจิตรลดา ประกอบดว้ ยปา่ ไม้สาธิต นาขา้ วทดลอง โรงสขี า้ วทดลอง ยงุ้ ข้าว โรงบดแกลบ บ่อปลานิล โรงนมยู เอช ที โรงนมผงสวนดุสติโรงเนยแข็งมหามงคล โรงน้�ำผลไม้พาสเจอร์ไรส์ โรงบ่มเพาะเห็ด ธนาคารพชื พันธุ์ และโรงผลติ แอลกอฮอล์ เปน็ ตน้ หากท่านมีโอกาสมาสวนหลวง ร.9 สามารถแวะมาชมหอรัชมงคลท่ีหอ้ งกระจกที่จัดแสดงพระราชจริยวัตรในด้านต่างๆ ได้ และหากท่านมีโอกาสมาเยี่ยมชมงานพรรณไม้งามอรา่ มสวนหลวง ร.9 ซงึ่ จัดใหม้ ขี ้ึนประมาณวนั ที่1 - 10 ธนั วาคม ของทกุ ปี จะสามารถเขา้ มาชมดา้ นในของหอรชั มงคล ซง่ึ บรเิ วณผนงั จดั แสดงภาพพระบรมฉายาลกั ษณ์ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดชทรงงาน และทรงกจิ กรรมตา่ งๆ เชน่ ภาพพระบรมฉายาลกั ษณ์ร่วมกับพระบรมวงศานวุ งศ์ ภาพทรงกีฬาหลายประเภท เช่น สกีน้ำ� สกีหมิ ะ เรือใบ ส่วนใต้ภาพเหล่านี้มีตู้กระจกติดผนังจัดแสดงของที่ประมุขและบุคคลส�ำคัญทูลเกล้าฯถวาย ในการเสดจ็ เยอื นตา่ งประเทศ เชน่ กระถางหยกสามขาสีเขยี ว สลกั และฉลุลวดลาย จากสาธารณรัฐประชาชนจนี แจกนั กระเบอ้ื งเคลอื บลายดอกไมส้ ที องจากประเทศญีป่ นุ่ จานโลหะเงนิ สลักคำ� ถวายพระพรจากนายกรัฐมนตรปี ระเทศกัมพชู า รถม้าทำ� ด้วยเงินจากประธานาธิบดีประเทศอินโดนเี ซยี เป็นต้น สวนหลวง ร.9 ต้งั อยู่ท่ีแขวงหนองบอน เขตประเวศ สามารถเข้าไดท้ ั้งทางถนนสขุ มุ วทิ 103 (อดุ มสุข) และทางถนนศรีนครินทร์ ใหเ้ ข้าทางซอยศรนี ครินทร์ 55 อย่ขู า้ งพาราไดซ์ พารค์ เปดิ ใหบ้ ริการทุกวนั ตงั้ แตเ่ วลา 05.00 – 19.00 น. โดยเรมิ่ เก็บคา่ เข้าสวนหลวงในเวลา 09.00 – 17.00 น. ในอัตราท่านละ 10 บาท (หากนำ� รถยนต์มาจอดคดิ คา่ บริการคันละ 10 บาท รถจักรยานยนต์ คา่ บริการคนั ละ 5 บาท) นอกจากน้ใี นวนั อาทติ ย์ เวลา 09.00 – 17.00 น. จะมีรถรางใหบ้ ริการวิง่ รอบสวนหลวง คิดคา่ บริการทา่ นละ 10 บาท รถประจ�ำทางที่ผา่ นในบริเวณใกล้เคยี ง : - ผา่ นทางถนนสุขุมวิท ซอย 103 ได้แก่ สาย 2, 23, 25, 45, 180,508 และ 511 เขา้ ซอยมาแลว้ ตอ่ รถโดยสารสแี ดง และรถตทู้ ่เี ขยี นวา่ ไปประเวศ จะผ่านสวนหลวง ร.9 ค่ะ - ผ่านทางถนนศรนี ครินทร์ ซอย 55 ได้แก่ สาย 145 และ 206นง่ั วินมอเตอร์ไซด์ต่อเข้ามา รถไฟฟ้า (BTS) : สถานีอดุ มสุข เขา้ มาทางซอยสขุ ุมวทิ 103แล้วตอ่ รถโดยสารสแี ดง และรถตู้เช่นเดยี วกบั ดา้ นบนคะ่หมายเหตุ : โดยท่ัวไปคณุ สามารถมาชมหอ้ งจดั แสดงทบ่ี รเิ วณภายนอก แต่ในวันทมี่ กี ารจดั งานพิเศษ เช่น งานพรรณไม้งามอร่ามสวนหลวง ร.9 จึงจะสามารถเขา้ มาชมภายในอาคารหอรชั มงคลได้ พาเทยี่ วโดย : มณรี ตั น์ อธริ าษฎร์ไพศาล 27 นกั วชิ าการสาธารณสขุ ปฏบิ ตั กิ าร สำ� นกั งานพฒั นาระบบสาธารณสขุ สำ� นกั อนามยั กรงุ เทพมหานคร วารสส�ำนารักสอุขนภาามพัย

ยาและสมุนไพร ควรทำ� อยยา่ งาไรป..ฏ. ถชิ ้าวี จนำ� เะปน็ ตอ้ งกิน ศิริภทั ร เฑยี รกลุ เภสชั กรปฏบิ ตั กิ าร กองเภสชั กรรม สำ� นกั อนามยั กรงุ เทพมหานคร ยาปฏชิ ีวนะ เปน็ ยาฆ่าเชอ้ื แบคทเี รีย ไม่มฤี ทธล์ิ ดการอกั เสบ เชน่ เพนนซิ ิลนิ อะมอ็ กซซี ิลลิน เป็นตน้สว่ นยาแกอ้ ักเสบหรอื ยาต้านการอกั เสบ เปน็ ยาท่มี ีฤทธิล์ ดการอักเสบ ลดไข้ บรรเทาอาการปวด ลดบวม ไม่มีฤทธฆิ์ า่เช้อื แบคทเี รยี เชน่ ไอบโู พรเฟน แอสไพริน เปน็ ต้น คนส่วนใหญ่มกั เรยี ก ยาปฏชิ วี นะ ผิดวา่ เป็น ยาแกอ้ ักเสบเพราะเม่อื ติดเช้ือแบคทีเรียแลว้ กนิ ยาปฏชิ วี นะ ยาปฏิชวี นะจะไปฆ่าเชื้อแบคทีเรยี ท่เี ปน็ สาเหตขุ องโรค เมอ่ื เชอ้ื ตายไปอาการอกั เสบจะลดลง การกนิ ยาปฏชิ วี นะใหไ้ ดผ้ ลดี ควรกนิ ตดิ ตอ่ กนั ใหค้ รบตามทแ่ี พทยห์ รอื เภสชั กรแนะนำ� หากหยดุ กนิ ยาปฏชิ วี นะก่อนครบกำ� หนดหรอื กินยาไม่สมำ�่ เสมอ จะท�ำใหป้ รมิ าณยาในร่างกายไมเ่ พียงพอทีจ่ ะกำ� จัดเช้อื ต่างๆ ให้หายขาดเชอ้ื จะแบง่ ตวั เพมิ่ จ�ำนวน เกิดการเปน็ ซำ�้ เและเส่ียงต่อการตดิ เช้ือใหม่ได้สูง หรอื อาจทำ� ใหเ้ กิดการดอื้ ยาได้   ปัจจุบันมีการรณรงค์ 3 โรค ท่ีหายเองได้ โรคและบริเวณที่ติดเชื้อได้อย่างเหมาะสม รวมไปถึงโดยไม่ต้องพึ่งยาปฏิชวี นะ ไดแ้ ก่ การซักประวัติเก่ียวกับการแพ้ยาและเลือกชนิดของ 1. โรคหวดั -เจ็บคอ การพกั ผอ่ นและทำ� รา่ งกาย ยาปฏิชีวนะท่ีจะไม่ท�ำใหเ้ กดิ การแพ้ซ�้ำได้ให้อบอนุ่ ช่วยทำ� ให้ภมู ิคมุ้ กนั โรคของรา่ งกายแข็งแรง เช้ือส่วนใหญ่จะเป็นเชื้อธรรมดาที่ไม่ดื้อยาท�ำใหห้ ายป่วยเรว็ ขนึ้ แต่จะมีเชอ้ื แบคทเี รียจำ� นวนหนึ่งที่เกิดการเปลี่ยนแปลง 2. โรคทอ้ งเสยี 99% เกดิ จากเชอ้ื ไวรสั อาหาร ทางพันธกุ รรม สง่ ผลใหเ้ ชอื้ เกิดการดื้อยาข้ึน การใชย้ าเปน็ พิษ ควรหลีกเลี่ยงอาหารทีย่ อ่ ยยากและนม การด่ืม ชนิดเดิมหรือขนาดเดิมไม่สามารถท่ีจะใช้รักษาได้นำ�้ เกลอื แรช่ ว่ ยให้หายได้ อาจต้องเพิ่มขนาดยาหรือระยะเวลาในการรักษาหรือ 3. แผลเลอื ดออก ทเ่ี กดิ จากมดี บาด แผลถลอก แม้กระท่ังต้องเปลี่ยนชนิดของยาฆ่าเช้ือเป็นยาฆ่าเชื้อถ้าท�ำความสะอาดอย่างถูกวิธีและป้องกันไม่ให้แผล กลุ่มอนื่ แทน ซงึ่ อาจเปน็ ยากลมุ่ ท่คี วรจะเก็บไว้ใช้สำ� หรบัโดนน้ำ� แผลก็จะหายเองได้ การตดิ เช้อื ที่รนุ แรง ทำ� ให้ในอนาคตหากเกิดการติดเชื้อ การกินยาปฏิชีวนะอาจเพิ่มความเสี่ยงต่อ ท่ีรุนแรงจะท�ำให้โอกาสท่ีเช้ือจะดื้อยาตัวใหม่เพิ่มข้ึนการดือ้ ยาได้ ดังนน้ั หากเกิดอาการเจ็บป่วย ไม่ควร แ ล ะ ยั ง ท� ำ ใ ห ้ เ ห ลื อ จ� ำ น ว น ตั ว เ ลื อ ก ย า ฆ ่ า เ ชื้ อ ที่ มีหายามากินเองหรือกินยาปฏิชีวนะของคนอื่น เพราะ ประสทิ ธภิ าพในการรกั ษาน้อยลง นอกจากนก้ี ารได้รับชนิดของยาที่เหมาะสมในการรักษาอาจไม่เหมือนกัน ยาฆ่าเชื้อในอาการหรือโรคที่ไม่ได้มีการติดเช้ือควรปรกึ ษาแพทยห์ รอื เภสชั กร เพอ่ื ใหช้ ว่ ยประเมนิ อาการ แบคทเี รียเปน็ การใชย้ าฆา่ เชอ้ื ที่และความจำ� เปน็ ในการใชย้ าปฏชิ วี นะ หากอาการหรอื โรค ไม่เหมาะสมจะเป็นสาเหตหุ นง่ึทเ่ี ป็นมีความจำ� เปน็ ต้องใช้ยาปฏิชวี นะจรงิ แพทย์หรือ ของการดอ้ื ยาไดเ้ ชน่ กนัเภสัชกรจะสามารถเลือกชนิดของยาปฏิชีวนะให้ตรงกับ28 สวา�ำรนสักาอรนสาุขมภัยาพ

คำ� ถามน.้ี .. มคี ำ� ตอบQ ได้ทราบข่าววา่ กทม. เปิดศูนย์ส่งต่อเพอื่ การพยาบาลตอ่ เน่ือง กองการพยาบาลสาธารณสุข สำ� นักอนามยั กรุงเทพมหานครA ทบ่ี ้าน ไม่ทราบว่าคืออะไร และมกี ารดำ� เนินการอยา่ งไร หากต้องการรับบริการจากศูนย์ส่งต่อเพ่ือการพยาบาล ศูนย์ส่งต่อเพื่อการพยาบาลต่อเน่ืองท่ีบ้าน กรุงเทพมหานคร Q ต่อเนือ่ งทบ่ี ้าน ตอ้ งท�ำอย่างไร ศูนย์ส่งต่อฯ ไม่เพียงแต่ดูแลสุขภาพ และท�ำให้คุณภาพชีวิต (BMA Home Ward Referral Center) ต้ังอยทู่ ่กี องการพยาบาล สาธารณสุข ส�ำนักอนามัย ท�ำหน้าที่เป็นศูนย์กลางประสาน A ประชาชนในกรุงเทพมหานครดีขน้ึ เท่านัน้ แต่ยงั สามารถเชอ่ื ม การส่งต่อของสถานพยาบาลเครือข่ายในกรุงเทพมหานคร กับศูนย์บริการสาธารณสุขแบบไร้รอยต่อ ครอบคลุมพื้นท่ี กรุงเทพมหานคร ส่งผลให้การรักษาพยาบาลมีประสิทธิภาพ ยิ่งขนึ้ เนอื่ งจากจะช่วยลดความแออดั ของผู้ปว่ ยในโรงพยาบาล การสง่ ตอ่ ขอ้ มลู ของผปู้ ว่ ยและผสู้ งู อายทุ จี่ ำ� หนา่ ยจากโรงพยาบาล ทำ� ใหผ้ ้ปู ่วย และผู้สูงอายกุ ลบั ไปรักษาต่อทบี่ า้ นไดเ้ รว็ ขึ้น และ และจำ� เปน็ ตอ้ งไดร้ บั การพยาบาลตอ่ เนอ่ื งทบ่ี า้ น ระหวา่ งโรงพยาบาล ลดอตั ราการครองเตยี ง อยา่ งไรกต็ ามสถานพยาบาลภาคเี ครอื ขา่ ย เครือข่ายสงั กดั กทม. รฐั บาล และเอกชนผา่ นโปรแกรม BMA ทง้ั ภาครฐั และเอกชน รวมท้งั ผูท้ ี่สนใจสามารถตดิ ตอ่ สอบถาม Home Ward Referral ในระบบออนไลน์ โดยศูนย์ส่งต่อฯ ข้อมูลบริการได้ที่ Call Center ศูนย์ส่งต่อเพื่อการพยาบาล จะได้รบั ข้อมูลในทนั ที และด�ำเนนิ การตรวจสอบขอ้ มลู คัดแยก ต่อเนอื่ งทบี่ า้ น กรุงเทพมหานคร (BMA Home Ward Referral ผู้ปว่ ยทง้ั 6 กลมุ่ จากนัน้ ขอ้ มูลผู้ปว่ ยและแผนทีบ่ า้ นจะถกู สง่ Center) โทร. 0 2276 3904 กด 1 ในวนั จนั ทร์ – วนั เสาร์ ออนไลนไ์ ปยงั ศนู ยบ์ รกิ ารสาธารณสขุ 68 แหง่ ตามพนื้ ทร่ี บั ผดิ ชอบ เวลา 08.00 – 16.00 น. ครอบคลมุ พื้นที่กรุงเทพมหานคร ซง่ึ จะชว่ ยใหผ้ ปู้ ว่ ยและผสู้ ูงอายุ ได้รับการติดตามอาการและให้การพยาบาลได้ทันท่วงทีจาก พยาบาลผจู้ ัดการสขุ ภาพ ทีมสหสาขาวชิ าชีพ และผดู้ แู ลช่วยงาน พยาบาล ซ่ึงได้รับการอบรมให้มีความรู้ และทักษะท่ีดีในการ ช่วยงานพยาบาล ไม่น้อยกว่า 70 ช่ัวโมง โดยมีการก�ำหนด สถานะสีเขียว สีเหลือง สีแดง เพื่อเตือนการติดตามเยี่ยม และวางแผนการพยาบาล วารสส�ำนารักสอุขนภาามพัย 29

รอบรั้ว กทม. เปดิ แอพพลิเคชน่ั “SCAN ME AT BMA” พล.ต.อ.อัศวิน ขวัญเมือง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เปน็ ประธานเปดิ แอพพลเิ คชนั่ “SCAN ME AT BMA” ณ หอ้ งรตั นโกสนิ ทร์ ศาลาวา่ การกรุงเทพมหานคร 1 (เสาชิงชา้ ) เพอ่ื เสรมิ สรา้ งเครือข่าย ในการพฒั นาคณุ ภาพเนอ้ื สตั ว์ (SCAN ME) สง่ ผลใหผ้ บู้ รโิ ภค ทราบแหลง่ ทม่ี าของเนอื้ สตั วท์ ซ่ี อ้ื เปน็ การสรา้ งความเชอื่ มน่ั ใหก้ บั ผบู้ รโิ ภคอกี ทางหนงึ่ ศูนย์ส่งต่อเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน กรุงเทพมหานคร (BMA Home Ward Referral Center) นายทวศี ักดิ์ เลศิ ประพนั ธ์ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นประธานในพิธีเปิดศูนย์ส่งต่อเพื่อการพยาบาลต่อเน่ืองท่ีบ้าน กรงุ เทพมหานคร (BMA Home Ward Referral Center) ซง่ึ ตัง้ อย่ทู ี่ กองการพยาบาลสาธารณสุข สำ� นกั อนามัย เพอ่ื เป็นศูนยก์ ลางประสาน การส่งต่อผู้ป่วย ระหว่างโรงพยาบาลภาคีเครือข่ายและศูนย์บริการ สาธารณสุข 68 แห่ง ในกลุ่มผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้และกลุ่ม ผสู้ งู อายุเกนิ 65 ปขี ึน้ ไป ในพ้ืนท่กี รงุ เทพมหานคร พฒั นานักบรหิ ารการแพทย์และสาธารณสขุ ส�ำนักอนามัย รนุ่ ท่ี 10 พญ.วันทนีย์ วัฒนะ รองปลัดกรุงเทพมหานคร เป็นประธาน เปดิ การฝกึ อบรมหลกั สตู รบรหิ ารการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ สำ� นกั อนามยั รุ่นท่ี 10 ณ ห้องเจา้ พระยา ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 1 (เสาชิงช้า) เพือ่ ให้ผ้เู ข้ารบั การอบรมได้รับการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ ตลอดจน เสริมสร้างแนวคิดและทักษะการบรหิ ารงานสาธารณสุขเขตเมือง เครือข่ายการดแู ลสุขภาพคนกรุงเทพฯ ศาสตราจารยค์ ลนิ กิ เกยี รตคิ ณุ นายแพทยป์ ยิ ะสกล สกลสตั ยาทร รมว.สธ. และคณะ ตรวจเยยี่ มหนว่ ยบรกิ าร “การท�ำงานแบบเครอื ขา่ ย การใหบ้ รกิ ารผู้ป่วยพื้นทกี่ รงุ เทพมหานคร” โดยมี พญ.วนั ทนยี ์ วฒั นะ รองปลัดกรงุ เทพมหานคร นพ.ชวินทร์ ศริ ินาค ผูอ้ �ำนวยการส�ำนกั อนามัย พ ร ้ อ ม ค ณ ะ ผู ้ บ ริ ห า ร แ ล ะ ข ้ า ร า ช ก า ร ส� ำ นั ก อ น า มั ย ใ ห ้ ก า ร ต ้ อ น รั บ ณ ศูนยบ์ ริการสาธารณสขุ 56 ทบั เจริญ30 สวา�ำรนสักาอรนสาุขมภัยาพ

มุมสบาย คลายเครียด กรงุ เทพมหานคร ขอเชญิ คณุ แมท่ ม่ี ลี กู อายแุ รกเกดิ – 5 ปี พาบตุ ร หลานไปรบั การตรวจคดั กรองพฒั นาการทกุ วนั องั คาร และวนั พฤหสั บดีเวลา 13.00 น. – 15.00 น. ณ คลินิกสุขภาพเด็กดีของศูนย์บริการสาธารณสุข ส�ำนักอนามัยกรุงเทพมหานคร ทงั้ 68 แห่ง เพ่ือให้เดก็ เจริญเติบโต แข็งแรง สดใสและมพี ัฒนาการทีส่ มบูรณต์ ามวยัเกร็ดความรู้...คู่สุขภาพ มุมนีม้ รี างวัล1. กอ่ นซอื้ มะพรา้ วออ่ น อยา่ ลมื เขยา่ กอ่ น ค�ำถามร่วมสนกุ นำ�้ มะพรา้ วนน้ั ทานแลว้ สดชน่ื สามารถดบั กระหายนำ�้ เวลาเดนิ ทางไกลๆ 1. กินยาปฏชิ วี นะอยา่ งไรให้ได้ผลดีได้เปน็ อย่างดี แตก่ ารจะซอื้ มะพรา้ วออ่ นนน้ั จะตอ้ งรู้จกั เลือกใหด้ ี เพราะบางครัง้ ตามร้านทีข่ ายมะพรา้ วออ่ นทว่ั ๆ ไป ไมไ่ ดม้ แี คม่ ะพรา้ วออ่ นเท่าน้ัน 2. เลอื กอาหารจานดว่ นแบบไทยใหไ้ ดค้ ณุ คา่ ครบครนัแตย่ งั อาจะมมี ะพรา้ วแกป่ นอยดู่ ว้ ยกไ็ ด้ ดงั นน้ั กอ่ นซอ้ื มะพรา้ วออ่ นทกุ ครง้ัคุณจะต้องลองเขยา่ ดูก่อน ถา้ รู้สึกวา่ เหมือนนำ�้ จะเตม็ ๆ ลกู อยู่ (ไม่ค่อยมี ท�ำอย่างไรเสียงน�้ำ) แสดงว่าเนื้อมะพร้าวยงั อ่อนอยู่ แต่ถ้าได้ยิน ------------------------เสยี งน้ำ� อยขู่ ้างในชดั ๆ แสดงว่ามะพร้าวลูกน้ันเนือ้ แขง็ ส่งค�ำตอบพร้อมชอ่ื ที่อยู่ เบอร์โทรศพั ท์แล้วลองน�ำวิธนี ้ไี ปท�ำดนู ะคะ รับรองวา่ คุณจะได้ทาน ไปท่ีกลุ่มพัฒนาสุขศึกษาและพฤติกรรมมะพรา้ วออ่ นที่หวานอร่อยช่นื ใจแนน่ อนค่ะ สุขภาพ สำ� นักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข สำ� นกั อนามยั อาคาร 2 กรงุ เทพมหานคร 22. ทำ� อยา่ งไร เมอื่ แอปเปล้ิ ทปี่ อกแลว้ เปน็ สคี ลำ้� ดนิ แดง แขวงดินแดง เขตดนิ แดง กทม. 10400 ภายในวนั ท่ี 10 มถิ ุนายน 2560 แอปเปิ้ลเป็นผลไม้ที่มีกล่ินหอม รสชาติหวาน ชวนรับประทานซง่ึ คนสว่ นใหญน่ ิยมรบั ประทานเปน็ ผลไม้สด เพราะเมื่อนำ� แอปเปล้ิ มาปอกแล้วใส่ไว้ในตู้เย็น จะมีรสชาติท่ีหวานอร่อยมากขึ้น และยังท�ำให้รู้สึกสดชื่นอีกดว้ ย หลายๆ คน จึงมกั จะปอกแอปเปิ้ลแชไ่ ว้ในตเู้ ย็นกอ่ นจะนำ�มารับประทาน แต่หลายคนมักจะพบว่าแอปเปิ้ลที่ปอกแล้วมักจะเป็นสีคลำ้� ด�ำไดง้ า่ ยทำ� ให้ดูไมน่ า่ รบั ประทาน แต่เร่ืองนี้จะไม่เป็นปญั หาอีกตอ่ ไปเพยี งแคเ่ มอื่ คณุ ปอกแอปเปล้ิ เสรจ็ แลว้ ใหน้ ำ� แอปเปล้ิ ไปแชใ่ นนำ้� เกลอื กอ่ นแล้วค่อยน�ำไปแชไ่ วใ้ นตู้เย็น คุณกจ็ ะได้รบั ประทานแอปเปลิ้ แช่เย็น รสชาติแสนอรอ่ ยกนั แลว้ คะ่3. ปวดหลงั จากการนงั่ ทำ� งาน…ปอ้ งกนั ได้ • งอแขนใหท้ ่อนลา่ งอยใู่ นแนวราบกบั แปน้ กด • งอขาเล็กน้อยและให้ฝา่ เทา้ ราบกบั พื้น เชื่อว่าหลายท่านคงเคยมีอาการปวดหลังท่ีเกิดจากการน่ังท�ำงานเป็น • น่งั ใหเ้ ต็มเก้าอี้ เอนหลังไปเลก็ น้อย เพือ่ ใหห้ ลังพิงเวลานานๆ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ทา่ นทที่ �ำงานในออฟฟศิ สาเหตสุ ว่ นใหญเ่ กิดจาก พนัก เมือ่ พงิ พนักได้สบายๆ แล้วก็ลงน�ำ้ หนกั ตวั กับทีน่ ง่ัการนั่งผดิ สุขลกั ษณะ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การนง่ั หนา้ จอคอมพวิ เตอร์วนั ละหลายๆ • ใหส้ ายตาอยหู่ า่ งจากคอมพวิ เตอรป์ ระมาณ 45-60 ซม.ช่ัวโมง ส่งผลให้เกดิ อาการปวดเมือ่ ย ไม่สบายตวั บางท่านปวดหลงั จนตอ้ งไปนวด • เปลี่ยนท่าน่ังเป็นคร้ังคราวเพื่อหลีกเลี่ยงการนั่งทรี่ า้ นประจำ� กม็ ี หากคุณเปน็ คนหนงึ่ ท่กี �ำลงั เผชญิ กบั ปัญหาน้ีอยู่ ลองน�ำขอ้ ปฏบิ ัติ ในทา่ เดยี วตลอด และทกุ ๆ 2 ชวั่ โมง ใหล้ กุ ขน้ึ ยนื ยดื เสน้ ยดื สายในวันนีไ้ ปปฏบิ ตั ดิ คู ะ่ ยืดแขน และสะบดั ขอ้ มอื • นงั่ ตัวตรงสบายๆ อยา่ เกร็ง ปลอ่ ยต้นแขนใหส้ บายๆ วารสส�ำนารักสอุขนภาามพัย 31

ส�ำนักอนามยั ดแู ลห่วงใย ใส่ใจสุขภาพ การดำ� เนนิ งานของหนว่ ยตรวจสอบเคล่อื นท่เี พอื่ ความปลอดภัยดา้ นอาหาร (Mobile Unit for Food Safety) ในการตรวจเฝ้าระวงั และก�ำกบั ดแู ลผลิตภัณฑ์อาหาร ณ สถานทจ่ี ำ� หนา่ ยอาหารใหม้ มี าตรฐานและความปลอดภัยสำ� หรับผู้บรโิ ภค กองสขุ าภบิ าลอาหาร ส�ำนักอนามยั กรุงเทพมหานคร โทร : 0 2640 9981-2 www.foodsanitation.bangkok.go.th/FoodSanitation/home.php www.facebook.com/foodsanitation/ท่ปี รึกษา : นพ.ชวินทร์ ศริ ินาค ผอู้ �ำนวยการสำ� นกั อนามยั นพ. สุนทร สนุ ทรชาติ รองผอู้ �ำนวยการสำ� นกั อนามยั นพ.วงวัฒน์ ลิ่วลกั ษณ์ รองผู้อ�ำนวยการสำ� นกั อนามัย นางเพญ็ จนั ทร์ เจยี มกรกต รองผอู้ �ำนวยการส�ำนักอนามยับรรณาธิการ : พญ.ภาวิณี ร่งุ ทนต์กจิ นางสุชฎา เออื้ ชจู ติ ต์กองบรรณาธกิ าร : นพ.ธีรวีร์ วีรวรรณ พญ.สุธี สฤษฏ์ศริ ิ พญ.จติ ราพรรณ เวชพร พญ.ณฐั ินี อิศรางกรู ณ อยธุ ยา นพ.วชั ระ ชาติกังวานสนธิ์ ทพ.เฉลิมพงศ์ ต้งั วจิ ติ รสกุล น.สพ.ภทั รพงศ์ จันทรเ์ จริญ น.ส.จฑุ าทพิ วงษส์ ุวรรณ น.ส.ประเทอื งทพิ ย์ แกว้ ศรี น.ส.ณฐั ยาภรณ์ สร้อยนาค น.ส.ศิรภิ ทั ร เฑยี รกุล น.ส.ปิยะวรรณ จันตรี น.ส.เสาวนยี ์ บญุ เก้อื น.ส. จรี าวรรณ นามพันธ์ นางรตั ตนิ ันท์ สายสมคุณ นางสุชัญญา บัณฑิตสกลุ นางศศิมา ชพี ัฒน์ นางเกษร เต็มเจรญิ นายสากล เพิ่มทองคำ� น.ส.พลอยไพลิน ศรศี ริ ิ นางทรงพร วิทยานันท์ น.ส.สกุ ญั ญา พิมพาเรือ น.ส.มณรี ัตน์ อธริ าษฎรไ์ พศาล น.ส.ชมพนู ชุ จันทรเ์ พญ็ นางมยุรา สร้อยชือ่ น.ส.ประกายดาว ตาลสกุ น.ส.ปมิตรา เหล็กจาน น.ส.ศิรธิ ร ทองภู นายวรี ะยุทธ ศรีอมั พรแสง นายมาโนช หลงจนั ทร์ น.ส.วัชรี ธนะรงุ่ น.ส.อารยา ดาราพันธ์ุวัตถปุ ระสงค ์ 1. เพอื่ เผยแพร่ความรู้ ขอ้ มูล ข่าวสารในการดูแลสุขภาพ ป้องกันโรค และสร้างเสริมสุขภาพ แก่ประชาชน บุคคลในครอบครวั และชมุ ชน 2. เพอื่ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์บรกิ ารด้านการแพทยแ์ ละสาธารณสุขของส�ำนกั อนามัย ใหป้ ระชาชนสามารถรบั รู้ เข้าถงึ และเลือกใช้บริการ ด้านการแพทย์และสาธารณสขุ ของสำ� นกั อนามัย ได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสมส�ำนกั งานพัฒนาระบบสาธารณสุข สำ� นกั อนามัย กรงุ เทพมหานคร สพธ. 05/02/60 โทร. 0 2247 6660 ศูนย์ กทม. 1555 www.bangkok.go.th/health @bma.health


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook