Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา

ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา

Published by pannatorn_nar, 2020-07-16 00:33:56

Description: ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา

Search

Read the Text Version

ลกั ษณะประชาธปิ ไตยในพระพทุ ธศาสนา หลกั ประชาธิปไตยทว่ั ไปในพระพทุ ธศาสนา พระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนาประชาธิปไตยมาต้งั แต่เริ่มแรก ก่อนทพี่ ระพทุ ธเจา้ จะทรงมอบให้ พระสงฆเ์ ป็นใหญ่ในกิจการท้งั ปวงเสียอกี ลกั ษณะท่ีเป็นประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนามตี วั อยา่ ง ดงั ต่อไปน้ี 1. พระพุทธศาสนามีพระธรรมวนิ ัยเป็นธรรมนูญหรือกฎหมายสูงสุด พระธรรม คอื คาสอนท่ี พระพทุ ธเจา้ ทรงแสดง พระวินยั คอื คาส่ังอนั เป็นขอ้ ปฏิบตั ิที่พระพทุ ธเจา้ ทรงบญั ญตั ขิ ้ึนเม่อื รวมกนั เรียกวา่ พระธรรมวินยั ซ่ึงมีความสาคญั ขนาดทพี่ ระพุทธเจา้ ทรงมอบให้เป็นพระศาสดาแทนพระองค์ ก่อนที่พระองคจ์ ะปรินิพพานเพยี งเล็กนอ้ ย 2. มกี ารกาหนดลกั ษณะของศาสนาไวเ้ รียบร้อย ไมป่ ล่อยใหเ้ ป็นไปตามยถากรรม ลกั ษณะของ พระพทุ ธศาสนาคือสายกลาง ไมซ่ า้ ยสุด ไม่ขวาสุด ทางสายกลางน้ีเป็นครรลอง อาจปฏิบตั ิคอ่ นขา้ ง เคร่งครัดกไ็ ด้ โดยใชส้ ิทธิในการแสวงหาอดิเรกลาภตามทท่ี รงอนุญาตไว้ ในสมยั ต่อมา เรียกแนว กลางๆ ของพระพทุ ธศาสนาว่า วิภชั ชวาที คือศาสนาท่ีกล่าวจาแนกแจกแจง ตามความเป็ นจริง บางอยา่ งกลา่ วยืนยนั โดยส่วนเดียวได้ บางอยา่ งกลา่ วจาแนกแจกแจงเป็นกรณี ๆ ไป

3. พระพทุ ธศาสนา มีความเสมอภาคภายใตพ้ ระธรรมวนิ ยั บุคคลท่เี ป็นวรรณะกษตั ริย์ พราหมณ์ หลกั ประชาธิปไตยในการทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ทรงมอบความเป็นใหญ่แกส่ งฆ์ การมอบความเป็นใหญแ่ ก่สงฆม์ ีลกั ษณะตรงกบั หลกั ประชาธิปไตยหลายประการ ส่วนมากเป็นเรื่อง สังฆกรรม คือการประชุมกนั ทากิจสงฆอ์ ยา่ งใดอยา่ งหน่ึงให้สาเร็จ การทาสงั ฆกรรมประกอบดว้ ย ส่วนสาคญั 5 ประการ ถา้ ทาผิดพลาดประการใดประการหน่ึง จะทาใหส้ ังฆกรรมน้นั เสียไป ใชไ้ ม่ได้

ไมม่ ีผล คือเป็นโมฆะ ส่วนสาคญั 5 ประการมีดงั น้ีคือ 1 จานวนสงฆอ์ ยา่ งต่าที่เขา้ ประชุม การกาหนดจานวนสงฆผ์ เู้ ขา้ ประชุมอยา่ งต่าว่าจะทาสงั ฆกรรม อยา่ งใดไดบ้ า้ งมี 5 ประเภท ทปี่ ระชุม ถา้ เห็นดว้ ย ให้ใชว้ ธิ ีนิ่ง ถา้ ไมเ่ ห็นดว้ ยให้คดั คา้ นข้นึ จะตอ้ งมี การทาความเขา้ ใจกนั จนกว่าจะยอมเห็นดว้ ย ถา้ ภิกษผุ คู้ ดั คา้ น ยงั คงยืนกรานไมเ่ ห็นดว้ ย การทาสงั ฆ กรรมน้นั ๆ เช่น การอุปสมบท หรือการมอบผา้ กฐินยอ่ มไม่สมบูรณ์ จึงเห็นไดว้ ่า มตขิ องที่ประชุม ตอ้ งเป็นเอกฉนั ทค์ อื เห็นพร้อมกนั ทกุ รูป

ลกั ษณะอ่นื ๆ ทแ่ี สดงถึงความเป็นประชาธิปไตยในพระพทุ ธศาสนา 1 พระพุทธเจา้ ทรงอนุญาตให้ภกิ ษุศกึ ษาพระพทุ ธศาสนาดว้ ยภาษาใด ๆ ก็ได้ คือศกึ ษาดว้ ยภาษาท่ี ตนเองรู้ดีท่สี ุด ไม่ใหผ้ ูกขาดศึกษาดว้ ยภาษาเดียว เหมือนศาสนาพราหมณ์ท่ีตอ้ งศกึ ษาดว้ ยภาษา สันสกฤตเพยี งภาษาเดียว แตก่ ารท่คี ณะสงฆไ์ ทยใชภ้ าษาบาลีเป็นหลกั ก็เพอื่ สอบทานความถูกตอ้ ง ในกรณีท่มี ีความสงสยั เท่าน้นั ส่วนการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาจะใชภ้ าษาทอ้ งถิ่นใด ๆ ก็ได้ 2 พระพทุ ธเจา้ ทรงอนุญาตให้พระสงฆป์ ฏบิ ตั ิคลอ้ ยตามกฎหมายของประเทศท่ีตนอาศยั อยู่ การ ปฏิบตั ใิ ด ๆ ทไ่ี ม่มีห้ามไวใ้ นศลี ของภิกษุแต่ผดิ กฎหมายของประเทศน้นั ๆ ภิกษุกก็ ระทาไม่ได้ ขอ้ น้ี ทาให้ภกิ ษุสามารถอยไู่ ดใ้ นทุกประเทศโดยไม่มคี วามขดั แยง้ กบั รัฐบาล และประชาชนของประเทศ น้นั ๆ 3 ก่อนปรินิพพาน พระพุทธเจา้ ทรงอนุญาตไวว้ า่ ถา้ สงฆป์ รารถนาจะถอนสิกขาบทเล็กนอ้ ย (คอื เลิก ศีลขอ้ เล็กนอ้ ย) เสียกไ็ ด้ พระสงฆ์ฝ่ายเถรวาทตกลงกนั ไม่ไดว้ ่า ขอ้ ใดเป็นสิกขาบทเลก็ นอ้ ย จึงมีมติ ไม่ให้ถอนสิกขาบทใด ๆ ท้งั สิ้น ส่วนพระสงฆ์ฝ่ายมหายานมมี ติใหถ้ อนสิกขาบททเ่ี ห็นว่าเลก็ นอ้ ยได้ เม่อื กาลเวลาล่วงไปก็ยิง่ ถอนมากข้นึ ทกุ ที การปฏิบตั ริ ะหว่างพระสงฆฝ์ ่ายเถรวาทกบั ฝ่ายมหายานจึง แตกตา่ งกนั มากย่ิงข้ึน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook