Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Magha Puja Day

Magha Puja Day

Published by thanaporn.won, 2019-02-13 00:26:12

Description: Magha Puja Day

Search

Read the Text Version

ขึ้น ๑๕ คาํ่ เดือน ๔ วนั มาฆบชู า

ประวตั วิ นั มาฆบูชา เปนวนั สําคัญของชาวพุทธเถรวาทและวนั หยุดราชการในประเทศ ไทย \"มาฆบูชา\" ยอ มาจาก \"มาฆปูรณมบี ูชา\" หมายถงึ การบชู าใน วันเพ็ญกลางเดอื นมาฆะตามปฏทิ ินอนิ เดยี หรือเดอื น 3 ตามปฏิทิน จันทรคตขิ องไทย (ตกชว งเดือนกุมภาพันธห รือมีนาคม) ถา ปใ ดมีเดือน อธกิ มาส คือมีเดือน 8 สองหน (ปอ ธิกมาส) ก็เลอื่ นไปทําในวนั เพ็ญเดือน 3 หลงั (วนั เพญ็ เดือน 3) วนั มาฆบชู าไดร บั การยกยองเปน วนั สําคญั ทางศาสนาพุทธ เนือ่ งจาก เหตกุ ารณสาํ คญั ทเ่ี กดิ ขน้ึ เมื่อ 2,500 กวาปก อ น คือ พระโคตมพุทธเจา ทรงแสดงโอวาทปาตโิ มกขทามกลางท่ปี ระชุมมหาสังฆสนั นบิ าตคร้งั ใหญ ในพระพทุ ธศาสนา คมั ภรี ปปญ จสูทนีระบุวาครงั้ น้นั มเี หตกุ ารณเ กดิ ขน้ึ พรอมกนั 4 ประการ คือ พระภกิ ษุ 1,250 รปู ไดมาประชมุ พรอมกนั ยังวดั เวฬวุ นั โดยมไิ ดน ดั หมาย, พระภิกษุทง้ั หมดนนั้ เปน \"เอหภิ กิ ขุอุปสัมปทา\" หรือผไู ดรับการอปุ สมบทจากพระพทุ ธเจาโดยตรง, พระภิกษุท้ังหมดนั้น

เดมิ นน้ั ไมมีพิธมี าฆบูชาในประเทศพุทธเถรวาท จนมาในสมัยของพระบาทสมเดจ็ พระจอม เกลา เจาอยหู ัว (รัชกาลท่ี 4) พระองคไ ดทรงปรารภถงึ เหตกุ ารณครงั้ พุทธกาลในวนั เพญ็ เดอื น 3 ดงั กลาววา เปนวันที่เกดิ เหตุการณสาํ คัญยงิ่ ควรประกอบพธิ ีทางพระพทุ ธศาสนา เพือ่ เปน ที่ ตั้งแหงความศรทั ธาเล่ือมใส จึงมพี ระมหากรุณาธคิ ุณโปรดเกลาฯ ใหจดั การพระราชกุศล มาฆบูชาขนึ้ การประกอบพระราชพธิ ีคงคลา ยกบั วนั วิสาขบชู า คอื มกี ารบาํ เพญ็ พระราชกุศล ตาง ๆ และมีการพระราชทานจุดเทยี นตามประทปี เปนพุทธบชู าในวดั พระศรีรตั นศาสดาราม และพระอารามหลวงตา ง ๆ เปนตน ในชว งแรก พธิ มี าฆบชู าคงเปนการพระราชพธิ ีภายใน ยัง ไมแพรหลายทัว่ ไป ตอมา ความนิยมจัดพิธมี าฆบูชาจงึ ไดข ยายออกไปทั่วราชอาณาจักร ปจ จบุ ัน วันมาฆบชู าไดรบั การประกาศใหเ ปนวนั หยุดราชการในประเทศไทยโดย พุทธศาสนกิ ชนทัง้ พระบรมวงศานุวงศพระสงฆแ ละประชาชนประกอบพิธตี า ง ๆ เชน การ ตกั บาตร การฟง พระธรรมเทศนา การเวยี นเทยี น เปนตน เพื่อบูชาราํ ลกึ ถงึ พระรัตนตรยั และ เหตุการณสําคญั ดังกลา วทถ่ี อื ไดวา เปนวันท่ีพระพทุ ธเจา ประทานโอวาทปาฏิโมกข[7] ซึ่ง กลาวถึงหลักคําสอนอันเปนหัวใจของพระพุทธศาสนา ไดแก การไมท ําความช่วั ทงั้ ปวง การ บําเพญ็ ความดีใหถงึ พรอ ม และการทําจติ ของตนใหผ องใส เพ่อื เปนหลกั ปฏิบัติของ พทุ ธศาสนิกชนทัง้ มวล

เหตุการณส ําคญั ที่ เกดิ ใน

จาตุรงคสันนบิ าต คัมภรี ส มุ ังคลวลิ าสินี อรรถกถามหาปทานสูตร ระบุวาหลงั จากพระพทุ ธเจา เทศนา \"เวทนาปริคคหสตู ร\" (หรอื ทฆี นขสตู ร) ณ ถ้ําสูกรขาตา เขาคิชฌกฎู จบ แลว ทําใหพระสารีบตุ รไดบรรลุอรหัตตผล จากน้นั พระองคไ ดเสด็จทางอากาศไป ปรากฏ ณ วดั เวฬวุ ันมหาวิหาร ใกลก รงุ ราชคฤห แควน มคธ แลวทรงประกาศ โอวาทปาตโิ มกขแกพ ระภกิ ษุจํานวน 1,250 รูป โดยจํานวนนี้เปน บรวิ ารของช ฏิลสามพ่นี อง 1,000 รปู และบรวิ ารของพระอัครสาวก 250 รูป

คมั ภรี ปปญจสูทนระบวุ า การประชมุ สาวกคร้ังนน้ั ประกอบดว ย \"องคป ระกอบอัศจรรย 4 ประการ\" คือ 1. วนั ดังกลาวตรงกบั วันเพญ็ เดือน 3 2. พระภิกษทุ ัง้ 1,250 องคนน้ั ไดมาประชมุ กันโดยมไิ ดน ดั หมาย 3. พระภิกษุเหลา นัน้ เปน พระอรหันตท รงอภิญญา 6 4. พระภิกษเุ หลา นั้นไมไดป ลงผมดว ยมดี โกน เพราะพระพุทธเจาประทาน \"เอหภิ ิกขุอปุ สัมปทา\" ดวยพระองคเ อง ดังนนั้ จึงมคี าํ เรียกวันนอ้ี ีกคาํ หนึ่งวา \"วันจาตุรงคสันนบิ าต\" หรือ วนั ท่ีมีการประชุมพรอ ม ดว ยองค 4 ดังกลา วแลว ดวยเหตุการณประจวบกับ 4 อยาง จึงมีชอ่ื เรยี กอกี ชือ่ หนึ่งวา จาตุรงคสันนิบาต (มาจาก ศพั ทบาลี จาตรุ +องฺค+สนฺนปิ าต แปลวา การประชุมอันประกอบดวยองคป ระกอบทั้งส่ี ประการ) หลงั จากพระพุทธเจาตรัสรูแลว 9 เดอื น (45 ป กอ นพทุ ธศกั ราช) มีผเู ขา ใจผดิ วาเหตสุ ที่พระสาวกท้ัง 1,250 รูป มาประชุมพรอ มกนั โดยมไิ ดนดั หมายนั้น เพราะวันเพ็ญเดอื น 3 ตามคตพิ ราหมณเปนวันพิธีมหาศิวาราตรีเพอื่ บชู าพระศวิ ะ พระสาวก

ประทานโอวาทปาติโมกข พระพุทธเจาเมือ่ ทอดพระเนตรเหน็ มหาสังฆสันนิบาตอันประกอบไปดว ยเหตุอัศจรรยด งั กลา ว จึงทรงเห็นเปนโอกาสอันสมควรทจ่ี ะแสดง \"โอวาทปาติโมกข\" อันเปน หลักคาํ สอนสําคัญที่ เปนหวั ใจของพระพทุ ธศาสนาแกท ป่ี ระชุมพระสงฆเ หลา นัน้ เพ่อื วางจดุ หมาย หลักการ และ วธิ ีการ ในการเขา ถงึ พระพุทธศาสนาแกพ ระอรหันตสาวกและพทุ ธบริษัทท้ังหลาย พระพุทธองคจ ึงทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกขเ ปน พระพทุ ธพจน 3 คาถากงึ่ ทามกลางมหา สังฆสนั นบิ าตนน้ั มีใจความดงั นี้ ● พระพุทธพจนค าถาแรกทรงกลา วถึง พระนพิ พาน วาเปน จดุ มุงหมายหรืออดุ มการณอ นั สงู สุดของบรรพชติ และพทุ ธบรษิ ัท อันมลี ักษณะท่แี ตกตา งจากศาสนาอนื่ ดังพระบาลีวา \"นพิ พฺ านํ ปรมํ วทนตฺ ิ พทุ ฺธา\" ● พระพทุ ธพจนค าถาทสี่ องทรงกลา วถงึ \"วธิ กี ารอันเปน หัวใจสาํ คญั เพื่อเขาถึงจุดมุงหมาย ของพระพทุ ธศาสนาแกพ ุทธบรษิ ทั ทั้งปวงโดยยอ \" คอื การไมทําความช่วั ท้งั ปวง การ บาํ เพญ็ แตความดี และการทําจติ ของตนใหผ องใสเปน อสิ ระจากกเิ ลสทงั้ ปวง สวนน้เี อง

สถานทีส่ ําคัญเนือ่ งดว ยวัน มาฆบูชา



วดั เวฬุวนั มหาวหิ าร \"วดั เวฬุวนั มหาวิหาร\" เปน อาราม (วัด) แหง แรกในพระพทุ ธศาสนา ตัง้ อยูใกล เชิงเขาเวภารบรรพต บนรมิ ฝง แมนาํ้ สรสั วดซี ง่ึ มตี โปธาราม (บอ น้ํารอนโบราณ) ค่นั อยรู ะหวางกลาง นอกเขตกําแพงเมอื งเการาชคฤห (อดีตเมอื งหลวงของแควนมคธ) รัฐพิหาร ประเทศอนิ เดียในปจจุบัน (หรอื แควน มคธ ในสมยั พทุ ธกาล)

จุดแสวงบุญและสภาพของวัดเวฬุวนั ในปจจบุ ัน ปจจุบันหลังถูกทอดท้งิ เปนเวลากวาพันป และไดร บั การบูรณะโดยกอง โบราณคดอี ินเดยี ในชว งท่ีอินเดียยังเปน อาณานิคมขององั กฤษ วดั เวฬุวัน ยงั คงมี เนนิ ดินโบราณสถานทีย่ ังไมไดขุดคน อีกมาก สถานทีส่ ําคัญ ๆ ทพี่ ทุ ธศาสนิกชนใน ปจจุบันนยิ มไปนมสั การคอื \"พระมูลคนั ธกฎุ ี\" ท่ปี จ จุบนั ยังไมไ ดท ําการขดุ คน เนอ่ื งจากมีกโุ บรข องชาวมสุ ลิมสรา งทับไวขางบนเนนิ ดนิ , \"สระกลนั ทกนวิ าป\" ซงึ่ ปจจบุ นั รัฐบาลอินเดยี ไดทําการบรู ณะใหมอ ยา งสวยงาม, และ \"ลาน จาตรุ งคสนั นิบาต\" อันเปน ลานเลก็ ๆ มซี ุมประดษิ ฐานพระพุทธรูปยนื ปางประทานพร อยกู ลางซุม ลานนี้เปน จุดสาํ คญั ทช่ี าวพทุ ธนิยมมาทาํ การเวียนเทยี นสักการะ (ลานน้ี เปน ลานทีก่ องโบราณคดอี นิ เดยี สนั นษิ ฐานวา พระพทุ ธองคท รงแสดงโอวาทปาฏิโมก ขใ นจุดน้ี)

จุดท่ีเกดิ เหตุการณสําคัญในวันมาฆบชู า (ลาน ถงึ แมว า เหตุการณจาตรุ งคสันนิบาตจะเปนเหตกุ ารณส ําคัญย่ิงที่เกดิ ในบริเวณ จวาดั เตวฬรุ วุ งันมคหสาวนั หิ านร แบิ ตาทวตาไ)มปรากฏรายละเอยี ดในบนั ทกึ ของสมณทตู ชาวจีนและ ในพระไตรปฎกแตอยา งใดวาเหตกุ ารณใ หญนี้เกดิ ขนึ้ ณ จุดใดของวัดเวฬวุ ัน รวม ทัง้ จากการขดุ คน ทางโบราณคดีก็ไมปรากฏหลกั ฐานวามีการทําเคร่ืองหมาย (เสา หิน) หรือสถปู ระบสุ ถานทีป่ ระชุมจาตรุ งคสันนิบาตไวแ ตอ ยางใด (ตามปกติแลว บริเวณท่ีเกิดเหตุการณส ําคญั ทางพระพุทธศาสนา มักจะพบสถูปโบราณหรอื เสาหนิ พระเจา อโศกมหาราชสรา งหรอื ปกไวเ พื่อเปนเครอ่ื งหมายสาํ คัญสาํ หรับผูแสวงบุญ) ทําใหใ นปจ จบุ นั ไมสามารถทราบโดยแนช ัดวา เหตุการณจาตรุ งคสันนิบาตเกิดข้ึน ในจดุ ใดของวัด ในปจ จบุ นั กองโบราณคดีอนิ เดยี ไดแ ตเ พยี งสนั นษิ ฐานวา \"เหตุการณดังกลาว เกดิ ในบริเวณลานดา นทศิ ตะวนั ตกของสระกลนั ทกนิวาป\" (โดยสนั นษิ ฐานเอาจาก เอกสารหลักฐานวา เหตุการณดงั กลา วมีพระสงฆป ระชุมกนั มากถึงสองพนั กวา รปู และเกิดในชว งทพี่ ระพทุ ธองคพ ง่ึ ไดท รงรบั ถวายอารามแหงน้ี การประชุมครง้ั นั้นคง

แนช ดั วาลานจาตุรงคสนั นบิ าตท่ีแทจริงอยูใ นจุดใด และยังคงมีชาวพุทธบาง กลมุ สรา งซุมพระพุทธรปู ไวใ นบรเิ วณอ่ืนของวดั โดยเชื่อวาจุดท่ตี นสรา งนนั้ เปน ลาน จาตรุ งคสันนบิ าตทแ่ี ทจรงิ แตพุทธศาสนกิ ชนชาวไทยสว นใหญกเ็ ชื่อตามขอ สันนิษฐานของกองโบราณคดอี นิ เดยี ดงั กลาว โดยนิยมนับถอื กันวา ซุมพระพุทธรปู กลางลานนี้เปนจุดสักการะของชาวไทยผมู าแสวงบญุ จุดสาํ คัญ 1 ใน 2 แหง ของ เมืองราชคฤห (อกี จดุ หน่งึ คือพระมูลคันธกุฎบี นยอดเขาคิชฌกูฏ)

กจิ กรรมที่ พุทธศาสนิกชนพงึ

วันมาฆบูชา พทุ ธศาสนิกชนชาวไทยนิยมทําบญุ ตักบาตรในตอนเชา และตลอด วนั จะมกี ารบาํ เพ็ญบุญกศุ ลความดี อืน่ ๆ เชน ไปวดั รบั ศีล งดเวนการทําบาปทง้ั ปวง ถวายสังฆทาน ใหอ ิสระทาน (ปลอ ย นกปลอ ยปลา) ฟง พระธรรมเทศนา และไปเวยี นเทยี นรอบโบสถในเวลาเย็น[19] โดยกอ นทาํ การเวยี นเทยี นพุทธศาสนิกชนควรรว มกันกลา วคําสวดมนตและคํา บูชาในวนั มาฆบชู า โดยปกติตามวัด ตา ง ๆ จะจัดใหม กี ารทาํ วตั รสวดมนตกอ นทําการเวียนเทยี น ซึ่งสวนใหญนิยมทํา การเวียนเทยี นอยา งเปนทางการ (โดยมีพระภิกษุสงฆนําเวียนเทยี น) ในเวลา ประมาณ 20 นาฬกิ า โดยบทสวดมนตที่พระสงฆน ิยมสวดในวนั มาฆบูชากอนทาํ การ เวยี นเทียนนิยมสวด (ทั้งบาลแี ละคาํ แปล) ตามลําดบั ดงั น้ี

1. บทบชู าพระรัตนตรัย (บทสวดบาลที ีข่ ึน้ ตน ดวย:อรหงั สัมมา ฯลฯ) 2. บทนมสั การนอบนอมบูชาพระพทุ ธเจา (นะโม ฯลฯ ๓ จบ) 3. บทสรรเสริญพระพุทธคุณ (บทสวดบาลที ี่ขึน้ ตนดว ย:อติ ปิ โส ฯลฯ) 4. บทสรรเสรญิ พระพุทธคณุ สวดทาํ นองสรภัญญะ (บทสวดสรภัญญะท่ีขนึ้ ตน ดว ย:องคใดพระสมั พทุ ธ ฯลฯ) 5. บทสรรเสริญพระธรรมคณุ (บทสวดบาลที ่ขี ้นึ ตน ดว ย:สวากขาโต ฯลฯ) 6. บทสรรเสรญิ พระธรรมคุณ สวดทํานองสรภัญญะ (บทสวดสรภญั ญะที่ข้นึ ตนดว ย:ธรรมมะคือ คณุ ากร ฯลฯ) 7. บทสรรเสริญพระสงั ฆคุณ (บทสวดบาลีทีข่ นึ้ ตน ดวย:สปุ ฏิปนโน ฯลฯ) 8. บทสรรเสรญิ พระสังฆคณุ สวดทํานองสรภัญญะ (บทสวดสรภัญญะทข่ี นึ้ ตน ดว ย:สงฆใ ดสาวกศาสดา ฯลฯ)



จากนั้นจุดธูปเทยี นและถอื ดอกไมเปนเคร่อื งสกั การบูชาในมอื แลวเดนิ เวียน รอบปูชนยี สถาน 3 รอบ โดยขณะท่เี ดินนน้ั พึงตัง้ จติ ใหสงบ พรอมสวดระลึกถึงพระ พุทธคุณ ดวยการสวดบทอิติปโ ส (รอบท่หี น่ึง) ระลกึ ถงึ พระธรรมคุณ ดว ยการสวด สวากขาโต (รอบทีส่ อง) และระลึกถึงพระสังฆคุณ ดว ยการสวดสปุ ะฏิปน โน (รอบท่ี

การกาํ หนดใหวัน มาฆบูชาเปน วันสาํ คัญทาง

การประกอบพธิ ใี นวนั มาฆบูชาไดเรมิ่ มีข้นึ ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจา อยูหัว เนื่องจากพระองคท รงเล็งเหน็ วาวันนี้เปนวันคลา ยวนั ท่เี กดิ เหตกุ ารณ สาํ คญั ในพระพทุ ธศาสนา คอื เปน วนั ท่ีพระพุทธเจาทรงแสดงโอวาทปาฏโิ มกข ฯลฯ ควรจะไดม กี ารประกอบพธิ ีบาํ เพ็ญกุศลตาง ๆ เพ่ือถวายเปน พุทธบชู า โดยในคร้งั แรกนนั้ ไดทรงกาํ หนดเปนเพียงการพระราชพธิ ีบาํ เพ็ญกุศลเปน การภายใน แตตอมา ประชาชนกไ็ ดน ิยมนําพธิ ีนไี้ ปปฏบิ ัติสบื ตอ มาจนกลายเปนวนั ประกอบพิธสี าํ คญั ทาง พระพทุ ธศาสนาวันหนง่ึ ไป เนือ่ งจากในประเทศไทย พทุ ธศาสนิกชนไดม กี ารประกอบพิธีในวันมาฆบชู าสบื เน่ืองมาตงั้ แตส มัยรชั กาลท่ี 4 และนบั ถือกันโดยพฤตนิ ยั วาวนั นเ้ี ปนวนั สําคญั วนั หน่งึ ในทางพระพทุ ธศาสนาของประเทศไทยมาตง้ั แตนนั้ [21] โดยเม่อื ถงึ วันนี้ พทุ ธศาสนิกชนจะรวมใจกันประกอบพธิ บี าํ เพ็ญกศุ ลตาง ๆ กันเปนงานใหญ ดงั นนั้ เมอื่ ถงึ ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา เจาอยหู ัว พระองคจึงทรงประกาศใหวนั มาฆบชู าเปนวนั หยดุ นกั ขัตฤกษ[1] สําหรบั ชาวไทยจะไดรวมใจกนั บําเพญ็ กศุ ลในวนั มาฆบชู าโดยพรอมเพรียง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook