Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบนิเวศม3

ระบบนิเวศม3

Published by pakdinan somrak, 2021-08-07 04:49:33

Description: ระบบนิเวศม3

Search

Read the Text Version

ชุดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบนิเวศ (Ecosystem) ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 นางสาวภกั ดนิ ันท์ สมรกั ษ์ ครูผูส้ อน ชือ่ .........................................................................ชน้ั ม.3/........ เลขท.่ี ........

ก คานา ชุดการเรียนรู้ รายวิชา ว23101 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน เรื่อง ระบบนิเวศ ช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้จัดทาข้ึนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560 เพื่อใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ควบคู่ กับ แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชา ว23101 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 มี วัตถุประสงค์เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเน้ือหา สามารถเรียนรู้ ด้วยตนเอง ใช้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ รวมถึงมีจิตวิทยาศาสตร์ โดยได้จัดทาข้ึนจานวน 4 ชดุ ดังน้ี ชุดที่ 1 เรือ่ ง องคป์ ระกอบของระบบนเิ วศ ชุดท่ี 2 เร่ือง ความสมั พันธ์ระหวา่ งสิง่ มีชวี ติ ในระบบนเิ วศ ชุดท่ี 3 เรื่อง โซ่อาหารและสายใยอาหาร ชุดที่ 4 เรือ่ ง สมดุลระบบนเิ วศ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดการเรียนรู้ชุดน้ีจะช่วยให้นักเรียน เกิดการเรียนรู้ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาตนเองได้อย่างมีระบบ รวมท้ัง เป็นประโยชน์ต่อนักเรียน ครูผู้สอนและผู้เก่ียวข้องในการจัดการเรียน การสอน ซ่ึงจะส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนในวิชาวทิ ยาศาสตร์สงู ขึ้น ภกั ดินันท์ สมรกั ษ์

แบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 เรื่อง ระบบนเิ วศ คาช้ีแจง : ใหน้ ักเรยี นเลอื กคาตอบทีถ่ กู ตอ้ งทสี่ ุดเพียงขอ้ เดียว 1. ขอ้ ใดอธิบายความหมายของระบบนิเวศไดถ้ ูกต้อง ก. สถานทท่ี ่ีมสี ิง่ มีชีวิตอาศยั อยู่ ข. สงิ่ ตา่ ง ๆ ที่อย่รู วมกับสิ่งมีชีวิต ค. กลุ่มของส่ิงมีชวี ิตที่อยู่รวมกันในแตล่ ะแหลง่ ง. ความสมั พนั ธข์ องกล่มุ สงิ่ มีชีวติ ในแหล่งที่อยู่เดยี วกนั 2. ขอ้ ใดไมจ่ ดั เปน็ ระบบนิเวศ ก. ป่าเต็งรงั ข. สนามฟุตบอล ค. ลานสเก็ตน้าแขง็ ง. อุทยานแห่งชาติและป่าสงวน 3. ขอ้ ใดจัดเปน็ องคป์ ระกอบที่มีชีวิตในระบบนิเวศ ก. ดนิ ข. แร่ธาตุ ค. ปะการัง ง. น้าทะเล 4. ขอ้ ใดคอื องคป์ ระกอบท่ไี ม่มีชวี ติ ในระบบนิเวศ ก. แสง ข. ปะการัง ค. ธาตุอาหาร ง. นา้ และความชืน้ 5. บทบาทของส่งิ มีชวี ติ ในขอ้ ใดเกี่ยวข้องกับกระบวนการหมนุ เวียนสารมากท่ีสุด ก. ผูผ้ ลติ ข. ผบู้ ริโภค ค. ผยู้ อ่ ยสลายสารอนิ ทรีย์ ง. ถูกทุกขอ้ 6. สิ่งมีชีวติ ใดสาคญั ตอ่ ระบบนเิ วศมากที่สุด ก. หญา้ ข. ปลวก ค. มนุษย์ ง. กระตา่ ย 7. ข้อใดจดั เปน็ ผู้บริโภคลาดับท่ี 1 ก. หญ้า ข. สงิ โต ค. หนอน ง. มนุษย์ 8. สง่ิ มชี วี ติ ใดมบี ทบาทแตกตา่ งจากขอ้ อ่ืน ก. ม้า ข. วัว ค. จระเข้ ง. กระต่าย 9. สิ่งมีชวี ติ ประเภทใดจะได้รับปรมิ าณสารพิษมากทส่ี ดุ ก. ผู้ผลติ ข. ผูบ้ รโิ ภคลาดบั ท่ี 1 ค. ผบู้ ริโภคลาดบั ที่ 2 ง. ผู้บริโภคลาดบั สดุ ท้าย 10. ข้อใดมีความหลากหลายทางชีวภาพมากที่สดุ ก. ทะเลทราย ข.ทะเลเดดซี คะแนน กอ่ นเรียน ค. ปา่ ชายเลน ง. ข้ัวโลกเหนือ เต็ม 10 ได้

ชุดท่ี 1 เรื่อง องคป์ ระกอบของระบบนเิ วศ มาตรฐานการเรยี นรู้/ผลการเรยี นรู้ ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสง่ิ ไมม่ ชี ีวิตกับ สิ่งมีชวี ติ และความสมั พันธร์ ะหว่างส่ิงมชี ีวติ กับสง่ิ มีชวี ติ ต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การ ถ่ายทอดพลังงาน การเปลย่ี นแปลงแทนที่ในระบบนเิ วศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม แนวทางในการ อนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละการแก้ไขปญั หาสงิ่ แวดล้อม รวมทัง้ นาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ • อธิบายปฏสิ มั พันธ์ขององคป์ ระกอบของระบบนิเวศท่ไี ดจ้ ากการสารวจ

ระบบนิเวศ (Ecosystem) ระบบนเิ วศ(ecosystem) คอื ความสัมพันธร์ ะหว่างกลุ่มส่ิงมชี วี ติ กบั ส่งิ แวดล้อม โครงสรา้ งของระบบนิเวศ ระบบนิเวศมอี งคป์ ระกอบท่สี าคัญ 2 สว่ น คอื 1. องค์ประกอบทางชีวภาพ(biological component) ไดแ้ ก่ สง่ิ มีชีวติ ในระบบนเิ วศ เชน่ พืช สัตว์ มนษุ ย์ เห็ด รา จุลนิ ทรีย์ เป็นตน้ 2. องค์ประกอบทางกายภาพ(physical component) ไดแ้ ก่ สง่ิ ไมม่ ชี ีวิตในระบบนิเวศ เชน่ ดนิ นา้ แสง อุณหภูมิ เป็นตน้





โครงสรา้ งขององค์ประกอบทมี่ ีชวี ติ ในระบบนิเวศแบง่ ออกเปน็ 3 ระดบั (trophic levels) คอื 1. ผผู้ ลติ (producer) ได้แก่พชื สาหร่าย โปรโตซวั เช่น ยกู ลีนา่ หรอื เเบคทเี รียบางชนิด โดยมี บทบาทในการนาพลงั งานจากแสงอาทติ ยม์ ากระตุ้นสารอนินทรียบ์ างชนิดใหอ้ ยู่ในรปู ของ สารอาหาร 2. ผู้บรโิ ภค(consumer) ได้แก่ สัตวท์ ีด่ ารงชีวิตอยู่ไดด้ ว้ ยการกินสิง่ มีชีวิตอนื่ ไดแ้ ก่ - ผบู้ ริโภคพชื (herbivore หรอื primary consumer) เช่น ช้าง มา้ โค กระบอื กระตา่ ย เป็นต้น - ผูบ้ ริโภคสตั ว์ (carnivore หรอื secondary consumer) เช่น เสือ สิงโต เหยยี่ ว งู เปน็ ตน้ - ผูบ้ ริโภคท้งั สัตว์ทั้งพืช (omnivore) เชน่ คน ไก่ ลงิ เป็นต้น 3. ผู้ยอ่ ยสลายสารอนิ ทรีย์(decomposer) ไดแ้ ก่ เห็ด รา แบคทีเรยี และจุลินทรียต์ ่างๆ ทสี่ ามารถ ย่อยสลายซากพืช ซากสตั ว์ หรอื สารอินทรยี ์ ให้เปน็ สารอนนิ ทรียพ์ ืชสามารถนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ บทบาทของส่ิงมชี วี ิตในระบบนเิ วศ

การจดั ลาดบั ขนาดของระบบนิเวศ (จากใหญ่ไปหาเลก็ )

ใบงานที่ 1.1 เรือ่ ง ระบบนิเวศจาลอง คาชแ้ี จง : ออกแบบและวาดภาพระบบนิเวศของฟารม์ ไก่จาลองพรอ้ มทง้ั บอกองคป์ ระกอบ ทมี่ ชี ีวิตและไมม่ ชี ีวิต องค์ประกอบท่ไี ม่มีชีวติ องค์ประกอบท่มี ีชีวิต (abiotic component) (biotic component)

ชดุ ท่ี 2 เรือ่ ง ความสัมพันธ์ระหว่างส่งิ มีชีวติ ในระบบนเิ วศ มาตรฐานการเรยี นรู้/ผลการเรยี นรู้ ว 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสมั พันธ์ระหว่างส่ิงไมม่ ีชวี ิตกบั สิ่งมชี วี ิตและความสมั พนั ธ์ระหว่างส่งิ มชี วี ติ กบั สิ่งมชี วี ิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การ ถ่ายทอดพลงั งาน การเปล่ยี นแปลงแทนท่ีในระบบนเิ วศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบท่มี ีตอ่ ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม แนวทางในการ อนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ • อธิบายรูปแบบความสมั พันธร์ ะหว่างสง่ิ มีชวี ติ กบั สิ่งมีชวี ติ รปู แบบต่าง ๆ ใน แหล่งทอ่ี ยเู่ ดยี วกนั ที่ไดจ้ ากการสารวจ













ใบงานที่ 1.2 เรอื่ ง ความสัมพันธ์ระหว่างสง่ิ มชี ีวติ คาชแ้ี จง : ออกแบบและวาดภาพส่ิงมชี ีวิตในบอ่ นา้ กลางแจง้ ที่มลี ูกน้าเป็นจานวนมาก และอธบิ าย รูปแบบความสัมพันธ์ของส่ิงมชี ีวติ คู่ส่งิ มีชีวิต รูปแบบความสัมพนั ธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิต



















ชดุ ท่ี 3 เรือ่ งโซอ่ าหารและสายใยอาหาร มาตรฐานการเรยี นรู้/ผลการเรยี นรู้ ว 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหวา่ งส่งิ ไมม่ ชี ีวิตกับ สง่ิ มีชีวิตและความสมั พันธร์ ะหวา่ งสิง่ มีชีวติ กบั สงิ่ มชี วี ิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การ ถา่ ยทอดพลงั งาน การเปลีย่ นแปลงแทนท่ใี นระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญั หาและผลกระทบทม่ี ีตอ่ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม แนวทางในการ อนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละการแกไ้ ขปญั หาสงิ่ แวดลอ้ ม รวมทัง้ นาความรไู้ ปใช้ ประโยชน์ ผลการเรยี นรู้ • สร้างแบบจาลองในการอธิบายการถ่ายทอดพลงั งานในสายใยอาหาร • อธิบายความสมั พันธ์ของผูผ้ ลติ ผ้บู ริโภค และผยู้ ่อยสลายสารอินทรีย์ในระบบ นิเวศ • อธิบายการสะสมสารพิษในโซอ่ าหาร



หว่ งโซ่อาหารและสายใยอาหาร หว่ งโซ่อาหาร (Food Chain) หมายถงึ ความสมั พันธข์ องสง่ิ มีชีวิตในเรอื่ งของ การกนิ ต่อกนั เป็นทอด ๆ จาก ผู้ผลิตสผู่ ูบ้ ริโภค ทาใหม้ กี ารถา่ ยทอดพลงั งานใน อาหารต่อเนอ่ื งเป็นลาดบั จากการกนิ ตอ่ กัน ตวั อยา่ ง เชน่ จากแผนภาพ จะสงั เกตเหน็ ว่า การกนิ ตอ่ กนั เปน็ ทอด ๆ ในห่วงโซ่อาหารน้ี เรม่ิ ตน้ ท่ี ตน้ ขา้ ว ตามดว้ ยตก๊ั แตนมากินใบของต้นข้าว กบมากินตก๊ั แตน และเหยี่ยว มากินกบ ซง่ึ จากลาดบั ขน้ั ในการกินต่อกนั น้ี สามารถอธิบายได้วา่ ต้นข้าว นบั เป็นผผู้ ลติ ในห่วงโซ่อาหารน้ี เนื่องจากตน้ ขา้ ว เปน็ พืชซงึ่ สามารถ สร้างอาหารไดเ้ องโดยใช้กระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสง ตั๊กแตน นบั เป็นผบู้ ริโภคลาดบั ท่ี 1 เน่ืองจาก ต๊กั แตนเป็นสตั ว์ลาดบั แรกท่ี บริโภคขา้ วซง่ึ เป็นผผู้ ลติ กบ นับเป็นผบู้ ริโภคลาดับที่ 2 เน่อื งจาก กบจับตั๊กแตนกินเปน็ อาหาร หลังจากที่ตกั๊ แตนกินต้นขา้ วไปแล้ว เหยย่ี ว เปน็ ผู้บริโภคลาดับสดุ ท้าย เน่อื งจาก เหยย่ี วจับกบกินเป็นอาหาร และในโซอ่ าหารนี้ไม่มสี ัตว์อ่นื มาจับเหยยี่ วกินอีกทอดหนึ่ง ในการเขยี นโซ่อาหาร ใหเ้ ขียนโดยเริ่มจากผู้ผลิต อยทู่ างดา้ นซ้าย และตาม ดว้ ยผู้บริโภคลาดบั ท่ี 1, ผูบ้ รโิ ภคลาดบั ที่ 2, ผูบ้ ริโภคลาดับที่ 3 ต่อไปเร่อื ย ๆ จนถึง ผู้บริโภคลาดับสุดทา้ ย และเขยี นลูกศรแทนการถ่ายทอดพลงั งานจากส่งิ มีชวี ติ หนง่ึ ไป ยงั อีก ส่ิงมชี ีวติ หน่งึ หรอื เขียนให้หัวลูกศรช้ไี ปทางผู้ล่า และปลายลูกศรหันไปทาง เหย่ือ

สายใยอาหาร (Food Web) หมายถงึ หว่ งโซอ่ าหารหลาย ๆ ห่วงโซ่ ทมี่ คี วามคาบ เกย่ี วหรอื สมั พนั ธก์ นั น่ันคอื ในธรรมชาตกิ ารกนิ ต่อกนั เปน็ ทอด ๆ ในโซอ่ าหาร จะมีความ ซับซ้อนกนั มากข้นึ คอื มีการกินกันอยา่ งไมเ่ ป็นระเบียบ ตวั อย่าง เชน่ สายใยอาหารของระบบนเิ วศนี้สามารถเขียนไดจ้ ากการนาโซอ่ าหารของแต่ละกลมุ่ มาเช่ือมโยง กันเป็นสายใย ดังน้ี โซ่อาหารกลมุ่ ท่ี 1 : แพงกต์ อนพืช  แพลงกต์ อนสัตว์  แซลมอ่ น  ฉลาม  มนษุ ย์ โซอ่ าหารกลุ่มท่ี 2 : กะหลา่ ปลี  หนอน  นกกระจอก  งู  เหย่ยี ว โซอ่ าหารกลุ่มท่ี 3 : ข้าวโพด  หนู  แมว  สุนขั จิ้งจอก  สงิ โต สายใยอาหาร

พรี ะมดิ การถา่ ยทอดพลงั งาน (food pyramid )























ชดุ ท่ี 4 เรื่องสมดลุ ระบบนิเวศ มาตรฐานการเรยี นรู้/ผลการเรียนรู้ ว 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสิ่งไมม่ ีชีวิตกบั สงิ่ มชี วี ิตและความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสง่ิ มีชีวติ กบั สิ่งมีชวี ติ ต่าง ๆ ในระบบนเิ วศ การ ถ่ายทอดพลงั งาน การเปลีย่ นแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญั หาและผลกระทบที่มตี อ่ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม แนวทางในการ อนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติและการแก้ไขปญั หาส่ิงแวดลอ้ ม รวมท้งั นาความรไู้ ปใช้ ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ • ตระหนกั ถงึ ความสมั พนั ธ์ของส่ิงมีชีวติ และสิง่ แวดล้อมในระบบนิเวศโดยไม่ ทาลายสมดลุ ของระบบนิเวศ

วัฏจกั รของสารในระบบนเิ วศ วัฏจกั รของสาร หมายถึง การเปล่ียนแปลงของสารหนึ่งไปเป็นอีกสารหน่ึง โดยการเปลี่ยน จากตาแหน่งหน่ึงไปยังอกี ตาแหนง่ หนงึ่ หรอื เปลีย่ นจากสิ่งมชี ีวิตหน่ึงไปยังสิ่งมชี ีวติ อกี ชนิดหน่ึง แต่ ที่สุดแล้วสารน้ัน ก็จะหมุนเวียนกลับไปยังสภาพเดิมอีกครั้ง วัฏจักรของสารท่ีสาคัญในระบบนิเวศ ไดแ้ ก่ วฏั จักรนา้ วฏั จกั รคาร์บอน และวฏั จักรไนโตรเจน วฏั จักรน้า วฏั จกั รนา้ มขี นั้ ตอนดงั น้ี 1. นา้ จากแหลง่ นา้ ต่างๆ เกิดการระเหยเขา้ สอู่ ากาศ เมอ่ื ไดร้ บั ความรอ้ นจากดวงอาทิตย์ 2. การหายใจของสิง่ มีชีวติ ทาใหเ้ กดิ ไอนา้ เข้าส่อู ากาศ 3. การคายน้าของพชื ทาใหเ้ กดิ ไอน้าเขา้ ส่อู ากาศ 4. ไอน้าเกดิ การควบแน่นกลายเป็นเมฆ จากเมฆรวมตวั กันหยดลงมาเปน็ ฝน กลับสู่พ้นื ผิวโลก

วัฏจกั รคาร์บอน วฏั จักรคารบ์ อน มขี ั้นตอนดังนี้ 1. พืชนาแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศไปใช้ในการสงั เคราะหด์ ้วยแสง คาร์บอนเปลีย่ นมา อยใู่ นรูปสารอาหารจาพวกแปง้ และน้าตาล 2. พืชถกู สัตวก์ นิ เปน็ อาหาร การหายใจของพชื และสตั ว์ทาให้เกิดแก๊สคารบ์ อนไดออกไซดอ์ อกสู่ อากาศ 3. พชื และสตั ว์ที่ตาย เนา่ เปื่อยผพุ งั โดยผู้ย่อยสลายสารอนิ ทรีย์ การหายใจของผูย้ ่อยสลาย สารอินทรยี ์ ทาให้เกดิ แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์เขา้ สู่อากาศ 4. พชื ท่ีทบั ถมกนั เป็นเวลานานๆ กลายเป็นเชอ้ื เพลิงฟอสซิล การเผาไหม้เชื้อเพลงิ ฟอสซลิ ทาให้ เกิดแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ออกสูอ่ ากาศ

วฏั จกั รไนโตรเจน วัฏจกั รไนโตรเจน มีขั้นตอนดังนี้ 1. แบคทเี รียตรงึ ไนโตรเจนดดู แกส๊ ไนโตรเจนจากอากาศ มาเปลย่ี นเป็นสารไนเตรตในดนิ 2. พืชดดู สารประกอบไนโตรเจนในดินไปสรา้ งเป็นโปรตีน 3. สตั วก์ ินพชื ไดร้ ับโปรตนี จากพืช 4. พืชและสัตวท์ ่ตี าย เกิดการเนา่ เปื่อยผุพังโดยผ้ยู อ่ ยสลายสารอนิ ทรีย์ เกิดสารประกอบ แอมโมเนียม 5. สารประกอบแอมโมเนยี มเปลีย่ นเป็นสารไนเตรตในดินจากการกระทาของแบคทีเรยี (nitrifying bacteria) 6. สารไนเตรตในดนิ ถกู แบคทีเรีย (denitrifying bacteria) เปล่ียนเป็นแก๊สไนโตรเจนใน อากาศ

วฏั จกั รฟอสฟอรัส วฏั จักรฟอสฟอรัส (phosphorus cycle) การเปลีย่ นแปลงสภาพของธาตฟุ อสฟอรสั และสารประกอบฟอสฟอรสั ตามสภาพแวดลอ้ มทแ่ี ปรเปลี่ยน ด้วยกระบวนการทางเคมี และการยอ่ ยสลายของจุลนิ ทรีย์ ทัง้ ในหนิ ดิน น้า และสง่ิ มชี ีวิต ตามธรรมชาติ จากระบบหนง่ึ ไปสูร่ ะบบหนึง่ หมนุ เวียนเปน็ วัฏจักร ฟอสเฟตในหิน คือหนิ ท่ีมีองค์ประกอบของสารประกอบแคลเซียมฟอสเฟต หรือ ที่เรยี กวา่ แร่ฟอสฟอไรท์ (Phosphorites) [(Ca3PO4)2] เป็นหลัก ซง่ึ ฟอสเฟตมกั พบในรปู Ca5[(PO4)3(F)] หรอื แร่อะพาไทต์ (Apatite) หนิ ฟอสเฟตเปน็ แหลง่ วัตถดุ บิ หลกั ใช้ผลิตปุย๋ ฟอสเฟตสาหรับใชใ้ นแปลงเกษตร ซงึ่ อาจใช้ในรปู ของหิน ฟอสเฟตทยี่ งั ไมไ่ ด้ผา่ นกระบวนการปรบั ปรุงแร่ ซึ่งปุ๋ยฟอสเฟตประเภทนจี้ ะมฟี อสฟอรัสทพ่ี ืชนาไปใช้ ประโยชนไ์ ด้นอ้ ย เน่อื งจากยังอยู่ในรปู ของสินแร่ แตม่ ีราคาถูกกวา่ ปุย๋ ฟอสฟอรสั แบบปรบั ปรุงแร่ และจะ ให้ฟอสฟอรสั ออกมาอย่างตอ่ เนอื่ งในอนาคตจากการผกุ ร่อน และการยอ่ ยสลายจากจุลินทรยี ์ ส่วนป๋ยุ ฟอสเฟตอกี ประเภทจะเป็นหนิ ฟอสเฟตทผ่ี า่ นกระบวนการปรบั ปรงุ แร่เพ่อื ใหป้ ลดปล่อยฟอสฟอรัส ออกมามากทส่ี ุด เช่น การย่อยดว้ ยกรด และการให้ความรอ้ น เปน็ ต้น ซง่ึ จะไดป้ รมิ าณฟอสฟอรสั ท่ีพืช นาไปใช้ประโยชนไ์ ด้มากกว่าปยุ๋ ฟอสฟอรัสประเภทแรก แต่มขี อ้ เสีย คือ มีราคาสูง และใหฟ้ อสฟอรสั ในชว่ งระยะสัน้ รวมถงึ อาจเกิดการชะล้างซึมลงดนิ หรือละลายในนา้ มากข้นึ ฟอสฟอรัสในดนิ สารประกอบฟอสฟอรสั ในดนิ แบ่งเป็น 3 แหล่ง คอื • สารประกอบฟอสฟอรสั ที่มาจากการแตกสลายหรอื การผุกร่อน และการยอ่ ยสลายโดยจุลนิ ทรีย์ของหิน ตามธรรมชาติ • สารประกอบฟอสฟอรสั ท่ีมาจากการย่อยสลายของซากพืช และซากสตั วต์ ามธรรมชาติ • สารประกอบฟอสฟอรสั ทีม่ าจากการใส่ปยุ๋ ฟอสเฟตโดยมนษุ ย์ ฟอสฟอรัสในดนิ จะถกู พืชดดู ซมึ เข้าไปใช้สาหรับสรา้ งการเจรญิ เติบโต และพบเป็นองค์ประกอบสาคญั ของ เนือ้ เยื่อในพืช และต่อเนอื่ งสู่รา่ งกายสตั ว์ เชน่ กรดนิวคลีอิก ฟอสโฟลปิ ดิ และนา้ ตาล เป็นตน้ บางสว่ นจะ ถกู ชะละลายในน้า ไหลลงสแู่ หลง่ นา้ กลายเป็นสารประกอบฟอสเฟตในนา้ ต่อไป

ความสมดลุ ในระบบนิเวศ สมดลุ ทางธรรมชาติ เป็นภาวะการณท์ างธรรมชาตขิ องระบบนิเวศใดก็ตามท่ีระบบความสัมพนั ธ์ ระหวา่ งองค์ประกอบเปน็ ไปอย่างสมบรู ณ์ หมายความวา่ บรรดาส่งิ มชี ีวติ ทง้ั หลาย ในระบบนเิ วศจะต้องทา หน้าทคี่ รบถ้วน 3 กล่มุ คือ มีผผู้ ลิต ผู้บรโิ ภค และผ้ยู ่อยสลาย ในส่วนของสงิ่ ไม่มชี ีวิตเองกท็ าหนา้ ทสี่ นับสนุน อย่างตอ่ เนอ่ื งไมข่ าดหาย ความสมดุลทางธรรมชาติมีความแตกตา่ งกันไปตามความแตกตา่ งของระบบนิเวศ ซงึ่ ในทางธรรมชาติระบบนิเวศจะมีการเปลยี่ นแปลงอยู่ตลอดเวลา การเปล่ยี นแปลงนอี้ าจเป็นไปโดยธรรมชาติ หรอื มนษุ ย์ก็ได้ ลกั ษณ์การเปล่ยี นแปลงเป็นไปได้ 2 แบบ แบบกะทันหัน และแบบคอ่ ยเป็นคอ่ ยไป ซ่ึงการ เปลยี่ นแปลงระบบนเิ วศโดยธรรมชาตแิ บบกะทันหันทาให้ระบบนเิ วศเสยี สมดลุ และมผี ลกระทบตอ่ สงิ่ มชี วี ิต ทาให้ตายหรอื สญู พนั ธ์ เช่น การเกดิ ไฟไหม้ปา่ อุทกภยั การเกดิ โรคระบาด ฯลฯ สาหรับการเปลยี่ นแปลงแบ แบบคอ่ ยเป็นคอ่ ยไปตามธรรมชาติ เปน็ การเปลยี่ นแปลงอย่างชา้ ๆ ก่อให้เกดิ อนั ตรายตอ่ มนุษย์และ ส่งิ แวดลอ้ มนอ้ ยมาก แต่เมอ่ื ระยะเวลานานเขา้ การเปลี่ยนแปลงจะมากขึน้ จะเกิดผลกระทบต่อส่งิ มีชวี ติ อยา่ ง เดน่ ชดั ข้นึ เช่น ทงุ่ นา หรอื ไรร่ ้าง จะมกี ารเปล่ยี นแปลงเป็นทงุ่ หญ้า และพืชพวกไมพ้ ุ่มในเวลาตอ่ มา จนใน ทส่ี ุดหากไมม่ สี ง่ิ แวดล้อมภายนอกมารบกวน กจ็ ะกลายเป็นปา่ ท่สี มบูรณ์ได้ ดงั น้ันสิง่ มีชีวิตสามารถปรับตัวให้ เข้ากบั สงิ่ แวดลอ้ มที่เปลย่ี นแปลงได้ การสูญเสยี ความสมดุลในระบบนเิ วศอาจเกดิ ขน้ึ จากธรรมชาติ หรอื มนุษยท์ าให้องคป์ ระกอบของระบบนเิ วศ ถูกเปล่ียนแปลงไป หากเกดิ โดยธรรมชาติ ระบบนเิ วศนเิ วศจะช่วยแก้ไขด้วยตนเอง แตถ่ า้ เกิดจากมนุษยจ์ ะ แกไ้ ขไดยากมาก เม่อื มนษุ ยเ์ พิม่ จานวนมากขึน้ มกี ารพัฒนาวิถชี ีวิตมากขน้ึ ดว้ ยเทคโนโลยี ทาให้ความเป็นอยู่ สุขสบายมากข้ึน มนุษยจ์ ึงได้ชือ่ ว่า เปน็ เปน็ ตัวการทาลายระบบนิเวศมากท่ีสดุ ภาวะสมดลุ ในระบบนเิ วศ เกยี่ วขอ้ งกบั เงอ่ื นไขสาคัญดังนี้ 1. โครงสร้างและสว่ นประกอบต่าง ๆ ภายในระบบตอ้ งอยูใ่ นระดับที่เหมาะสมท้ังชนิดปริมาณสดั ส่วนและการ กระจายตัวสว่ นประกอบ ดังนี้ 1.1 ชนดิ ของส่วนประกอบต่าง ๆ ถ้าระบบนเิ วศใดมชี นิดพชื สตั วม์ ากทาให้ระบบมีระดับความหลายหลาย ทางชวี ภาพสงู และมีเสถียรภาพมาก 1.2 ปริมาณและสัดส่วนประกอบตา่ ง ๆ ที่เป็นสิ่งมชี ีวิตแต่ละชนดิ จะตอ้ งอยู่ในระดบั ทเ่ี หมาะสมตามโครงสร้าง ระดับการถ่ายทอดอาหารภายในระบบ เชน่ จานวนทเ่ี หมาะสมระหว่างสตั วท์ กี่ นิ เน้ือกับสตั วท์ ก่ี นิ พืช 1.3 การกระจายตัวของส่วนประกอบตา่ ง ๆ ภายในระบบนเิ วศต้องเหมาะสมกับสมรรถนะการรองรับได้ของ ระบบ เชน่ ไมอ่ ยหู่ นาแน่นเกินไป 2. กลไกการทางานของระบบท่ีคอยปรับโครงสรา้ งและสว่ นประกอบต้องทาหนา้ ท่ีได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ เช่น กลไกความสัมพันธร์ ะหว่างสัตวผ์ ถู้ ูกล่า ช่วยควบคมุ จานวนประชากรสตั ว์ในธรรมชาตใิ ห้มจี านวนทเ่ี หมาะสม

การเสยี สมดุลของระบบนเิ วศ สง่ิ ทแ่ี สดงให้เห็นถงึ สภาพการเสียสมดุลของระบบนเิ วศ 1.การเพิ่มประชากร ทาให้ความตอ้ งการใช้ท่ดี ินทาการเกษตรมากขนึ้ โดยเฉพาะเขตร้อน ประชากรจะ บุกเบกิ ปา่ ใหม่ ๆ เพ่ือใชพ้ น้ื ทีท่ าไรเ่ ลอื่ นลอยทาให้ดิน ป่าไม้ สภาวะแวดลอ้ มเสียหายปีละจานวนมาก 2. การเกษตรสมัยใหม่ การเกษตรในปัจจบุ นั มงุ่ เพ่อื การค้ามากขึ้น มีการใชป้ ยุ๋ และยาฆ่าแมลงจานวน มาก สารเหล่านจี้ ะตกคา้ งในดนิ และอาจถูกชะล้างลงส่แู หลง่ น้า ทาให้มผี ลตอ่ ชีวติ สัตว์ในดนิ และในนา้ 3. การขยายตวั ของเมือง การเพมิ่ ประชากรทาให้ความตอ้ งการท่ีอยู่อาศยั เพม่ิ ข้ึน เมอื งขยายตัวอย่าง รวดเรว็ ทาให้พืน้ ท่ีการเกษตรถกู ใช้ไปเพือ่ สร้างตกึ ศนู ย์การคา้ ถนน ระบบนิเวศเปล่ยี นไป การ ถ่ายเทของเสียจากเมอื ง กอ่ ใหเ้ กิดมลพษิ ของน้าและอากาศ 4. การอตุ สาหกรรม การพฒั นาอุตสาหกรรมทาให้ทรพั ยากรถกู ใชเ้ ปน็ วตั ถุดิบมากยิ่งขนึ้ กระบวนการผลิต ทาให้มขี องเสีย เชน่ นา้ เสีย ไอเสีย ซ่งึ ส่งผลกระทบต่อการเปลยี่ นแปลงระบบนเิ วศ ในบริเวณทโี่ รงงานอุตสาหกรรม ตง้ั อยแู่ ละบริเวณใกล้เคียง การกระทาของมนษุ ย์ท่ีทาให้ระบบนเิ วศเสียสมดลุ – การบกุ รุกทาลายป่า – การทาลายพนั ธ์พุ ชื สตั ว์หายาก และการเคลื่อนย้ายพืช สตั ว์ตา่ งถ่ิน – การก่อสร้างสาธารณปู โภค ส่งิ อานวยความสะดวก – การผลติ ทางการเกษตร การใช้สารเคมีทางการเกษตร – การขยายตวั เมือง – การอตุ สาหกรรม ซงึ่ ใช้ทรัพยากรมากและกระบวนการทาให้เกิดมลพษิ การรกั ษาความสมดลุ ของระบบนเิ วศ 1. ควบคุม/กาจดั สิ่งท่กี อ่ ให้เกิดอนั ตรายต่อระบบนิเวศ เช่น – ควบคุม ป้องกัน และแกไ้ ขปญั หามลพิษสง่ิ แวดล้อม – ปอ้ งกันการทาลายทรัพยากรธรรมชาติ 2. ใชห้ ลกั การอนรุ กั ษ์และพฒั นาอย่างยงั่ ยืน เชน่ – การทาการเกษตรย่งั ยนื เชน่ วนเกษตร เกษตรผสมผสาน – การพฒั นาทอ้ งถ่นิ แบบยงั่ ยืน เช่น หลีกเล่ียงการก่อสรา้ งท่ที าลายป่าไมแ้ ละสตั วป์ า่ – การทอ่ งเทยี่ วเชิงอนุรกั ษ์ – การจดั ภมู ิศาสตร์เชิงอนุรกั ษ์เช่น การทาสวนหยอ่ ม สวนสาธารณะ – การอุตสาหกรรมเชงิ อนุรักษ์ เช่น มรี ะบบปอ้ งกนั ก๊าซพิษ ระบบบาบัดน้าเสีย 3. ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างประหยดั และเกิดประโยชนส์ งู สุด 4. สร้างจติ สานกึ ในการอนุรกั ษร์ ะบบนิเวศให้กับประชาชน เช่น ให้ความรู้ รณรงค์ เขา้ ค่าย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook