Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Chapter4_CTRL 3 PhStart

Chapter4_CTRL 3 PhStart

Published by p.apichet2519, 2020-05-26 02:39:55

Description: Chapter4_CTRL 3 PhStart

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 4 การเริ่มเดินมอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลบั 3 เฟส หวั ข้อเร่ือง 1. มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลบั 3 เฟส 2. การเร่มิ เดนิ มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลับ 3 เฟส 3. การเรม่ิ เดินวาวด์โรเตอรม์ อเตอร์ สมรรถนะอาชพี 1. เพอ่ื ใหม้ คี วามรู้เกยี่ วกับหลักการตอ่ วงจรเร่ิมเดินมอเตอร์ 3 เฟส 2. ตอ่ วงจรควบคุมการเรม่ิ เดนิ มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแส สลบั 3 เฟส ตามเงื่อนไข 3. เพอื่ ใหต้ ระหนกั ในความสําคญั ของการเร่มิ เดนิ มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลบั 3 เฟส จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 1. บอกวิธกี ารตอ่ วงจรขดลวดมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟสเพือ่ ใชง้ านได้ 2. อธบิ ายการทาํ งานของวงจรควบคุมการเร่ิมเดนิ มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลับ 3 เฟสได้ 3. อธบิ ายหลกั การลดกระแสขณะเรมิ่ เดนิ มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟสได้ 4. ตอ่ วงจรขดลวดมอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลับ 3 เฟส แบบสตาร์ และแบบเดลตาได้ 5. ต่อวงจรควบคมุ การเรม่ิ เดนิ มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลับ 3 เฟสด้วยมอื ได้ 6. ตอ่ วงจรควบคมุ การเรม่ิ เดินมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส 2 สถานไี ด้ 7. ตอ่ วงจรควบคมุ การเรม่ิ เดนิ มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟสแบบสตาร์ เดลตาได้ 8. ตรวจสอบขอ้ บกพร่องของวงจรได้ 9. บอกความสําคัญของการการเรมิ่ เดินมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟส สาระสาํ คญั มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส เป็นมอเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ กระแสขณะเริ่มเดินสูงกว่ากระแสพิกัด ประมาณ 6 ถงึ 7 เทา่ การเร่ิมเดินมอเตอร์จึงต้องคํานึงถึงความปลอดภัยทั้งต่อวงจรและผู้ปฏิบัติงาน ประกอบกับ การใช้เวลาท่ียาวนานข้ึนในการเพิ่มความเร็วรอบให้ถึงพิกัด ในขณะเริ่มเดินจึงมีความจําเป็นต้องลดกระแสให้มี คา่ ทีป่ ลอดภัย และมอเตอร์เริม่ เดินได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

บทนํา การควบคุมการเร่ิมเดินมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส เป็นการควบคุมให้มอเตอร์เริ่มทํางานได้อย่าง ปลอดภัย ทงั้ นเี้ นอ่ื งจากในขณะเร่ิมเดินมอเตอร์จะใชก้ ระแสจาํ นวนมากกว่าปกตใิ นการเอาชนะแรงเฉื่อยเพ่ือฉุดให้ โรเตอรเ์ ร่ิมหมุนจากขณะท่ีหยุดน่ิง รวมท้ังใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ตอ่ ทรพั ยส์ ิน และความปลอดภัยต่อผ้ปู ฏิบตั ิงาน 1. มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟส มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส จะกล่าวถึง การต่อวงจรภายใน การต่อวงจรใช้งาน การเร่ิมเดินโดย จ่ายไฟเข้ามอเตอร์โดยตรง การลดกระแสขณะเริ่มเดินของมอเตอร์เหนี่ยวนํา (Induction Motor) ที่ใช้โรเตอร์ ชนดิ กรงกระรอก (Squirrels Cage) และวาวด์โรเตอร์ (Wound Rotor) 1.1 การต่อวงจรภายในของมอเตอร์ 3 เฟส มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลบั 3 เฟสประกอบด้วยขดลวด 3 ชุด คือขดลวดเฟส A (U1-U2) ขดลวดเฟส B (V1-V2) และ ขดลวดเฟส C (W1-W2) ที่มีลักษณะเหมือนกันทุกประการ ขดลวดวางในร่องห่างกัน 120 องศา ไฟฟ้า ดังแสดงการพันขดลวดในภาพที่ 4.1 U1 V2 W1 V1 U2 W2 ภาพท่ี 4.1 แสดงการพนั ขดลวดมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส 36 ร่อง แบบขดลวดสองชั้น จากภาพที่ 4.1 จะเห็นว่ามีปลายสายของขดลวดต่ออกมาสู่วงจรภายนอก ทั้งหมด 3 ชุด แต่ละชุด เป็นขดลวดที่รับแรงดันแตล่ ะเฟสของแหล่งจ่ายไฟฟา้ ดงั น้ี U1 เปน็ ตน้ สาย U2 เปน็ ปลายสาย ของเฟส A V1 เป็นต้นสาย V2 เป็นปลายสาย ของเฟส B W1 เปน็ ตน้ สาย W2 เป็นปลายสาย ของเฟส C หน่วยที่ 4 การเร่มิ เดินมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟส 47

1.2 การต่อวงจรใชง้ าน การต่อวงจรภายในของมอเตอร์ 3 เฟส เขียนเป็นสัญลักษณ์ขดลวดและวางตําแหน่งข้ัวมอเตอร์ ดัง ภาพที่ 4.2 U1 V1 W1 ABC W2 U2 V2 ข.การวางตาํ แหน่งขั้ว ก. สญั ลักษณข์ ดลวด ภาพที่ 4.2 แสดงสญั ลกั ษณ์ขดลวด กบั การวางตาํ แหน่งขว้ั มอเตอร์ 3 เฟส ในการต่อวงจรใช้งานมอเตอร์ 3 เฟสสามารถตอ่ วงจรได้ 2 แบบคอื แบบสตาร์ และแบบเดลตา 1.2.1 การต่อวงจรมอเตอร์แบบสตาร์ (Star or Y) ต่อปลายด้านเดียวกันของขดลวดทั้ง 3 เข้าด้วยกัน ซง่ึ จดุ ต่อนี้จะเปน็ ขวั้ N ของมอเตอร์ด้วย แล้วจ่ายไฟเข้าที่อกี ดา้ นของขดลวด L1 L2 L3 N L1 U1 Ia C L3 W1 U1 V1 W1 NA U2 Ic V2 W2 Ia Ib Ic AB C Ib B U2 V2 W2 V1 ก.การตอ่ วงจร L2 ข.สัญลกั ษณว์ งจร ค.การต่อวงจรขว้ั มอเตอร์แบบ Y ภาพท่ี 4.3 แสดงการตอ่ วงจรขดลวดมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ การตอ่ วงจร จากภาพท่ี 4.3 L1 ตอ่ กบั U1 L2 ตอ่ กบั V1 L3 ตอ่ กบั W1 และ N ตอ่ กบั U2, V2 และ W2 หนว่ ยที่ 4 การเริม่ เดนิ มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลับ 3 เฟส 48

1.2.2 การตอ่ วงจรมอเตอรแ์ บบเดลตา (Delta หรอื U) L1 L2 L3 L1 U1 V1 W1 Ia A Ib B Ic C W2 U1 Ia U2 V2 W2 Ic ก.การตอ่ วงจร W1 CA U2 B L3 V2 Ib V1 L2 ข. สัญลักษณว์ งจร ค.การตอ่ ขว้ั มอเตอร์แบบU ภาพที่ 4.4 แสดงการต่อวงจรขดลวดมอเตอร์ 3 เฟสแบบเดลตา การต่อวงจร จากภาพที่ 4.4 L1 ต่อกับ U1 และ W2 L2 ต่อกับ V1 และ U2 L3 ตอ่ กบั W1 และ V2 1.2.3 การกําหนดแรงดนั ไฟฟา้ ทม่ี อเตอรใ์ หส้ อดคล้องกับแรงดันระบบ การที่จะให้มอเตอร์ทํางาน ไดเ้ ตม็ กําลังตามทบ่ี รษิ ทั ผผู้ ลติ กําหนดนั้น สงิ่ สําคญั ประการหน่ึง คอื จะตอ้ งจ่ายแรงดันไฟฟา้ ตามทก่ี าํ หนด 1) ระบบไฟฟ้า 3 เฟส มาตรฐานท่ัวไปที่การไฟฟ้าท้ังส่วนภูมิภาคและนครหลวงจ่ายให้ผู้ใช้ส่วน ใหญเ่ ป็นระบบ 3 เฟส 4 สาย ดังน้ี L1 380/220V; 3/N/PE ~ 50 Hz L2 L3 N PE ภาพที่ 4.5 แสดงระบบไฟฟ้า 3 เฟส 4 สาย และสายดิน จากภาพที่ 4.5 แรงดนั ไฟฟา้ ในระบบ จะมีคา่ แรงดนั ดังน้ี แรงดันระหว่าง L1, L2 = 380 V แรงดนั ระหว่าง L1, N = 220 V แรงดันระหวา่ ง L2, L3 = 380 V แรงดนั ระหว่าง L2, N = 220 V แรงดนั ระหว่าง L3, L1 = 380 V แรงดันระหว่าง L3, N = 220 V 2) การกําหนดแรงดันไฟฟ้าเม่ือต่อวงจรมอเตอร์แบบสตาร์ จากภาพท่ี 4.2 ในการต่อวงจร มอเตอร์แบบสตารพ์ บวา่ แรงดนั ท่จี ่ายใหก้ ับขดลวดของมอเตอรแ์ ต่ละเฟสเปน็ แรงดันระหวา่ ง L1 กับ N คือ หนว่ ยที่ 4 การเริม่ เดินมอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลบั 3 เฟส 49

ขดลวดเฟส A (ปลายสาย U1 และ U2) ตอ่ อยกู่ บั L1 และ N = 220 V ขดลวดเฟส B (ปลายสาย V1 และ V2) ต่ออยกู่ บั L2 และ N ขดลวดเฟส C (ปลายสาย W1 และ W2) ตอ่ อยกู่ บั L3 และ N เมื่อต่อวงมอเตอรแ์ บบสตารข์ ดลวดแต่ละเฟสไดร้ บั แรงดนั 220 V 3) การกําหนดแรงดันไฟฟ้าเมื่อต่อวงจรมอเตอร์แบบเดลตา จากภาพท่ี 4.3 ในการต่อวงจร มอเตอรแ์ บบเดลตา แรงดนั ที่จา่ ยให้กับขดลวดของมอเตอร์แต่ละเฟส คือ ขดลวดเฟส A (ปลายสาย U1 และ U2) ต่ออยกู่ ับ L1 และ L2 ขดลวดเฟส B (ปลายสาย V1 และ V2) ต่ออยกู่ ับ L2 และ L3 = 380 V ขดลวดเฟส C (ปลายสาย W1 และ W2) ตอ่ อยกู่ บั L3 และ L1 เมอ่ื ตอ่ วงมอเตอรแ์ บบเดลตาขดลวดแตล่ ะเฟส ไดร้ ับแรงดนั 380 V 1.2.4 การกําหนดการตอ่ วงจรมอเตอร์จากแผน่ ปา้ ยของมอเตอร์ การต่อวงจรแบบสตาร์ หรือเดลตา จะเห็นว่ามอเตอร์ต้องการแรงดันไฟฟ้าไม่เท่ากัน ดังน้ัน จึงมีความจําเป็นต้องทราบขนาดแรงดันไฟฟ้าท่ีขดลวด ต้องการและแรงดันไฟฟ้าของระบบ จึงจะบอกได้ว่าควรต่อวงจรมอเตอร์แบบใด บนแผ่นป้ายของมอเตอร์จะบอก ค่าแรงดันใชง้ านไว้พรอ้ มท้งั วิธีตอ่ วงจร เชน่ Induction motor Induction motor Phase: 3 Current: 10 A. Class: F Phase: 3 Current: 10 A. Class: F Voltage: 220/380 V U/Y Voltage: 380/660 V U/Y r.p.m.: 1,450 r.p.m.: 1,450 ก. แรงดัน 220/380V U/Y ข. แรงดัน 380/660V U/Y ภาพที่ 4.6 แสดงแผ่นป้ายของมอเตอร์ 3 เฟส ท่มี แี รงดันใชง้ านตา่ งกัน จากภาพท่ี 4.6 ก. แรงดันใช้งาน คือ220/380 V U/Y หมายความว่า ถ้าต่อแบบเดลตา จะรับแรงดันได้ 220 V ถ้าต่อแบบสตาร์ จะรบั แรงดนั ได้ 380 V สรุปไดว้ า่ ขนาดแรงดนั ของขดลวดแต่ละเฟส = 220 โวลต์ จากภาพท่ี 4.6 ข. แรงดนั ใช้งาน คอื 380/660 V U/Y หมายความวา่ ถ้าต่อแบบเดลตา จะรับแรงดันได้ 380 V ถ้าต่อแบบสตาร์ จะรบั แรงดนั ได้ 380 V สรุปไดว้ ่า ขนาดแรงดนั ของขดลวดแตล่ ะเฟส = 380 โวลต์ หนว่ ยท่ี 4 การเรม่ิ เดินมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟส 50

2. การเรม่ิ เดนิ มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส 2.1 การเร่มิ เดนิ แบบจา่ ยไฟเข้ามอเตอร์โดยตรง (Direct on Line Starter) การเริ่มเดินมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส แบบจ่ายไฟเข้ามอเตอร์โดยตรง เป็นการใช้อุปกรณ์ ควบคมุ เพ่อื เรมิ่ เดินมอเตอร์โดยจ่ายแรงดันไฟฟ้าตามพิกัดที่ระบุบนแผ่นป้ายของมอเตอร์ เรียกว่าการเริ่มเดินแบบ DOL ไม่มีการลดกระแสหรือแรงดันขณะเร่ิมเดิน การเริ่มเดินแบบน้ีมอเตอร์จะมีกระแสขณะเร่ิมเดินประมาณ 6 ถงึ 7 เท่าของกระแสพิกดั ทแี่ ผน่ ปา้ ย จึงเหมาะกับมอเตอรข์ นาดเล็กเท่าน้ัน การเรมิ่ เดินมอเตอร์โดยตรงสามารถใช้ อุปกรณค์ วบคมุ การเร่มิ เดินได้ ดังต่อไปนี้ 2.1.1 การเริม่ เดินดว้ ยมือ เปน็ การเร่ิมเดนิ โดยใช้อุปกรณค์ วบคุมด้วยมือท่ีกล่าวมาแล้วในหน่วยที่ 2 เป็นอุปกรณค์ วบคุม ดังน้ี 1) การเร่ิมเดินดว้ ยมือโดยใชส้ วิตชส์ ามข้วั สบั ทางเดียว (TPST) เป็นวิธีการควบคุมมอเตอร์อย่าง ง่าย ใช้กับมอเตอร์ขนาดเล็ก โดย TPST จะเป็นท้ัง อุปกรณ์ควบคุม อุปกรณ์ปลดวงจร และอุปกรณ์ป้องกัน วงจร แสดงดงั ภาพท่ี 4.7 L1 380/220V; 3/N ~ 50 Hz L2 L3 N S0 F1 T1 T2 T3 M31 ภาพท่ี 4.7 แสดงวงจรการเริ่มเดนิ มอเตอร์ 3 เฟส ดว้ ย TPST ส่วนประกอบของวงจร (1) แหลง่ จ่ายไฟฟา้ ระบบไฟฟ้า 380/220V; 3/N ~ 50 Hz สายวงจรกาํ ลัง ขนาดสาย 1.25 เท่าของกระแสเต็มพิกดั ของมอเตอร์ (2) อุปกรณป์ อ้ งกัน ประกอบดว้ ย F1: ฟวิ ส์ป้องกนั การลดั วงจรและปอ้ งกนั การทํางานเกินกําลงั ของมอเตอร์ หนว่ ยท่ี 4 การเร่มิ เดินมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส 51

(3). อุปกรณ์ควบคุม ประกอบดว้ ย S0: สวิตชส์ ามข้ัวสับทางเดยี ว สวิตชส์ งั่ งานการเริม่ เดนิ มอเตอร์ (4) สว่ นทาํ งาน ประกอบด้วย M31: มอเตอร์ 3 เฟส มอเตอร์ที่จะทําการควบคุมการทาํ งาน 2) การเริ่มเดินด้วยคอนแทกเตอร์ (Contactor and Push Button Switch Starter) เป็นการ นําสวิตช์ปุ่มกดทํางานร่วมกับคอนแทกเตอร์และโอเวอร์โหลดรีเลย์ เพื่อควบคุมการเริ่มเดินมอเตอร์ ดังภาพท่ี 4.8 เป็นแบบแสดงการทาํ งาน ภาพที่ 4.8 ก. วงจรกาํ ลัง ภาพท่ี 4.8 ข. วงจรควบคุม L1 380/220V; 3/N ~ 50 Hz L 220V; 1/N ~ 50 Hz L2 F2 L3 N F1 F3 K1 S1 F3 S2 K1 K1 T1 T2 T3 N K1 H1 H2 M31 1234 ก.วงจรกาํ ลัง ข.วงจรควบคุม ภาพท่ี 4.8 แสดงวงจรเริ่มเดินมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟส ด้วยสวิตช์ปมุ่ กดทํางานรว่ มกบั คอนแทกเตอร์ สว่ นประกอบของวงจร (1) แหลง่ จา่ ยไฟฟา้ ระบบไฟฟ้า 380/220V; 3/N ~ 50 Hz สายวงจรกาํ ลงั ขนาดสาย 1.25 เท่าของกระแสเต็มพิกดั ของมอเตอร์ สายวงจรควบคมุ (2) อุปกรณ์ป้องกัน ประกอบดว้ ย F1: ฟิวส์หรอื เซอร์กติ เบรกเกอร์ ปอ้ งกันการลัดวงจรในวงจรกําลงั F2: ฟวิ ส์ ปอ้ งกนั การลัดวงจรในวงจรควบคุม F3: โอเวอร์โหลดรเี ลย์ ป้องกนั การทาํ งานเกนิ กาํ ลงั ของมอเตอร์ (3) อุปกรณค์ วบคมุ ประกอบด้วย S1: สวติ ชป์ ุม่ กด สีแดง สวิตช์ส่งั งานการหยุดมอเตอร์ S2: สวิตชป์ มุ่ กด สอี ื่น ๆ สวิตช์สัง่ งานการเร่ิมเดนิ มอเตอร์ K1: คอนแทกเตอร์ ควบคุมการทาํ งานมอเตอร์ หน่วยท่ี 4 การเริ่มเดินมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟส 52

(4) อุปกรณ์แสดงการทํางาน ประกอบดว้ ย H1: หลอดสญั ญาณสเี ขยี ว แสดงการทาํ งานของมอเตอร์ H2: หลอดสญั ญาณสีแดง แสดงการโอเวอรโ์ หลดของมอเตอร์ (5) สว่ นทํางาน M31: มอเตอร์ 3 เฟส มอเตอรท์ ีค่ วบคุมการทาํ งาน การทาํ งานของวงจร วงจรมี 3 สถานะ คือ เร่มิ เดิน หยดุ และมอเตอร์ทํางานเกินกาํ ลงั การเร่ิมเดินมอเตอร์ จากภาพที่ 4.8 ข. วงจรควบคุม กดสวิตช์ S2 กระแสจาก L ไหลผ่าน F2 หนา้ สมั ผสั F3 หน้าสมั ผัส S1, S2 เขา้ ขดลวดสนามแม่เหล็ก K1 ครบวงจรที่ N คอนแทกเตอร์ K1 ทํางาน หน้าสัมผัส ปกติเปิด K1 แถวท่ี 2 ทําหน้าท่ีต่อวงจรให้ขดลวดทํางานต่อไปได้หลังจากปล่อย S1 และ K1 ในแถวท่ี 3 ต่อวงจรให้ หลอดสญั ญาณ H1 ทํางาน จากภาพท่ี 4.8 ก.วงจรกาํ ลัง หน้าสัมผสั หลกั ของ K1 ต่อวงจรให้มอเตอร์ทํางาน การหยุดมอเตอร์ ในขณะที่วงจรควบคุมทํางาน กดสวิตช์ S1 ตัดกระแสท่ีจ่ายขดลวด สนามแม่เหลก็ K1 ทําให้ K1 หยุดทํางาน หนา้ สมั ผัสจะกลบั สภาวะเดมิ มอเตอร์หยดุ ทาํ งาน หลอดสัญญาณ H1 ดบั มอเตอรท์ ํางานเกินกําลงั เมือ่ มอเตอร์ทํางานเกินกําลัง มอเตอร์จะมีกระแสไหลเกินพิกัด ทําให้ ลวดความรอ้ นของโอเวอร์โหลดรีเลยใ์ นวงจรกําลังร้อนข้ึนและส่งสัญญาณให้หน้าสัมผัส F3 ในวงจรควบคุมทํางาน เปิดวงจรตัดกระแสท่ีจ่ายให้ขดลวดสนามแม่เหล็ก K1 ทําให้ K1 หยุดทํางาน หน้าสัมผัสจะกลับสภาวะเดิม มอเตอรห์ ยุดทํางาน ขณะเดยี วกนั จะตอ่ วงจรใหห้ ลอดสญั ญาณ H2 สว่าง 2.1.2 การเร่ิมเดินอัตโนมัติ เป็นการเร่ิมเดินโดยใช้อุปกรณ์ควบคุมอัตโนมัติที่กล่าวมาแล้วในหน่วยท่ี 2 เป็นอุปกรณ์ควบคุมการทํางานของมอเตอร์ โดยอาจจะจา่ ยไฟเขา้ โดยตรงถ้าสวิตช์อัตโนมัติมีขนาดกระแสเพียงพอ สาํ หรับมอเตอร์ หรอื นาํ ไปควบคมุ การทํางานของคอนแทกเตอร์ กไ็ ด้ 1) การเร่ิมเดินโดยใช้สวิตช์แรงดัน (Pressure Switch Control) สวิตช์แรงดันทํางานโดยให้ แรงดันมากระทาํ กบั สวิตช์เพ่ือตัดและต่อวงจร เชน่ แรงดันจากลม นํ้า หรือของเหลวอื่น ๆ เป็นต้นดังแสดงในภาพ ท่ี 4.10 มอเตอรแ์ ละเครือ่ งอดั ลม สวิตชแ์ รงดนั ถงั เก็บลม ภาพท่ี 4.10 แสดงรูปป๊ัมลมท่ีมมี อเตอร์เปน็ ตัวขบั และควบคมุ การทํางานดว้ ยสวติ ช์แรงดนั หนว่ ยที่ 4 การเริ่มเดินมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลบั 3 เฟส 53

วงจรควบคมุ การทาํ งาน L1 380/220V; 3/N ~ 50 Hz L 220V; 1/N ~ 50 Hz L2 F2 L3 N F3 F1 Q1 I> I> I> S1 K1 S2 P K1 F3 N K1 H1 H2 123 T1 T2 T3 ข. วงจรควบคมุ M31 ก. วงจรกาํ ลงั ภาพที่ 4.11 แสดงการควบคุมมอเตอร์ป๊ัมลมโดยใช้สวิตช์แรงดนั การทาํ งานขอวงจร จากภาพท่ี 4.11 (1) วงจรกําลัง เนื่องจากการติดต้ังปั๊มลม จะต้องติดตั้งไกลจากบริเวณทํางานอัน เนื่องมาจากเสียงดังรบกวน ถึงแม้ว่าจะดูแลหรือซ่อมบํารุงตามปกติก็ตาม ก็ยังอาจเกิดอุบัติเหตุข้ึนกับมอเตอร์ หรือระบบไฟฟา้ กําลงั ได้ ในวงจรกาํ ลังจึงควรเพมิ่ อปุ กรณป์ ้องกนั ระบบเข้าไปดว้ ย ดังแสดงในภาพท่ี 4.11 (2) วงจรควบคมุ S1 เป็นสวติ ช์ เปิด ปดิ วงจร S2 เป็นสวิตช์แรงดัน เมือ่ แรงดันในถังเกบ็ ลม ลดลงถึงค่าท่ีกําหนด S2 จะต่อวงจรให้ K1 ทํางาน มอเตอร์จะขับให้เครื่องอัดลมทํางานอัดลมเข้าถังเก็บลม แรงดันลมจะค่อย ๆ เพิ่มขน้ึ เมื่อแรงดันเพยี งพอแลว้ S2 จะตัดวงจรให้ K1 หยดุ ทํางาน จากภาพที่ 4.10 เป็นการใช้แรงดันของอากาศหรือของเหลวไปควบคุมการทํางานของมอเตอร์ขับเครื่อง อัดอากาศหรือของเหลว การทํางานขน้ึ อยู่กบั ความดนั ของระบบท่ีต้งั ไว้ คือเริ่มเดินเครอื่ งทาํ งานเมื่อระบบมีความดัน ต่าํ ลงตอ้ งการอากาศหรือของเหลวเพ่มิ และหยดุ เมื่อได้อากาศหรอื ของเหลวเพยี งพอ การทํางานของวงจร 2) การเริม่ เดนิ โดยใชส้ วติ ชล์ ูกลอย (Float Switch Control) เป็นการนาํ ลูกลอยไปตรวจสอบ ระดับของของเหลวในถังเก็บ เพ่ือสั่งให้สวิตช์ทํางานควบคุมการทํางานของมอเตอร์ป๊ัม การทํางานข้ึนอยู่กับระดับ ความสูงตํ่าของของเหลวในระบบท่ีตั้งไว้ คือเร่ิมเดินเคร่ืองทํางานเมื่อของเหลวมีระดับต่ําหรือเหลือน้อย และหยุด เมือ่ ระดบั ของเหลวเพยี งพอ หนว่ ยท่ี 4 การเรม่ิ เดนิ มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟส 54

การทาํ งานของวงจร (1) วงจรควบคุม S1 จากภาพที่ 4.12 S1 เป็นสวิตช์ เปิด ปิดวงจร S2 เป็นสวิตช์ลูกลอย เมื่อ ระดับน้ําในถังเก็บลดลงถึงค่าที่กําหนด (ตําแหน่ง ON) S2 จะต่อวงจรให้ K1 ทํางาน มอเตอร์จะขับให้ป๊ัมนํ้าทํางาน นํา้ ไหลเข้าถังเก็บ ระดับนํ้าในถังเก็บจะค่อย ๆ สูงขึ้น เมื่อระดับนํ้าสูงเพียงพอแล้ว (ตําแหน่ง OFF) S2 จะตัดวงจรให้ K1 หยดุ ทาํ งาน L 220V; 1/N ~ 50 Hz สวิตช์ลกู ลอย ตาํ แหน่ง OFF F F3 S1 S2 Q K1 มอเตอร์ปม้ั ตําแหน่ง ON N K1 H1 H2 ข.การตดิ ตงั้ ลกู ลอยเพื่อตรวจสอบระดบั น้ํา 123 ก. วงจรควบคุม ภาพที่ 4.12 แสดงการควบคุมมอเตอรป์ มั๊ น้าํ โดยใช้สวติ ช์ลกู ลอย (2) วงจรกาํ ลัง ใช้วงจรตามภาพที่ 4.11 ก 2.2 การลดกระแสขณะเรม่ิ เดินมอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลบั 3 เฟส การเร่มิ เดินแบบจ่ายระบบไฟฟ้าเข้ามอเตอร์โดยตรงโดยผ่านอุปกรณ์ควบคุม (Direct on Line: DOL) ท่ีกล่าวมาแล้ว มอเตอร์จะมีกระแสประมาณ 6-7 เท่า ของกระแสพิกัด มอเตอร์ท่ีมีขนาดใหญ่จะใช้เวลาที่ยาวนาน ข้ึนในการเร่งความเร็วจากศูนย์จนถึงพิกัดที่กําหนดไว้บนแผ่นป้าย ซ่ึงจะส่งผลให้อุปกรณ์ป้องกันตัดวงจร ทําให้การ เร่มิ เดนิ มอเตอร์ไม่สามารถทาํ ได้ จงึ มีความจําเปน็ ต้องลดกระแสขณะเริ่มเดนิ ดว้ ยวธิ ีการตา่ ง ๆ เช่น การเร่ิมเดินแบบ สตาร-์ เดลตา การเรมิ่ เดนิ ด้วยหม้อแปลงแบบออโต การเริม่ เดนิ ดว้ ยตวั ต้านทาน เป็นตน้ 2.2.1 การเริ่มเดินแบบสตาร์-เดลตา (Star-Delta Starter) นิยมใช้กับมอเตอร์ 3 เฟส ชนิด เหนี่ยวนําที่ใช้โรเตอร์ชนิดกรงกระรอก ที่มีขนาดต้ังแต่ 5 – 20 กิโลวัตต์ การเร่ิมเดินมอเตอร์แบบน้ี เป็นวิธีลด กระแสโดยใช้เทคนิคการต่อวงจรและคุณสมบัติของการต่อวงจรแบบสตาร์-เดลตา โดยมอเตอร์ท่ีจะนํามาเริ่มเดิน แบบน้ีได้ ขดลวดของมอเตอร์ตอ้ งรบั แรงดันไฟฟา้ ไดเ้ ท่ากับแรงดนั ระหวา่ งของระบบไฟฟ้าท่ีจ่าย ขณะที่มอเตอร์เร่ิมทํางานจะต่อวงจรแบบสตาร์ เม่ือกระแสเริ่มเดินลดลงเป็นกระแสตามพิกัดแล้ว จะ เปล่ยี นการตอ่ วงจรเป็นแบบเดลตา ขดลวดแตล่ ะเฟสจะรบั แรงดันไฟฟ้าเมือ่ ต่อวงแบบสตาร์ และเดลตา ดงั ภาพที่ 4.13 หนว่ ยท่ี 4 การเรมิ่ เดนิ มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลบั 3 เฟส 55

L1 380/220V; 3/N ~ 50 Hz L1 380/220V; 3/N ~ 50 Hz L2 L2 L3 380 V 380 V L3 380 V 380 V 380 V 380 V U1 V1 U2 W2 U1 220 V W2 V2 220 V 380 V 380 V W1 380 V U2 220 V V2 V1 W1 ข. ต่อวงจรแบบเดลตา ก. ตอ่ วงจรแบบสตาร์ ภาพท่ี 4.13 เปรียบเทียบแรงดนั ตกครอ่ มขดลวด เมอ่ื ตอ่ วงจรมอเตอร์ แบบสตาร์ และเดลตา 1) กระแสเมอ่ื เริ่มเดินมอเตอรแ์ บบสตาร-์ เดลตา (1) พิจารณาจากแรงดันไฟฟ้า เม่ือต่อวงจรแบบสตาร์ปลายขั้วของมอเตอร์แต่ละเฟสจะ ตอ่ กบั L และ N แรงดันทต่ี กคร่อมขดลวดแต่ละเฟส จึงเปน็ แรงดันระหว่าง L และ N ขดลวดต้องการแรงดนั 380 V เน่ืองจากขณะทํางานปกตมิ อเตอรต์ อ่ วงจรแบบเดลตาขดลวดแต่ ละขดได้รับแรงดนั ระหว่างไลนก์ ับไลน์ การตอ่ วงจรแบบสตารข์ ดลวดได้รบั แรงดนั ระหว่าง L และ N ขดลวดจึงได้รับแรงดนั เพยี ง 220 V ดังน้นั เมื่อต่อแบบสตาร์ขดลวดได้รับแรงดนั ลดจาก 380 V เหลอื เพยี ง 220 V แรงดันลดลง 3 เทา่ กระแสจงึ ลดลง 3 เท่าด้วย (2) พิจารณาจากกระแสไฟฟ้า สนามแม่เหล็กที่ถูกเหน่ียวนําเกิดจากกระแสไฟฟ้าท่ีไหลใน ขดลวดจาํ นวนหนง่ึ ในการตอ่ แบบสตาร์กระแสจากไลน์จะจ่ายใหข้ ดลวดเพียงเฟสเดียว แต่ในวงจรแบบเดลตาพบว่า กระแสจากไลน์จะตอ้ งจ่ายใหข้ ดลวดสองเฟส ในวงจรแบบเดลตา IL = 3 x IP ในวงจรแบบสตาร์ IL = IP เมอื่ ตอ่ แบบสตาร์กระแสในไลน์น้อยกวา่ แบบเดลตา 3 เทา่ นาํ ข้อ 1) และ 2) มาพจิ ารณารวมกนั จาก ก) พจิ ารณาจากแรงดันลดลง 3 เท่า จาก ข) พิจารณาจากแรงดันลดลง 3 เท่า ดงั น้นั กระแสจะลดลง = 3 ± 3 เม่อื เร่มิ เดินแบบสตาร์ กระแสจะมคี ่าลดลง 3 เทา่ ของกระแสขณะเรมิ่ เดินแบบ DOL หนว่ ยที่ 4 การเริ่มเดินมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลบั 3 เฟส 56

จากการที่กระแสขณะเริ่มเดินลดลง 3 เท่า แรงบิดเร่ิมหมุน (Starting torque) ของมอเตอร์ก็ จะลดลง 3 เท่าเช่นกัน ดังน้ัน การเร่ิมเดินแบบสตาร์-เดลตา จึงไม่ควรให้มอเตอร์เร่ิมเดินที่โหลดเต็มพิกัด ต่อเมื่อ มอเตอรท์ ํางานปกตแิ ลว้ จงึ ค่อยเพมิ่ โหลดเข้าไป 2) การกําหนดขนาดโอเวอร์โหลดรีเลย์ ในขณะที่มอเตอร์ทํางานตามปกติจะต่อวงจรแบบ เดลตา จะเห็นว่าโอเวอร์โหลดรีเลย์ ไม่ได้ต่ออยู่กับแหล่งจ่ายโดยตรง แต่ต่ออยู่ในวงจรขดลวดการกําหนดขนาด จึงต้องพิจารณากระแสที่ไหลในขดลวด ดังน้ี ให้กระแสเตม็ พกิ ดั ของมอเตอร์ = 100 % กระแสท่ีไหลในขดลวดมอเตอร์ = 100 % 3 = 58 % กระแสทไี่ หลในขดลวดมอเตอร์และโอเวอรโ์ หลดรเี ลย์ จงึ เทา่ กับ 58 % ของกระแสพิกัดมอเตอร์ 3) การควบคุมการเริ่มเดินแบบสตาร์-เดลตา การควบคุมการเร่ิมเดินแบบสตาร์-เดลตา สามารถ ใชอ้ ุปกรณ์ควบคมุ ได้หลายชนดิ เชน่ สวติ ชส์ ามขว้ั สับสองทาง (TPDT) สตาร์-เดลตาสวติ ช์ และคอนแทกเตอร์ เป็นต้น ท้ังนี้ต้องพิจารณาถึงความปลอดภัย และขนาดของมอเตอร์ การเริ่มเดินมอเตอร์แบบ สตาร์-เดลตา มอเตอร์จะต้อง เริ่มเดินโดยต่อวงจรแบบสตาร์ เมื่อพ้นระยะเวลาเริ่มเดินหรือมอเตอร์ทํางานปกติแล้ว จึงเปล่ียนการต่อวงจรเป็น แบบเดลตา เท่านนั้ (1) การเริม่ เดนิ แบบสตาร์-เดลตา ดว้ ยสวิตช์ 3 ขว้ั สบั 2 ทาง L1 380/220V; 3/N ~ 50 Hz L2 L3 N F1 S0 U O S1 Y U1 U2 V1 V2 W1 W2 M31 ภาพที่ 4.14 แสดงวงจรเริ่มเดนิ มอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร-์ เดลตา ด้วย TPDT หนว่ ยท่ี 4 การเริม่ เดนิ มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟส 57

จากวงจรในภาพท่ี 4.14 การทาํ งานของวงจรมขี นั้ ตอนดงั นี้ ก. มอเตอร์เร่ิมเดินต่อวงจรแบบสตาร์ โยกสวิตช์ S1 ไปยังตําแหน่ง Y ขั้วล่างของ S1 จะ ต่อข้ัว U2, V2 และ W2 ของมอเตอร์เข้าด้วยกัน หลังจากน้ันกดสวิตช์ S0 กระแสจากไลน์ จะผ่าน F1 ซ่ึงเป็น อปุ กรณป์ อ้ งกัน ผา่ นหนา้ สมั ผัส S0 เข้ามอเตอรท์ ีข่ ัว้ U1 V1และ W1 มอเตอรท์ ํางานโดยต่อวงจรแบบสตาร์ (Y) L1 ต่อกบั ขั้ว U1 L2 ตอ่ กับขัว้ V1 L3 ตอ่ กบั ขว้ั W1 ข้ัว U2, V2, W2 ตอ่ เข้าดว้ ยกนั ข. มอเตอร์ทํางานต่อวงจรแบบเดลตา ขณะทม่ี อเตอรเ์ รม่ิ เดินโดยต่อวงจรแบบ Y ความเร็ว ของมอเตอร์จะเพ่ิมขึ้นเรื่อย ๆ จนกระท่ังใกล้ความเร็วพิกัด และกระแสขณะสตาร์ตก็จะลดลงจนใกล้พิกัดเช่นกัน โยกสวติ ช์ S1ไปยังตําแหนง่ U ขั้วกลางของ S1 จะต่อกบั ขวั้ บน มอเตอรจ์ ึงถกู ต่อวงจรดงั นี้ L1 ต่อกบั ขวั้ U1 และ W2 L2 ต่อกับข้วั V1 และ U2 L3 ตอ่ กับข้ัว W1 และ V2 จากวงจรการเร่ิมเดินด้วย TPDT จะเห็นว่าสวิตช์ S1 ซ่ึงเป็นสวิตช์ TPDT น้ัน สามารถโยก ไปตําแหน่ง Y และ U ได้อย่างอิสระ ผู้ปฏิบัติงานควบคุมจึงจําเป็นต้องศึกษาหลักและวิธีการเร่ิมเดินแบบนี้ก่อน รวมถึงระยะเวลาท่ีมอเตอร์ใชใ้ นการเพ่ิมอัตราเรง่ ความเรว็ จากหยดุ น่ิงจนถึงความเรว็ พิกัด (2) การเริ่มเดินด้วยสตาร์-เดลตา สวิตช์ (Star-Delta Switch Starter) สตาร์-เดลตา สวิตช์ เป็นดรัมสวิตช์ที่ออกแบบมาสําหรับการเริ่มเดินมอเตอร์แบบสตาร์-เดลตา โดยเฉพาะ ภาพที่ 4.15 แสดงวงจรเร่ิม เดนิ มอเตอร์ 3 เฟส ด้วยสตาร-์ เดลตาสวิตช์ LLL21N3 380/220V; 3/N ~ 50 Hz S1 F1 L1 S0 U1 U2 U1 U2 L2 V1 V2 V1 W1 W2 V2 L3 W1 W2 0Y U M31 ข. ลกั ษณะภายนอกของสตาร-์ เดลตาสวิตช์ ก. วงจรเร่ิมเดนิ มอเตอร์ 3 เฟส ดว้ ยสตาร-์ เดลตาสวติ ช์ ภาพท่ี 4.15 แสดงวงจรเรม่ิ เดนิ มอเตอร์ 3 เฟส ด้วยสตาร-์ เดลตาสวติ ช์ หน่วยที่ 4 การเร่ิมเดินมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส 58

สว่ นประกอบของวงจร F1: ฟิวส์ เป็นอปุ กรณ์ปอ้ งกัน S0: สวติ ช์ตัดต่อวงจร S1: สตาร์-เดลตาสวติ ช์ เปน็ อปุ กรณค์ วบคมุ การเริม่ เดนิ M31: มอเตอร์ การทํางานของวงจร จากภาพที่ 4.15 สวิตช์ S1 สามารถหมุนได้ 3 ตําแหน่ง คือ 0, Y และ U ตามลาํ ดบั เมื่อกดสวติ ช์ S0 กระแสจากไลน์ จะผา่ น F1 ผ่านหนา้ สัมผสั S0 เขา้ ขวั้ L1, L2 และ L3 ก. ตาํ แหน่ง 0 เป็นตาํ แหนง่ OFF ขั้วสวิตช์จะไม่ตอ่ วงจร มอเตอรจ์ งึ ไมท่ าํ งาน ข. ตําแหน่ง Y เป็นตําแหน่งที่ L1 ต่อกับข้ัว U1, L2 ต่อกับ V1, L3 ต่อกับข้ัว W1 และขั้ว U2, V2, W2 ตอ่ เขา้ ดว้ ยกัน มอเตอรจ์ ึงทาํ งานโดยต่อวงจรแบบ Y ค. ตําแหน่ง U เป็นตําแหน่งที่ L1 ต่อกับข้ัว U1 และ W2, L2 ต่อกับขั้ว V1 และ U2, L3 ต่อกบั ขั้ว W1 และ V2 มอเตอรจ์ ึงทาํ งานโดยต่อวงจรแบบเดลตา (3) การเริ่มเดินแบบสตาร์-เดลตา ด้วยคอนแทกเตอร์ การเร่ิมเดินแบบสตาร์-เดลตา ด้วย คอนแทกเตอร์เป็นวธิ ีที่นยิ มใชม้ ากกวา่ แบบอื่น ๆ เพราะมีความสะดวก ปลอดภัยกับผู้ปฏิบัติงาน การเริ่มเดินแบบ สตาร์-เดลตา ดว้ ยคอนแทกเตอร์ แบ่งได้เปน็ 2 วงจร คอื วงจรกาํ ลัง และวงจรควบคุม ก. วงจรกาํ ลงั เปน็ วงจรทต่ี ่อให้มอเตอร์ทํางาน ดังแสดงในภาพที่ 4.16 L1 380/220V; 3/N ~ 50 Hz L2 L3 N F1 K1 K2 K3 F3 U1 W2 V1 U2 W1 V2 M31 ภาพที่ 4.16 แสดงวงจรกาํ ลังการเรม่ิ เดนิ มอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร-์ เดลตา ดว้ ยคอนแทกเตอร์ หนว่ ยที่ 4 การเริ่มเดนิ มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส 59

ส่วนประกอบของวงจร จากภาพท่ี 4.16 วงจรประกอบด้วย F1: อุปกรณ์ป้องกัน ใชฟ้ วิ ส์ หรอื เซอร์กติ เบรกเกอร์ F3: อปุ กรณป์ ้องกนั การโอเวอร์โหลดของมอเตอร์ ใช้โอเวอรโ์ หลดรีเลย์ K1: เป็นคอนแทกเตอร์หลกั K2: เป็นคอนแทกเตอร์ตอ่ วงจรมอเตอรแ์ บบสตาร์ K3: เป็นคอนแทกเตอรต์ ่อวงจรมอเตอร์แบบเดลตา M31: มอเตอร์ การทํางานของวงจร ภาพที่ 4.16 วงจรกําลัง การทํางานมี 2 ข้ันตอน คือ ก) ขณะเร่มิ เดินมอเตอร์ มอเตอร์ต่อวงจรแบบสตาร์ K1 และ K2 ทาํ งาน K1 ทําหนา้ ท่ตี อ่ วงจรให้ L1 ตอ่ กับขั้ว U1, L2 ตอ่ กบั ขวั้ V1, L3 ต่อกบั ขั้ว W1 K2 ทําหน้าที่ตอ่ วงจร U2, V2 และ W2 ตอ่ เข้าดว้ ยกัน ข) ขณะมอเตอรท์ าํ งาน มอเตอร์ตอ่ วงจรแบบเดลตา K1 และ K3 ทาํ งาน K1 ทําหนา้ ทต่ี อ่ วงจร L1 ต่อกบั ขั้ว U1, L2 ต่อกบั ขว้ั V1, L3 ต่อกบั ขั้ว W1 K3 ทําหน้าทีต่ อ่ วงจร L1 ต่อกับขัว้ W2, L2 ต่อกับขัว้ U2, L2 ตอ่ กับขวั้ V2 ข. วงจรควบคุม วงจรควบคุมออกแบบการทํางานได้ 2 วิธี คือ การเริ่มเดินด้วยมือ และการเร่ิมเดินอตั โนมัติ ก) การเริ่มเดินด้วยมือ การเปล่ียนการต่อวงจรจากสตาร์เป็นเดลตาจะถูก กําหนดเวลาดว้ ยผู้ควบคมุ ผ่านสวติ ชป์ ุ่มกด ดงั แสดงในภาพท่ี 4.17 L 220V; 1/N ~ 50 Hz F2 F3 S1 S2 K1 K3 K2 K3 S K3 K2 N K1 K2 K3 H1 H2 H3 1 234 56 7 ภาพที่ 4.17 แสดงวงจรควบคมุ ด้วยมอื การเร่ิมเดนิ มอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร-์ เดลตา ด้วยคอนแทกเตอร์ หนว่ ยที่ 4 การเร่ิมเดินมอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลบั 3 เฟส 60

สว่ นประกอบของวงจร จากภาพท่ี 4.17 วงจรประกอบดว้ ย F2: ฟิวส์ เป็นอุปกรณ์ปอ้ งกันการลัดวงจร F3: หน้าสัมผสั โอเวอรโ์ หลดรีเลย์ ป้องกันการโอเวอรโ์ หลดของมอเตอร์ S1, S2, S3: สวิตช์ปุ่มกด S1 สั่งให้มอเตอร์หยุดทํางาน S2 ส่ังให้มอเตอร์เร่ิมเดินโดย ต่อวงจรแบบสตาร์ S3 สง่ั ใหม้ อเตอร์ทาํ งานโดยตอ่ วงจรแบบเดลตา K1, K2, K3: เปน็ ขดลวดสนามแม่เหลก็ ของคอนแทกเตอร์ H1, H2, H3: หลอดสัญญาณ H1 แสดงมอเตอร์ต่อวงจรแบบสตาร์ H2 แสดงมอเตอร์ ต่อวงจรแบบเดลตา H3 แสดงการโอเวอร์โหลดของมอเตอร์ การทาํ งานของวงจร จากภาพท่ี 4.17 การทํางานของวงจรมี 2 ข้ันตอน คอื มอเตอร์เร่ิมเดิน กดสวิตช์ S2 กระแสจาก L ผ่าน F2 หน้าสัมผัส F3, S1, S2 และ ขดลวด K1 ครบวงจรท่ี N คอนแทกเตอร์ K1 ทาํ งาน หน้าสมั ผสั K1 ในแถวที่ 2 ทําหน้าที่คงสภาพการทํางานของ ขดลวด K1 คอนแทกเตอร์ K2 ครบวงจรและทํางานด้วย หลอดสัญญาณ H1 สว่าง แสดงการต่อวงจรแบบสตาร์ สว่ นคอนแทกเตอร์ K3 จะไมท่ ํางาน ในวงจรกําลัง K1, K2 ทาํ งาน มอเตอรเ์ รมิ่ เดินโดยตอ่ วงจรแบบสตาร์ มอเตอร์ทํางาน กด S3 ในแถวท่ี 4 K2 ถูกตัดวงจรหยุดทํางาน และต่อวงจรขดลวด K3 ในแถวท่ี 5 ให้ทํางาน หลอดสัญญาณ H2 สว่าง แสดงการต่อวงจรแบบเดลตามอเตอร์ต่อวงจรแบบเดลตา ใน วงจรกาํ ลัง K1, K3 ทํางาน มอเตอรท์ าํ งานโดยตอ่ วงจรแบบเดลตา ข) การเริ่มเดินอัตโนมัติ การเปลี่ยนการต่อวงจรจากสตาร์เป็นเดลตาจะถูก กําหนดเวลาโดยอตั โนมัติโดยรีเลยห์ นว่ งเวลา ดงั แสดงในภาพท่ี 4.18 L 220V; 1/N ~ 50 Hz F2 F3 S1 S2 K1 K3 K2 K3 K4T K3 K3 K2 N K1 K4T K2 K3 H1 H2 H3 12 34 56 7 ภาพที่ 4.18 แสดงวงจรควบคุมอัตโนมตั กิ ารเรม่ิ เดินมอเตอร์ 3 เฟส แบบสตาร-์ เดลตา หนว่ ยท่ี 4 การเรม่ิ เดนิ มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟส 61

สว่ นประกอบของวงจร จากภาพท่ี 4.18 วงจรประกอบด้วย F2: ฟิวส์ เปน็ อปุ กรณป์ อ้ งกนั การลัดวงจร F3: หน้าสัมผัสโอเวอรโ์ หลดรเี ลย์ ปอ้ งกนั การโอเวอร์โหลดของมอเตอร์ S1, S2: สวิตชป์ ่มุ กด S1 ส่งั ใหม้ อเตอรห์ ยดุ ทาํ งาน S2 ส่ังให้มอเตอรเ์ รมิ่ เดิน K1, K2, K3: เป็นขดลวดสนามแม่เหลก็ ของคอนแทกเตอร์ K4T: รเี ลยต์ งั้ เวลาเปลย่ี นการต่อวงจรแบบสตาร์เป็นเดลตา H1, H2, H3: หลอดสัญญาณ H1 แสดงมอเตอร์ต่อวงจรแบบสตาร์ H2 แสดงมอเตอร์ ต่อวงจรแบบเดลตา H3 แสดงการโอเวอร์โหลดของมอเตอร์ การทาํ งานของวงจร จากภาพท่ี 4.18 การทาํ งานของวงจรมี 2 ขั้นตอน คอื ขณะเร่ิมเดินมอเตอร์ กดสวิตช์ S2 ในแถวที่ 1 กระแสจาก L ผ่าน F2 หน้าสัมผัส F3, S1, S2 และขดลวด K1 ครบวงจรที่ N เมื่อ K1 ทํางาน หน้าสัมผัส K1 ในแถวที่ 2 ทําหน้าท่ี คงสภาพการทํางาน ของขดลวด K1 ต่อวงจรให้ K4T ทํางานเร่ิมนับเวลา และต่อให้คอนแทกเตอร์ K2 ทํางาน K2 ต่อวงจรให้หลอด สญั ญาณ H1 สวา่ ง ในวงจรกําลัง K1 และ K2 ทํางาน มอเตอรต์ ่อวงจรแบบสตาร์ ขณะทํางาน เมื่อถึงเวลาที่กําหนดโดย K4T K1 และ K3 ทํางาน หน้าสัมผัส K4T ในแถว ที่ 3 จะตัดวงจร K2 และต่อให้ K3 ในแถวที่ 5 ทํางาน หลอดสัญญาณ H2 สว่าง แสดงการต่อวงจรแบบเดลตา K3 ใน แถวท่ี 2 จะตัดกระแสท่ีจ่ายให้ขดลวด K4T และ K3 ในแถวที่ 3 จะตัดกระแสที่จ่ายให้ขดลวด K2 ในวงจรกําลัง K1 และ K3 ทาํ งาน มอเตอร์ตอ่ วงจรแบบเดลตา 2.2.2 การเร่ิมเดินด้วยหม้อแปลงแบบออโต (Autotransformer Starter) การเร่ิมเดินมอเตอร์ ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส ด้วยหม้อแปลงแบบออโต เปน็ วธิ กี ารลดกระแสขณะเรมิ่ เดินมอเตอร์โดยการลดแรงดนั 1) วงจรกาํ ลังของการเร่ิมเดินด้วยหมอ้ แปลงแบบออโต ดงั แสดงในภาพที่ 4.19 LLLN312 380/220V; 3/N ~ 50 Hz F1 K1 K3 K2 หม้อแปลงแบบออโต้ ลดแรงดนั 60-80% F3 T1 T2 T3 M31 ภาพที่ 4.19 แสดงวงจรการเร่ิมเดนิ ดว้ ยหม้อแปลงแบบออโต หน่วยที่ 4 การเรมิ่ เดนิ มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลบั 3 เฟส 62

สว่ นประกอบของวงจร จากภาพท่ี 4.19 วงจรประกอบด้วย F1: อุปกรณป์ อ้ งกัน ใช้ฟวิ ส์ หรือ เซอร์กิตเบรกเกอร์ F3: อปุ กรณ์ป้องกันการโอเวอรโ์ หลดของมอเตอร์ ใช้โอเวอร์โหลดรเี ลย์ K1, K2: เป็นคอนแทกเตอรส์ ําหรบั การเร่มิ เดนิ มอเตอร์ K3: เปน็ คอนแทกเตอรส์ าํ หรับการทํางานปกตขิ องมอเตอร์ M31: มอเตอร์ การทาํ งานของวงจรกาํ ลงั จากภาพท่ี 4.19 การทาํ งานของวงจรกําลงั มี 2 ขัน้ ตอน คือ มอเตอรเ์ ร่มิ เดนิ มอเตอรต์ ่อวงจรโดยไดร้ ับแรงดนั 60-80 % จากหม้อแปลงแบบออโต K1 ทําหน้าท่ีต่อ ไลน์ L1, L2, L3 เข้าหม้อแปลงแบบออโต K2 ต่อหม้อแปลงแบบออโตให้เป็นระบบ 3 เฟส แบบ สตาร์ มอเตอรท์ าํ งาน มอเตอรท์ ํางานโดยต่อวงจรรบั แรงดันจากไลนโ์ ดยตรง K3 ทาํ งาน K1 และ K2 หมดหน้าท่จี ึงหยุดทํางาน 2) วงจรควบคุมของการเร่มิ เดินด้วยหมอ้ แปลงแบบออโต (1) การเริม่ เดนิ ดว้ ยมือ วงจรการควบคมุ ดว้ ยมอื การเร่ิมเดนิ มอเตอร์ 3 เฟส ดว้ ยหมอ้ แปลงแบบออโต แสดงดังภาพท่ี 4.20 L 220V; 1/N ~ 50 Hz S1 S2 K1 K3 K2 K3 K3 S3 N K1 K2 K3 H1 H2 H3 1 2 34 56 7 ภาพที่ 4.20 แสดงวงจรควบคมุ การเรมิ่ เดินดว้ ยหมอ้ แปลงแบบออโต ส่วนประกอบของวงจร จากภาพท่ี 4.20 วงจรประกอบด้วย F2: ฟวิ ส์ เป็นอปุ กรณป์ ้องกันการลัดวงจร F3: หนา้ สมั ผสั โอเวอร์โหลดรเี ลย์ ปอ้ งกนั การโอเวอรโ์ หลดของมอเตอร์ S1, S2, S3: สวิตช์ปุ่มกด S1 ส่ังให้มอเตอร์หยุดทํางาน S2 สั่งให้มอเตอร์เร่ิมเดิน S3 สัง่ ให้มอเตอร์ทาํ งาน หน่วยที่ 4 การเรม่ิ เดินมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส 63

K1, K2, K3: เปน็ ขดลวดสนามแม่เหล็กของคอนแทกเตอร์ H1, H2, H3: หลอดสญั ญาณ H1 แสดงมอเตอรเ์ ริ่มเดนิ H2 แสดงมอเตอร์ทํางานปกติ H3 แสดงการโอเวอร์โหลดของมอเตอร์ การทาํ งานของวงจร จากภาพที่ 4.20 การทาํ งานของวงจรมี 2 ขนั้ ตอน คอื เริ่มเดินมอเตอร์ กดสวิตช์ S2 กระแสจาก L ผ่าน F2 หน้าสัมผัส F3, S1, S2 และ ขดลวด K1 ครบวงจรท่ี N K1 ทํางาน ขดลวด K2 จะครบวงจรและทํางานด้วย หน้าสัมผัส K1 มอเตอร์ต่อวงจร โดยได้รบั แรงดัน 80 % จากหมอ้ แปลงแบบออโต K1 และ K2 ทํางาน ในแถวท่ี 1 หลอดสัญญาณ H1 สว่าง แสดง การเริม่ เดนิ ของมอเตอร์ มอเตอร์ทํางาน กด S3 ในแถวท่ี 4 ขดลวด K3 ในแถวท่ี 5 จะทาํ งาน มอเตอรต์ ่อวงจร จากไลนโ์ ดยตรงหลอดสญั ญาณ H2 สว่าง แสดงการรันปกติ K3 ชนดิ N.C. ในแถวที่ 1 ตัดวงจร K1 และ K2 (2) การเริ่มเดนิ อัตโนมัติ 220V; 1/N ~ 50 Hz L F2 F3 S1 S2 K1 K4T K3 K2 K3 K3 N K1 K2 K4T K3 H1 H2 H3 7 1 2 34 56 ภาพที่ 4.21 แสดงวงจรควบคมุ การเร่ิมเดินดว้ ยหม้อแปลงแบบออโต สว่ นประกอบของวงจร จากภาพท่ี 4.21 วงจรประกอบดว้ ย F2: อปุ กรณป์ ้องกัน ใช้ฟวิ ส์ เป็นอุปกรณป์ อ้ งกันการลัดวงจร F3: หนา้ สมั ผสั โอเวอรโ์ หลดรเี ลย์ ป้องกันการโอเวอรโ์ หลดของมอเตอร์ S1, S2: สวติ ช์ปมุ่ กด S1 สัง่ ให้มอเตอรห์ ยดุ ทาํ งาน S2 ส่งั ใหม้ อเตอร์เริ่มเดนิ S3 K1, K2, K3: เป็นขดลวดสนามแม่เหล็กของคอนแทกเตอร์ K4T: เป็นรเี ลย์ตั้งเวลา H1, H2, H3: หลอดสัญญาณ H1 แสดงมอเตอรเ์ ร่ิมเดิน H2 แสดงมอเตอร์ทํางานปกติ H3 แสดงการโอเวอรโ์ หลดของมอเตอร์ หนว่ ยที่ 4 การเริ่มเดนิ มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลบั 3 เฟส 64

การทาํ งานของวงจร จากภาพท่ี 4.21 การทาํ งานมี 2 ขน้ั ตอน คอื เริ่มเดินมอเตอร์ กดสวิตช์ S2 กระแสจาก L ผ่าน F2 หน้าสัมผัส F3, S1, S2 และ ขดลวด K1 ครบวงจรท่ี N K1 ทํางาน หน้าสัมผัส K1 ในแถวท่ี 2 ทําหน้าท่ีต่อขดลวด ขดลวด K2 จะครบวงจร และทาํ งานดว้ ย มอเตอร์ตอ่ วงจรโดยไดร้ บั แรงดัน 80 % จาก หมอ้ แปลงแบบออโต K1 และ K2 ทาํ งาน มอเตอร์ทํางาน เมื่อถึงเวลาท่ีกําหนด K4T ในแถวท่ี 4 จะต่อวงจรให้ขดลวด K3 ใน แถวที่ 5 ทํางาน มอเตอร์ต่อวงจรจากไลน์โดยตรงหลอดสัญญาณ H1 สว่าง แสดงการรันปกติ K3 ชนิด N.C. ใน แถวท่ี 1 ตดั วงจร K1 และ K2 2.2.3 การเร่มิ เดินโดยการลดกระแสด้วยตัวต้านทาน (Resistor Starter) การใช้ตัวต้านทานจํากัด กระแสขณะเร่ิมเดิน โดยนําตัวต้านทานต่ออนุกรมเข้ากับมอเตอร์ ถ้ามอเตอร์มีขนาดใหญ่ข้ึนสามารถใช้ตัว ตา้ นทานหลายชดุ เพ่ือเพ่มิ ระยะเวลาในการเรม่ิ เดนิ ได้ 1) วงจรกําลงั L1 380/220V; 3/N ~ 50 Hz L2 L3 N F1 K1 K2 ตัวตา้ นทานเรม่ิ เดิน F3 T1 T2 T3 M31 ภาพท่ี 4.22 แสดงวงจรกาํ ลงั การควบคุมการเรม่ิ เดนิ ด้วยตัวตา้ นทาน ส่วนประกอบของวงจร จากภาพท่ี 4.22 วงจรประกอบด้วย F1: อุปกรณป์ ้องกัน ใช้ฟวิ ส์ หรือ เซอรก์ ติ เบรกเกอร์ F3: หน้าสัมผัสโอเวอรโ์ หลดรีเลย์ ปอ้ งกนั การโอเวอรโ์ หลดของมอเตอร์ K1: เปน็ คอนแทกเตอร์สําหรับการเร่มิ เดินมอเตอร์ K2: เป็นคอนแทกเตอรส์ ําหรบั การทาํ งานปกตขิ องมอเตอร์ M31: มอเตอร์ หน่วยที่ 4 การเรมิ่ เดนิ มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลับ 3 เฟส 65

การทาํ งานของวงจร จากวงจรตามภาพที่ 4.22 การทํางานมี 2 ขน้ั ตอน คอื เร่มิ เดินมอเตอร์ K1 ตอ่ วงจรใหม้ อเตอรท์ าํ งาน กระแสที่ไหลไปยังมอเตอรจ์ ะไหลผา่ น ตัวต้านทานเร่มิ เดิน กระแสจะถกู จาํ กัดดว้ ยตวั ต้านทาน มอเตอร์ทํางาน K2 ต่อวงจรให้มอเตอร์ทํางาน โดยได้รับแรงดันไฟฟ้าตามพิกัด โดยตรง 2) วงจรควบคุม การออกแบบวงจรควบคุมวงจรควบคุมออกแบบการทํางานกําหนดเวลาเริ่ม เดินอตั โนมัติ L 220V; 1/N ~ 50 Hz F2 F3 S1 S2 K1 K1 K3T K2 K1 K3 N K1 K3T H1 K2 H2 H3 12 3 45 67 ภาพท่ี 4.23 แสดงวงจรควบคมุ การเร่มิ เดนิ ดว้ ยตัวต้านทาน ส่วนประกอบของวงจร จากภาพที่ 4.23 วงจรประกอบด้วย F2: อปุ กรณป์ อ้ งกนั ใชฟ้ วิ ส์ หรอื เซอรก์ ิตเบรกเกอร์ F3: หน้าสมั ผัสโอเวอรโ์ หลดรีเลย์ ปอ้ งกนั การโอเวอรโ์ หลดของมอเตอร์ S1, S2: สวติ ช์ปมุ่ กด S1 ส่งั ใหม้ อเตอรห์ ยดุ ทาํ งาน S2 สั่งใหม้ อเตอร์เร่ิมเดิน S3 K1: เปน็ คอนแทกเตอร์สาํ หรบั การเริ่มเดินมอเตอร์ K2: เป็นคอนแทกเตอรส์ ําหรบั การทํางานปกตขิ องมอเตอร์ K3T: เป็นรเี ลยต์ ้งั เวลา หน่วยท่ี 4 การเรม่ิ เดนิ มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส 66

การทาํ งานของวงจร จากภาพที่ 4.23 การทาํ งานมี 2 ขน้ั ตอน คือ เร่ิมเดินมอเตอร์ กดสวิตช์ S2 กระแสจาก L ผ่าน F2 หน้าสัมผัส F3, S1, S2 และ ขดลวด K1 ครบวงจรที่ N K1 ทํางาน มอเตอรต์ ่อวงจรโดยถกู จาํ กัดกระแสด้วยตวั ตา้ นทาน K1 ทํางาน ในแถวท่ี 1 ขดลวด K3T จะครบวงจรและทํางานดว้ ย เร่ิมนับเวลา หลอดสัญญาณ H1 สว่าง แสดงการเริ่มเดินของมอเตอร์ มอเตอร์ทํางาน เมื่อถึงเวลาที่กําหนดหน้าสัมผัส K3T ในแถวที่ 4 ต่อวงจรให้ K2 ทาํ งานมอเตอร์ตอ่ วงจรจาก L1, L2, และ L3 โดยตรง K2 ทํางาน หลอดสัญญาณ H2 สว่าง แสดงการรันปกติ K2 ชนิด N.C. ในแถวท่ี 1 จะตัดวงจรวงจร K1 และ K3T 3. การเร่มิ เดินวาวดโ์ รเตอรม์ อเตอร์ (Wound Rotor Motor Starter) 3.1 วาวดโ์ รเตอร์มอเตอร์ วาวด์โรเตอร์มอเตอร์เป็นมอเตอร์เหน่ียวนําชนิด 3 เฟส มีความแตกต่างจากมอเตอร์เหน่ียวนําทั่วไป คือโรเตอร์จะพันขดลวด 3 เฟส เช่นเดียวกับสเตเตอร์โดยต่อวงจรแบบสตาร์ ปลายสายทั้ง 3 ต่อกับวงแหวนเลื่อน (Slip Ring) ใช้แปลงถ่านประกบเข้ากับวงแหวนเล่ือน เพื่อต่อวงจรออกสู่ภายนอก บางคร้ังจึงเรียกว่า สลิปริง มอเตอร์ (Slip Ring Motor) ดังแสดงในภาพที่ 4.24 L1 L2 L3 U2 V1 U1 V2 W2 W1 ก. แสดงวงจรขดลวดสเตเตอร์ (Primary Circuit) ขั้วต่อวงจรออกภายนอก K L M แปรงถา่ น วงแหวนเลอื่ น ข. แสดงวงจรขดลวดโรเตอร์ (Secondary Circuit) ภาพท่ี 4.24 แสดงวงจรภายในของมอเตอร์ชนดิ วาวดโ์ รเตอร์ หน่วยที่ 4 การเร่มิ เดนิ มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลบั 3 เฟส 67

การต่อวงจรใชง้ าน 1) ขดลวดสเตเตอร์ (Primary Circuit) ต่อวงจรแบบสตาร์ หรอื เดลตา กไ็ ด้ ขนึ้ อยู่กับแรงดันท่ี กาํ หนดไวท้ ขี่ ดลวด และแรงดนั ของระบบไฟฟ้า 2) ขดลวดโรเตอร์ (Secondary Circuit) ต่อวงจรแบบสตาร์ ไว้แล้วและต่อวงจรออกสู่ภายนอก โดยผา่ นทางวงแหวนเลอ่ื น และแปรงถ่าน โดยกาํ หนดชื่อข้ัวเปน็ K, L และ M ตามลาํ ดบั 3.2 การเร่ิมเดนิ วาวดโ์ รเตอร์มอเตอร์ดว้ ยมอื การเร่ิมเดินวาวด์โรเตอร์มอเตอร์ด้วยมือ เป็นการเร่ิมเดินมอเตอร์โดยใช้กล่องความต้านทานสําเร็จ ภาพ (Y-Box) มีตัวตา้ นทานปรับค่าได้ 3 ชุดปรบั ค่าความตา้ นทานดว้ ยมอื หมุน นํามาต่อกับขั้วขดลวดของโรเตอร์ คือ ขวั้ K L และ M ดงั แสดงในภาพท่ี 4.25 วงจรสเตเตอร์ L1 380/220V; 3/N ~ 50 Hz L2 L3 N F1 Q1 I> T1 T2 T3 Rotor M31 K LM วงจรโรเตอร์ ภาพที่ 4.25 แสดงการเรม่ิ เดนิ โดยตอ่ ตวั ตา้ นทาน Y- Box กับวาวดโ์ รเตอร์ หนว่ ยที่ 4 การเร่มิ เดินมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส 68

การทํางานของวงจร จากภาพท่ี 4.25 การทาํ งานมี 2 ขัน้ ตอน คือ เริ่มเดินมอเตอร์ ปรับค่าความต้านทานของ Y-Box ให้มีค่าสูงสุด เปิดสวิตช์ Q1 ต่อวงจรให้ ขดลวดสเตเตอร์ได้รับแรงดันโดยตรง มอเตอร์เริ่มเดินโดยมีตัวต้านทานใน Y-Box ต่ออนุกรมกับโรเตอร์ หมุนแกน Y-Box เพ่อื ลดคา่ ความตา้ นทานทีต่ อ่ อนุกรมกบั โรเตอร์ ความเร็วรอบของมอเตอรจ์ ะค่อย ๆ เพ่มิ ขนึ้ มอเตอร์ทํางาน หมุนแกน Y-Box จนสุด โรเตอร์จะถูกลัดวงจร มอเตอร์ทํางานเหมือนกับโร เตอรแ์ บบกรงกระรอก 3.3 การเรม่ิ เดนิ วาวด์โรเตอรม์ อเตอรโ์ ดยอตั โนมตั ิ การเรม่ิ เดนิ โดยการใช้ตัวตา้ นทานตอ่ อนกุ รมเข้ากบั ขดลวดโรเตอรข์ องมอเตอร์แบบวาวด์โรเตอร์โดย อัตโนมตั ิ 3.3.1 วงจรกาํ ลงั L1 380/220V; 3/N ~ 50 L2 L3 N F1 K1 F3 T1 T2 T3 K4 K3 K2 K L Rotor M R3 R2 R1 M31 ภาพท่ี 4.26 แสดงการเรม่ิ เดินมอเตอร์แบบวาวด์โรเตอรโ์ ดยตอ่ ตวั ตา้ นทานอนกุ รมเขา้ ขดลวดโรเตอร์ ส่วนประกอบของวงจร จากภาพท่ี 4.26 วงจรประกอบดว้ ย F1: อุปกรณป์ อ้ งกัน ใช้ฟวิ ส์ หรอื เซอรก์ ิตเบรกเกอร์ F3: อปุ กรณป์ ้องกันการโอเวอรโ์ หลดของมอเตอร์ ใชโ้ อเวอร์โหลดรเี ลย์ K1: เป็นคอนแทกเตอรส์ ําหรับจ่ายไฟให้ขดลวดสเตเตอร์ K2: เป็นคอนแทกเตอรส์ าํ หรบั ลัดวงจร R1 K3: เปน็ คอนแทกเตอร์สําหรับลดั วงจร R2 K4: เปน็ คอนแทกเตอรส์ าํ หรับลดั วงจร R3 M31: มอเตอร์ หน่วยที่ 4 การเรม่ิ เดินมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลับ 3 เฟส 69

การทาํ งานของวงจร จากภาพที่ 4.26 การทาํ งานมี 4 ข้ันตอน คอื ขั้นตอนท่ี 1 K1 ต่อวงจรให้ขดลวดสเตเตอร์ได้รับแรงดันโดยตรง ตัวต้านทานทุกตัวต่อ อนกุ รมกบั โรเตอร์ ขัน้ ตอนที่ 2 K1 ทํางานรว่ มกับ K2 โดย K1 ตอ่ วงจรใหข้ ดลวดสเตเตอร์ K2 ลดั วงจร R1 ขั้นตอนที่ 3 K1 ทาํ งานร่วมกับ K3 โดย K1 ตอ่ วงจรให้ขดลวดสเตเตอร์ K3 ลดั วงจร R2 ข้ันตอนท่ี 4 K1 ทาํ งานรว่ มกบั K4 โดย K1 ต่อวงจรใหข้ ดลวดสเตเตอร์ K4 ลัดวงจรขดลวด โรเตอร์ทข่ี ้ัว K, L และ M 3.3.2 วงจรควบคมุ ออกแบบวงจรควบคมุ โดยกําหนดเวลาเรมิ่ เดนิ อตั โนมัติ L 220V; 1/N ~ 50 Hz F2 F3 S1 S2 K1 K4 K7T K4 K1 K4 K4 K5T K6T N K1 K5T K2 K6T K3 K7T K4 H1 H2 H3 1 2 3 4 56 7 10 ภาพที่ 4.27 แสดงวงจรควบคมุ การเร่มิ เดนิ มอเตอร์แบบวาวด์โรเตอร์ สว่ นประกอบของวงจร จากภาพท่ี 4.27 วงจรประกอบด้วย F2: อปุ กรณป์ อ้ งกนั ใช้ฟิวส์ หรอื เซอร์กิตเบรกเกอร์ F3: หน้าสัมผสั โอเวอร์โหลดรีเลย์ ป้องกันการโอเวอร์โหลดของมอเตอร์ S1, S2: สวติ ชป์ ุม่ กด S1 ส่งั ใหม้ อเตอรห์ ยดุ ทาํ งาน S2 ส่งั ให้มอเตอรเ์ ริ่มเดนิ K1: เปน็ คอนแทกเตอรส์ าํ หรบั จ่ายไฟให้ขดลวดสเตเตอร์ K2: เปน็ คอนแทกเตอรส์ าํ หรบั ลัดวงจร R1 ในวงจรกําลัง K3: เป็นคอนแทกเตอร์สําหรับลัดวงจร R2 ในวงจรกําลัง K4: เป็นคอนแทกเตอร์สาํ หรับลัดวงจร R3 ในวงจรกําลัง หนว่ ยที่ 4 การเร่มิ เดนิ มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลับ 3 เฟส 70

K5T: เป็นรเี ลยต์ ั้งเวลาตอ่ วงจรขดลวดสนามแม่เหล็ก K2 K6T: เปน็ รเี ลยต์ ้งั เวลาต่อวงจรขดลวดสนามแม่เหลก็ K3 K7T: เปน็ รเี ลย์ตัง้ เวลาตอ่ วงจรขดลวดสนามแมเ่ หลก็ K4 H1: เปน็ หลอดสญั ญาณแสดงการเรม่ิ เดินมอเตอร์ H2: เป็นหลอดสัญญาณแสดงการทํางานของมอเตอร์ H3: เปน็ หลอดสัญญาณแสดงการโอเวอร์โหลดของมอเตอร์ การทํางานของวงจร จากภาพที่ 4.27 กด S2 K1 ทํางานต่อวงจรให้ขดลวดสเตเตอร์ได้รับ แรงดันโดยตรง ตัวต้านทานทุกตัวต่ออนุกรมกับโรเตอร์ K5T เริ่มนับเวลา ถึงเวลาที่ K5T กําหนดหน้าสัมผัส N.O. ของ K5T ในแถวท่ี 3 ต่อวงจรให้ K2 และ K6T ทํางาน K2 ลัดวงจร R1 K6T นับเวลา ถึงเวลาท่ี K6T กําหนด หน้าสัมผัส N.O. ของ K6T ในแถวที่ 5 ต่อวงจรให้ K3 และ K7T ทํางาน K3 ลัดวงจร R2 K7T นับเวลา ถึงเวลาท่ี K7T กําหนด N.O. ของ K7T ในแถวท่ี 7 ต่อวงจรให้ K4 ทํางาน K4 ลัดวงจร R3 หน้าสัมผัส N.C. ของ K4 ในแถวท่ี 2 และ 3 ตดั วงจร K5T K2, K6T, K3 และ K7T ตาม ลาํ ดับ มอเตอร์ทาํ งานโดย K1 ทาํ งานรว่ มกับ K4 โดย K1 ต่อวงจร ใหข้ ดลวดสเตเตอร์ K4 ลดั วงจรขดลวดโรเตอร์ สรุป การเริ่มเดินมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส มีเป้าหมายหลักคือ การลดกระแสที่มีค่าสูงประมาณ 6-7 เท่าของกระแสเต็มพิกัด ให้มีค่าลดลงอยู่ในย่านท่ีปลอดภัยและมอเตอร์สามารถเร่ิมทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงมีวิธีการหลายวิธี ข้ึนอยู่กับขนาดของมอเตอร์หรือ ลักษณะการทํางานของโหลดในการวิเคราะห์ว่าควรจะใช้วิธี ใดจงึ เหมาะสมท่สี ุด บันทึก หนว่ ยท่ี 4 การเรม่ิ เดินมอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลับ 3 เฟส 71


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook