Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดการเรียนรู้แบบวรรณี

การจัดการเรียนรู้แบบวรรณี

Published by Suruetai Chai, 2022-01-06 04:18:47

Description: การจัดการเรียนรู้แบบวรรณี

Search

Read the Text Version

การจดั การเรยี นรู้ แบบวรรณี Wannee teaching model อาจารยผ์ สู้ อน อาจารย์ชวนพศิ รกั ษาพวก

คานา หนงั สอื เล่มนจี้ ัดทำขึน้ เพอ่ื เปน็ สว่ นหนง่ึ ของรำยวิชำ นวตั กรรมหลกั สูตรและกำรสอนสมัยใหม่ รหสั วิชำ 5002603 เพ่อื ให้ไดศ้ กึ ษำหำควำมรู้ในเรือ่ ง กำรเรียนกำรสอนแบบวรรณี และได้ศกึ ษำอย่ำงเขำ้ ใจเพือ่ เป็นประโยชนต์ ่อกำรเรยี นรู้ คณะผจู้ ดั ทำขอขอบพระคุณอำจำรย์ ชวนพิศ รักษำพวก ทีค่ อยใหค้ ำแนะนำในกำรจดั กำรทำหนงั สอื เลม่ น้ี จนสำเร็จไปได้ดว้ ยดี คณะผ้จู ดั ทำหวงั เปน็ อยำ่ งย่ิงว่ำหนงั สอื เล่มนจี้ ะเปน็ ประโยชน์ตอ่ ผู้อำ่ นหรอื นักเรยี น นักศึกษำ ผู้ทส่ี นใจทจี่ ะศกึ ษำ หรือกำลงั หำข้อมูลในเรอ่ื งของกำรเรียนกำรสอนแบบวรรณอี ยู่ หำกมขี อ้ แนะนำหรือขอ้ ผิดพลำดประกำรใด คณะผจู้ ัดทำขอ นอ้ มรับไวแ้ ละขออภัยมำ ณ ที่นีด้ ้วย 1. คณะผู้จดั ทำ

สารบญั เรือ่ ง หนา้ คำนำ ก สำรบัญ ข ควำมเป็นมำกำรจดั กำรเรยี นรู้แบบวรรณี 1 ควำมหมำยกำรจดั กำรเรียนรูแ้ บบวรรณี 2 คุณลกั ษณะกำรจัดกำรเรยี นรู้แบบวรรณี 3 วัตถปุ ระสงคก์ ำรจัดกำรเรียนรแู้ บบวรรณี 6 องค์ประกอบสำคญั กำรจัดกำรเรียนรแู้ บบวรรณี 8 ขั้นตอนกำรจัดกำรเรยี นรแู้ บบวรรณี 9 ทฤษฎกี ำรจัดกำรเรียนรู้แบบวรรณี 12 ขอ้ ดีกำรจดั กำรเรยี นรูแ้ บบวรรณี 16 ขอ้ จำกดั กำรจดั กำรเรียนรูแ้ บบวรรณี 18 ตวั อย่ำงแผนกำรจัดกำรเรยี นรู้แบบวรรณี 19 สื่อกำรเรยี นรู้กำรจดั กำรเรยี นรแู้ บบวรรณี 26 บรรณำนกุ รม 31

ความเปน็ มาการจดั การเรียนรู้แบบวรรณี รองศำสตรำจำรยว์ รรณี โสมประยูร แห่งคณะ ศึกษำศำสตร์ มหำวิทยำลัยศรีนครินทรวิโรฒเปน็ ผูค้ ิดสรำ้ ง วิธีสอนหรือรูปแบบกำรสอนคณิตศำสตร์ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษำขน้ึ ไป โดยมีเปำ้ หมำยหลกั ทีส่ ำคัญเพอ่ื ใชใ้ น กำรแกไ้ ขปัญหำและพฒั นำกำรเรยี นคณติ ศำสตรส์ ำหรับ เดก็ ไทยในระดับประถมศึกษำโดยเฉพำะ ซง่ึ ได้ทดลองและ ปรบั ปรุงแก้ไขแล้วจงึ เริม่ แพร่หลำยอยำ่ งเป็นทำงกำรตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2524 เรอ่ื ยมำจนถงึ ปัจจบุ นั ซง่ึ นับเปน็ ประวัตศิ ำสตร์ กำรศึกษำของชนชำตไิ ทยท่ีไดม้ ีครไู ทยสร้ำงสรรค์รปู แบบ กำรสอนข้นึ ใช้เดก็ ใช้สอนเดก็ ไทยเปน็ ผลสำเร็จถอื ว่ำเป็น นวตั กรรมภูมิปัญญำ ท่เี ป็นของคนไทย โดยครไู ทยและเพือ่ เดก็ ไทยโดยเฉพำะ สมควรไดร้ ับกำรยกย่องจำกวงกำรศกึ ษำ ไทยเป็นอยำ่ งยงิ่

ความหมายการจดั การเรยี นรแู้ บบวรรณี กำรจัดกำรเรยี นรูแ้ บบวรรณี เป็นกำรจดั กระบวนกำร เรียนรู้หรอื วิธีสอนรูปแบบหนึ่งที่รองศำสตรำจำรย์วรรณี โสมประยรู ได้คน้ ควำ้ ทดลองและสร้ำงรูปแบบกำรสอน คณิตศำสตร์ระดบั ประถมศกึ ษำขึ้นไป สง่ิ น้ันกค็ อื กำรจัดกำร เรียนรู้แบบวรรณี ซึ่งไดท้ ดลองและปรับปรุงแก้ไขแลว้ จึงเรม่ิ แพร่หลำยอย่ำงเปน็ ทำงกำรตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2524 เรือ่ ยมำจนถึง ปัจจบุ ัน

คุณลักษณะการจดั การเรียนรู้แบบวรรณี เปน็ รูปแบบกำรสอนคณติ ศำสตรท์ ่ปี ระกอบดว้ ย กระบวนกำรสอนแบบขนั้ ตอนซง่ึ สัมพนั ธแ์ ละเชอ่ื มโยง กนั อย่ำงต่อเนอ่ื งเป็นระบบ แต่ผู้สอนก็สำมำรถยดื หยุน่ หรอื ปรับเปล่ียนได้ ข้นั ตอนเหล่ำนเี้ ขำ้ ใจงำ่ ยไม่ซับซอ้ น หรอื ยุง่ ยำกและสำมำรถใชว้ ธิ ีสอนหรือกิจกรรมตำ่ งๆ ได้อย่ำงหลำกหลำย ในรูปแบบกำรสอนมีขน้ั นำและขนั้ ทบทวนแยกออกจำก กนั เพื่อช่วยส่งเสริมและสนบั สนนุ ให้ขัน้ สอนสำมำรถ ดำเนนิ ไปไดอ้ ยำ่ งมปี ระสทิ ธภิ ำพสงู

คุณลกั ษณะการจัดการเรียนรู้แบบวรรณี ทุกขน้ั ตอนในรปู แบบกำรสอน เน้นให้ผเู้ รียนเป็น ศูนย์กลำงและมีอสิ ระในกำรคดิ กำรแสดงออกและกำร ปฏิบัติเพือ่ สร้ำงเสรมิ ควำมคิดสรำ้ งสรรคท์ สี่ ำมำรถ นำไปใชใ้ นกำรแก้ไขปัญหำต่ำงๆ และสร้ำงองคค์ วำมรู้ ใหม่ รวมท้งั ให้ผู้เรยี นมีโอกำสฝกึ ทักษะทำงคณติ ศำสตร์ ไดอ้ ยำ่ งเต็มที่ ช่วยเพิม่ บรรยำกำศสนุ ทรกี ำรสอนคณิตศำสตร์ใหม้ ี ชวี ิตชีวำนำ่ สนใจ และสนุกสนำน ซึ่งทำใหท้ ำงผู้สอน และผู้เรียนไดเ้ รียนรูร้ ว่ มกันอยำ่ งมคี วำมสุข เพรำะถือว่ำ ควำมน่ำเบ่ือ และควำมเคร่งเครียดน้ันเป็นอปุ สรรคที่ สำคัญต่อกำรเรียนรู้

คณุ ลักษณะการจดั การเรียนรแู้ บบวรรณี เนน้ วัตถุประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมทุกๆด้ำน ในด้ำน ลักษณะขององค์รวมผลกำรเรียนร้ทู ่ีได้รบั จำกกำรนำ รูปแบบกำรสอนไปใช้ จงึ อย่ใู นเกณฑ์สงู อย่ำงนำ่ พอใจ เสมอ มุง่ เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ กำรเรยี นรทู้ ุกด้ำน ในลกั ษณะ ผสมผสำนหรือบรู ณำกำรเป็นหลัก

วัตถุประสงคก์ ารจดั การเรียนรูแ้ บบวรรณี เพือ่ ให้ผู้เรียนได้มโี อกำสคดิ คน้ และค้นพบองคค์ วำมรู้ และสรำ้ งมโนมตไิ ดจ้ ำกประสบกำรณ์ของตนเองและ สำมำรถนำส่ิงทคี่ ้นพบไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชนใ์ น ชีวติ ประจำวนั ไดอ้ ยำ่ งแท้จรงิ เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นไดเ้ รียนร้แู บบมสี ่วนรว่ มโดยกำรให้ ผู้เรียนเปน็ ศูนย์กลำงและให้แสดงพฤตกิ รรมหรือทำ กจิ กรรมตำ่ งๆ ด้วยตนเองมำกทสี่ ุด พร้อมทงั้ เนน้ กำร เรยี นรดู้ ้วยกำรกระทำประกอบสื่อกำรสอนที่มี ประสิทธภิ ำพ

วัตถปุ ระสงค์การจัดการเรยี นรู้แบบวรรณี เพือ่ ให้ผเู้ รียนร้จู กั กำรเรยี นและทำงำนอยำ่ งมรี ะเบยี บ และเป็นระบบอันจะส่งผลช่วยให้ยกระดับศักยภำพ ในกำรเรยี นรหู้ รือมกี ำรเปลีย่ นแปลงด้วยกรรมไดอ้ ย่ำง สมบรู ณท์ ุกๆด้ำนโดยเฉพำะอยำ่ งย่งิ ในด้ำนแรงจูงใจ ใฝ่สมั ฤทธิค์ วำมคดิ สร้ำงสรรค์ รวมทงั้ ให้เรยี นวชิ ำ คณติ ศำสตร์ดว้ ยควำมสขุ และรักวชิ ำคณิตศำสตร์ มำกขน้ึ เพื่อช่วยยกระดับผลสัมฤทธท์ิ ำงกำรศึกษำในวชิ ำ คณติ ศำสตรร์ ะดับประถมศึกษำ ซึ่งกำลังเป็นปญั หำของ ผูเ้ รยี นตำมโรงเรยี นท่วั ไปท้ังในส่วนกลำงและสว่ น ภูมิภำค รวมทงั้ เพอ่ื ชว่ ยยกระดบั ควำมคงทนในกำร เรียนรู้ควบคกู่ นั ไปด้วย

องคป์ ระกอบสาคญั การจดั การเรยี นร้แู บบวรรณี บทเรียนหรือเนื้อหำใหม่ กจิ กรรมประกอบด้วย กิจกรรมรบั ควำมสนใจ กิจกรรมสร้ำงควำมเข้ำใจ กจิ กรรมเสรมิ ควำมเขำ้ ใจ กิจกรรมสรปุ ควำมเขำ้ ใจ แบบฝึกทกั ษะ ผลกำรเรยี นรูข้ องผู้เรยี น

ข้ันตอนการจัดการเรยี นรู้แบบวรรณี ขั้นนา เพื่อเร้ำควำมสนใจ ต้งั สมำธิ และทบทวนควำมรเู้ ดิมโดย ใชข้ องจริง ของจำลอง รูปภำพ นิทำน ปัญหำ หรอื สถำนกำรณ์ ฯลฯ ขั้นสอน เพื่อให้เกดิ มโนคติ (Concept) และเจตคติ สอนให้เข้ำใจโดยทำตำมกระบวนกำร ดงั น้ี ใช้ของจรงิ หรือของจำลอง ใชภ้ ำพแทนของจรงิ ใช้สญั ลกั ษณแ์ ทนภำพ

ขน้ั ตอนการจัดการเรียนรแู้ บบวรรณี เสรมิ ควำมเขำ้ ใจ โดยใช้ภำพแล้วใหน้ ักเรยี น ถ่ำยโยงเปน็ สญั ลกั ษณ์ หลังจำกนั้นครูกำหนดสัญลกั ษณ์ ให้นักเรยี นถ่ำยโยงกลบี เปน็ ภำพอกี สรำ้ งเจตคตโิ ดยจดั กจิ กรรม และสถำนกำรณ์ ให้ผเู้ รยี นเหน็ ประโยชน์และควำมสำคัญและคณุ ค่ำของ สง่ิ ทเี่ รียน ขัน้ สรปุ สรุปเป็นควำมคิดรวบยอด หลักกำร วธิ แี ก้ประโยค สญั ลกั ษณ์ วธิ ีลัด ขอ้ ควรสงั เกต สูตรและกฎ ขนั้ ฝึกทักษะ ฝกึ ทำแบบฝกึ ทกั ษะจำกแผนภูมิ บัตรงำน แบบเรยี น

ข้นั ตอนการจดั การเรียนรแู้ บบวรรณี ขั้นนาไปใช้ ฝกึ ให้แกโ้ จทยป์ ัญหำในสถำนกำรณ์ต่ำง ๆ ท่ีพบใน ชวี ิตประจำวัน ขัน้ ประเมนิ ผล สำมำรถกระทำไดด้ ังนี้ สังเกตกำรตอบคำถำมทกุ ข้ันตอนของกจิ กรรม สงั เกตกำรปฏิบัตกิ จิ กรรม เช่น ควำมสนใจ ควำมตง้ั ใจ กำรเข้ำรว่ มกิจกรรม เป็นต้น ตรวจผลงำน ทดสอบย่อยและทดสอบรวม

ทฤษฎีการจดั การเรยี นรู้แบบวรรณี ทฤษฎเี ชอื่ มโยงจิตสานกึ (Apperception) ของแฮร์บำรด์ (Herbert) เน้นกำรรบั รู้ เร้ำควำมสนใจ และสร้ำงควำมพงึ พอใจใหแ้ ก่ผู้เรียนก่อนด้วยกจิ กรรม ส่ือกำรเรียนกำรสอนหรอื สถำนกำรณ์ต่ำง ๆ เป็น กระบวนกำรเชอื่ มต่อควำมคิดใหมเ่ ขำ้ ไปในควำมคิดท่ี เกบ็ สะสมไว้ ทฤษฎีเชือ่ มโยงสถานการณ์จากสงิ่ เรา้ และสงิ่ ตอบสนอง (Connectionism) ของธอร์นไดท์ (Thorndike) เปน็ กำรเชอื่ มโยงสง่ิ เร้ำ กับกำรตอบสนองของผูเ้ รยี นในแตล่ ะขัน้ อย่ำงตอ่ เนอ่ื ง โดยอำศัยกฎกำรเรยี นรู้ 3 กฎ ดังน้ี

ทฤษฎีการจดั การเรียนร้แู บบวรรณี กฎของการฝึกหดั หรอื การกระทาซ้า (The Law of Exercise or Repetition) กลำ่ วคอื ยิง่ มีกำร ตอบสนองสงิ่ เร้ำมำกและบอ่ ยคร้งั เทำ่ ใด สิ่งน้ันย่อม จะอยคู่ งนำนเท่ำน้ัน แต่หำกไม่ไดป้ ฏบิ ตั ิจะทำให้ลมื ไป ในท่ีสดุ กฎแห่งผล (Law of Effect) หรือเรียกวำ่ หลกั ของควำมพึงพอใจและควำมเจ็บปวด กำร ตอบสนองจะดขี ึ้น หำกเกดิ ควำมพึงพอใจตำมมำ และ จะออ่ นลงหำกเกิดควำมไม่พอใจ กฎแห่งความพรอ้ ม (Law of Readiness) เมือ่ กระแสประสำทมีควำมพรอ้ มท่จี ะกระทำและได้ กระทำเช่นนัน้ จะก่อให้เกิดควำมพงึ พอใจ แตถ่ ำ้ ยงั ไม่ พรอ้ มและตอ้ งกระทำยอ่ มทำใหเ้ กดิ ควำมรำคำญ

ทฤษฎกี ารจดั การเรยี นรู้แบบวรรณี ทฤษฎเี สริมแรง (Operant Conditioning) ของสกินเนอร์ (Skinner) เนน้ กำรแบ่งจดุ ประสงคข์ อง กำรเรยี นรู้ออกเป็นสว่ นยอ่ ย ๆ ซ่ึงแต่ละสว่ นจะถูก เสริมแรงเป็นส่วน ๆ ไป และต้องกำหนดจังหวะเวลำใน กำรเสรมิ แรงให้เหมำะสม ทฤษฎฝี ึกสมอง (Mental Discipline) ของเพลโต (Plato) เน้นกำรพฒั นำสมอง โดยสอนให้ เขำ้ ใจและฝึกฝนมำก ๆ จนเกดิ เปน็ ทักษะ และควำม คงทนในกำรเรียนรู้ หลงั จำกน้นั ก็สำมำรถถำ่ ยโยงไป ใชไ้ ด้โดยอัตโนมตั ิ

ทฤษฎกี ารจดั การเรียนรแู้ บบวรรณี ทฤษฎีการสรปุ (Generalization) ของจดู ด์ (Judd) เนน้ กำรสรปุ เร่อื งจำกประสบกำรณ์ ที่ได้รบั ทฤษฎีการหยง่ั เห็น (Insight) ของกลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt) ท่ีเช่ือวำ่ กำรเรยี นรู้ ส่วนรวมหรือภำพรวมทั้งหมดมคี วำมสำคัญมำกกวำ่ สว่ นยอ่ ยรวมกนั โดยเน้นเรื่องกำรรบั รู้และเชื่อมโยง ประสบกำรณ์เก่ำเขำ้ กับประสบกำรณใ์ หม่

ข้อดกี ารจัดการเรียนรู้แบบวรรณี ผูส้ อนสำมำรถเรยี นรู้เขำ้ ใจงำ่ ย ปฏิบัตติ ำมเง่ือนไขได้ สะดวก ไม่ยุ่งยำกและสลับซับซอ้ น เปน็ วิธสี อนทสี่ ำมำรถให้ผลกำรเรยี นรูถ้ งึ 5 ด้ำน ในระดับสูง ได้แก่ ผลสัมฤทธทิ์ ำงกำรเรียน ควำมคงทนในกำรเรียนรู้ ควำมคดิ สร้ำงสรรค์ เจตคติ แรงจงู ใจใฝส่ มั ฤทธ์ิ

ขอ้ ดกี ารจดั การเรยี นรูแ้ บบวรรณี เหมำะสำหรับกำรสอนวชิ ำคณิตศำสตร์และเป็น วธิ กี ำรสอนท่แี ปลกใหม่ นำ่ สนใจ ผู้เรยี นเรยี นรู้อยำ่ งมีควำมสุข สนกุ สนำน เพลิดเพลนิ ได้มโี อกำสลงมอื ปฏิบตั ิและคน้ พบควำมรูต้ ลอดจน กำรสรำ้ งองคค์ วำมรู้ในวชิ ำอื่นๆ

ขอ้ จากัดการจัดการเรยี นรู้แบบวรรณี มขี ้นั ตอนกำรสอนค่อนข้ำงมำก ดงั นน้ั ผู้สอนจำเปน็ จะต้องศึกษำเรียนรูใ้ หเ้ ขำ้ ใจจงึ จะนำไปใช้ได้ผลดี กำรจดั กิจกรรมกำรเรียนรคู้ อ่ นขำ้ งใชเ้ วลำมำก ผสู้ อนจะตอ้ งมีเทคนิคกำรสอนท่หี ลำกหลำยที่จะ นำมำใชป้ ระกอบ เช่น กำรใชเ้ พลงประกอบทำ่ ทำง เกม นิทำน สถำนกำรณ์ จงึ จะทำกำรเรียนกำรสอน ไดผ้ ลดี

ตวั อยา่ งแผนการจดั การเรยี นรู้แบบวรรณี

ตวั อยา่ งแผนการจดั การเรยี นรู้แบบวรรณี

ตวั อยา่ งแผนการจดั การเรยี นรู้แบบวรรณี

ตวั อยา่ งแผนการจดั การเรยี นรู้แบบวรรณี

ตวั อยา่ งแผนการจดั การเรยี นรู้แบบวรรณี

ตวั อยา่ งแผนการจดั การเรยี นรู้แบบวรรณี

ตวั อยา่ งแผนการจดั การเรยี นรู้แบบวรรณี

ส่อื การเรยี นรกู้ ารจดั การเรยี นรูแ้ บบวรรณี นาฬกิ าจาลอง

ส่อื การเรยี นรู้การจดั การเรียนรู้แบบวรรณี บตั รภาพ

ส่อื การเรยี นรู้การจดั การเรียนรู้แบบวรรณี บตั รภาพ

ส่อื การเรยี นรู้การจดั การเรียนรู้แบบวรรณี บตั รภาพ

ส่อื การเรยี นร้กู ารจดั การเรยี นรู้แบบวรรณี แบบฝึกทกั ษะ

บรรณานกุ รม วิทย์ มูลคำ, อรทัย มูลคำ, วิธกี ำรจดั กำรเรียนรู้, 21 วธิ กี ำรจัดกำรเรียนรู้: เพอื่ พัฒนำควำมรูแ้ ละทักษะ, พมิ พค์ รัง้ ท่ี 3 (กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์กำรพมิ พ,์ 2545), สบื คน้ เม่ือ 14 ธนั วำคม 2564 จำก https://www.slideshare.net/OrapanJantong/s s-53629430 วงเดอื น อภิชำติ, กำรเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทำงกำร เรยี น ควำมคงทนในกำรเรยี นรวู้ ชิ ำคณิตศำสตร์ เรอื่ งจำนวน ของนักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษำปีที่ 1 โดยวิธกี ำรสอนของสสวท. กับวธิ ีกำรสอนแบบวรรณี (วิทยำนิพนธป์ ริญญำกำรศึกษำมหำบัณฑติ คณะ ศึกษำศำสตร์ มหำวิทยำลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ, 2532), หน้ำ 22-25, สืบคน้ เมอ่ื 14 ธนั วำคม 2564 จำก http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Ele_Ed/Wo ngduan_A. pdf

บรรณานุกรม Thanakrit K., กำรจัดกำรเรยี นร้แู บบคน้ พบ กำร จัดกำรเรยี นร้แู บบพยำกรณ์ กำรจดั กำรเรียนร้แู บบวี กำรจัดกำรเรียนร้แู บบวรรณี, สืบค้นเม่ือ 15 ธนั วำคม 2564 จำก https://rewsung.wordpress.com/tag

เสนอ อำจำรยช์ วนพิศ รกั ษำพวก รายวิชา นวัตกรรมหลักสตู รและกำรสอนสมยั ใหม่ ผจู้ ดั ทา 1. นำงสำวศฤุ ทัย ไชยศรที ำ รหัสนกั ศึกษำ 611502125 2. นำยบุญรกั ษำ ชำติวฒั นอยู่เยน็ รหัสนักศึกษำ 611502215 นักศกึ ษำคณะครุศำสตร์ สำขำวิชำคณิตศำสตร์ ชน้ั ปีท่ี4

THANKS!


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook