Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระพุทธศาสนา

พระพุทธศาสนา

Published by pannatorn_nar, 2020-07-30 10:08:37

Description: พระพุทธศาสนา

Search

Read the Text Version

พระพุทธศาสนา นายปัณณธร นริศชาติ ม.4/1 เลขท่ี 12

หลกั ประชาธิปไตยทวั่ ไปในพระพทุ ธศาสนา พระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนาประชาธิปไตยมาต้งั แต่เริ่มแรก ก่อนที่พระพุทธเจา้ จะทรงมอบใหพ้ ระสงฆเ์ ป็น ใหญ่ในกิจการท้งั ปวงเสียอีกลกั ษณะที่เป็นประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนามตี วั อยา่ งดงั ต่อไปน้ี 1. พระพทุ ธศาสนามีพระธรรมวนิ ยั เป็นธรรมนูญหรือกฎหมายสูงสุด พระธรรม คือ คาสอนที่พระพทุ ธเจา้ ทรงแสดง พระวนิ ยั คือ คาสงั่ อนั เป็นขอ้ ปฏบิ ตั ิที่พระพุทธเจา้ ทรงบญั ญตั ขิ ้ึนเมอื่ รวมกนั เรียกวา่ พระธรรม วินยั ซ่ึงมคี วามสาคญั ขนาดที่พระพุทธเจา้ ทรงมอบใหเ้ ป็นพระศาสดาแทนพระองค์ ก่อนที่พระองคจ์ ะ ปรินิพพานเพียงเลก็ นอ้ ย 2. มีการกาหนดลกั ษณะของศาสนาไวเ้ รียบร้อย ไม่ปลอ่ ยใหเ้ ป็นไปตามยถากรรม ลกั ษณะของ พระพทุ ธศาสนาคือสายกลาง ไมซ่ า้ ยสุด ไมข่ วาสุด ทางสายกลางน้ีเป็นครรลอง อาจปฏิบตั ิค่อนขา้ งเคร่งครดั ก็ได้ โดยใชส้ ิทธิในการแสวงหาอดิเรกลาภตามท่ีทรงอนุญาตไว้ ในสมยั ต่อมา เรียกแนวกลางๆ ของ พระพุทธศาสนาว่า วิภชั ชวาที คือศาสนาท่กี ลา่ วจาแนกแจกแจง ตามความเป็นจริงบางอยา่ งกล่าวยนื ยนั โดย ส่วนเดียวได้ บางอยา่ งกลา่ วจาแนกแจกแจงเป็นกรณี ๆ ไป

3. พระพุทธศาสนา มคี วามเสมอภาคภายใตพ้ ระธรรมวนิ ยั บุคคลที่เป็นวรรณะกษตั ริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศูทรมาแต่เดิม รวมท้งั คนวรรณะต่ากว่าน้นั เช่นพวกจณั ฑาล พวกปุกกุสะคนเกบ็ ขยะ และพวกทาส เมื่อเขา้ มาอุปสมบทในพระพุทธศาสนาอยา่ งถกู ตอ้ งแลว้ มีความเท่าเทียมกนั คือปฏบิ ตั ิตามสิกขาบทเท่ากนั และ เคารพกนั ตามลาดบั อาวุโส คือผอู้ ปุ สมบทภายหลงั เคารพผอู้ ปุ สมบทก่อน 4. พระภิกษุในพระพทุ ธศาสนา มสี ิทธิ เสรีภาพภายใตพ้ ระธรรมวินยั เช่นในฐานะภิกษุเจา้ ถ่นิ จะมสี ิทธิ ไดร้ ับของแจกก่อนภิกษุอาคนั ตุกะ ภกิ ษุท่ีจาพรรษาอยู่ดว้ ยกนั มสี ิทธิไดร้ ับของแจกตามลาดบั พรรษา มีสิทธิ รับกฐิน และไดร้ ับอานิสงสก์ ฐินในการแสวงหาจีวรตลอด 4 เดือนฤดูหนาวเท่าเทียมกนั นอกจากน้นั ยงั มี เสรีภาพที่จะเดินทางไปไหนมาไหนได้ จะอยจู่ าพรรษาวดั ใดก็ไดเ้ ลือกปฏิบตั ิกรรมฐานขอ้ ใด ถอื ธุดงคว์ ตั ร ขอ้ ใดก็ไดท้ ้งั ส้ิน 5. มีการแบ่งอานาจ พระเถระผใู้ หญ่ทาหนา้ ท่ีบริหารปกครองหม่คู ณะ การบญั ญตั ิพระวนิ ยั พระพทุ ธเจา้ ทรงบญั ญตั ิเอง เช่นมภี ิกษุผทู้ าผดิ มาสอบสวนแลว้ จึงทรงบญั ญตั ิพระวนิ ยั ส่วนการตดั สินคดีตามพระวนิ ยั ทรงบญั ญตั ิแลว้ เป็นหนา้ ทขี่ องพระวนิ ยั ธรรมซ่ึงเท่ากบั ศาล 6. พระพุทธศาสนามหี ลกั เสียงขา้ งมาก คือ ใชเ้ สียงขา้ งมาก เป็นเกณฑต์ ดั สิน เรียกวา่ วิธีเยภุยยสิกา การ ตดั สินโดยใชเ้ สียงขา้ งมาก ฝ่ ายใดไดร้ ับเสียงขา้ งมากสนบั สนุน ฝ่ ายน้นั เป็นฝ่ ายชนะคดี

หลกั การของพระพทุ ธศาสนากบั หลกั การของวทิ ยาศาสตร์มที ้งั ส่วนท่ีสอดคลอ้ ง และส่วนท่ีแตกต่างกนั ดงั ต่อไปน้ี ความสอดคลอ้ งกนั ของหลกั การของพระพทุ ธศาสนากบั หลกั การวิทยาศาสตร์ 1. ในดา้ นความเช่ือ (Confidence) หลกั การวิทยาศาสตร์ ถือหลกั วา่ จะเช่ืออะไรน้นั จะตอ้ งมีการพสิ ูจน์ให้ เห็นจริงไดเ้ สียก่อน วิทยาศาสตร์เช่ือในเหตุผล ไมเ่ ช่ืออะไรลอย ๆ และตอ้ งมีหลกั ฐานมายนื ยนั วทิ ยาศาสตร์ ไมอ่ าศยั ศรัทธาแต่อาศยั เหตุผล เช่ือการทดลองว่าใหค้ วามจริงแก่เราได้ แต่ไมเ่ ช่ือการดลบนั ดาลของสิ่ง ศกั ด์ิสิทธ์ิ เพราะทุกอยา่ งดาเนินอยา่ งมกี ฎเกณฑ์ มีเหตุผล และวทิ ยาศาสตร์อาศยั ปัญญาและเหตุผลเป็นตวั ตดั สินความจริง วทิ ยาศาสตร์มีความเช่ือว่า สรรพส่ิงในจกั รวาลลว้ นดาเนินไปอยา่ งมเี หตุผล มีความเป็น ระเบียบและมกี ฎเกณฑท์ ่ีแน่นอน หลกั การทางพระพุทธศาสนา มหี ลกั ความเช่ือเช่นเดียวกบั หลกั วิทยาศาสตร์ ไมไ่ ดส้ อนใหม้ นุษยเ์ ชื่อและ ศรัทธาอยา่ งงมงายในอิทธิปาฏหิ าริย์ และอาเทศนาปาฏหิ าริย์ แต่สอนใหศ้ รัทธาในอนุสาสนีปาฏหิ าริย์ ที่จะ ก่อใหเ้ กิดปัญญาในการแกท้ กุ ขแ์ กป้ ัญหาชีวติ ไม่สอนใหเ้ ชื่อใหศ้ รัทธาในสิ่งท่ีอยนู่ อกเหนือประสาทสมั ผสั เช่นเดียวกบั วิทยาศาสตร์ สอนใหม้ นุษยน์ าเอาหลกั ศรัทธาโยงไปหาการพิสูจน์ดว้ ยประสบการณ์ ดว้ ยปัญญา และดว้ ยการปฏิบตั ิ ดงั หลกั ของความเช่ือใน “กาลามสูตร” คืออยา่ เชื่อ เพียงเพราะใหฟ้ ังตามกนั มา อยา่ เชื่อ เพียงเพราะไดเ้ รียนตามกนั มา อยา่ เช่ือ เพยี งเพราะไดถ้ อื ปฏบิ ตั ิสืบต่อกนั มา อยา่ เช่ือ เพียงเพราะเสียงเล่าลอื อยา่ เชื่อ เพียงเพราะอา้ งตารา อยา่ เชื่อ เพียงเพราะตรรกะ หรือนึกคิดเอาเอง

อยา่ เชื่อ เพยี งเพราะอนุมานหรือคาดคะเนเอา อยา่ เชื่อ เพียงเพราะคิดตรองตามแนวเหตุผล อยา่ เชื่อ เพยี งเพราะตรงกบั ทฤษฎีของตนหรือความเห็นของตน อยา่ เช่ือ เพียงเพราะรูปลกั ษณะน่าเช่ือ อยา่ เช่ือ เพียงเพราะท่านเป็นสมณะหรือเป็นครูอาจารยข์ องเรา ในหลกั กาลามสูตรน้ี พระพทุ ธเจา้ ยงั ตรัสต่อไปวา่ จะตอ้ งรูเ้ ขา้ ใจดว้ ยว่า สิ่งเหล่าน้ีเป็นกศุ ล หรือ อกุศล ถา้ รู้ว่าเป็นอกศุ ล มีโทษ ไม่เป็นประโยชน์ ทาใหเ้ กิดทุกข์ พงึ ละเสีย ถา้ รู้วา่ เป็นกุศล มีคุณ เป็น ประโยชน์ เป็นไปเพือ่ ความสุข กใ็ หถ้ อื ปฏิบตั ิ นนั่ คือศรัทธาหรือความเชื่อท่ีก่อใหเ้ กิดปัญญา

การคดิ ตามนัยแห่งพระพทุ ธศาสนากับการคดิ แบบวทิ ยาศาสตร์ การคดิ ตามนัยแห่งพระพุทธศาสนา การคดิ ตามนัยแห่งพระพทุ ธศาสนา เป็ นการศกึ ษาถงึ วธิ กี าร แก้ปัญหาตามแนวพระพุทธศาสนา ทเี่ รียกวา่ วธิ กี ารแก้ปัญหาแบบอริยสัจ มดี ังนีค้ อื 1. ข้ันกาหนดรู้ทกุ ข์ การกาหนดรู้ทุกขห์ รอื การกาหนดปัญหาว่าคอื อะไร มขี อบเขตของปัญหาแค่ ไหน หน้าทที่ ค่ี วรทาในขั้นแรกคอื ให้เผชญิ หน้ากับ 2. ขน้ั สบื สาวสมุทัย ได้แก่เหตุของทกุ ขห์ รอื สาเหตุของปัญหา แล้วกาจดั ให้หมดไป ขัน้ นี้ เหมือนกับหมอวนิ จิ ฉัยสมุฏฐานของโรคก่อนลงมือรกั ษา ตัวอยา่ งสาเหตขุ องปัญหาท่ี พระพทุ ธเจา้ แสดงไว้คอื ตัณหา ได้แก่ กามตัณหา ภวตัณหา และวภิ วตัณหา 3. ขนั้ นโิ รธ ได้แก่ความดับทกุ ข์ หรือสภาพทไ่ี ร้ปัญหา ซงึ่ ทาให้สาเรจ็ เป็ นจรงิ ขนึ้ มา ในข้นั นีต้ ้อง ต้ังสมมตฐิ านวา่ สภาพไร้ปัญหาน้ันคอื อะไร เข้าถงึ ได้หรือไม่ 4. ขน้ั เจรญิ มรรค ได้แก่ ทางดบั ทุกข์ หรอื วธิ แี ก้ปัญหา ซงึ่ เรามหี น้าทล่ี งมือทา เหมือนกบั ทหี่ มอ ลงมอื รักษาคนไขด้ ้วยวธิ กี ารและข้นั ตอนทเี่ หมาะควรแก่การรกั ษาโรคนั้น ข้ันนีอ้ าจแบ่งออกเป็ น 3 ขั้นย่อย

ความหมายของคาว่าการศึกษา คำวำ่ “กำรศกึ ษำ” มำจำกคำวำ่ “สิกขำ” โดยท่วั ไปหมำยถึง “กระบวนกำรเรียน “ “กำรฝึกอบรม” “กำรคน้ ควำ้ ” “กำรพฒั นำกำร” และ “กำรรูแ้ จง้ เห็นจริงในส่งิ ทง้ั ปวง” จะเหน็ ไดว้ ำ่ กำรศกึ ษำในพระพทุ ธศำสนำมีหลำยระดบั ตง้ั แตร่ ะดบั ต่ำสดุ ถึงระดบั สงู สดุ เม่ือแบง่ ระดบั อย่ำงกวำ้ ง ๆ มี 2 ประกำรคือ 1. กำรศกึ ษำระดบั โลกิยะ มีควำมมงุ่ หมำยเพ่ือดำรงชีวิตในทำงโลก 2. กำรศกึ ษำระดบั โลกตุ ระ มคี วำมมงุ่ หมำยเพ่ือดำรงชีวติ เหนือกระแสโลก ในกำรศกึ ษำหรือกำรพฒั นำตำมหลกั พระพทุ ธศำสนำ นน้ั พระพทุ ธเจำ้ สอนใหค้ นไดพ้ ฒั นำอยู่ 4 ดำ้ น คอื ดำ้ นรำ่ งกำย ดำ้ นศีล ดำ้ นจิตใจ และดำ้ นสติปัญญำ โดยมจี ดุ มงุ่ หมำยใหม้ นษุ ยเ์ ป็นทงั้ คนดีและคนเกง่ มิใชเ่ ป็นคนดีแตโ่ ง่ หรอื เป็นคนเกง่ แตโ่ กง กำรจะสอนใหม้ นษุ ยเ์ ป็นคนดแี ละคนเก่งนนั้ จะตอ้ งมหี ลกั ใน กำรศกึ ษำท่ถี กู ตอ้ งเหมำะสม ซ่งึ ในกำรพฒั นำมนษุ ยน์ นั้ พระพทุ ธศำสนำมงุ่ สรำ้ งมนษุ ยใ์ หเ้ ป็นคนดกี อ่ น แลว้ จึงคอ่ ยสรำ้ งควำมเก่งทีหลงั น่นั คือสอนใหค้ นเรำมคี ณุ ธรรม ควำมดงี ำมกอ่ นแลว้ จงึ ใหม้ คี วำมรูค้ วำม เขำ้ ใจหรือสติปัญญำภำยหลงั ดงั นน้ั หลกั ในกำรศกึ ษำของพระพทุ ธศำสนำ นนั้ จะมี ลำดบั ขน้ั ตอนกำรศกึ ษำ โดย เริ่มจำก สีลสกิ ขำ ตอ่ ดว้ ยจิตตสกิ ขำและขนั้ ตอนสดุ ทำ้ ยคอื ปัญญำสิกขำ ซง่ึ ขน้ั ตอนกำรศกึ ษำทงั้ 3 นี้ รวมเรยี กวำ่ \"ไตรสกิ ขำ\" ซงึ่ มีควำมหมำยดงั นี้ 1. สีลสิกขำ กำรฝึกศกึ ษำในดำ้ นควำมประพฤตทิ ำงกำย วำจำ และอำชีพ ใหม้ ชี ีวิต 2. จิตตสิกขำ กำรฝึกศกึ ษำดำ้ นสมำธิ หรือพฒั นำจิตใจใหเ้ จรญิ ไดท้ ี่ 3. ปัญญำสิกขำ กำรฝึกศกึ ษำในปัญญำสงู ขนึ้ ไป ใหร้ ูค้ ิดเขำ้ ใจมองเหน็ ตำมเป็นจริง

ไตรสิกขา คือ หลกั การพฒั นาชีวิตเพอื่ ใหป้ ระสบความสาเร็จเป็นคนสมบูรณ์แบบตามแนวพทุ ธ ไตรสิกขา จึงจดั อยใู่ น มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) คือ ควรทาใหเ้ กดิ มขี ้ึน เพอ่ื ใชเ้ ป็นเครื่องมือพฒั นาชีวิต ไตรสิกขา แปลว่า สิกขา ๓ หมายถึง ขอ้ ปฏบิ ตั ิที่ตอ้ งศกึ ษา 1 อยา่ ง คือ 1. อธิสีลสิกขา สิกขา คือ ศีลอนั ยง่ิ 2. อธิจิตตสิกขา สิกขา คือจติ อนั ยงิ่ หมายถงึ สมาธิ 3. อธิปัญญาสิกขา สิกขา คือ ปัญญาอนั ยง่ิ ไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา เป็นกระบวนการปฏบิ ตั ิ หรือ กระบวนการพฒั นา ๓ ดา้ น คือ ศีล เป็น หลกั การพฒั นาระดบั ความสมั พนั ธก์ บั สิ่งแวดลอ้ มทางสงั คม สมาธิ เป็นหลกั การพฒั นาจิตใจใหม้ ี สมรรถภาพและประสิทธิภาพในการคดิ พจิ ารณาตดั สินใจกระทาหรือไม่กระทาการใด ๆ ปัญญา เป็น หลกั การพฒั นาความรู้ความเขา้ ใจ รู้จกั ส่ิงท้งั หลายตามที่มนั เป็น และสามารถแยกแยะวเิ คราะหส์ ืบหาสาเหตุ ของสิ่งท้งั หลายไดช้ ดั แจง้ ไตรสิกขาจึงเป็นกระบวนการพฒั นาแบบบูรณาการ

พระพทุ ธศาสนาเน้นความสัมพนั ธ์ของเหตุปัจจัยและวธิ กี ารแก้ปัญหา พระพุทธศาสนาเน้นความสัมพนั ธ์ของเหตุปัจจยั หลกั ของเหตุปัจจยั หรือหลกั ความเป็นเหตุเป็นผล ซ่ึงเป็นหลกั ของเหตุปัจจยั ที่องิ อาศยั ซ่ึงกนั และกนั ท่ีเรียกวา่ \"กฎปฏิจจสมุปบาท\" ซ่ึงมีสาระโดยยอ่ ดงั น้ี \"เมือ่ อนั น้ีมี อนั น้ีจึงมี เมอ่ื อนั น้ีไมม่ ี อนั น้ีก็ไมม่ ี เพราะอนั น้ีเกิด อนั น้ีจึงเกิด เพราะอนั น้ีดบั อนั น้ีจึงดบั \"นี่ เป็นหลกั ความจริงพ้ืนฐาน ว่าสิ่งหน่ึงสิ่งใดจะเกิดข้ึนมาลอย ๆ ไม่ได้ หรือในชีวติ ประจาวนั ของเรา \"ปัญหา\" ท่ีเกิดข้นึ กบั ตวั เราจะเป็นปัญหาลอย ๆ ไม่ได้ จะตอ้ งมเี หตปุ ัจจยั หลายเหตุท่ีก่อใหเ้ กิดปัญหาข้ึนมา หากเรา ตอ้ งการแกไ้ ขปัญหาก็ตอ้ งอาศยั เหตุปัจจยั ในการแกไ้ ขหลายเหตุปัจจยั ไมใ่ ช่มเี พียงปัจจยั เดียวหรือมเี พียง หนทางเดียวในการแกไ้ ขปัญหา เป็นตน้ คาว่า \"เหตุปัจจยั \" พุทธศาสนาถือว่า สิ่งท่ีทาใหผ้ ลเกิดข้ึนไม่ใช่เหตุอยา่ งเดียว ตอ้ งมี ปัจจยั ต่าง ๆ ดว้ ยเมอื่ มีปัจจยั หลายปัจจยั ผลก็เกดิ ข้ึน ตวั อยา่ งเช่น เราปลกู มะม่วง ตน้ มะม่วงงอกงามข้ึนมาตน้ มะมว่ งถอื วา่ เป็นผลที่เกิดข้นึ ดงั น้นั ตน้ มะมว่ งจะเกิดข้ึนเป็นตน้ ที่สมบูรณ์ไดต้ อ้ งอาศยั เหตุปัจจยั หลายปัจจยั ท่ีก่อใหเ้ กิดเป็นตน้ มะมว่ งได้ เหตุปัจจยั เหล่าน้นั ไดแ้ ก่ เมลด็ มะมว่ ง ดนิ น้า ออกซิเจน แสงแดด อณุ หภูมิที่ พอเหมาะ ป๋ ุย เป็นตน้ ปัจจยั เหลา่ น้ีพร่ังพร้อมจึงก่อใหเ้ กิดตน้ มะมว่ ง ตวั อยา่ งความสมั พนั ธข์ องเหตุปัจจยั เช่น ปัญหาการมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนต่า ซ่ึงเป็นผลที่เกิดจากการเรียนของนกั เรียน มเี หตุปัจจยั หลายเหตุ ปัจจยั ท่ีก่อใหเ้ กิดการเรียนออ่ น เช่น ปัจจยั จากครูผสู้ อน ปัจจยั จากหลกั สูตรปัจจยั จากกระบวนการเรียนการ สอนปัจจยั จากการวดั ผลประเมินผล ปัจจยั จากตวั ของนกั เรียนเอง เป็นตน้ ความสมั พนั ธข์ องเหตุปัจจยั หรือหลกั ปฏิจจสมุปบาท แสดงใหเ้ ห็นอาการของสิ่งท้งั หลายสมั พนั ธเ์ นื่อง อาศยั เป็นเหตุปัจจยั ต่อกนั อยา่ งเป็นกระแส ในภาวะท่ีเป็นกระแสน้ี ขยายความหมายออกไปใหเ้ ห็นแง่ต่าง ๆ ไดค้ ือ - ส่ิงท้งั หลายมคี วามสมั พนั ธต์ ่อเน่ืองอาศยั เป็นปัจจยั แก่กนั - ส่ิงท้งั หลายมีอยโู่ ดยความสมั พนั ธก์ นั - ส่ิงท้งั หลายมอี ยดู่ ว้ ยอาศยั ปัจจยั - สิ่งท้งั หลายไมม่ คี วามคงที่อยอู่ ยา่ งเดิมแมแ้ ต่ขณะเดยี ว (มกี ารเปล่ยี นแปลงอยู่ ตลอดเวลา ไม่อยนู่ ิ่ง) - ส่ิงท้งั หลายไม่มอี ยโู่ ดยตวั ของมนั เอง คือ ไม่มตี วั ตนที่แทจ้ ริงของมนั - ส่ิงท้งั หลายไม่มมี ูลการณ์ หรือตน้ กาเนิดเดิมสุด แต่มีความสมั พนั ธแ์ บบวฏั จกั ร หมุนวนจนไมท่ ราบวา่ อะไรเป็นตน้ กาเนิดท่ีแทจ้ ริง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook