Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เรือพระราชพิธี

เรือพระราชพิธี

Published by 300bookchonlibrary, 2021-03-15 09:19:02

Description: article_20191015133936

Search

Read the Text Version

เรือพระราชพิธี ROYAL BARGES กรมศลิ ปากร กระทรวงวฒั นธรรม พมิ พเ์ ผยแพร่ พทุ ธศักราช ๒๕๕๘ Published by the Fine Arts Department, Ministry of Culture, 2015.



คำ� น�ำ เรือพระราชพธิ ี เปน็ เรอื ในกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค อนั เป็นริว้ กระบวนเรือท่จี ัดข้ึน เม่ือพระมหากษัตริย์ในสมัยโบราณ เสด็จพระราชด�ำเนินไปในการพระราชพิธีหรือในการส่วนพระองค์ใน ทต่ี า่ งๆ ตง้ั แตส่ มยั สโุ ขทยั เปน็ ตน้ มา แสดงใหเ้ หน็ ถงึ วฒั นธรรมของชาตแิ ละขนบธรรมเนยี มประเพณขี องบา้ น เมอื งทตี่ งั้ อยรู่ มิ นำ�้ และพระมหากษตั รยิ ท์ รงปฏบิ ตั พิ ระราชกรณยี กจิ ตามโบราณราชประเพณสี บื เนอ่ื งตลอดมา เรือพระราชพิธีบรรจงสร้างข้ึนด้วยฝีมือประณีต แสดงภูมิปัญญาของช่างหลายแขนง ท้ังช่างแกะสลัก ชา่ งรกั ช่างประดับกระจก ช่างไม้ ช่างเขียน เป็นตน้ เพอื่ อนรุ กั ษ์ สง่ เสรมิ และสบื ทอดงานชา่ งศลิ ปกรรมของไทย ตลอดจนเผยแพรอ่ งคค์ วามรเู้ กย่ี ว กับเรอื พระราชพิธโี บราณ กรมศลิ ปากรจึงจดั พมิ พ์หนังสอื เร่อื ง เรอื พระราชพิธี ขึ้น ครั้งแรกเม่ือพทุ ธศกั ราช ๒๕๓๑ เนอื่ งในโอกาสพระราชพธิ รี ชั มังคลาภเิ ษก วันท่ี ๒ กรกฎาคม ๒๕๓๑ และในโอกาสทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงครองราชยย์ าวนานกวา่ พระมหากษตั รยิ พ์ ระองคใ์ ดในประวตั ศิ าสตรช์ าตไิ ทย เปน็ เวลา ๔๒ ปี ๒๓ วัน จากน้ันกรมศิลปากรได้จัดพิมพ์ต่อมาอีกหลายคร้ัง ทั้งได้มีการแก้ไขปรับปรุงเพ่ิมเติมให้ทันสมัย อาทิ เน่อื งในโอกาสพระราชพิธีกาญจนาภเิ ษก เม่อื เดอื นมถิ นุ ายน พทุ ธศักราช ๒๕๓๘ และในโอกาสเสด็จ พระราชดำ� เนินโดยกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค ในพระราชพธิ ถี วายผ้าพระกฐิน ณ วัดอรณุ ราชวราราม เมื่อวันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๓๙ นอกจากจะเผยแพร่ความรู้อันเป็นประโยชน์และเป็นหลักฐานอ้างอิงทาง วชิ าการแลว้ ยงั สบื ทอดภมู ปิ ญั ญาของชา่ งไทยและตอบสนองความตอ้ งการของนกั เรยี น นกั ศกึ ษา นกั วชิ าการ และประชาชน เพราะในแต่ละคร้ังได้รับความสนใจอย่างมากจนไม่เพียงพอแก่ความต้องการ การจัดพิมพ์ ครั้งน้ี นับเปน็ ครั้งที่ ๕ ท่ีกรมศลิ ปากรจะไดเ้ ผยแพร่ความรเู้ ก่ยี วกบั ประวัตเิ รือพระที่นัง่ ความเป็นมาของเรอื พระราชพิธี การจัดร้ิวกระบวนเรือพระราชพิธี หน้าท่ีของเจ้าพนักงานในกระบวนเสด็จ การแต่งกายของ ผู้ประจำ� เรือพระราชพิธอี กี ครั้งหนึง่ ทัง้ น้ี ได้ปรบั ปรุงเนื้อหาและเพม่ิ เตมิ ภาพประกอบเพือ่ ความสวยงามและ ความสมบูรณ์ของหนงั สืออีกดว้ ย กรมศลิ ปากรหวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ หนงั สอื เลม่ นจ้ี ะอำ� นวยประโยชนแ์ กป่ ระชาชนและผสู้ นใจโดยทว่ั กนั (นายบวรเวท รงุ่ รจุ )ี อธบิ ดกี รมศิลปากร



สารบญั ค�ำนำ� ๑ บทน�ำ ๔ ประวตั ิเรอื พระทน่ี ่งั ประเภทเรอื แจวพายในแมน่ ำ้� ของไทย ๑๐ ความเปน็ มาของเรือพระราชพธิ ี ๑๙ การจัดริ้วกระบวนเรือพระราชพธิ ีในกระบวนพยหุ ยาตราทางชลมารคในอดีต ๑๐๒ ลักษณะหนา้ ท่แี ละความเป็นมาของเรอื พระทีน่ ่งั และเรือในรวิ้ กระบวน ๑๑๐ หนา้ ทีข่ องเจา้ พนักงานในกระบวนเสดจ็ ๑๑๓ การแตง่ กายของผู้ประจำ� เรอื ในร้ิวกระบวนเรอื พระราชพิธ ี ๑๓๑ ประวตั ยิ ่อของเรือพระราชพิธีคราวสมโภชกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ๒๐๐ ป ี ๑๔๘ สรปุ ๑๕๑ Royal Barge Proeession



เรือพระราชพธิ ี : ROYAL BARGES เรอื พระราชพธิ โี บราณ บทน�ำ ในสมัยโบราณมา คนเรามักนิยมต้ังบา้ นเรอื นอยู่ริมน�ำ้ หรือใกล้น�้ำกนั เป็นสว่ นมาก ไม่เฉพาะแต่คน ไทยเทา่ นน้ั แม้ทุกชาตทิ กุ ภาษาก็เปน็ เช่นนัน้ ทั้งนี้ เพอ่ื สะดวกแกก่ ารดำ� รงชีพ ด้วยน้ำ� เปน็ ปัจจัยท่สี ำ� คัญย่ิง ของมนษุ ย์ เปน็ ทงั้ เครอื่ งอปุ โภคและบรโิ ภค และทสี่ ำ� คญั อกี อยา่ งหนงึ่ แมน่ ำ้� ยงั เปน็ เสน้ ทางคมนาคมทสี่ ำ� คญั ดว้ ยการเดนิ ทางทางบกตามถนนกม็ แี ตย่ งั ไมส่ ะดวกและเจรญิ อยา่ งปจั จบุ นั เพราะดนิ แดนทอี่ ยลู่ กึ จากทางนำ้� เขา้ ไปเมอ่ื ออกนอกเมอื งแลว้ มกั จะเปน็ ปา่ ทบึ เสยี เปน็ สว่ นมาก เตม็ ไปดว้ ยอนั ตรายทง้ั จากโจรผรู้ า้ ยและสตั วป์ า่ ท่ีดุร้าย ด้วยเหตุนี้คนจึงนิยมเดินทางทางน�้ำกันท้ังการติดต่อส่ือสารและการค้าขาย พาหนะทางน้�ำคือ เรือ จงึ เปน็ พาหนะทสี่ ำ� คญั สามารถบรรทกุ ไดม้ ากและเสยี คา่ ใชจ้ า่ ยนอ้ ย จงึ มกี ารตอ่ เรอื ใหม้ ขี นาดและแบบตา่ งๆ เพอื่ ความเหมาะสมของวตั ถปุ ระสงคท์ จี่ ะนำ� มาใช้ ดงั นน้ั จงึ เหน็ วา่ เรามเี รอื มากมายหลายแบบเพอ่ื ใชป้ ระโยชน์ ในการตา่ งๆ เชน่ เรอื บด เรอื แจว เรือเป็ด เรือฉลอม เรือแซ เรือเอีย้ มจุน๊ เรอื สำ� ปน้ั เรือส�ำเภา เปน็ ตน้ เรอื เหล่านีล้ ว้ นแตน่ �ำมาใชใ้ นการต่างๆ กนั เชน่ ใชส้ ญั จรไปมา ใชบ้ รรทกุ ของไปขาย และเป็นเรือรบเพื่อปอ้ งกนั ข้าศกึ และลำ� เลยี งยุทโธปกรณ์ การประดบั ตกแตง่ เรอื กข็ น้ึ อยกู่ บั ลกั ษณะหนา้ ทขี่ องเรอื และฐานะของผเู้ ปน็ เจา้ ของเรอื ดว้ ย สว่ นมาก แล้วเรือราษฎรจะมีลักษณะเรียบง่ายไม่ตกแตง่ ลวดลาย แต่เรือของบรรดาเจา้ นายและขนุ นางชน้ั สงู มักจะได้ รบั การตกแต่งหรอื ตอ่ ขึน้ อย่างงดงามวิจิตรบรรจง เพ่อื แสดงถงึ ฐานะของเจา้ ของ เรอื นน้ั นอกจากจะน�ำมาใชใ้ นชีวิตประจ�ำวนั แล้ว ยงั ถูกน�ำมาใชใ้ นพิธตี ามความเชอ่ื ถือตา่ งๆ อีกดว้ ย เช่น ความเช่ือเก่ียวกับว่ามีเทพเจ้าประจ�ำแม่น�้ำ จึงมีพิธีบูชาแม่น�้ำขึ้นตามความเชื่อที่ได้รับอิทธิพลมาจาก ศาสนาพราหมณ์ ในสมัยโบราณ มีพธิ ีอาศยุช ทีท่ �ำกันในเดือน ๑๑ อนั เปน็ พิธีสังเวยพระนารายณป์ างเกษียร สมทุ ร และพระลกั ษมี พิธีจองเปรียงในเดือน ๑๒ ซง่ึ กล่าวว่าเปน็ พธิ บี ูชาพระแม่คงคาในสวรรค์ เพือ่ เป็นการ ขอบพระคุณต่อพระแม่คงคาที่ให้มีน้�ำมาในโลกเพื่อหล่อเล้ียงชีวิตแก่มนุษยโลกและเป็นการขอขมาในการท่ี มนุษย์ไดล้ ว่ งเกนิ ก่อความสกปรกต่างๆ ใหเ้ กดิ ขึ้นในน้�ำ ส�ำหรับพธิ แี รกนน้ั มาในสมยั หลงั ๆ ไดเ้ ลิกไปคงอยู่แต่ พธิ ลี อยกระทง ส�ำหรับประเพณีทางพุทธศาสนา การบ�ำเพ็ญบญุ เนื่องในเทศกาลออกพรรษา เดอื น ๑๑ คอื การทอด กฐนิ ถือวา่ เป็นการทำ� บญุ ที่ส�ำคญั ย่งิ อยา่ งหน่งึ ของพทุ ธศาสนกิ ชน การทำ� บุญในงานนจี้ ึงจดั ขบวนกันใหญ่โต ถา้ ไปทางบกจะมพี วกกลองยาวหรอื เถดิ เทงิ นำ� หนา้ รวิ้ ขบวน ผคู้ นแตง่ กายกนั อยา่ งงดงาม พาหนะเชญิ ผา้ กฐนิ กต็ กแตง่ อยา่ งวจิ ติ ร ถา้ วดั ตงั้ อยรู่ มิ แมน่ ำ้� ผคู้ นทไ่ี ปทำ� บญุ จดั ขบวนมาทางนำ้� กม็ กั จะเปน็ ขบวนเรอื ทใี่ หญโ่ ตเชน่ กัน มกี ารตกแตง่ เรืออย่างสวยงามเทา่ ท่จี ะทำ� ได้ ยง่ิ สวยงามเทา่ ไหรก่ แ็ สดงถึงความมหี นา้ มตี ามฐี านะของเจา้ ภาพเทา่ นน้ั และยงิ่ เปน็ การบำ� เพญ็ พระราชกศุ ลของพระมหากษตั รยิ ก์ ย็ อ่ มตอ้ งมกี ารจดั รวิ้ ขบวนเรอื อยา่ งเตม็ ท่ี เรือที่ใช้ในพระราชพีธีน้ัน ปกติก็มีการตกแต่งงดงามอยู่แล้ว เม่ือน�ำเรือต่างๆ ท่ีงดงามจัดรวมเข้าเป็นขบวน เดยี วกย็ งิ่ เพมิ่ ความโออ่ า่ แสดงพระบารมยี งิ่ ขน้ึ รวิ้ ขบวนเรอื นเี้ รยี กวา่ กระบวนพยหุ ยาตราทางชลมารค ซงึ่ นอกจาก 1

เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES 2

เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES จะใช้ในพระราชพิธีถวายผ้าพระกฐินซ่ึงถือว่าเป็นการจัดขบวนเรือที่ย่ิงใหญ่แล้ว ยังมีพระราชพิธีอ่ืน ๆ อีก เชน่ พระราชพธิ อี ญั เชญิ พระพทุ ธรปู ทสี่ ำ� คญั จากเมอื งหนง่ึ ไปยงั อกี เมอื งหนง่ึ พระราชพธิ รี บั พระราชสาสน์ และ ราชทตู ของพระเจา้ แผน่ ดนิ ประเทศอนื่ ทที่ รงสง่ มาเปน็ การเจรญิ พระราชไมตรแี ละในโอกาสทมี่ กี ารผลดั เปลยี่ น แผ่นดินใหม่ พระมหากษัตริย์ท่ีเสด็จขึ้นเสวยราชย์ใหม่ก็จะทรงแสดงพระบารมีให้พสกนิกรของพระองค์ได้ ชน่ื ชม จงึ มกี ารจดั กระบวนพยหุ ยาตราเลยี บพระนครขนึ้ ซงึ่ จะมที ง้ั ทางบก และทางนำ้� ทางบกเรยี กวา่ กระบวน พยุหยาตราทางสถลมารค ถ้าเสด็จเลียบพระนครทางน้�ำเรียกว่า กระบวนพยุหยาตราทางชลมารค ซึ่งมี การจดั รว้ิ ขบวนเรอื พระราชพธิ ดี ว้ ย แตใ่ นพระราชพธิ ที เ่ี กย่ี วกบั กระบวนการพยหุ ยาตราทางชลมารคทเ่ี ราทราบ กนั ดีน้ันคอื กระบวนพยหุ ยาตราทางชลมารคทถ่ี วายผา้ พระกฐินในเทศกาลออกพรรษา เพราะมกี ารบ�ำเพญ็ พระราชกศุ ลทุกปี แตใ่ นสมัยปจั จุบันค่าใช้จา่ ยในการประกอบพระราชพธิ สี ูง จึงมคิ ่อยไดก้ ระทำ� กนั ปจั จบุ ัน อาจกล่าวได้ว่าเป็นพระราชพิธที ี่หาชมได้ยาก 3

เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES ประวตั เิ รอื พระท่นี ั่ง ประเภทเรอื แจวพายในแมน่ ้ำ� ของไทย การกล่าวถึงกระบวนเรือคร้ังแรกในประวัติศาสตร์ไทยท่ีเก่าท่ีสุดคือ การจัดกระบวนเรือรับพระศรี ศรัทธาราชจุฬามุนีศรีรัตนลังกาทีปมหาสามีเป็นเจ้า ซึ่งเป็นหลานพ่อขุนผาเมือง และได้ไปบวชเรียนอยู่ที่ ลังกากลับสกู่ รงุ สโุ ขทยั ในสมัยพระเจ้าลิไท ซ่งึ พระองคท์ รงจดั กระบวนเรือรับเสดจ็ ด้วย นอกจากนใ้ี นหนังสอื เรอ่ื งนางนพมาศหรือต�ำรับท้าวศรจี ฬุ าลักษณ์ ซ่งึ เดิมสนั นษิ ฐานวา่ นา่ จะมีหนังสอื เกา่ เขียนไว้ในสมัยสโุ ขทัย ด้วยกลา่ วถงึ พระร่วงเจ้า จากหนังสือเล่มนพ้ี บว่ามีชอ่ื เรอื พระท่นี ่ัง ๒ ล�ำ ซึ่งใชใ้ นพธิ ีอาศยชุ อันเป็นพระราช พธิ ีโบราณท่ปี ระกอบขึ้นในเดอื น ๑๑ เพอื่ สงั เวยพระนารายณ์ (วิษณุ) คอื เรอื พระท่ีนงั่ ชัยเฉลมิ ธรณนิ กบั เรือ พระที่นั่งชัยสินธุพิมาน และเม่ือตรวจสอบกับช่ือเรือพระท่ีนั่งท่ีสร้างในสมัยหลัง โดยเฉพาะในสมัยรัชกาล พระบาทสมเดจ็ พระนัง่ เกล้าเจ้าอยหู่ ัว รัชกาลที่ ๓ แห่งกรงุ รัตนโกสินทร์ กไ็ ม่ปรากฏวา่ มีเรือพระท่นี ั่งชือ่ ดัง กล่าว จึงทำ� ให้น่าเชื่อได้ว่าอาจจะเป็นชื่อเรือพระที่น่งั ในสมยั สุโขทยั มาแตเ่ ดิม แต่อย่างไรก็ดี ในหนังสือนางนพมาศปรากฏชื่อเรือพระที่นั่งประพาสแสงจันทร์ ซึ่งเหมือนกับเรือ พระทนี่ งั่ ครง้ั รชั กาลที่ ๓ โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งขน้ึ จงึ อาจจะเปน็ เรอื่ งทมี่ กี ารแตง่ เตมิ บางตอนขนึ้ ใหมเ่ ขา้ ไปใน ต�ำรับทา้ วศรีจฬุ าลักษณ์เล่มเดมิ ในรชั กาลที่ ๓ ดังทีส่ มเดจ็ พระบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพทรง สนั นษิ ฐานไว้ การใช้เรือพระที่นั่งในสมัยสุโขทัยมีหลักฐานความเป็นมาตามที่กล่าวมา อันเป็นหลักฐานกล่าวถึง กระบวนเรือ และชื่อเรอื พระทนี่ ่งั ที่เกา่ ที่สดุ ของไทย ในสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา ไดป้ รากฏหลกั ฐานเกย่ี วกบั เรอื พระทน่ี ง่ั มาตงั้ แตร่ ชั กาลพระมหาจกั รพรรดิ คือ เรือพระที่น่ังศรีสุพรรณหงส์ รัชกาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช (พ.ศ. ๒๑๓๓ - ๒๑๔๘ ) มีเรือพระท่ีน่ัง สุพรรษวิมานนาวา ซ่ึงทรงใช้เพ่ือเสด็จไปเมืองเพชรบุรีและสามร้อยยอด รัชกาลสมเด็จพระพุทธเจ้าเสือ (พ.ศ. ๒๒๔๕ - ๒๒๕๒) ปรากฏชื่อเรือพระที่นั่งมหานาวาท้ายรถ ในค�ำให้การชาวกรุงเก่าปรากฏช่ือเรือ พระทน่ี ่งั และเรอื ขบวน ดังน้ี เรอื พระทนี่ งั่ มี ๘ ลำ� ลว้ นตง้ั บุษบกท่ีกลางลำ� ได้แก่ ๑. ทนิ ครุฑ (ทนี่ ัง่ ครุฑ) ศรี ษะครฑุ (มงคลสุบรรณ์) ๒. ทนิ หงส์ (ทนี่ ่งั หงส์) ศีรษะหงส์ (สพุ รรณหงส)์ ๓. ทินกงิ่ (ทน่ี งั่ กงิ่ ) ศรี ษะชอ่ ดอกไม้ ซึง่ คอื ลายกนก ๔. เอกไชย ๕. ทองควนิ ปลา (ทองขวานฟ้า ซึ่งคือ ทองแขวนฟา้ ) ๖. (ท่ีนั่ง) ไกรสรมุกข มรธุช ๗. นาคเถร (นาคเหรา) ศรี ษะนาค ๘. นาควาสุกรี (ตรง) ศีรษะนาค 4

เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES ก. ลักษณะของเรือรบจาม สลักหวั เรอื เป็นรปู เหรา ซึ่งอาจจะคล้ายกบั เรือในสมัยลพบรุ ี จากภาพสลกั ทรี่ ะเบยี งฐานทกั ษณิ ของปราสาทบายน อายุพุทธศตวรรษท่ี ๑๘ Ancient Cham warship carved on the base of enclosure gallery of the Prasat Bayon constructed in the early 13th century in Ancient Cambodia. ข. ลกั ษณะเรือรบจาม สลักหัวเรอื เป็นรูปเหราคายนก จากภาพสลกั ท่ีระเบียงฐานทกั ษณิ ของปราสาทบายน อายุพุทธศตวรรษที่ ๑๘ จากลักษณะเรอื ดังกล่าวนน้ี ่าจะคลา้ ยกบั เรอื ของไทยสมยั ลพบรุ ี Another ancient Cham warship from the Prasat Bayon, carved in the 13th century. 5

เรือพระราชพิธี : ROYAL BARGES ค. เรือรบของขอมสมัยบายน ตรงกบั สมยั ลพบุรขี องไทย หวั เรอื สลกั เปน็ รูปหัวเหราคายนก จากลักษณะของเรอื น้ีนา่ จะมีลักษณะคลา้ ยเรอื ของไทย สมยั ลพบรุ ี Ancient Cham warship carved on the Prasat Bayon with Hera spewing bird decorated at the stern. จาก Michel Jacq-Hergoualc’H, “L ‘armement et L’organisation de I’armée Khmére aux XIIe et IIIe siécles” Publications du Musée Guimet, Recherches et Documents d’ Art et d’Archéologie. Tome XII. ทบั หลัง ศลิ ปะลพบุรี พุทธศตวรรษที่ ๑๘ จากพิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ พิมาย แสดงภาพเรอื ซงึ่ เขา้ ใจว่าเป็นเรอื พระท่ีนง่ั เน่ืองจากส่วนโขนเรือหักหายไป แต่จากร่องรอยลวดลายท่ีเหลือ แสดงว่าเป็นเรือศีรษะนาค ซึ่งแสดงว่าเรือศีรษะ สัตวม์ ีใช้มาแลว้ ต้งั แตร่ าวพุทธศตวรรษที่ ๑๘ 6

เรือพระราชพธิ ี : ROYAL BARGES เรอื ขบวน มี ๒๘ ลำ� ๑. มงั คลมหรนพ ศีรษะสิงห์ (มงคลมหรรณพ) ๒. มังคลสตุ ภุตบนั ใจ ศรี ษะสิงห์ ๓. โทมหรนพ โต ๔. ตสิ ตุ เชยศรี โต ๕. ศิริเอกเชย (ศรีประสนุ ทรไชย) ๖. ไกรสร (ไกรสรจกั ร) ๗. ศริ ิพิมานไชย (ชลพมิ านไชย เดมิ อาจจะเปน็ ศรีพิมานไชยคู่กบั ไกรสรมาศ) ๘. พิศปะระตยา ๙. อลงกฎนาวา ๑๐. หงส์ทอง (น่าจะเป็นเอกไชยเหินหาว คชู่ ัก) ๑๑. ลาวทอง (เอกไชยหลาวทอง ค่ชู ัก) ๑๒. นรสหี ์วิสุทธิไชยชิน (มนสุ สสีห์) ๑๓. นรชิน ททวนิ อากาศ มนสุ สสีห์ ๑๔. ชินหรตนาต สิงโต (น่าจะเปน็ ครุฑเหินเหจ็ ) ๑๕. ชนิ หสั สนาวา โต (นา่ จะเป็นครุฑเตรจ็ ไตรจักร) ๑๖. โลโต แตก ปปุ ปะแวก (นา่ จะเปน็ กระบีร่ าญรอญราพณ์) ๑๗. โลโต แตก ปปุ ปะวงั (น่าจะเปน็ กระบ่ปี ราบเมอื งมาร) ๑๘. เชยสวตั (น่าจะเป็นไชยสวัสด)ิ์ ๑๙. เชยรัตนพมิ าน (ไชยรัตนพมิ าน) ๒๐. องั วะ เรือพม่า (เห็นจะเป็นเรอื กระแซ) ๒๑. สุระพมิ าณ เรือพม่า ๒๒. นปุ ปสติ เรอื พมา่ ๒๓. โลกา ๒๔. คชคีรี (คชสีห์ หรือสมุหกลาโหม) ๒๕. ราชคีรี (ราชสหี ์ หรอื สมุหนายก) ๒๖. ม้า (เรอื ปลดั ทูลฉลองมหาดไทย) ๒๗. เลียงผา (เรอื ปลดั ทูลฉลองกลาโหม) ๒๘. เรจี ช่ือเรอื เหลา่ นี้อาจจะผดิ เพย้ี นไป ทั้งนเี้ พราะอาลักษณ์ของพมา่ จดตามที่ตนได้ยนิ มาจากคนไทยทีถ่ ูก จบั กมุ ไปเม่อื ครัง้ เสยี กรงุ ศรอี ยุธยา คร้งั แรกเม่อื พ.ศ. ๒๑๑๒ 7

เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES 8

เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES 9

เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES ความเป็นมาของเรือพระราชพธิ ี บรรดาเรือหลวงท่ีมไี ว้ใช้ในราชการนนั้ ไดส้ ร้างขนึ้ มาเพ่อื ให้มีพอเพยี งแก่ราชการ เช่น การเดนิ ทาง ติดต่อส่งข่าวสาร การใช้เป็นพาหนะทางน�้ำเพ่ือเดินทางไปในที่ต่างๆ ตลอดจนการใช้เป็นเรือรบขับไล่ข้าศึก ทมี่ ารกุ ราน และการขนสง่ บรรทกุ ทหารและยทุ โธปกรณ์ เพอ่ื ไปปราบปรามบรรดาหวั เมอื งทอ่ี ยรู่ มิ นำ�้ หรอื รมิ ทะเลซง่ึ ทำ� ไดร้ วดเรว็ กวา่ การเดนิ ทางทางบก โดยเฉพาะการจดั เรอื เปน็ รปู กระบวนทพั นนั้ มมี าแตส่ มยั โบราณ แลว้ โดยทม่ี ไิ ดม้ กี ารแบง่ เหลา่ ทหารออกเปน็ ทหารบก และทหารเรอื อยา่ งชดั เจน แตใ่ นยามสงคราม ทหารจะ รบได้ท้ังการรบทางบกและทางทะเล ถ้ายกทัพไปทางทะเลก็เลือกแม่ทัพนายกองที่มีความช�ำนาญทางทะเล เป็นผู้น�ำทัพ และที่เรียกว่าเรือรบน้ันในสมัยโบราณใช้เรือทุกประเภทที่มีกะเกณฑ์กันไป ที่เป็นเรือหลวงมัก จะมีขนาดใหญแ่ ละยาวกวา่ เรอื ธรรมดา ซ่งึ เมือ่ ในยามว่างศึกกน็ ำ� มาใชเ้ ป็นเรอื ค้าขายกบั ตา่ งประเทศ เดิมมกั จะเปน็ เรอื สำ� เภาซ่งึ บรรทกุ คนและสนิ คา้ ไดม้ าก และแข็งแรงพอท่ีจะโตค้ ลน่ื ลมในทะเลได้ ส�ำหรับเรือหลวงท่ีน�ำมาใช้ในพระราชพิธีน้ัน ส่วนมากจะเป็นเรือท่ีมีความใหญ่และยาวพอสมควร สามารถพายไปไดเ้ รว็ จงึ มกั มรี ปู เพรยี ว และเดมิ ใชเ้ ปน็ เรอื รบประเภทขบั ไลใ่ นนำ้� เสยี มาก ซง่ึ แตเ่ ดมิ เรอื รบทาง แมน่ ำ�้ มี ๔ ชนดิ คือ เรือแซ เรอื ไชย๑ เรือศรี ษะสตั ว์ หรือเรอื รูปสตั ว์ และเรือกราบ มีการสร้างเรือรบขน้ึ เป็น ครงั้ แรกในสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา รชั กาลสมเดจ็ พระมหาจกั รพรรด๒ิ (พ.ศ.๒๐๙๑ - ๒๑๑๑) โดยโปรดใหด้ ดั แปลง เรือแซ ซงึ่ เปน็ เรอื ลำ� เลียงส�ำหรับใชบ้ รรทกุ ทหารและอาวุธยทุ ธภัณฑ์ตา่ งๆ ใหเ้ ป็นเรือไชย กับเรือศรี ษะสัตว์ โดยได้วางปืนใหญ่ประเภทปืนจ่ารงให้ยิงได้จากหัวเรือ ซ่ึงจัดว่าเป็นต้นแบบของเรือรบในสมัยต่อมา เรือแซ น้ันเปน็ เรอื ยาว ใช้ตกี รรเชยี งประมาณล�ำละ ๒๐ คน สว่ นเรอื ไชย และเรอื ศีรษะสตั ว์เปน็ เรอื ยาวแบบเรือแซ แต่เปลยี่ นกรรเชียงเปน็ ใช้พายและบรรทกุ ทหารใหล้ งประจำ� เรือได้ล�ำละ ๖๐ - ๗๐ คน ซึ่งเม่ือพายแลว้ ไปได้ รวดเร็วกวา่ เรือแซ และใหช้ ื่อใหม่ว่า “เรือไชย” เรอื ศรี ษะสตั วน์ น้ั สรา้ งแบบเดยี วกบั เรอื ไชย แตท่ ำ� หวั เรอื กวา้ งสำ� หรบั เจาะชอ่ งตง้ั ปนื ใหญไ่ ด้ เหนอื ชอ่ ง ปนื ข้นึ ทำ� เปน็ รูปสัตว์ เช่น ครุฑ ลงิ (กระบ่)ี อนั เปน็ เครื่องหมายของกองตา่ งๆ ในกระบวนทัพ ส�ำหรับเรือแซ เดมิ ก็ยงั คงใช้เปน็ เรือส�ำหรับลำ� เลยี งอาหารและอาวุธเชน่ เดมิ ตอ่ มากม็ ีเรือกราบข้นึ อกี ชนิดหนง่ึ ใช้การแบบเรือไชย แตแ่ ลน่ ได้เร็วกว่า อย่างไรก็ตาม ในเวลาว่างศึกสงคราม พระเจ้าอยู่หัวแต่ละพระองค์มักจะโปรดให้ใช้กระบวนทัพเรือ เสมอโดยเสดจ็ บำ� เพญ็ พระราชกศุ ล เชน่ ทอดผา้ พระกฐนิ หรอื เสดจ็ นมสั การพระพทุ ธบาท โดยถอื วา่ เปน็ การ ฝึกซ้อมเรียกระดมพลไปด้วย กองเรือเหล่าน้ีจะตกแต่งอย่างสวยงาม มีการแก้ไขดัดแปลงเพ่ิมเติมขึ้นอีกใน สมยั หลงั จึงมีเรอื กง่ิ และเรือศรี ซง่ึ ก็เป็นการตกแต่งเรอื ไชย ดว้ ยการสลักลวดลายให้สวยงามข้นึ เรยี กวา่ เรอื พระที่น่ังกิ่ง ถา้ มีการตง้ั บุษบกและตกแตง่ ยงิ่ ข้นึ เรียกว่า เรือพระทน่ี งั่ ศรี หรอื เรอื ศรี ๑ ในหนังสือเล่มน้ี สะกดค�ำว่า “เรือไชย” และ “เรือชัย” ท้ัง ๒ แบบ ในเอกสารเก่าก่อนช่วง พ.ศ. ๒๕๐๐ ส่วนใหญ่ใชว้ ่า “เรือไชย” แต่ปจั จบุ ันนิยมเขียนวา่ “เรอื ชยั ” รวมท้ังชื่ออืน่ ๆ ทีอ่ าจสะกดแตกตา่ งกนั ด้วย ๒ พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหตั ถเลขา เล่ม ๑, หน้า ๒๙. 10

เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES เอกสารของชาวฝรั่งเศส ๑ ได้บันทึกเก่ียวกับเรือของราชอาณาจักรสยามในสมัยรัชกาลสมเด็จพระ นารายณ์มหาราชไว้ว่า “เรือนั้นล�ำยาวและแคบมาก มักจะท�ำขึ้นจากซุงท่อนเดียว ใช้ส่ิวเจาะเอาตามความ ยาวแล้วถากดว้ ยเคร่ืองมือเหลก็ แล้วน�ำขน้ึ แขวนย่างไฟ และคอ่ ยๆ เบิกไปใหก้ วา้ งสุดเท่าทีจ่ ะทำ� ได้โดยไม่ให้ เน้อื ไมแ้ ตก….เรอื เหลา่ น้ีมีราคาแพง เรือล�ำหนง่ึ ๆ ใช้ฝพี ายรวม ๕๐ - ๖๐ คน ที่ตกแต่งกันอย่างสวยงามและท�ำด้วยฝีมือประณีตก็มีเหมือนกัน แตกต่างกันไปตามสถานภาพของ บคุ คลท่ีเปน็ เจา้ ของ เรือของขนุ นางชน้ั ผใู้ หญ่นัน้ มีฝีพาย ๕๐ ถงึ ๖๐ มยี กพน้ื ทก่ี ลางลำ� ใช้เป็นท่ีนงั่ ของพวก ขุนนางเหลา่ นั้น เครอ่ื งตกแต่งมแี ตต่ ัวไม้กบั เส่ือลำ� แพนเทา่ นนั้ แต่ประดษิ ฐล์ วดลายสวยงามมาก หลงั คาเรือ กญั ญาของพวกออกญาท�ำเปน็ สามชัน้ ของพวกออกพระกับออกหลวงซึ่งล�ำเล็กมากหน่อยมีสองชน้ั ส่วนของ พวกขนุ นางอน่ื ๆ นนั้ มชี น้ั เดยี ว เรอื ของประชาชนไมม่ หี ลงั คาเลย ถงึ จะมกี ไ็ มต่ กแตง่ ประดบั ประดาอะไรทง้ั นนั้ ท�ำเป็นรูปหลังคายาวและต�่ำ การที่ท�ำประทุนเรือแบบน้ีก็เพื่อป้องกันแดดและฝนโดยแท้ มีแต่เรือของท่าน เสนาบดผี ใู้ หญส่ องทา่ นเท่านนั้ ทีท่ าทอง และหลงั คาคลุมดว้ ยผา้ ทำ� เป็นรปู เปลอื กหอยและสูงกวา่ ของเรอื ล�ำ อน่ื ๆ มอี ยบู่ อ่ ยเหมอื นกนั ทพี่ ระเจา้ แผน่ ดนิ พระราชทานเรอื ทาทองลอ่ งชาดใหเ้ ปน็ บำ� เหนจ็ แกข่ นุ นางซงึ่ มคี วาม งามเกือบเทา่ ๆ กับของเสนาบดี แต่จะนำ� ออกใชไ้ ดเ้ ฉพาะในโอกาสตามเสดจ็ พระราชด�ำเนิน และในงานพระ ราชพิธีลางอย่างตามหมายก�ำหนดการเท่าน้นั … ๑ นโิ คลาส แชรเวส, ประวัตศิ าสตร์ธรรมชาติและการเมอื งแห่งราชอาณาจกั รสยาม, สนั ต์ ท. โกมลบตุ ร แปล. โรงพิมพอ์ กั ษรสัมพนั ธ์, ๒๕๐๖, หนา้ ๑๐๖ - ๑๐๘. 11

เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES เรอื กัญญาของพวกผหู้ ญงิ มสี กลุ แตกต่างจากเรือของพวกข้าราชการ เพยี งกนั้ เรือนยอดเสยี ทุกดา้ น เท่านั้นใช้หญิงทาสเป็นฝพี าย…” นอกจากน้ี ยังมีบันทึกเก่ียวกับการเสด็จพระราชด�ำเนินโดยทางชลมารคไว้ด้วยว่า๑ “…การจัดต้ัง รวิ้ ขบวนนา่ ดูมาก…. มเี รือซึ่งกว่าสองร้อยหา้ สบิ ล�ำจอดเรยี งรายอยู่เป็นระยะทงั้ สองฟากฝั่งแมน่ �ำ้ ในจำ� นวน ๒๐ หรอื ๓๐ ลำ� … นำ� เรือพระทีน่ ่งั ทรงเป็นค่ๆู ไปขา้ งหนา้ เรอื พระทนี่ ัง่ น้นั ใชฝ้ พี าย พวกแขนแดงซึ่งมีความ ชำ� นาญมากและได้รบั เลือกเฟน้ มาเป็นพเิ ศษ ทุกคนสวมหมวก เสื้อเกราะ ปลอกเขา่ และปลอกแขนท�ำดว้ ย ทองคำ� ทง้ั สนิ้ นา่ ดแู ทๆ้ เวลาเขาพายพรอ้ มๆ กนั เปน็ จงั หวะจะโคน พายนน้ั ทาทองเหมอื นกนั เสยี งพายกระทบ กนั เบาๆ ประสานกบั ทำ� นองเนอื้ เพลงทเ่ี ขาเหย่ อพระเกยี รตพิ ระเจา้ แผน่ ดนิ เปน็ คลา้ ยเสยี งดนตรที เ่ี สนาะโสต ของพวกชาวบา้ นเมอื งเปน็ อนั มาก… พระวสิ ตู รเรอื พระทนี่ ง่ั ทรงนน้ั ประดบั ดว้ ยอญั มณอี นั มคี า่ และบนยกพนื้ นนั้ ปลู าดดว้ ยพรมอยา่ งดที นี่ ำ� มาจากตา่ งประเทศทางตะวนั ออก มขี นุ นางหนมุ่ หกคนหมอบเฝา้ อยเู่ ปน็ ประจำ� ท่ีตรงทา้ ยเรือมีบงั สูรย์ปกั ไวเ้ ปน็ สำ� คัญ เพือ่ ให้เปน็ ที่สังเกตว่าผิดจากลำ� อนื่ ๆ มเี รืออีก ๒ ลำ� ซงึ่ ใหญโ่ ตและ งดงามเสมอกันแลน่ ขนาบข้ามไป เขาเรยี กว่า เรอื แซงรกั ษาพระองค์ และอีกสองล�ำซึง่ ไมใ่ หญ่โตและงดงาม เท่าสองล�ำแรก แต่ปิดพระวิสูตรลงหมดทุกด้านแล่นตามมา เพราะลางทีพระเจ้าแผ่นดินจะเสด็จเสวยพระ สุธารส หรือพระกระยาหาร นอกจากวา่ จะเสด็จถงึ พลับพลาทปี่ ระทับหรือพระต�ำหนักแรมระหวา่ งทางเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ เทา่ นนั้ จงึ จะเสดจ็ ขน้ึ ประทบั เสวยทน่ี นั่ เรอื ทาทองอกี หา้ สบิ ลำ� รปู พรรณตา่ งๆ กนั แตก่ ง็ ดงาม ๑ เลม่ เดยี วกนั , หนา้ ๒๗๓ - ๒๗๕. 12

เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES ไม่แพ้กันตามเสด็จพระราชด�ำเนินไปอย่างมีระเบียบ อันเป็นการสมทบขบวนการแห่แหนเท่าน้ัน เพราะจะ มีอยู่ราวสิบหรือสิบสองล�ำที่อยู่ใกล้เรือพระท่ีน่ังเท่านั้นท่ีมีผู้คนลงมาเต็มล�ำ มีเรือทรงของพระราชบุตร เรือ ของพวกเสนาบดีผูใ้ หญ่ และขุนนางคนสำ� คญั ๆ ทโ่ี ดยเสด็จพระราชด�ำเนนิ เทา่ นั้น ขนุ นางอนื่ ๆ จะโดยเสดจ็ ก็ เฉพาะแต่ในวันพระราชพธิ ีซ่ึงจะมเี รอื ตา่ งๆ รวมกนั ถึงสองร้อยกวา่ ลำ� ซงึ่ เปน็ เรอื ทไ่ี มส่ จู้ ะงดงามเทา่ ใดนกั ถึง จะใหญโ่ ตและมีรูปพรรณอย่างเดียวกัน แตแ่ ล่นไปได้รวดเร็วเสมอ หรอื เรว็ กวา่ รถม้าโดยสารระหวา่ งหัวเมือง ต่อหวั เมืองของเราเสียอกี ” ในสมัยกรุงศรอี ยธุ ยา มีกล่าวถงึ เรอื พระทนี่ ง่ั อย่บู า้ ง ต้ังแตร่ ชั กาลสมเดจ็ พระไชยราชา เมอื่ พระองค์ เสดจ็ ไปเมอื งเชยี งไกรเชยี งกราน พ.ศ. ๒๐๘๑ ปรากฏชอ่ื เรอื ๒ ลำ� ในกระบวนกองทพั เรอื คอื เรอื ออ้ มแกว้ แสน เมอื งมา และเรอื ไกรแกว้ ซง่ึ โดนพายเุ สยี หาย และตอ่ มาในรชั กาลสมเดจ็ พระมหาจกั รพรรดิ พ.ศ. ๒๐๙๑ เมอื่ ครง้ั ท่ีทรงผนวชอยู่นั้น ขุนพิเรนทรเทพได้ส่งเรือพระที่นั่งชัยสุพรรณหงส์ ไปรับที่วัดราชประดิษฐานเพื่อนิมนต์ให้ ลาสิกขาบทและขึน้ เสวยราชย์ และใน พ.ศ. ๒๐๙๕ โปรดใหแ้ ปลงเรอื แซงเปน็ เรือไชยและเรือศีรษะสตั ว์ ต่อมาในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ปรากฏมีเรือพระท่ีนั่ง๑ คือเรือพระท่ีน่ังอลงกตนาวา เรือพระที่น่งั ศรีสมรรถไชย เรอื พระที่นั่งพระครุฑพาหะ เรือพระที่นัง่ ชลวมิ านกาญจนบวรนาวา เรอื พระที่นั่ง นพรตั นพมิ านกาญจนอลงกตมหานาวาเอกชยั เรอื พระท่ีนงั่ จติ รพิมานกาญจนมณีศรสี มรรถชัย เรือพระท่นี ่ัง ศรสี ุพรรณหงส์ นอกจากนม้ี ีเรอื กระบวนซึ่งไดแ้ ก่ เรือด้ัง เรอื กนั เรอื ชัย เรอื รูปสัตว์ และเรือขนาน รชั กาลสมเดจ็ พระเพทราชา๒ปรากฏชอ่ื เรอื พระทน่ี ง่ั ไกรสรมขุ พมิ าน และเรอื พระทน่ี ง่ั บลั ลงั กม์ า่ นทอง ซงึ่ ชอื่ หลงั นเ้ี ขา้ ใจวา่ เปน็ การบอกลกั ษณะเรอื มากกวา่ ทจี่ ะเปน็ ชอื่ รชั กาลสมเดจ็ พระเจา้ เสอื ๓ มเี รอื พระทน่ี งั่ มหา นาวาทา้ ยรถ และเรอื พระทนี่ งั่ เอกชยั สว่ นรชั กาลสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั บรมโกศ๔ มเี รอื พระทน่ี ง่ั ไกรสรมขุ พมิ านและ ศรีสมรรถไชย ในสมัยกรงุ ธนบุร๕ี รัชกาลสมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช ปรากฏช่ือเรอื พระทีน่ ่งั คือ ๑. เรือพระท่ีนั่งสุวรรณนาวาท้ายรถ มีขนาดยาว ๑๗ วา ปากกว้าง ๓ วาเศษ ใช้พลกรรเชียง ๒๙ คน ๒. เรือพระที่น่ังกราบ มขี นาดยาว ๑๑ วา ถึง ๑๓ วา ใช้พลพาย ๔๐ คน ๑ พระราชพงศาวดารฉบบั พระราชหตั ถเลขา, หนา้ ๓๕, ๓๖, ๔๓, ๔๕, ๙๑, ๙๖. ๒ เลม่ เดยี วกนั , หนา้ ๑๒๔, ๑๓๖. ๓ เลม่ เดยี วกนั , หนา้ ๑๘๖. ๔ เลม่ เดยี วกนั , หนา้ ๒๑๗, ๒๔๖. ๕ เลม่ เดยี วกนั , หนา้ ๓๓๖. 13

เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑ มีเรือ พระทน่ี ่ังปรากฏช่ือดงั นี้ ๑ คือ ๑. เรือพระที่น่งั บัลลงั กแ์ ก้วจักรพรรดิ ๒. เรือพระที่นง่ั สวัสดิชงิ ชัย ๓. เรอื พระที่นั่งบัลลงั ก์บุษบกพิศาล ๔. เรือพระทน่ี ั่งพมิ านเมืองอินทร์ ๕. เรือพระทน่ี ง่ั บัลลังกท์ ินกรสอ่ งศรี ๖. เรือพระทน่ี ง่ั ส�ำเภาทองท้ายรถ ๗. เรือพระทน่ี ่ังมณีจกั รพรรดิ ๘. เรอื พระท่ีนงั่ ศรีสมรรถไชย ซึง่ โปรดให้สร้างใหม่ กับเรอื กระบวนอน่ื ๆ การเสด็จเลียบพระนครจัดเป็นส่วนหนึ่งในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก๒ เนื่องมาแต่พิธีท่ีท�ำใน พระราชฐาน มีการเสด็จออกท้องพระโรงให้ข้าราชการทั้งปวงได้มีโอกาสเข้าเฝ้าทั่วหน้า เมื่อเสร็จการพิธีใน พระราชฐานจงึ เสดจ็ ออกเลยี บพระนคร เพอ่ื ใหป้ ระชาชนไดม้ โี อกาสเขา้ เฝา้ โดยทว่ั หนา้ กนั ดว้ ย แตป่ ระเพณกี าร เลียบพระนครแห่เสด็จพระเจ้าแผ่นดิน เป็นกระบวนการพยุหยาตราอย่างใหญ่ คล้ายกับยกกองทัพ ผิดกับ กระบวนแห่เสด็จในการพิธีอื่นน้ัน น่าจะสันนิษฐานได้ว่า ประเพณีโบราณเป็นการเสด็จเลียบเมืองรายรอบ มณฑลราชธานโี ดยทางบกบา้ งทางเรอื บา้ ง และประทบั รอนแรมไปหลายวนั จนกวา่ จะรอบมณฑลราชธานเี พอื่ บำ� รุงความสามิภกั ด์ิ และใหป้ ระจกั ษพ์ ระเดชานภุ าพแกป่ ระชาชนทงั้ หลาย ระยะต่อมาเหน็ เป็นการล�ำบาก โดยมิจำ� เปน็ จงึ ย่นระยะทางลงมาเป็นเสดจ็ เลยี บพระนครราชธานี การเสดจ็ เลยี บพระนครในสมยั กรุงรัตนโกสินทร์ เลียบพระนครทางเรือเคยมีแค่ ๒ ครั้ง คือในรชั กาล ท่ี ๑ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช เม่อื สรา้ งพระนคร และเครอ่ื งเฉลิมพระราชอสิ รยิ ยศ ตา่ งๆ รวมทง้ั เรอื กระบวนแหเ่ สดจ็ สำ� เรจ็ แลว้ ทำ� การพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษกเตม็ ตามตำ� ราเมอื่ พ.ศ. ๒๓๒๘ จึงเสด็จเลียบพระนครท้ังทางบกและทางเรือคร้งั หนงึ่ กับรัชกาลท่ี ๔ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อย่หู ัว โปรดให้มีการเสด็จเลียบพระนครทั้งทางบกและทางเรืออีกครั้งหน่ึง เน่ืองจากในปลายสมัยรัชกาลที่ ๓ พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดท้ รงสรา้ งและซอ่ มแซมเรอื พระทน่ี งั่ และเรอื กระบวนไว้ เมอื่ พระบรม ราชาภเิ ษกในรชั กาลที่ ๒ รชั กาลที่ ๓ รชั กาลที่ ๕ ถงึ รชั กาลปจั จบุ นั มกี ารเสดจ็ เลยี บพระนครทางชลมารคดว้ ย การลอยพระประทปี ในสมยั รชั กาลที่ ๓ พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกล้าเจ้าอยหู่ วั ใชเ้ รือบัลลังก์ขนาน ๓ ซึ่งมี ๒ ล�ำ จอดขนานกัน ในเรือบัลลังก์น้ัน แต่เดิมลดในก้ันม่านเป็นท่ีพระบรรทม ที่สรง ท่ีลงพระบังคน เครอื่ งทีส่ �ำหรับตง้ั น้นั ก็มี พระสุพรรณราช และมีขันพระสธุ ารส อยา่ งเชน่ เสวยพระกระยาหาร ต่อมาในสมยั รัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ ัวรบั ส่ังใหเ้ ลิกท่สี รง ท่บี รรทมเสยี คงแต่เครือ่ งพระสุธารส การจดั เรอื พระที่นงั่ อกี พิธีหน่ึงที่ปรากฏคือ ในเรอื บลั ลงั กท์ งั้ สองลำ� นัน้ กั้นม่านสกัดทงั้ หัวเรือท้ายเรือ หวั เรอื ท้ายเรอื เป็นขา้ งหน้า ท่ีตรงมา่ นสกัดหัวเรอื ทา้ ยเรือมีม่านยืดออกไปในนำ้� บงั มใิ ห้เจ้าพนกั งานทอ่ี ยู่หวั เรือท้ายเรือแลเหน็ เขา้ มาข้างใน ต่อเม่อื เวลาจะปลอ่ ยเรือกระทงจึงได้ชักมา่ น ๑ เลม่ เดยี วกนั , หนา้ ๔๘๓, ๔๘๗, ๔๙๒, ๔๙๓, ๖๒๘. ๒ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ, พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลท่ี ๕, สำ� นกั พมิ พบ์ รรณาคาร, ๒๕๑๔, หนา้ ๒๐๐ - ๒๐๑. ๓ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั , “การลอยพระประทปี ” ใน พระราชพธิ สี บิ สองเดอื น, แพรพ่ ทิ ยา, ๒๕๑๔, หนา้ ๒๕ - ๓๐. 14

เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES รว้ิ กระบวนพยหุ ยาตราทางชลมารค ซงึ่ บาทหลวงชาวฝรงั่ เศสเขยี นไวใ้ นรชั กาลสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช (พ.ศ. ๒๑๙๙ - ๒๒๓๑) จากหนังสือ Guy Tachard, Voyage to Siam, White Orchid Press 1981 Royal Barge Procession seen by the French Catholic father during the reign of King Narai the Great in late 17th century. ภาพเรือในริว้ กระบวนพยหุ ยาตราทางชลมารค สมยั สมเด็จพระนารายณม์ หาราช (พ.ศ. ๒๑๙๙ - ๒๒๓๑) จากหนังสอื Guy Tachard, Voyage to Siam, White Orchid Press, Bangkok 1981 Close-up of the two barges in the Royal ฺbarge Procession seen by the same Catholic father. 15

เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES การปอ้ งกนั รกั ษามกี ารลอ้ มวงในลำ� นำ�้ ทอดทนุ่ เปน็ ๓ สาย สายในมแี พหอกรายเปน็ ระยะ เรอื ประจำ� ทนุ่ สายในขา้ งเหนือนำ�้ มีกรมกองตระเวนขวา กรมกองอาสาขวา ประตกู รมพระกลาโหม เจา้ กรมพระตำ� รวจ นอกขวา กรมเจ้าพระต�ำรวจพระสนมขวา เรือกรมสรรพากรในสรรพากรนอก ส่วนทางใต้น้�ำหัวเรือบัลลังก์ ทนุ่ สายใน กรมกองตระเวนซา้ ย เรือประตกู รมมหาดไทย กรมกองกลางซ้าย เจ้ากรมพระตำ� รวจนอกซา้ ย เจา้ กรมพระตำ� รวจสนมซา้ ย เรอื ทุ่นกรมทา่ กลาง ภายหลงั เติมเรอื ทหารทอดสมอสกดั เหนือนำ้� ทา้ ยน�ำ้ ขน้ึ อกี ขา้ ง เหนอื น้�ำ กรมทหารหนา้ ๔ ล�ำ ข้างใตน้ ้ำ� ทหารหน้า ๒ ลำ� ทุ่นสายกลางเหนอื นำ้� มีเรอื ทุ่นกรมอาสาจาม ๒ ลำ� เรอื ทนุ่ กรมเรือกนั ขวา เรอื สิงโตกรมอาสาใหญ่ ขวา เรอื สางกรมทวนทองขวา เรือเหรากรมอาสารองขวา เรือกเิ ลนกรมเขนทองขวา เรือทนุ่ สามพระคลงั ทอด เชอื กอย่างละ ๑ ลำ� สว่ นใต้น�้ำมเี รือกรมอาสาจาม ๒ ลำ� เรือกรมเรือกันซา้ ย เรอื สิงโตกรมอาสาใหญ่ เรือสาง กรมทวนทองซา้ ย เรอื เหรากรมอาสารองซา้ ย เรือกิเลนกรมเขนทองซา้ ย เรอื ทุน่ สามพระคลงั ทอดเชือก อย่าง ละ ๑ ล�ำ ท่ีทุ่นกลางตรงหน้าบัลลังก์ มีเรือดอกไม้เพลิง ๒ ล�ำ เรือพิณพาทย์ เรือกลองแขก เรือเจ้ากรมพระ ต�ำรวจใน และเรอื เจ้ากรมพระตำ� รวจใหญ่ มที ้งั เหนือน้ำ� ทา้ ยนำ้� แหง่ ละลำ� นอกทุน่ สายกลางมเี รอื ทหารปืน ใหญอ่ ยนู่ อก ทนุ่ สายกลาง เหนอื น�ำ้ และทา้ ยนำ�้ แหง่ ละลำ� จะเห็นได้ว่าการจัดสายเรือทอดทุ่นน้ีเป็นการจัดกระบวนเรือท่ีคล้ายกับกระบวนเสด็จพยุหยาตรา ทางชลมารค และบรรดาเรอื ทม่ี าทอดทนุ่ กเ็ ปน็ เรอื ของขา้ ราชการจากกรมตา่ งๆ เชน่ เดยี วกบั ในกระบวนเสดจ็ พยหุ ยาตราทางชลมารคอกี เชน่ กัน กระทงหลวงส�ำหรับทรงลอยท่ีมีมาแต่เดมิ น้ัน คือ เรอื รูปสตั วต์ ่าง ๆ เรอื ศรี เรือชยั เรอื โอ่ เรือคอน และเรือหยวก ในพ.ศ. ๒๓๖๘ และ พ.ศ. ๒๓๖๙ พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้พระบรม วงศานวุ งศ์ ขา้ ราชการ ทำ� กระทงใหญ่ถวาย และมีมาตลอดรชั กาล ซง่ึ การทำ� กระทงนต้ี อ้ งลงทนุ มาก คร้ันถึง รัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงทราบว่าเปลืองเงินมาก จึงโปรดให้ยกเลิกและภาย หลังจึงโปรดให้มีเรือพระท่ีนั่งอนันตนาคราช และเรือชัยแต่งแทนกระทงใหญ่สองลำ� ในบุษบกเรือพระท่ีนั่ง อนันตนาคราชต้ังพระพุทธสิหิงค์น้อย เรือชัยส�ำหรับตั้งพานพุ่มไม่มีเคร่ืองนมัสการ ต่อมาในรัชกาลที่ ๕ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว ทรงใช้เรอื พระท่นี ่ังสพุ รรณหงสแ์ ทนเรอื ชยั น่ีเป็นหลักฐานอีกอย่างหน่ึงถึงการใช้เรือพระท่ีนั่ง และเรือกระบวนในงานอ่ืนนอกเหนือไปจากงาน เสดจ็ พยหุ ยาตราทางชลมารค ซงึ่ จะเปรยี บเทยี บไดก้ บั กระบวนแหพ่ ระกฐนิ พยหุ ยาตราทางชลมารคในรชั กาล ทางที่ ๓ เช่นเดียวกัน หรือเปรียบเทียบกับกระบวนเสด็จเลียบพระนครทางชลมารครัชกาลที่ ๔ พระบาท สมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั 16

เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES กระบวนเรือพระราชพิธี ทีใ่ ชใ้ นงานพระบรมศพ การใชเ้ รอื พระทน่ี งั่ อญั เชญิ พระบรมศพปรากฏเปน็ ครงั้ แรกในรชั สมยั ของสมเดจ็ พระเพทราชา พระองคท์ รง โปรดให้อัญเชิญพระบรมศพของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชจากเมืองลพบุรี มายังกรุงศรีอยุธยาเพื่อถวาย พระเพลงิ โดยใชเ้ รอื พระทน่ี งั่ ศรสี มรรถไชย ซง่ึ สมเดจ็ พระเพทราชาไดเ้ สดจ็ โดยเรอื พระทน่ี งั่ ไกรสรมขุ พมิ านเปน็ กระบวนพยุหยาตรา เมื่อถึงพระราชวังหลวงก็เชิญพระบรมโกศขึ้นประดิษฐาน ณ พระที่น่ังสุริยามรินทร มหาปราสาท เมอ่ื ถงึ กำ� หนดเวลาถวายพระเพลงิ พระบรมศพกไ็ ดอ้ ญั เชญิ พระบรมโกศประดษิ ฐานเหนอื บษุ บก พระมหาพชิ ัยราชรถเขา้ ร้วิ กระบวนแห่ไปยงั พระเมรมุ าศ สำ� หรบั การพระราชพธิ พี ระบรมศพทใ่ี ชก้ ระบวนเรอื พระราชพธิ จี ดั เปน็ รวิ้ กระบวนทเ่ี ดน่ ชดั นนั้ ปรากฏ ในงานพระบรมศพของสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั บรมโกศและพระมเหสี ซงึ่ มกี ารใชพ้ ยหุ ยาตราทง้ั ทางสถลมารค (ทางบก) และทางชลมารค (ทางน้�ำ) น่ันคือ เมือ่ แห่พระบรมศพจากพระท่ีน่ังจักรวรรดิไพชยนต์ไปยังพระเมรุมาศ โดย ใชก้ ระบวนพยหุ ยาตราทางชลมารคโดยอญั เชญิ พระบรมศพประดษิ ฐานบนพระมหาพชิ ยั ราชรถ มรี าชรถนอ้ ย น�ำ ๓ องค์ คอื ราชรถสมเด็จพระสังฆราชอา่ นพระอภธิ รรม ราชรถโปรยข้าวตอกดอกไม้ ราชรถโยงผ้ากาสา แล้วจึงถึงพระมหาพิชัยราชรถ และตามด้วยราชรถท่ีใส่ท่อนจันทน์ กฤษณา กระล�ำพักปิดทอง มีรูปเทวดา เชิญถอื อยบู่ นรถ ตอ่ มาเปน็ ร้ิวกระบวนรปู สัตวท์ ตี่ ั้งมณฑป ๒๐ คู่ใส่น้ำ� มนั พมิ เสน และเครอ่ื งหอมต่าง ๆ ตาม ด้วยกระบวนเคร่อื งสูง หลงั จากถวายพระเพลงิ พระบรมศพแลว้ อัญเชิญผอบทองพระอฐั ขิ ึน้ ประดษิ ฐานบนเสลย่ี งทองด้วย กระบวนพยหุ ยาตราไปขนึ้ เรอื พระทนี่ ง่ั กงิ่ แกว้ จกั รรตั น์ แหด่ ว้ ยกระบวนพยหุ ยาตราทางชลมารค โดยสมเดจ็ พระเจา้ เอกทศั น์ พระราชโอรสพระองคใ์ หญป่ ระทบั เรอื พระทน่ี งั่ เอกไชย และสมเดจ็ พระเจา้ อทุ มุ พรพระราชโอรสพระองค์ เล็กประทับบนเรือพระที่นั่งทองขวานฟ้า ตามด้วยเรือเกณฑ์แห่ต่าง ๆ ตามหน้าท่ี มีเรือพระท่ีนั่งครุฑเรือ พระทนี่ ั่งหงส์ ต่อกระบวนดว้ ยกระบวนเรือซา้ ยขวาเป็นคู่ ๆ ไดแ้ ก่ เรือนาคเหรา เรือนาควาสกุ รี เรือมังกรมหรรษนพ เรือมงั กรจบสานสนิ ธ์ุ เรอื เอกไชยเหนิ หาว เรือเอกไชยหลาวทอง เรอื สงิ หรตั นาสน์ เรอื สิงหาสนน์ าวา เรือนรสิงห์วสิ ทุ ธิ์สายสนิ ธุ์ เรอื นรสิงหถ์ วลิ อากาศ เรือไกรสรมุขมณฑป เรอื ไกรสรมขุ นาวา เรืออังหมสระพมิ าน เรือพเศกฬอหา 17

เรือพระราชพธิ ี : ROYAL BARGES จากน้ันตามด้วยเรือของเจ้าพระยา พระยา ตามต�ำแหน่งต่างๆ เช่น เรือคชสีห์ เรือม้า เรือเลียงผา เรอื เสือ เรือเกณฑร์ ูปสตั ว์ต่าง ๆ เรือดง้ั เรือกนั ซ้ายขวา จากน้นั เป็นเรือมหาดเลก็ เกณฑอ์ ื่น ๆ ทอ่ี ญั เชญิ เครือ่ ง ราชปู โภคและเครอื่ งสงู พระราชบตุ ร พระราชธดิ าประทบั เรอื ศรสี กั หลาด พระสนมกำ� นลั ลงเรอื ศรผี า้ แดง เรอื มหาดเล็กขอเฝ้าตามเสด็จหลังกระบวนแห่รวมทั้งนายเพชฌฆาตท่ีลงเรือเสือตามเสด็จหลังกระบวนแห่ตาม ตำ� แหน่ง กระบวนพยหุ ยาตราทางชลมารคทใี่ ชใ้ นการพระบรมศพนน้ั ยงั คงทำ� สบื ตอ่ มาอกี หลายรชั กาล ดงั เชน่ งานพระบรมศพสมเดจ็ พระเจา้ กรงุ ธนบรุ ี งานพระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช งาน พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว แม้ว่าบางรัชกาลจะจัดเฉพาะกระบวนแห่พระอังคาร เพ่ือไปลอยในแม่น้�ำ เช่น การลอยพระอังคารกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาทในรัชกาลท่ี ๑ ก็อัญเชิญ พระอังคารประดิษฐานบนเรือพระท่ีน่ังกิ่งไปลอยที่หน้าวัดปทุมคงคา โดยเฉพาะการพระบรมศพพระบาท สมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงเปน็ พระมหากษตั รยิ อ์ งคท์ ่ี ๒ รว่ มกบั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั พระองค์ประทับอยู่ท่ีพระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า) พระบรมศพของพระองค์ได้รับการอัญเชิญเข้า กระบวนแห่จากประตูโอภาสพิมาน ไปออกประตูพิจิตรเจษฎา ถึงพระต�ำหนักน�้ำแล้วอัญเชิญพระบรมศพ ขึ้นประดิษฐานเหนือพระแท่นแว่นฟ้าในเรือพระท่ีนั่งไกรสรมุขพิมานแห่ไปขึ้นพระมหาพิชัยราชรถที่หน้าวัด พระเชตพุ นฯ เพอ่ื เข้ากระบวนแห่ไปยงั พระเมรมุ าศ เมอื่ พระราชทานเพลงิ พระบรมศพแลว้ ได้แหพ่ ระองั คาร ด้วยกระบวนเรือพระที่น่ัง โดยผอบพระอังคารประดิษฐานบนเรือพระที่น่ังไกรสรมุขพิมานไปลอยท่ีหน้า วัดยานนาวา เช่นเดียวกับงานพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ของพระองค์ทรงเรือ พระทน่ี ง่ั เอกไชย และริ้วกระบวนประกอบด้วยเรอื พระทีน่ ่ังกิ่ง ๒ ล�ำตัง้ บุษบก เรือศรี ๔ ลำ� เรือม่านทองแยง่ ๒ ล�ำ เรือมา่ นลาย ๒ ล�ำ เรือกราบผกู มา่ นทอง ๘ ล�ำ มีเรือด้งั เปน็ เรอื คู่ชัก ๑๐ คู่ ปัจจุบันการใช้กระบวนเรือพระที่น่ังอัญเชิญพระบรมศพหรือพระอังคารมิได้ปรากฏอีก กล่าวว่าได้ หมดความสำ� คญั ไปแลว้ น่นั เอง 18

เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES การจัดร้ิวขบวนเรือพระราชพิธี ในกระบวนพยหุ ยาตราทางชลมารคในอดีต การจัดริ้วกระบวนเรือพระราชพิธีในสมัยสุโขทัยไม่มีหลักฐานใดแสดงชัดถึงการจัดริ้วกระบวนเรือ เพียงแต่กล่าวถึงว่า มีการจัดกระบวนเรือพระท่ีนั่งไปรับพระศรีศรัทธาราชจุฬามณีศรีรัตนลังกาทีปมหาสามี เปน็ เจา้ จากลังกาสมัยพระเจา้ ลไิ ทเทา่ นนั้ ดังน้ันในสมยั สโุ ขทัย เราจึงไม่อาจทราบถงึ ระเบยี บแบบแผนการ จัดร้ิวกระบวนเรือได้ ตามที่กล่าวมาแลว้ วา่ การจัดกระบวนเรือพระราชพิธีทมี่ เี ปน็ ประจ�ำนับแต่สมัยกรุงศรอี ยุธยาเป็นต้น มานน้ั มกั จะเปน็ กระบวนพยหุ ยาตราทางชลมารคในการบำ� เพญ็ พระราชกศุ ลกรานกฐนิ หรอื ถวายผา้ พระกฐนิ เป็นสำ� คญั กบั การเสดจ็ ไปนมัสการพระพุทธบาทท่สี ระบรุ ี เรอื พระทนี่ งั่ สรา้ งขน้ึ ในสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยานน้ั ปรากฏหลกั ฐานวา่ ในรชั กาลสมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททอง๑ (พ.ศ. ๒๑๗๓ - ๒๑๙๘) ทรงสรา้ งเรือพระทนี่ งั่ กิ่งขนึ้ กับทรงต้ังกฐินบกพยหุ ยาตราใหญเ่ ปน็ ครั้งแรก แม้ว่าจะ มกี ารกลา่ วถงึ ชอื่ เรอื พระทน่ี งั่ ศรสี พุ รรณหงส์ เรอื พระทนี่ งั่ สพุ รรณวมิ านนาวา และเรอื พระทน่ี งั่ มหานาวาทา้ ย รถมาในรชั กาลก่อนๆ แลว้ ต่อมาในรชั กาลสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช (พ.ศ. ๒๑๙๙ - ๒๒๓๑) พระองค์ ไดโ้ ปรดเกลา้ ฯ ใหม้ ีการเขยี นร้ิวขบวนเสด็จไวท้ ัง้ กระบวนพยหุ ยาตราทางสถลมารคและกระบวนพยหุ ยาตรา ชลมารค ซึ่งหนังสือน้ีมีชื่อว่า “ริ้วกระบวนแห่พยุหยาตราชลมารค สมเด็จพระนารายณ์มหาราช” หนังสือ นี้เข้าใจว่าคัดลอกมาจากภาพเขียนฝาผนังที่วัดยม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ภาพเขียนจริงน้ัน ปัจจุบันถูก ท�ำลายไปหมดแล้ว จากหนังสือกระบวนแห่พยุหยาตราชลมารค สมเด็จพระนารายณ์มหาราชนี้ได้ทราบชื่อ เรอื ในร้วิ กระบวนว่ามดี ังนี้ เรมิ่ ด้วย ขนั ทฉาวทรเนน๒ ตามชมไชยเทเพน ไชยขนั ใหญข่ วา สุพรรณดาวใหญ่ซา้ ย ไชยอัศวบวรมา้ ขวา ไชยเขจรภาชมี ้าซ้าย ไชยภาชะนะช้างขวา ไชฤๅย่ิง ช้างซ้าย ไชยอธิการสัศดขี วา หลวงเทพา ไชยธรญาณทิพสั ดซี า้ ย หลวงศรีกลาสมทุ ร ไชยภเู ลดิ อาษาขวา พระยาพไิ ชยสงคราม เกิดฤๅไชยอาษาซา้ ย พระยารามค�ำแหง ไชยชำ� นะเขนทองขวา พระยาพไิ ชยโนฤทธ์ิ สะฤๅไชยเขนทองซา้ ย พระยาวชิ ติ ณรงค์ ไชยเรอื งฤทธ์ิ พระยาท้ายนำ�้ ไชยพิศณุ พระยาเดโช ไชยไหวธ้ รณี เมือง ไชยนัดทหี วัน่ นา (นทีหวน่ั ) ไชยนคร วงั ไชยขจร คลัง ๑ กรมศลิ ปากร, ค�ำใหก้ ารขุนหลวงหาวัด, (กรงุ เทพฯ : คลังวิทยา, ๒๕๑๕), หน้า ๓๒๖. ๒ เขยี นตามภาษาเดมิ . 19

เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES ลักษณะเรือในกระบวนพยหุ ยาตราทางชลมารค สมยั สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช จากหนังสือ Guy Tachard, Voyage to Siam, White Orchid Press, Bangkok 1981. Close-up of the barges in the Royal Barge Procession during the reign of King Narai the Great. โขมดญาอาษาวเิ ศศ ขวากัน โขมดญาอาษาวิเศศ ซ้ายกัน โขมดต�ำรวจใหญ่ ขวากัน โขมดญาต�ำรวจใหญ่ ซ้ายกัน โขมดญาต�ำรวจใน ขวากัน โขมดญาต�ำรวจใน ซ้ายกนั ทองแขวนฟา้ บา้ นใหม่ ขวากนั ทองแขวนฟา้ โพเรียง ซ้ายกนั โขมดญาทหารใน ขวากนั โขมดญาทหารใน ซ้ายกนั โขมดญาสศั ดี ขวากัน โขมดญาสัศดี ซา้ ยกนั เรือพระทนี่ ง่ั ศรีสามาถไชยลำ� ทรงหม่นื นักสราชถอื ธงหน้าเรือ กงิ่ พื้นดำ� นาคราช จมน่ื สรรเพชรภักดี นาควาสกุ รี จมืน่ ศรเี สาวรักษ เรือพระทน่ี ัง่ ชลวมิ ารไชยดง้ั ช้ัน ๕ กิง่ พ้นื ด�ำ เรือพระท่ีน่งั ไกรษรมาศด้ังชน้ั ๕ กิง่ พ้นื ดำ� เรอื พระท่นี ั่งศรีพมิ ารไชยดง้ั ชัน้ ๓ กิง่ พื้นดำ� ทรงพระเทวกรรม เรอื พระทนี่ ั่งไกรแกว้ จักรรตั ดง้ั ชัน้ ๒ กงิ่ พนื้ ดำ� ทรงพระไชยวฒั น เรือพระท่ีนั่งษรพรหมไชยด้งั ช้ัน ๑ กง่ิ พน้ื แดง ครุธคู่ชัก ครุธคูช่ ัก 20

เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES ลกั ษณะในกระบวนการพยุหยาตราทางชลมารค สมยั สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช จากหนงั สอื Guy Tachard, Voyage to siam, White Orchid Press, Bangkok 1981. A part of the Royal Barge Procession during the King Narai Great’s time. เอกะไชยพืน้ ด�ำ ไชยบวรสวสั ดิ ตำ� รวจใหญข่ วา เอกะไชยพื้นด�ำ ไชยรัตรพิมาร ต�ำรวจใหญซ่ า้ ย เรือพระทีน่ ัง่ ไกรษรมุขรอง ก่งิ พน้ื ดำ� เรือพระทีน่ ่ังศรีสนุ ทรไชย ก่ิงพื้นด�ำขวากัน เรือพระทีน่ ั่งไกรษรจกั ร กง่ิ พน้ื ดำ� ซา้ ยกัน เอกะไชยพน้ื ด�ำ เรือเอกะไชยเหินหาว ตำ� รวจนอกขวา เอกะไชยพนื้ ดำ� เรอื เอกะไชยหลาวทอง ตำ� รวจนอกซา้ ย เรือพระท่นี ั่งเอกะไชยพื้นแดง กรมพระวงั บวร เรอื พระที่นัง่ เอกะไชยพ้ืนดำ� เจา้ ตา่ งกรม เรอื มา้ น�้ำ หมืน่ ศรีสะหะเทพ หรือเลยี งผา หม่นื นรนิ ทเสนี เรือพฆิ าตประกอบด้วยเรือแซตอ่ ไปน้ี แซศักดิบวร สมงิ นครอิน แซสรสนิ ธุ สมิงเพชน้อย แซวิพรรธชล พญาเกยี ร แซอนนตสมุทร พญาพระราม แซวรวารีย์ พระโชดกึ แซศรสี มุทร์ หลวงทองสือ่ แซสนิ ธสุ วสั ด์ิ พระสมบตั บิ าล แซพพิ ฒั สาคร พระยาไชยสวรรค์ แซไชยานพ หลวงศรยี ศ แซจบสาคร พระยาไชยสวรรค์ แซไชยานพ หลวงศรียศ แซจบสาคร พญาจูลา โตมะหามะหอระนบ โตจบภพไตร 21

เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES โตกำ� แหงอาทิตย์ โตฤทธิพไิ ชย อทุ กธารา ศรส�ำแดงฤทธิ์ คงคากะรนิ สทิ ธสิ ำ� แดงรณ สิงหะรตั นาต สงิ หาศนาวา เสพนทั ี สสี ุทธชล ปกั ษถี วลิ บนิ อากาศ สินธปุ กั ษี อนิ ทรีทิพย์ วคิ าไลย ร�ำไภยบนิ คชสีหน์ ้อย พระยาสรุ เสนา คชสหี ใ์ หญ่ สมหุ ะพระกลาโหม ราชสีหน์ อ้ ย พระยามหาอำ� มาตย์ ราชสหี ใ์ หญ่ สมหุ ะนายก เลียงผาใหญ่ เทพอรชนุ มา้ ใหญ่ ราชนิกลุ อังหมะ หลวงอนิ นาวา สุระพิมาร หลวงพรหมนาวา มกรมะหามะหัศจรรย์ มกรมะหามะหรรนพเดช มกรเตรจไตรภบ มกรจบจกั รพาฬ นาคอดุ รราช นาคนายก นาคจักรทาทวนทอง นาคถบองรัตน โขมดญาเกนหดั อย่างฝรง่ั ขวากัน โขมดญาเกนหัดอย่างฝรงั่ ซ้ายกัน อย่างไรก็ดี จากริ้วขบวนเรือดังกล่าวน้ี เมื่อน�ำมาเปรียบเทียบกับชื่อเรือพระที่น่ังขบวนในค�ำให้การ ชาวกรงุ เกา่ แลว้ จะพบวา่ ในคำ� ใหก้ ารชาวกรงุ เกา่ นน้ั ชอื่ เรอื จะผดิ ไปมาก ไมอ่ าจทราบไดว้ า่ เปน็ เพราะพมา่ ฟงั สำ� เนยี งไทยไมช่ ัด หรือผู้ให้การใหไ้ ปอย่างเลอะเลือน หรืออาจเป็นไปไดว้ ่า พม่าอาจจะสอบถามกบั ผู้ท่มี ไิ ดม้ ี ความรู้เกี่ยวกับเรื่องเรือพระราชพิธีอย่างแท้จริง ผู้ให้การจึงบอกไปเท่าที่จ�ำได้ บางล�ำอาจจะจ�ำไม่ได้ตลอด ทงั้ ชอื่ ก็บอกๆ ไปเพียงให้เสร็จๆ กเ็ ปน็ ได้ กระบวนพยหุ ยาตราทางชลมารค สมยั สมเด็จพระนารายณม์ หาราชน้ี จดั ไดว้ ่าเป็นรวิ้ กระบวนใหญ่ แสดงความมง่ั คงั่ โออ่ า่ ของราชสำ� นกั ไทยในครง้ั นนั้ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ซงึ่ เมอื่ เปรยี บเทยี บกบั รวิ้ กระบวนเรอื ในสมยั หลงั ๆ จะพบว่าค่อยๆ ตัดทอนลงไปเรื่อยๆ เพราะเรือช�ำรุดไปตามกาลเวลาบ้าง ไม่มีผู้รู้จัดท�ำข้ึนใหม่ให้ถูก ต้องตามแบบโบราณบา้ ง จึงเหลอื อยู่เทา่ ท่ีพอจะรกั ษาไว้ไดเ้ ทา่ นัน้ ในรชั กาลสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั บรมโกศ(พ.ศ.๒๒๗๕-๒๓๐๑)นน้ั ปรากฏวา่ ในพ.ศ.๒๒๗๕พระองคท์ รง แตง่ ทตู านทุ ตู ไปเจรญิ ทางพระราชไมตรกี บั เมอื งพมา่ มเี ครอื่ งราชบรรณาการตา่ ง ๆ มากมาย ในบรรดาเครอื่ ง ราชบรรณาการนม้ี ีเรือพระทนี่ ัง่ ก่ิงล�ำหนง่ึ ด้วย๑ ๑ คำ� ให้การขนุ หลวงหาวัด, ๒๕๑๕, หนา้ ๓๘๙. 22

เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES ภาพลายเสน้ แสดงลักษณะเรอื ในกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค ซงึ่ บาทหลวงชาวฝรงั่ เศสไดเ้ ขยี นขนึ้ ในรชั กาลสมเด็จ พระนารายณม์ หาราช จากหนังสอื Guy Tachard, Voyage to Siam, White Orchid Press, Bangkok 1981. Sketch of the procession’s main part in the reign of King Narai the Great. ทัศนยี ภาพกรงุ สยาม (กรงุ ศรีอยธุ ยา) และร้วิ กระบวนพยหุ ยาตราทางชลมารค ด้านล่างของภาพมภี าษาฝรง่ั เศสวา่ Vue de Siam avec diverses Sortes des Ballons, ou Vaisseaux chinoises a rame, Se vend à Augabourg au Negoeo com de l’ Academie imṕ eriale d’ Empire des Arts libereaux avec Privilege de sa Majesté Imperiale et avec Defense ni d’en faire ni de vendre les Copies. General View of the Royal Barge Procession in the reign of King Narai the Great. 23

เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES 24

เรือพระราชพิธี : ROYAL BARGES ลวดลายเรอื อสรุ วายุภกั ษ์ เป็นลายรดน�้ำดอกพุดตาน Design on Asura Vayubhak Royal Barge 25

เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES สำ� หรบั กระบวนแหพ่ ระกฐนิ พยหุ ยาตราทางชลมารค๑ นนั้ ทำ� ใหเ้ ราไดท้ ราบถงึ กระบวนเรอื ซง่ึ มแี บบ มาแตค่ รงั้ กรงุ เก่า ซงึ่ เรียงตามล�ำดบั ต้งั แต่ล�ำหน้ากระบวนไปจนถงึ ท้ายสุด คอื ๑. เรือประตู ๑ คู่ ของพระเทพอรชนุ และพระราชนกิ ุล ๒. เรอื กราบ ซง่ึ มฝี ีพายสวมกางเกง และเสอ้ื มงคลสีแดงและดำ� ๓. เรือเสือทะยานชลของหลวงเดชส�ำแดง และเรือเสือค�ำรณสินธุ์ของหลวงแสงศรสิทธ์ิ ท้ายล�ำ ทงั้ สองสวมเสื้ออัตลัด นุง่ ผา้ สองปัก (สมปกั ) คาดรัดประคด ศรี ษะโพกขลบิ ทอง ตรงกลางล�ำต้ังคฤหส์ องชั้น ท่เี สาคฤห์มีอาวุธผกู ไวเ้ ปน็ คู่ๆ คอื ทวน เขน งา้ ว เสโล กระบี่ ทห่ี วั เรอื ตงั้ ปืนขานกยาวลำ� ละ ๑ กระบอก มี ฝพี าย ๓๐ คน ลว้ นนงุ่ กางเกงสวมเสือ้ สีแดง ศรี ษะสวมมงคลแดงผา้ พ้ืนปัศตู ๔. เรือแซจระเข้คะนองน้�ำ และเรอื แซจระเขค้ �ำรามรอ้ ง เปน็ เรือพมา่ อาสา ๕. เรือแซมัจฉาพพิ ัทธชล และเรือแซอานนท์สมทุ ร เปน็ เรอื ของพวกมอญ กองอาสาอาทมาต ๖. เรอื แซช้าง ชื่อ คชรำ� บาญยิน และคชสารสินธู เปน็ เรอื พวกมอญอีก นุ่งผ้าอย่างมอญ ศีรษะโพก ผ้าขลิบ สวมเสือ้ เปน็ ผ้าอตั ลดั ฝพี าย ศรี ษะสวมมงคล สวมเส้ือและกางเกงสแี ดง เรอื แซน้ี ทา้ ยเรือปกั ธงรบสี แดงทกุ ลำ� ๗. เรือกราบ ของเจา้ กรมทงั้ หกเหลา่ ๘. เรือกลองแขก นำ� ระหวา่ งเรือแซคู่ ๙. เรือกราบของปลดั ต�ำรวจ มีสนมนอก ๔ กรม ลงประจำ� เรอื ล�ำละกรม ๑๐. เรือสาง ยาว ๙ วา ชือ่ เรอื ชาญชลสินธ์ุ และคำ� แหงหาญ ๑๑. เรือกเิ ลนลอยบนสนิ ธ์ุ และเรือกเิ ลนลินลาสมุทร ๑๒. เรือมกรจ�ำแลง และมกรแผลงฤทธ์ิ ๑๓. เรือเหราสนิ ธุลอยล่อง และ เรอื เหราท่องทางสมุทร ๑๔. เรือโตขมังคล่ืน และ เรอื โตฝืนสมุทร เรือรปู สัตวเ์ หล่านฝ้ี ีพายใส่เสือ้ สีแดง กางเกงแดง และสวมมงคลแดง ทที่ �ำจากผ้าปัศตู นายล�ำนงุ่ ผ้า สองปัก สวมเส้ืออัตลัด ศีรษะโพกผ้าขลิบทอง คาดรัดประคด ทนายปืน สวมเส้ือกางเกงผ้าปัศตูสีแดงสวม หมวกกลบี ล�ำดวน ขลบิ โหมด ๑๕. เรือคฤหอ์ สุรวายภุ ักษ์ และอสุรปักษีสมุทร เป็นเรือท่มี ีโขนเรือสลักเปน็ รปู อสูร ตกแต่งดว้ ยลาย รดน้ำ� ฉลลุ าย ตง้ั คฤห์ ซ่งึ มีเสาผูกอาวธุ ต่างๆ อย่างละคู่ เช่น กระบ่ี เสโล เขน ทวนพู่ ๓ ชน้ั และงา้ วหัวเรือต้ัง ปืนจา่ รงลำ� ละกระบอก ฝพี ายสวมเส้อื ปัศตูสีแดงขลบิ โหมด สวมกางเกงแดง ศรี ษะสวมมงคล ๑๖. เรอื พาลีมลา้ งทวีป และเรือสคุ รพี ครองเมอื ง โขนเรือสลักเปน็ รปู พานเรศ (ลิง) ๑๗. เรอื กระบี่ปราบเมืองมาร และเรือกระบร่ี าญรอนราพ โขนเรอื สลักเปน็ รูปกระบี่ (ลงิ ) ๑๘. เรอื กราบกญั ญาของปลัดต�ำรวจ ฝพี ายสวมเสื้อกางเกงแดงยอ้ มจากครงั่ ศรี ษะสวมมงคลสีแดง ๑๙. เรอื คฤห์ ครุฑเหนิ เหจ็ และเรือครุฑเตรจ็ ไตรจักร หลงั คาคฤห์คาดผ้าแดงมีเชิง และชายรอบๆ ตรงกลางปักเปน็ ดาวกระจายดว้ ยทองแผล่ วด ๒๐. เรอื เอกไชยเหินหาว และเรอื เอกไชยหลาวทอง เปน็ เรอื คชู่ ักนำ� หน้าเรอื ขบวน ๑สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระปรมานชุ ติ ชโิ นรส,ลลิ ติ กระบวนแหพ่ ระกฐนิ พยหุ ยาตราทางสถลมารคและชลมารค, พมิ พเ์ ปน็ อนสุ รณใ์ นงานฌาปนกจิ ศพ นางลนิ้ จ่ี ชยากร ณ เมรวุ ดั มกฏุ กษตั รยิ าราม, วนั ท่ี ๘ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๐๔, หนา้ ๑๑๗ - ๑๔๔. 26

เรือพระราชพิธี : ROYAL BARGES ๒๑. เรือศรีสุนทรไชย ตั้งบุษบกอัญเชิญผ้าไตรกฐิน มีฝีพายสวมเส้ือปัศตูสีแดง แขนจีบ กางเกงยก เขยี ว สวมหมวกกลบี ล�ำดวน ขนุ หมื่นตำ� รวจรอบบษุ บกนุ่งผ้าสมปัก สวมเสือ้ ครยุ สีขาว ๒๒. เรือกลอง ฝพี ายใส่มงคล สวมเส้ือกางเกงผ้าปศั ตูสแี ดง ๒๓. เรือพระทน่ี ัง่ ชลพิมานไชย ตรงกลางตงั้ บัลลงั ก์บษุ บก มีมา่ นกั้น นักสราชเชิญธงห้าแฉก ๒๔. เรือพระท่ีนั่งมงคลสุบรรณ มีปืนจ่ารงท่ีหัวเรือตรงช่วงเท้าของครุฑ มีฝร่ังก�ำกับปืน ๓ นายคือ พระยาพิเศษสงคราม หลวงชนะทุกทศิ และหลวงฤทธวิ ารี เรือพระท่ีนั่งมีจมื่นสรรเพธภักดี และจม่ืนศรีเสาวรักษ์ จมื่นเสมอใจราช และ จมื่นไวยวรนารถ อยู่ประจ�ำหน้าพระท่ีนั่ง ที่บัลลังก์น้ีก็มีพระเครื่องราชูปโภคทอดไว้ เช่น พระล่วมมณฑป พระแสงดาบต้น กระดานชนวน หม้อลงพระบังคน ธารพระกร (หตั ถธ์ าร) พระสุพรรณราช และพระสุพรรณศรีทง้ั ยงั มวี ิชนี เคร่ืองสุธารสชา ชดุ กลอ้ ง เขา้ ใจวา่ เป็นไปป๊ ส์ บู ยา เชงิ เทียน พระเตา้ นำ้� และพระสุพรรณภาชน์สองชั้น ส่วนนอกบัลลังกด์ ้านหนา้ ผูกพระแสงปืนคาบศิลา ขนาดยาวสบิ คืบ ประดบั ลวดลายคร่ำ� ทองเป็นปนื ทีใ่ ชล้ กู ปนื ขนาดหกบาท พนกั งานประจำ� ปืนชอื่ พระยาอภยั ศรเพลิง หลวงเสนห่ ์ศรวิชติ และหลวงสนทิ อาวุธ มีเจ้ากรมพระศภุ รัต ชอื่ หลวงสุนทรภิรมย์ และจางวางพิชัยพลระดม ทีท่ ้ายท่ีนั่งนอกมา่ น มมี หาดเลก็ ๒ คน มีเวรพนกั งานภูษามาลา เชญิ พระกลด ๒ คน และมแี พทย์ หลวงอกี ๒ คน คอื หมอยาทพิ จักร และ หมอนวดราชรกั ษา ๒๕. เรือพระท่ีน่ังไชยสุพรรณหงส์ เป็นเรือพระที่น่ังรอง ผลัดเปล่ียนกับเรือเหราข้ามสมุทรคือถ้าใช้ เรือพระท่นี ั่งไชย ก็ใชเ้ รือเหราเป็นเรือพระที่น่ังรอง ถ้าใชเ้ รือครฑุ เปน็ ล�ำทรง กจ็ ะใช้เรอื พระท่นี ่งั ครฑุ นอ้ ยเปน็ พระที่น่งั รอง เรอื พระที่นัง่ รองนี้จะประดบั เช่นเดยี วกับเรือพระที่น่งั ทรง แตจ่ ะผดิ กันตรงพายทจี่ ะใช้พายทอง ลอ่ งชาด มนี กั สราชเชญิ ธงสามชายอยทู่ ที่ ง้ั ดา้ นหวั เรอื และทา้ ยเรอื ทบ่ี ลั ลงั กบ์ ษุ บกตง้ั ผา้ ไตร มพี นกั งานศภุ รตั ๒ คน เฝา้ ช่ือ จมน่ื วิสทุ ธสมบัติ และจม่นื รัตนโกษา ๒๖. หมูเ่ รอื กราบกัญญาของเจ้ากรมพระตำ� รวจ ตลอดจนปลดั กรม ๒๗. เรือขององครักษ์ กรมชา่ ง ๒๘. เรอื ประตหู ลงั ของพระนรินทรเ์ สนี ลำ� ขวา และพระยาศรีสหเทพ ล�ำซา้ ย ๒๙. เรอื ต้งั พระเสลยี่ ง ๓๐. เรอื พระกลดคันยาวทรงเทริด ๓๑. เรอื รองขนดเชอื ก มพี ันจันท์ เปน็ เวร ๓๒. เรอื แสงสรรพยทุ ธ มพี นกั งานเชิญพระเก้าอ้ยี าน ๓๓. เรือตาร้าย ก้ันประทุนและแผง ส�ำหรับบรรทุกปืนคาบศิลาและลูกปืน มีหมื่นก่งศิลป และหมน่ื กง่ ศร คุม ๓๔. หมู่เรอื เจ้าตา่ งกรม เปน็ เรือกราบกญั ญา มผี า้ ผกู โขน และพู่ประดบั หลังจากนัน้ จึงเป็นเรอื ของข้าราชบรพิ าร คอื เรอื ของพระสมหุ กลาโหม และสมหุ นายก (มหาดไทย) เรือจตุสดมภ์กรมทา่ เกษตร และนครบาล ฯลฯ แหต่ ามเสดจ็ ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย เราทราบถึงร้ิวกระบวนเรือได้จากบทพระนิพนธ์กาพย์เห่เรือของ เจ้าฟา้ ธรรมธเิ บศไชยเชษฐส์ รุ ยิ วงศ์ ในสมยั พระเจา้ อยหู่ วั บรมโกศหรอื ทคี่ นทวั่ ไปรจู้ กั กนั ดใี นพระนาม “เจา้ ฟา้ กงุ้ ” พระองคท์ รงเปน็ พระราชโอรสองคใ์ หญ่ในสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวบรมโกศ กับกรมหลวงอภัยนชุ ิต ในบท พระนพิ นธ์เรื่องเห่เรอื นี้ท�ำให้เราไดท้ ราบถึงเรือพระทน่ี ่งั และเรือตา่ งๆ ท่ีเขา้ ริว้ กระบวนทม่ี ใี นสมัยนัน้ ซึ่งบท เหม่ วี า่ 27

เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES ๏ ปางเสด็จประเวศดา้ ว ชลาไลย ทรงรตั นพมิ านไชย กง่ิ แก้ว พรง่ั พร้อมพวกพลไกร แหนแห่ เรือกระบวนตน้ แพรว้ เพริศพร้งิ พายทอง ๏ พระเสดจ็ โดยแดนชล ทรงเรอื ต้นงามเฉดิ ฉาย กิง่ แกว้ แพรว้ พรรณราย พายออ่ นหยับจับงามงอน ๏ นาวาแน่นเปน็ ขนดั ลว้ นรูปสตั วแ์ สนยากร เรือริ้วทิวธงสลอน สาครลัน่ คร่นั ครืน้ ฟอง ๏ เรอื ครุฑยุดนาคห้วิ ลิ่วลอยมาพาผันผยอง พลพายกรายพายทอง ร้องโห่เหโ่ อ้เห่มา ๏ สรมุขมุขสี่ด้าน เพียงพมิ านผา่ นเมฆา มา่ นกรองทองรจนา หลงั คาแดงแยง่ มังกร ๏ สมรรถไชยไกรกาบแก้ว แสงวาววบั จบั สาคร เรียบเรียงเคยี งค่จู ร ดงั รอ่ นฟา้ มาแดนดนิ ๏ สุพรรณหงสท์ รงภ่หู อ้ ย งอนชดชอ้ ยลอยหลงั สินธุ์ เพียงหงสท์ รงพรหมินทร์ ลินลาศเลือ่ นเตอื นตาชม ๏ เรอื ไชยไวว่องว่ิง รวดเร็วจริงย่งิ อย่างลม เสยี งเสา้ เรา้ ระดม หม่ ทา้ ยเยนิ่ เดริ คู่กนั ๏ คชสหี ท์ ผี าดเผน่ ดูดงั เป็นเห็นขบขัน ราชสหี ์ทย่ี นื ยัน ค่นั สองค่ดู ูยง่ิ ยง ๏ เรอื ม้าหนา้ มุ่งนำ�้ แลน่ เฉือ่ ยฉำ่� ล�ำระหง เพยี งม้าอาชาทรง องค์พระพายผายผันผยอง ๏ เรือสงิ หว์ ่งิ เผ่นโผน โจนตามคล่นื ฝืนฝา่ ฟอง ดยู ่งิ สงิ ห์ลำ� พอง เป็นแถวท่องลอ่ งตามกนั ๏ นาคาหนา้ ดั่งเป็น ดเู ขม้นเห็นขบขนั มังกรถอนพายพัน ทนั แขง่ หน้าวาสุกรี ๏ เลียงผางา่ เท้าโผน เพียงโจนไปในวารี นาวาหน้าอนิ ทรยี ์ มปี ีกเหมือนเล่ือนลอยโพยม ๏ ดนตรีม่ีองึ อล กอ้ งกาหลพลแห่โหม โหฮ่ ึกครกึ คร้นื โครม โสมนัสชน่ื รน่ื เรงิ พล ๏ กรีฑาหมู่นาเวศ จากนคเรศโดยสาชล เหมิ หนื่ ชน่ื กมล ยลมจั ฉาสารพันมีฯ 28

เรือพระราชพิธี : ROYAL BARGES จากบทเหเ่ รือของเจ้าฟ้ากงุ้ ปรากฏว่าได้ก�ำหนดเรอื กระบวนแห่เสด็จเป็น ๓ จำ� พวก คือ ๑. เรอื ตน้ ซ่งึ เปน็ เรือกง่ิ ๑ มีอยู่ ๔ ลำ� เรือครฑุ เรือหงส์ เรือศรสี มรรถไชยและเรือไกรสรมขุ ๒. เรือชยั มเี จา้ พนกั งานคอยกระทงุ้ เสา้ ให้สญั ญาณ ซึง่ กค็ อื เรอื ด้ังท่แี ห่นำ� เสด็จ ๓. เรือเหลา่ แสนยากร ซ่ึงเปน็ เรือศีรษะสัตว์ หรอื เรอื รปู สัตว์ มชี ือ่ กล่าวถึงไว้คอื เรอื ราชสีห์ มี ๒ ล�ำ เป็น ราชสหี ใ์ หญ่ ของ สมหุ นายก ราชสีหน์ อ้ ย ของ พระยามหาอำ� มาตย์ เรอื คชสีห์ มี ๒ ล�ำ เป็น คชสหี ใ์ หญ่ ของ สมุหกลาโหม คชสีห์น้อย ของ พระยาธรรมไตรโลก เรอื ม้า ของ พระยาราชนิกลุ เรือสงิ ห์ ของ พระยายมราช เรอื นาค ของ พระยาพลเทพ เรือมงั กร ของ พระยาโชฎกึ (กรมทา่ ) เรอื เลียงผา ของ พระยาเทพอรชนุ เรอื นกอินทรี ของ กรมวัง ส�ำหรับการเสด็จพยุหยาตราทางชลมารคในครั้งกรุงศรีอยุธยาท่ีค่อนข้างละเอียดน้ัน มีอยู่ในเรื่อง ลลิ ติ พยหุ ยาตราเพชรพวง ซ่งึ เจา้ พระยาพระคลัง (หน) ได้แตง่ ข้นึ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๔๐ โดยพระบรมราชโองการ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช กระบวนพยุหยาตราทางชลมารคในครั้งน้ันปรากฏช่ือ เรือพระท่ีน่ังต่าง ๆ คล้ายคลึงกับท่ีกล่าวถึงในค�ำให้การชาวกรุงเก่า เรือในกระบวนตามท่ีกล่าวถึงใน ลิลิต พยุหยาตราเพชรพวง ไดแ้ ก่ เรือเสอื คอยเกบ็ สง่ิ ตา่ ง ๆ ท่ีลอยมาตามน�้ำ เรือพฆิ าต ๖ ล�ำ สำ� หรับบรรดาขุนหม่ืนโรงศาล เปน็ พวกเรือแซ คอื เรือแซ ๑ คู่ ของพระยาแขก (พระยาจฬุ าราชมนตร)ี เรอื พวกมอญ เรอื แซศกั ดบ์ิ วเรศ คู่กับ เรือแซสรสนิ ธุ์ เรอื พิพัฒชล คู่กบั เรืออนนั ตสมทุ ร เรือของพระยาโชฎึก เรอื แซบวรวารี ค่กู บั เรือแซศรสี มทุ ร (ของท่องสอื ) เรือแซสนิ ธ์ุสวัสด์ิ คกู่ ับ เรือแซพพิ ัฒสาคร (กรมคลงั ใน) เรอื แซไชยาน คู่กับ เรอื แซจบสาคร ต่อมาเป็น เรือไชยขนั ฉาว คูก่ บั เรอื ไชยขันทรเนน เรอื ไชยขันวรรณวาศ คกู่ บั เรือไชยสุบรรณดาวดาษ เรือไชยขจรพาชี คกู่ บั เรือไชยศรอี ศั ดร เรอื ไชยชนะคชกาล คกู่ บั เรอื ไชยชำ� นาญคชกรรม ๑ มลี ักษณะเหมอื นเรอื ชัย คือ เป็นเรือชนิดที่มที วนหวั ตงั้ สูงข้ึนเปน็ หงอน แตไ่ ม่ทราบวา่ เรอื ทง้ั สองประเภทนี้ต่างกัน 29

เรือพระราชพธิ ี : ROYAL BARGES เรือไชยชนะฤๅชา คู่กับ เรอื ไชยฤๅยศ เรอื ไชยอธกิ าร คู่กบั เรือไชยทะยานทพิ ย์ เรือไชยฤๅเลศิ คกู่ บั เรอื เกิดฤๅไชเยศ เรือเถลงิ ไชยช�ำนะ คู่กบั เรอื ไชยพิพฒั นมงคล เรอื ไชยเรอื งฤทธิ ์ คูก่ บั เรอื ไชยพิษณุ เรือไชยไหวธรณี คกู่ บั เรือไชยนทีหวั่น เรอื ไชยนคร ค่กู บั เรือขจรไชย เรม่ิ เรอื รปู สัตว ์ เรือคชสหี ์น้อย คู่กับ เรอื ราชสีห์น้อย เรือคชสีห์ใหญ ่ คู่กบั เรอื ราชสหี ใ์ หญ่ เรอื ประตใู ชเ้ รอื มา้ คือ เรอื วรชนุ ไชยชาติ คกู่ บั เรือระวงั ราชรปิ ู ตามดว้ ยเรอื เรืออังหมะ เรอื ราชสุรพมิ าน เป็นเรอื เครื่องดนตรี เรือสนิ ธุปกั ษี เรอื อินทรยี ท์ พิ ย์ เรือวิคาลัย เรือรำ� ไพบิน เรอื วอ่ งว่ิงวาร ี เรอื ศรีสชุ ลธี เรอื พวกอาสา ๖ เหล่า เรือนก เรือกิเลน เรือทกั ทอ ชือ่ เรือศรส�ำแดงฤทธ์ิ เรือสิทธิกำ� แหง เรือโต เรือโตมหรรณพ เรอื โตจบภพไตร เรอื นาคาอรุ คราช เรือนาคนายก เรือนาคเหราราช เรอื นาควาสุกรี เรอื ประตใู น คือ เรือไชยสวัสดิ ์ เรอื ไชยรัตนพิมาน ต่อจากเรือประตูในก็เปน็ เรอื กง่ิ ของกรมต�ำรวจ ๔ คู่ และเรือต้งั ๕ ล�ำ ได้แก่ เรือชลพมิ านไชย เรือไกรสรมาศ เรือศรีพมิ านไชย เรือไกรจักรรตั น ทรงพระเทวกรรม เรอื ศรพรหมไชย ทรงพระชยั เรือพระทีน่ ่ัง คือ เรือพระทน่ี งั่ เหมพมิ านบรรยงก์ เปน็ เรือพระท่นี ่ังลำ� ทรง เรือพระที่น่ังไกรสรมุข ต้ังพระท่ีนั่งจัตุรมุขทอดพระแท่นบรรทม เปน็ เรอื พระท่นี ่งั รอง เรือพระท่ีน่ังสวุ รรณหงส์ เปน็ เรือพระท่นี ง่ั รอง ปิดขบวนเรอื ทรง คือ เรือศรสี นุ ทร เรือไกรสรจักร 30

เรือพระราชพธิ ี : ROYAL BARGES ต่อไปเป็นเรอื กนั ซง่ึ ใชเ้ รือโขมดยามี เรอื ของเกณฑห์ ัดอยา่ งฝรั่ง ซ้าย-ขวา เรอื ของกองอาสาวิเศษ ซา้ ย-ขวา เรอื ตำ� รวจใหญ่ ซ้าย-ขวา เรอื ต�ำรวจใน ซ้าย-ขวา เรอื ทองแขวนฟา้ ของบ้านโพเรียง คู่กบั เรือทองแขวนฟา้ ของบ้านใหม่ เรือเหนิ หาว คกู่ ับเรอื หลาวทอง ต่อด้วยเรือเอกไชยของกรมพระราชวังบวรสถานมงคล และเรือไชยของพระเจ้าลูกเธอ และพระองค์เจ้าต่าง กรม จากน้ีเป็นเรือขบวนคู่ คอื เรือมังกร คือ เรือเตร็จไตรภพ เรอื จบจักรพาล เรือนาค คือ เรือนาคจกั รธาธร เรอื นาคถบองรัตน์ เรือโต คอื เรือก�ำแหงอาทติ ย ์ เรอื โตฤทธไ์ิ ชยเดโช เรอื มหศิ โรรงั ราช เรือเลียงผา เปน็ เรือประตคู ือ เรอื ของหม่ืนนรนิ ทร์เสนี เรือราชดุรง ของหมนื่ ศรสี หะเทพย์ ตามดว้ ยร้ิวเรือแซ เป็นคๆู่ ของพวกตำ� รวจ และขนุ นาง ขนุ พัน ตามล�ำดับ ปิดด้วยเรอื พิฆาต ๒ คู่ ของต�ำรวจนอก และต�ำรวจในซึ่งเมอื่ รวมเรอื พิฆาตในกระบวนแล้ว มปี ระมาณ ๑๐๐ ล�ำ จากร้ิวกระบวนเรือในลิลิตพหุหยาตราเพชรพวง และบทเห่เรือของเจ้าฟ้ากุ้งน้ัน มีท่ีต่างกันคือ ร้ิว กระบวนเรือในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จะจัดใหญ่กว่าคร้ังสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศโดยมี ส่ิงทีแ่ ตกตา่ ง คือ ๑. ต�ำแหน่งที่ตั้งของเรือ ตรงท่ีเป็นเรือดั้งในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เดิมในรัชกาล สมเด็จพระนารายณ์มหาราชจะเป็นเรือกนั และท่เี รอื ดั้งเดิมจะมีเรอื หนา้ เรือพระที่นง่ั ซง่ึ ตรงท่เี ป็นเรือน�ำใน สมยั หลังเป็นเรือด้งั พระซ้าย ต้ังผา้ ไตร หรอื พานพมุ่ ดอกไม้ ซงึ่ มีหลายลำ� เรียงกนั (เรอื ดั้งแตเ่ ดิมอยู่นำ� หนา้ เรือพระที่นั่ง) ๒. ร้วิ กระบวนเรอื ในรัชกาลสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราชจดั แหอ่ อกเปน็ ๔ สาย คือสายใน ๒ สาย และสายนอก ๒ สาย แตต่ รงตอนใกล้กบั เรอื พระท่นี ั่งเทา่ นนั้ มไิ ดจ้ ดั ๔ สาย กระบวน ๔ สาย คอื สายกลาง เป็นร้วิ เรือพระทน่ี ัง่ เรียกวา่ สายพระราชยาน สายในซ้าย และสายในขวา เปน็ ริ้วเรือแห่ เรยี กว่า สายคู่แห่ สายนอกซ้าย และสายนอกขวา เป็นร้วิ เรอื กัน เรียกว่า สายกนั ๓. ระเบียบกระบวน รชั กาลสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราชจดั แบง่ ออกเปน็ ๕ ตอน ตอนหนา้ เรยี ก วา่ กระบวนนอกหน้า ได้แก่ ทหารกองนอก ถดั มาเป็นกระบวนในหนา้ ไดแ้ ก่ ทหารรกั ษาพระองค์ ตอนกลาง เปน็ กระบวนเรอื พระราชยาน ตอนหลงั ชนั้ ในเรยี กวา่ กระบวนในหลงั ไดแ้ ก่ ทหารกองนอกและกระบวนนอก หลงั ทง้ั ๕ ตอนน้ี มีเรือประตูคน่ั ทุกตอน 31

เรือพระราชพธิ ี : ROYAL BARGES กระบวนนอกหนา้ มี ๑. เรือพฆิ าต ๓ คู่ ไมม่ ชี อ่ื พวกขนุ ศาลลงประจ�ำทงั้ ๖ ล�ำ ไมท่ ราบรูปร่างของเรอื ๒. เรอื แซ ๕ คู่ มีผูล้ งประจ�ำฝา่ ยซ้ายและขวา คอื ๑. สมงิ เพชรน้อย สมิงนครอนิ ทร์ ๒. พญาพระราม พระยาเกียรต์ิ ๓. หลวงทอ่ งส่อื พระโชฎึก ๔. พระยาราไชศวรรย ์ พระสมบตั ิบาล ๕. พระยาจฬุ าราชมนตร ี หลวงศรยี ศ ๓. เรือชยั ๑๐ คู่ มีเรอื เข้าร้วิ ฝ่ายซ้าย ฝา่ ยขวา คอื ๑. เรือดาวชัยเทเพนทร์ เรือขันธ์ฉาวธรเณนทร์ ๒. เรอื สุพรรณดาว เรือชัยขนั ธ์ ๓. เรอื ชัยเขจรพาช ี เรอื ชัยอัศวบวร ๔. เรือชยั ฤๅยง่ิ เรือชยั ฤๅชนะ ๕. เรอื ชัยทะยานทพิ (หลวงศรีกล้าสมุหสัสดี) เรอื ชัยอธิการ (หลวงเทพา) ๖. เรือเกิดฤๅชัย (พญารามคำ� แหงกองอาสา) เรือชัยผู้เลศิ (พญาพิชัยสงคราม) ๗. เรือสฤๅชยั (พญาวชิ ิตณรงค์) กรมเขนทอง เรอื ชัยช�ำนะ (พญาพิชยั รณฤทธิ์) ๘. เรอื พษิ ณชุ ัย (พญาเดโช) เรอื ชัยเรอื งฤทธ์ิ (พญาทา้ ยนำ้� ) ๙. เรอื ชัยนทหี วั่น (กรมนา) เรอื ชัยไหวธรณี (กรมเมือง) ๑๐. เรือขจรชยั (กรมคลัง) เรือชยั นคร (กรมวงั ) ๔. เรือรปู สตั ว์ ๒ คู่ เรอื ราชสหี ์นอ้ ย (พระมหาอ�ำมาตย์) เรอื คชสหี ์นอ้ ย (พญาสรุ เสนา) เรอื ราชสหี ์ใหญ่ (สมุหนายก) เรือคชสหี น์ ้อย (พญาสุรเสนา) ๕. เรอื รูปสัตวอ์ กี ๑ คู่ เปน็ เรือประตหู น้าชน้ั นอก ส�ำหรับคั่นกระบวนนอกหนา้ กับกระบวนในหนา้ ฝา่ ยซ้ายและฝา่ ยขวา คอื เรือม้าใหญ่ (พระราชนิกลุ ) เรอื เลียงผาใหญ่ (พระเทพอรชุน) กระบวนในหน้า มเี รือรปู สัตว์ ๑๒ คู่ ประจ�ำฝ่ายซ้ายและฝ่ายขวา คอื ๑. กระบส่ี ุรพิมาน (หลวงพรหมนาวา) เรือองั หมะ (หลวงอนิ ทรนาวา) ๒. เรือน�ำอนิ ทรี ๓. เรอื นกหสั ดิน อาสาหกเหลา่ ๔. เรือนกเทศ ๕. เรอื นกหงอนต้ัว ๖. เรือสงิ โต (กรมพระต�ำรวจ) ๗. เรอื กิเลน (หลวงสทิ ธสิ ำ� แดงรณ ฝ่ายซ้าย และหลวงศรส�ำแดงฤทธิ์ ฝา่ ยขวา) ๘. เรอื สิงห์ ๙. เรือนาค ไมอ่ าจทราบได้ว่ากรมใด ๑๐. เรือนาคสามเศียร ๑๑. เรอื เหรา ช่ือ นาควาสุกรี (จมื่นศรสี รรกั ษ์) เรือนาคเคหา (จมน่ื เพชญภักด)ี ๑๒. เรือครฑุ คู่ชกั 32

เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES ลกั ษณะเรือแซ สมัยกรงุ ศรอี ยุธยา จากสมดุ ภาพร้ิวกระบวนพยหุ ยาตราชลมารค รชั กาลสมเด็จพระนารายณม์ หาราช A Group of Rua Sae in the Ayutthaya period from the manuscript. ลกั ษณะเรอื พฆิ าต สมัยกรุงศรอี ยธุ ยา จากสมดุ ภาพริว้ กระบวนพยหุ ยาตราชลมารค รชั กาลสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช A Group of Rua Phikhat Barges of the Ayutthaya period from the manuscript made during the reign of King Narai the Great. 33

เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES ลกั ษณะเรอื โตและเรอื มา้ นำ�้ สมยั อยธุ ยา (จากสมดุ ภาพรว้ิ กระบวนพยหุ ยาตราชลมารค รชั กาลสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช) Rua To and Rua Ma Nam in the late Ayutthaya period. (from the manuscript on Royal Barge Procession made in the reign of King Narai the Great) ลักษณะเรอื นาคหรือนาคา และเรอื โขมดยา สมัยอยธุ ยา (จากสมุดภาพร้ิวกระบวนพยหุ ยาตราชลมารค รชั กาลสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช) Rua Nakha and Rua Khamodya in the late Ayutthaya period. 34

เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES ลักษณะเรอื คชสหี ์ สมยั อยุธยา (จากสมดุ ภาพรวิ้ กระบวนพยหุ ยาตราชลมารค รชั กาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช) Rua Khotchasi in the late Ayutthaya period. ลักษณะเรอื เลียงผาใหญ่ และเรืออังหมะ สมัยอยุธยา (จากสมุดภาพรวิ้ กระบวนพยหุ ยาตราชลมารค รชั กาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช) Rua Liang Pha Yai and Rua Angma in the late Ayutthaya period. 35

เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES ลกั ษณะเรือชยั หรอื ไชย สมยั กรุงศรอี ยธุ ยา จากสมดุ ภาพรวิ้ กระบวนพยหุ ยาตราชลมารค รชั กาลสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช Rua Chai or Chaiya in the King Narai the Great’s Reign. ลกั ษณะเรอื โขมดยา เรอื ครฑุ คชู่ กั และเรอื พระทน่ี ง่ั ชลวมิ านไชย ในรว้ิ กระบวนพยหุ ยาตราชลมารค สมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา รชั กาลสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช นอกจากนเ้ี รายงั ทราบถงึ การจดั รว้ิ กระบวนพยหุ ยาตราทางชลมารคใหญแ่ บบ ๔ สาย สายกลาง เปน็ รวิ้ เรอื พระทนี่ ง่ั บนฝง่ั จะมมี า้ แซงคอยเฝา้ ตระเวนตามกระบวนเรอื เพอื่ ถวายอารกั ขาอกี ชน้ั หนง่ึ ดว้ ย ซงึ่ ปจั จบุ นั ทำ� ไมไ่ ดแ้ ลว้ Rua Khamodya, Rua Krut Khu Chak and Rua Chon Wimarn Chai in the Royal Barge Procession during the King Narai the Great’s time. 36

เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES ลักษณะเรือรูปสัตวต์ า่ งๆ เช่น เรอื เลียงผาใหญ่ และเรือม้าใหญ่ เรืออังหมะ กบั เรอื สรุ ะพิมาร สมยั กรุงศรีอยุธยา จากสมดุ ภาพร้วิ กระบวนพยุหยาตราชลมารค รัชกาลสมเด็จพระนารายณม์ หาราช Barges with animal figure-heads during the King Narai the Great’s time. ลกั ษณะเรอื เอกไชยหลาวทอง และเรือโขมดยา สมยั กรุงศรอี ยุธยา จากสมดุ ภาพร้วิ กระบวนพยุหยาตราชลมารค รชั กาลสมเด็จพระนารายณม์ หาราช Rua Ekkachai Lau thong and Rua Khamodya in the late Ayutthata period. 37

เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES เรืออักษรพรหมไชย และเรอื พระทีน่ ัง่ ศรีสมรรถไชย ซึ่งเปน็ เรอื พระทนี่ ง่ั ลำ� ทรง สมยั อยธุ ยา รชั กาลสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช Rua Aksorn Phrom Chai and Rua Sri Samattha Chai in the King Narai the Great’s time. 38

เรือพระราชพธิ ี : ROYAL BARGES ถดั มาเปน็ เรือเอกชัย ๑ คู่ จดั เป็นเรอื ประตูหนา้ ชน้ั ใน คั่นกระบวนในหนา้ กบั กระบวนพระราชยาน อนั เปน็ เรือของกรมพระต�ำรวจใหญ่ฝา่ ยซ้ายและฝา่ ยขวา คอื เรอื ชัยรัตนพมิ าน พื้นด�ำ เรอื ชยั บวรสวัสด์ิ พน้ื ดำ� ตง้ั แตเ่ รอื นาคสามเศยี รในกระบวนในหนา้ คทู่ ี่ ๑๐ มา มเี รอื โขมดยา ซอ้ นสายนอก จดั เปน็ เรอื กนั อกี ๕ คู่ คอื ๑. เรือของกองเกณฑห์ ดั อย่างฝร่ัง ๑ คู่ ๒. เรอื ของกองอาสาวเิ ศษ ๑ คู่ ๓. เรอื ของกรมพระต�ำรวจใหญ ่ ๑ คู่ ๔. เรอื ของกรมพระตำ� รวจใน ๑ คู่ ๕. เรือทองแขวนฟ้า (ชาวบา้ นโพเรียง) เรอื ทองแขวนฟา้ (ชาวบ้านใหม่) กระบวนเรอื พระราชยาน จัดเรียงกันในสายกลางสายเดียว ตามล�ำดบั ดังนี้ ๑. เรือพระทน่ี ่ังชลพมิ านชัย เปน็ เรอื กิ่งพื้นดำ� ๒. เรือพระทน่ี ัง่ ไกรสรมาศ เป็นเรือกง่ิ พ้ืนด�ำ ๓. เรอื พระท่ีน่งั ศรีพิมานชัย เปน็ เรือก่งิ พนื้ ด�ำ ๔. เรอื พระทนี่ ง่ั ไกรแกว้ จักรรตั น์ เป็นเรอื กงิ่ พื้นดำ� ๕. เรอื พระทน่ี ั่งศรพรหมชัย เปน็ เรือกง่ิ พื้นแดง ๖. เรือพระท่ีน่งั ศรสี มรรถชยั เปน็ เรอื ก่งิ พื้นด�ำ จดั เปน็ เรือพระท่ีน่งั ทรง ๗. เรอื พระทีน่ งั่ ไกรสรมุข เปน็ เรือก่ิงพื้นดำ� จัดเปน็ เรือพระท่นี ่ังรอง ตอ่ จากเรือพระทนี่ ง่ั รอง ก็จะเปน็ เรือพระท่ีนง่ั กิ่งเรยี งคู่อยสู่ ายใน เปน็ เรือพระท่นี ่ังสำ� รองอกี ๑ คู่ คือ เรือพระทีน่ ั่งไกรสรจักร ฝา่ ยซ้าย กบั เรือพระท่ีน่ังศรีสุนทรชยั ฝา่ ยขวา เปน็ อันหมดกระบวนเรือพระราชยาน เท่านี้ จากนั้นเปน็ เรอื ประตูหลงั ช้นั ในคั่นกระบวนเรือพระราชยานกับกระบวนในหลงั โดยใชเ้ รอื เอกชัย ๑ คู่ เป็นเรอื ของกรมพระตำ� รวจนอก คือ เรือหลาวทอง ฝา่ ยซ้าย กบั เรือเหนิ หาว ฝา่ ยขวา แตร่ ะหวา่ งเรอื พระทน่ี ง่ั คทู่ า้ ยเรอื ประตหู ลงั ชน้ั ในนี้ ทางสายนอกมเี รอื โขมดยา จดั เปน็ เรอื กนั ๒ คคู่ อื เรอื ของกองทหารใน ๑ คู่ เรือของกรมพระพศั ดี ๑ คู่ กระบวนในหลัง จดั ออกเปน็ ๓ สาย คอื สายกลาง มีเรอื พระท่ีน่งั เอกชัย เรียงกัน ๒ ล�ำ คือ ๑. เรอื พระที่น่งั กรมพระราชวังบวรสถานมงคล (วงั หน้า) ๒. เรอื พระที่นั่งเจ้าต่างกรม อกี ๒ สายคือ สายในฝา่ ยซา้ ย และสายในฝ่ายขวา เป็นเรือรปู สัตว์ ๓ คู่ คอื คทู่ ่ี ๑ เรือมกร (พระอินทร์รักษา) คกู่ บั เรือมกร (พระพรหมรักษา) คทู่ ่ี ๒ เรือนาคสามเศยี ร ช่ือ นาคถบองรัตน (จม่ืนเสมอใจราช) คู่กับ เรือนาคจักรคทาธรทอง (จมืน่ ไวยวรนาถ) คูท่ ่ี ๓ เรือสิงโต 39

เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES 40

เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES จากนกี้ ็เป็นเรอื ประตหู ลงั ชั้นนอกค่ันกระบวนในหลังกบั กระบวนนอกหลัง ซง่ึ ใชเ้ รอื รปู สัตวอ์ ีก ๑ คู่ จดั ฝ่ายซา้ ยและฝ่ายขวา คอื เรอื ม้าน้อย ของหมืน่ ศรสี หเทพ กบั เรือเลียงผาน้อย ของหมืน่ นรินทรเสนี กระบวนนอกหลัง ประกอบด้วยเรอื แซ ๓ คู่ เรอื พิฆาต ๒ คู่ โดยมิทราบกรมที่ประจ�ำล�ำ รวมเรือในริ้วกระบวนคร้ังรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช มีท้ังสิ้น ๑๑๓ ล�ำ นอกจากน้ีแม้ว่า จะเป็นกระบวนเรอื แต่ก็ปรากฏว่ามี ม้าแซง เดินแซงบนตลงิ่ ในระยะกระบวนเรอื ตอนท่เี รียงเปน็ ๔ สายอีก ด้วย ทง้ั นเ้ี พื่อคอยถวายอารักขา และตรวจดูความเรยี บรอ้ ยของร้ิวกระบวน สำ� หรบั รวิ้ กระบวนเรอื ในรชั กาลสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั บรมโกศทป่ี รากฏในบทเหเ่ รอื ของเจา้ ฟา้ ธรรมธเิ บศร ไชยเชษฐสรุ ยิ วงศ์ หรอื เจา้ ฟา้ กงุ้ นนั้ ปรากฏชอ่ื เรอื เพยี งไมก่ ลี่ ำ� ซง่ึ ทำ� ใหเ้ ขา้ ใจวา่ อาจจะจดั เปน็ เพยี ง ๓ สายคอื ฝา่ ยขวา มี เรอื คชสหี น์ อ้ ย ของพระยาสุรเสนา ตอ่ ดว้ ยเรอื คชสหี ์ใหญ่ ของสมุหพระกลาโหม ฝ่ายซา้ ย มี เรือราชสหี ์น้อย ของพระยามหาอำ� มาตย์ ตอ่ ดว้ ยเรอื ราชสหี ใ์ หญ่ ของสมหุ นายก จากน้ัน กเ็ ปน็ เรอื ประตหู นา้ ชั้นนอก ฝ่ายซา้ ย มี เรอื ม้าใหญ่ ของพระยาราชนกิ ลุ ฝา่ ยขวา เปน็ เรือเลียงผาใหญ่ ของพระยาเทพอรชนุ ถดั ไปกเ็ รือรปู สัตว์ ๓ คคู่ อื ๑. เรอื นกอนิ ทรี ของกรมอาสาหกเหล่า ประจำ� ท้ังฝา่ ยซา้ ยและฝ่ายขวา ๒. เรือสงิ ห ์ ของกรมพระต�ำรวจ ประจ�ำทั้งฝา่ ยซ้ายและฝา่ ยขวา ๓. เรอื นาควาสกุ รี (จมนื่ ศรสี รรกั ษ)์ เรอื นาคเหรา (จมืน่ สรรเพชญภกั ดี) แล้วจงึ ถงึ เรอื พระทีน่ ั่งเป็นสายกลาง เรียงกนั ๕ ล�ำ คือ ๑. เรือพระที่น่งั ครุฑ เป็นแบบเรอื ด้งั ๒. เรือพระที่น่งั รตั นพิมานชยั เป็นเรือพระท่นี ง่ั กงิ่ ๓. เรือพระทีน่ ่งั สวุ รรณหงส์ เป็นเรือพระทน่ี ั่งรอง ๔. เรอื พระทน่ี ัง่ ไกรสรมุข เปน็ เรอื พระทน่ี ่ังกงิ่ ๕. เรือพระทีน่ งั่ ศรสี มรรถไชย เป็นเรือพระทน่ี ัง่ กง่ิ แตอ่ ยา่ งไรกด็ ี เรอื ทก่ี ลา่ วถงึ กม็ ชี อ่ื ซำ�้ กนั แสดงวา่ ไดส้ บื ทอดตอ่ มาจากสมยั สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช มิได้เปลี่ยนแปลงไปมากนัก จนมาในรัชกาลสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ก็เข้าใจว่ายังคงมีเรือพระที่น่ังอยู่บ้าง และสร้างข้ึนใหม่บ้างเพ่ือให้เพียงพอแก่การน�ำไปใช้ในการรบ ซ่ึงมีอยู่ เกือบตลอดรัชกาล เพราะเรอื ทมี่ ีอย่เู ดมิ แตค่ รั้งกรุงศรีอยุธยานน้ั ไดถ้ ูกพม่าเผาไปเสียมากนนั่ เอง 41

เรือพระราชพิธี : ROYAL BARGES ในสมยั สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราชแหง่ กรงุ ธนบรุ ี ปรากฏวา่ มเี รอื ตา่ งๆ ใชด้ งั กลา่ วอยใู่ นหมายรบั สง่ั เรอ่ื งโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ มเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟา้ กรมขนุ อนิ ทรพทิ กั ษ์ เสดจ็ ขน้ึ ไปรบั พระแกว้ มรกตทที่ า่ เจา้ สนกุ จังหวัดสระบุรี ซ่งึ เรอื ทป่ี รากฏชื่อเป็นลักษณะเรอื มี ๑. เรือพระทนี่ ัง่ ๒. เรือโขมดยาทอง ๓. เรอื ค่แู ห ่ ๔. เรอื โขมดยาใหญ่ ๕. เรือโขมดยาน้อย ๖. เรอื ศรี ษะนก ๗. เรอื กราบ ๘. เรือพระทนี่ ่ังกราบ ๙. เรอื ด้งั ๑๐. เรอื สามป้าน ๑๑. เรือกุแหละ ๑๒. เรอื ญวน ๑๓. เรือโขมดยาแหไ่ พร ๑๔. เรือโขมดยาไพรด้งั ๑๕. เรือโขมดยานวย ในรชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช๑ รชั กาลท่ี ๑ แหง่ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ใน พ.ศ. ๒๓๒๕ ตรงกับวนั พธุ เดอื น ๑๑ แรม ๔ ค�่ำ เบญจศก ได้เสด็จไปพระราชทานพระกฐนิ ทางชลมารค ณ วดั บางหวา้ ใหญ่ กับวัดหงส์ ทรงใช้กระบวนเรอื และเรือพระทีน่ ั่งดังนี้ เรือทรงพระกฐนิ ใชเ้ รือพระท่ีนงั่ ใหญ่ แครจ่ ัตรุ มขุ มตี ำ� รวจใหญ่เป็นพนกั งาน มหาดเลก็ หม่ ชมพูพาย ทอดหนา้ ฝพี ายต�ำรวจใหญพ่ ายทอดหลงั ใบพายปดิ ทองส่วนด้ามพายทาชาดสีแดง หัวหมนื่ ตำ� รวจใหญ่ถอื ธงสามชาย ท่ีหนา้ เรอื ๑ คน พายเรือตำ� รวจใหญ่ ๓ คน ขุนหม่ืนศุภรตั นไ์ ปส�ำหรบั ผ้าพระกฐิน ๑ คน แตร สังข์ แตรงอน ๑ คู่ แตรฝรงั่ ของฮอลันดา ๑ คู่ สังข์ ๑ คน ผตู้ บแตง่ เรือพระกฐิน คือ นายชดิ หลวงอินทรเทพ หลวงพิเรนทรเทพ หม่ืนไชยาภรณ์ หม่ืนไชยภูษา ผู้ตรวจตรา คือ พนั พรหมราชกลาโหม เรอื ดัง้ อาสาวเิ ศษ ซ้ายขวา ชกั เรอื พระกฐนิ พันจันทเ์ กณฑใ์ นเรอื ดง้ั ใสป่ ่พี าทยร์ ามญั ๑ ล�ำ ใส่ละครรำ� ๑ ลำ� เป็นเรือเห่ ๔ ล�ำ เรือพระทน่ี ั่งทรง คือเรอื พระท่นี ่งั ศรสี กั หลาด พื้นแดงเขยี นลายรดน้ำ� เรอื คชู่ กั ๒ ล�ำ คือ เรือพระทนี่ ่ังทองแขวนฟา้ ของบ้านใหม่ กับของโพเรียง เรือดงั้ น�ำเสดจ็ ๔ คู่ คือเรอื ดัง้ ทหารใน ขวา ๑ ล�ำ ซ้าย ๑ ลำ� เรือเกณฑห์ ดั อย่างฝรง่ั ขวา ๑ ลำ� ซ้าย ๑ ล�ำ อีก ๒ คู่ ตน้ ฉบับขาด เรอื ตามเสด็จ มเี รอื ตำ� รวจใน เรอื ชาววงั เรอื ขา้ ทลู ละอองพระบาท ลักษณะเรือพระที่นั่งในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทราบได้จากใน “กลอนนริ าศ” พระนพิ นธส์ มเด็จพระบวรราชเจา้ กรมพระราชวังบวรมหาสุรสงิ หนาท ซึ่งทรงเป็นแมท่ ัพเรือ ยกทัพไปตที พั พม่าทน่ี ครศรธี รรมราช พ.ศ. ๒๓๒๙ ไดท้ รงบรรยายลกั ษณะเรือพระที่น่ังไว้ดว้ ยว่าเปน็ เรือครฑุ ๑ ลทั ธิธรรมเนียมตา่ งๆ เล่ม ๒, หน้า ๘๒ - ๘๓. 42

เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES “...ทนี่ ่งั ครฑุ ทอดทา่ เตรยี มเสด็จ ดังจะเหจ็ นภามาศดอู าจอัด จับพระยานาคินทรบ์ นิ รวบรัด สองหัตถถ์ ือธงพไิ ชยยุทธ ลงยันต์ลายทองต�ำรบั หลวง เด่นดวงเปน็ รูปวายบุ ุตร จ่ารงคร่ำ� ใสช่ อ่ งสองขา้ งครุฑ ฝรัง่ คอยเตรียมชุดจะจดุ ปืน...” เรือพระที่น่ังครุฑนี้เม่ือยามว่างศึก ก็น�ำมาเข้าริ้วกระบวนพยุหยาตราประกอบพระราชพิธีถวายผ้า พระกฐินหรือเสด็จไปนมสั การพระพุทธบาทดว้ ยนั่นเอง ในรชั กาลน้ี นอกจากจะมกี ระบวนหลวงทจี่ ดั เปน็ กระบวนพยหุ ยาตรากรธี าทพั เรอื อยา่ งโบราณแลว้ ๑ พระบรมวงศานวุ งศ์ ข้าทลู ละอองธลุ พี ระบาท และประชาราษฎร์ท่ีมีฐานะยังไดต้ กแต่งเรือด้วยลักษณะตา่ งๆ เชน่ ทำ� เปน็ จระเข้ เปน็ หอย เปน็ ปลา และเปน็ สตั วน์ ำ้� ตา่ งๆ มาสมทบเขา้ กระบวน เปน็ กระบวนนำ� และกระบวน ตามกระบวนหลวง เรอื บางลำ� กม็ วี งปพ่ี าทยแ์ ละการเลน่ ตา่ งๆ ไปในเรอื ดว้ ยซงึ่ เรอื ดนตรใี นกระบวนนก้ี ม็ มี าแต่ โบราณแลว้ เพื่อใหฝ้ พี ายไม่เหน็ดเหนอื่ ยเร็ว แตใ่ หม้ ีความสนุกสนานไปด้วย อยา่ งไรก็ดี พบว่ามีการใช้กระบวนเรอื ในงานพระเมรุดว้ ย แตเ่ ปน็ ไปอยา่ งน้อย ดงั เชน่ ในงานพระเมรุ พระบรมศพสมเดจ็ พระเจา้ กรงุ ธนบรุ ี พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช ไดเ้ สดจ็ โดยกระบวน เรือซึง่ เรียกว่า กระบวนทางชลมารคไปยงั วัดบางยเี่ รือ (ปัจจบุ ัน คอื วดั อินทาราม ฝ่ังธนบุร)ี ในกระบวนทาง ชลมารค ประกอบดว้ ยเรอื ดงั นี้ เรือพระทน่ี ง่ั ศรีสกั หลาด พลพาย ๕๘ คน เรอื พระท่นี ่งั ทองแขวนฟ้า บา้ นใหม่ พลพาย ๕๗ คน เรือพระทนี่ ่งั ทองแขวนฟ้า โพเรียง พลพาย ๕๗ คน เรือดัง้ ทหารในซา้ ย เรอื ดั้งทหารในขวา (พลพายลำ� ละ ๖๐) เรือเกณฑ์หดั อยา่ งฝรัง่ ซา้ ย เรือเกณฑ์หดั อยา่ งฝรง่ั ขวา (พลพายลำ� ละ ๕๒) เรอื อาสาวเิ ศษซา้ ย เรืออาสาวเิ ศษขวา (พลพายล�ำละ ๖๗) อย่างไรก็ดี บริเวณล�ำน้�ำระหว่างทางเสด็จต้ังแต่ฉนวนน้�ำประจ�ำท่าถึงวัดบางยี่เรือมีการรักษาความ ปลอดภัยด้วยเรียกว่า เรือจุกช่อง ส่วนที่วัดบางย่ีเรือ มีการเกณฑ์ทหารคบหอกไปล้อมวง และตั้งกองคอย เหตุอยทู่ ้ายนำ้� ท่ดี ่านบางหลวง ๑๓ คน มีหลวงสรเสนี ขนุ ราม ขนุ ชนะ พรอ้ มไพรถ่ ือหอก ๑๐ คน เรอื จุกช่อง ของกองต่างๆ มีดังน้ี ๑. เรอื ตำ� รวจใหญ่ ซา้ ย ๒ คน จุกช่องที่ แม่นำ้� กฎจี นี ๒ คน ท่ี คลองรมิ บา้ นพระอภยั วานชิ (วดั กัลยาณมติ ร) ๒ คน ท่ี คลองวัดบางสะไก ่ ๒ คน ที่ คลองวัดบางยเ่ี รือ ๒ คน ๑ ม.ร.ว.แสงสรู ย์ ลดาวัลย์, กระบวนพยหุ ยาตรา, ตำ� ราสอนในคณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร. 43

เรือพระราชพิธี : ROYAL BARGES ๒. เรือต�ำรวจใหญ่ ขวา จุกช่องที่ คลองคูกรงุ ธนบรุ ตี ่อคลองบางกอกใหญ่ ๒ คน คลองวัดสังขก์ ระจาย ๒ คน คลองบางลำ� เจียก ๒ คน นอกจากนี้มพี วกล้อมวง อีก ๒๘๐ คน แบง่ เปน็ ตำ� รวจใหญ่ ซ้าย และ ขวา กองละ ๓๐ คน ทหารในซ้าย และ ขวา กองละ ๒๐ คน ทนายเลอื กหอก ซ้ายและขวา กองละ ๒๐ คน สนมทหารซ้าย และขวา กองละ ๑๕ คน อาวธุ พิเศษทใ่ี ช้ คอื ปืนทา้ ยทน่ี งั่ รวม ๑๒ กระบอก ๓๖ คน แบง่ เป็น ตำ� รวจในซ้ายและขวา ปนื กองละ ๒ กระบอก คนกองละ ๖ คน ตำ� รวจใหญ่ ซ้ายและขวา ปนื กองละ ๒ กระบอก คนกองละ ๖ คน อาสาเดโช และอาสาท้ายน�้ำ ปนื กองละ ๑ กระบอก คนกองละ ๖ คน อาสาซา้ ย และอาสาขวา ปืนกองละ ๑ กระบอก คนกองละ ๓ คน ในสมัยรัชกาลที่ ๒ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลัย ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ใหแ้ ต่ง เรอื เปน็ กระบวนพยหุ ยาตราอยา่ งใหญ่ เสดจ็ ไปถวายผา้ พระกฐนิ มเี รอื ทพี่ ระบรมวงศานวุ งศ์ และขา้ ทลู ละออง ธุลีพระบาทแต่งเป็นรูปต่างๆ เข้ากระบวนเช่นรัชกาลก่อน ในรัชกาลต่อมาก็ได้จัดให้มีเช่นกันแต่อาจจัดเป็น กระบวนใหญ่บ้าง กระบวนน้อยบ้าง เพื่อไปถวายผ้าพระกฐินในเทศกาลเข้าพรรษาสืบต่อเร่ือยมา แม้ว่าใน สมัยหลังจะเป็นยุคท่ีพ้นสมัยที่จะใช้เรือรบทางแม่น้�ำในการรบแล้วก็ยังคงรักษาเรือเหล่านั้นไว้ส�ำหรับการ พระราชพิธีดว้ ย ในสมยั รชั กาลท่ี ๓ พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหช้ า่ งทำ� เรอื พระท่ีนงั่ กราบ พระทน่ี ง่ั เอกไชย พระทนี่ ัง่ ประกอบ ข้ึนไว้เปน็ เกียรตยิ ศส�ำหรับแผน่ ดิน๑ ๑. พระทน่ี งั่ ประกอบพน้ื ครามออ่ น ชอ่ื รตั นดลิ ก ยาว ๑๙ วา ๒ ศอก ๗ น้วิ กำ� ลัง ๖ ศอก ๒. พระทีน่ ั่งประกอบพนื้ แดง ช่อื ศรีสนุ ทรไชย ยาว ๑๗ วา กำ� ลัง ๔ ศอก ๑ คบื ๓. พระที่นั่งเอกไชยเขยี นทองแดงพ้ืนแดง ยาว ๑๔ วา ๒ ศอก ๕ น้ิว กำ� ลัง ๕ ศอก ๕ น้ิว ๔. พระทนี่ ั่งประกอบครุฑ ช่อื มงคลสบุ รรณ ยาว ๑๗ วา ๒ ศอก ก�ำลัง ๖ ศอก ๖ นว้ิ ๑ เจ้าพระยาทพิ ากรวงศ์, พระราชพงศาวดารกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ รชั กาลท่ี ๓ เลม่ ท่ี ๒, ศกึ ษาภัณฑพ์ าณชิ ย์, ๒๕๐๔ หนา้ ๑๗๕ - ๑๗๘. สว่ นหนงึ่ ภาพเขยี นรวิ้ กระบวนพยหุ ยาตราทางชลมารค ในพระอโุ บสถวดั ปทมุ วนาราม สมยั กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ตอนต้น. 44


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook