Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore chapter 3 พันธะเคมี ม.4 part 1

chapter 3 พันธะเคมี ม.4 part 1

Published by Pattaranun Chuenroung, 2021-09-04 06:42:41

Description: chapter 3 พันธะเคมี ม.4 part 1

Search

Read the Text Version

CHEMICAL BOND 01 02 ครผู สู้ อน : นางสาวภทั รนนั ท์ ช่นื เรอื ง 03 04 สอ่ื การสอนรายวชิ าเคมี 1 รหสั ว30221

พนั ธะเคมี 01 01 02 ? 03 04

สว่ นผสม = สำรประกอบ “cupcake” แปง้ อะตอม A น้ำตำล อะตอม B ไข่ อะตอม C ?อน่ื ๆ

พันธะเคมี คือ 01 02 “แรงยึดเหนย่ี วระหว่างอะตอม 03 โดยเกิดจากอะตอม แต่ละอะตอมในธรรมชาติ 04 มารวมตัวกนั เพ่ือให้เกดิ การจัดเรียง อิเล็กตรอนท่ี เสถียรเหมือนกับธาตุหมู่ 8 หรือเปน็ ไปตาม กฎออกเตต (octet rule)” Keyword : แ ร ง ยึ ด เ ห น่ี ย ว ร ะ ห ว่ า ง อ ะ ต อ ม

“กฎออกเตต (octet rule)” คือ อะตอมหรอื ไอออน Noble N oble gas 01 ที่มีการจดั เรียงอิเลก็ ตรอนตามแบบ gas notation 02 ก๊าซเฉอ่ื ย โดยจานวนอิเลก็ ตรอน 03 He 1s2 04 วงนอก เท่ากบั แปด N e [He]2s 2 2p 6 Ar [N e]3s 2 3p6 Kr [A r]4s 2 4p6 Xe [Kr]5s 2 5p6

ข้อยกเว้น กฎออกเตต *ธำตไุ ฮโดรเจน (H) กับ ธำตุ He มีเวเลนตอ์ เิ ล็กตรอนเท่ำกบั 2* 01 1. พวกท่ี ไมค่ รบออกเตต 2. พวกที่ เกนิ กฎออกเตต 02 ไดแ้ ก่ สารประกอบของธาตใุ น คาบท่ี 2 ธาตุท่ีอยใู่ น คาบที่ 3 ของตารางธาตุ 03 เปน็ ตน้ ไป สารมารถสร้างพนั ธะแล้วทาให้ 04 ของตารางธาตุที่มี เวเลนตอ์ เิ ลก็ ตรอนนอ้ ยกวา่ 4 อิเลก็ ตรอนเกิน 8 ได้ เชน่ 4Be และ 5B 4Be = 2 , 2 เวเลนต์อิเลก็ ตรอนเท่ากับ 2 (ตามกฎการจัดอิเลก็ ตรอน 2n2 ในคาบท่ี 3 5B = 2 , 3 เวเลนต์อเิ ล็กตรอนเท่ากับ 3 สามารถมอี ิเลก็ ตรอนไดเ้ ตม็ ทีถ่ งึ 18 อิเลก็ ตรอน)

สญั ลักษณ์แบบ 02 01 จดุ ของลวิ อสิ และ 02 03 ?กฎออกเตต 04

สญั ลกั ษณแ์ บบจุดของลวิ อสิ (Lewis dot symbol) ใช้ = เวเลนซ์อเิ ลก็ ตรอน 01 02 หมู่ 1 หมู่ 2 เวเลนซ์อเิ ลก็ ตรอน = หมู่ หมู่ 3 หมู่ 4 หมู่ 5 หมู่ 6 หมู่ 7 หมู่ 8 03 04 Keyword : สญั ลกั ษณ์ทางเคมีของธาตทุ ล่ี อ้ มรอบ ด้วยจดุ แทนจานวนเวเลนซอ์ ิเล็กตรอน

วธิ เี ขยี นสญั ลกั ษณแ์ บบจดุ ของลิวอสิ 01 02 1. เขียนสญั ลกั ษณ์ธาตุ 03 2. จานวน (จุด) เท่ากบั จานวน valence electron หรือเลขหมู่ 04 3. เตมิ ทีละจุดลงที่แตล่ ะดา้ นของสญั ลักษณก์ อ่ น จึงค่อยเตมิ เป็นคู่ จนกระทง่ั ครบจานวน valence electron 4. รูปแบบการวางจดุ ไมส่ าคัญ 5. การวางจุดแทนพฤตกิ รรมในการสร้างพันธะ

ลองทำดู You can do it! แบบฝกึ หัดท่ี 1 : จงเขียน Lewis dot symbol ของธาตตุ อ่ ไปน้ี 01 ขอ้ ธาตุ สญั ลกั ษณแ์ บบจดุ ของลวิ อสิ ขอ้ ธาตุ สญั ลกั ษณแ์ บบจดุ ของลวิ อสิ 1N 5 Ca 02 2P 6 Si 03 3 As 7I 4B 04

พันธะเคมี (chemical bond) 01 02 คือ 03 04 แ ร ง ยึ ด เ ห น่ี ย ว ร ะ ห ว่ า ง อ ะ ต อ ม เ กิ ด เ ป็ น โ ม เ ล กุ ล หลกั การ “ทาใหเ้ วเลนซอ์ เิ ลก็ ตรอนครบ 8 ตามกฎออกเตต” แบง่ เปน็ พันธะไอออนกิ พนั ธะโคเวเลนต์ พันธะโลหะ

พันธะไอออนิก 01 02 03IONIC BONDS 03 04

พันธะไอออนิก คือ ? “แรงยดึ เหนย่ี วท่ีเกิดระหวำ่ ง 2 อะตอม เกดิ จากธาตุ : โลหะ + อโลหะ 01 ที่มี คำ่ EN ตำ่ งกันมำกและอยู่ในสภำพท่ี 02 เปน็ ไอออนบวกและไอออนลบ อะตอมที่มคี ่ำ โลหะ สูญเสยี e- จะกลายเป็น ไอออนบวก (Cation) EN นอ้ ยจะใหอ้ ิเล็กตรอนแก่อะตอมท่มี ีคำ่ อโลหะ ท่รี ับ e- จะกลายเป็น ไอออนลบ (Anion) EN มำกทำให้อิเล็กตรอนที่อยรู่ อบๆ e– อโลหะ 03 อะตอมครบ 8 (octet rule) โลหะ 04 โดยทวั่ ไปแล้วพนั ธะ ไอออนิกเป็นพันธะท่ี เกิดข้ึนระหว่ำงโลหะและอโลหะ”

“ความสามารถในการ ดงึ ดดู อิเลก็ ตรอนของ อะตอมค่ทู เี่ กิดพันธะทจ่ี ะ รวมกนั เป็นโมเลกลุ ” ดึงดดู หรอื รับอิเลก็ ตรอนได้ดี EN สงู = พวก อโลหะ ดงึ ดดู หรือรับอิเลก็ ตรอนได้ไม่ดี EN ต่า = พวก โลหะ

สรุป concept พันธะไอออนิก + - ประจตุ รงกัน จะดึงดูดกันด้วยแรงทำงไฟฟ้ำ (electrostatic force) ยึดเหนยี่ วอะตอมทั้งสองเข้ำดว้ ยกนั

ตัวอย่ำง 1 กำรเกิดพนั ธะไอออนิก Na เลขอะตอม 11 Na 01 Lewis dot Na การจัดเรียง อิเลก็ ตรอน 02 03 04

ตวั อย่ำง 2 กำรเกดิ พันธะไอออนิก Cl เลขอะตอม 17 Cl 01 Lewis dot Cl การจัดเรยี ง อิเลก็ ตรอน 02 03 04

กำรเขียน กำรเกดิ สำรประกอบ NaCl 01 02 03 04

ตวั อย่ำงเพม่ิ เตมิ กำรเกดิ สำรประกอบ MgF2 12Mg = 9F = Lewis dot การเกิดสารประกอบ ไอออนิก =

ตวั อยำ่ งเพ่มิ เตมิ กำรเกิดสำรประกอบ MgF2

แบบฝึกหัดท่ี 2 01 02 จงเขยี นการใหแ้ ละรบั อเิ ลก็ ตรอน ในการเกดิ สารประกอบระหวา่ งธาตุแตล่ ะธาตุ 03 1. Li กับ Br 04 2. K กับ O

แบบฝึกหัดที่ 2 01 02 จงเขยี นการใหแ้ ละรบั อเิ ลก็ ตรอน ในการเกดิ สารประกอบระหวา่ งธาตแุ ต่ละธาตุ 03 3. Ca กับ Cl 04 4. Ba กับ S

ความแตกต่างของเลขออกซิเดชัน และเลขแสดงประจขุ องธาตุ เลขออกซเิ ดชัน +, -, 0 +,- อยหู่ น้าตวั เลข (+1, +2, -1, -2) เลขแสดงประจุของธาตุ + กับ - +,- อยู่หลงั ตวั เลข (+, 2+, -, 2-) 01 02 Na+ SO42- 03 Ca2+ 04 Cl-

ตวั อย่ำง SO42- 01 เลข ON. = -2 02 Ca2+ 03 04 เลข ON. = +2 Keyword : เลข ON. หมายถงึ เลขออกซิเดชนั

หมู่ 1 หมู่ 2 หมู่ 3 หมู่ 5 หมู่ 6 หมู่ 7 +1 +2 +3 -3 -2 -1 หมู่ 1 2 3 เอาหมู่ จะมีเลขประจุเป็น +1 +2 +3 ลบออก ด้วย 8 เสมอ ตลอดกาล!!

ชวนคสิ ส เสน้ ปะนีค้ อื อะไร ? H 01 02 03 04

ชวนคสิ ส 01 02 เพราะ 03 นกั วิทยาศาสตรย์ ัง 04 ไมส่ ามารถสรุปได้วา่ H ควรอยู่หม่ใู ดดี ระหว่างหมู่ 1 หรอื หมู่ 7 เน่อื งจาก H มี คณุ สมบตั ิคลา้ ยกบั ทงั้ 2 หมู่

สูตรเคมแี ละชอ่ื ของสำรประกอบไอออนกิ 01 02 โครงสร้างของสารประกอบไอออนิกมี 03 ไอออนบวกและไอออนลบอยู่ต่อเนอ่ื งกนั ไป 04 ทั้งสามมติ ิ ไม่สามารถแยกออกเปน็ โมเลกุลได้ จึงถือว่าสารประกอบไอออนิกเป็น สารประกอบท่ี “ไมม่ ีสตู รโมเลกลุ ” สูตรอย่างง่าย หรอื สตู รเอมพริ คิ ัล (empirical formula)

หลักกำรเขียนสูตรสำรประกอบไอออนิก 1 เขียนสตู รของ ไอออนบวก แลว้ ตามดว้ ย ไอออนลบ 2 นาประจบุ วกและประจลุ บมาคณู ไขวเ้ พอ่ื หาอตั ราสว่ นอยา่ งตา่ 01 02 3 กรณที จ่ี านวนไอออนเปน็ 1 ไมต่ อ้ งเขยี น 03 04 Na+ Cl- = NaCl Ca2+ Br- = CaBr2 Fe3+ O2- = Fe2O3 11 12 23 *ดหู น้าท่ี 141 ประกอบ

ไอออนที่ควรรู้จกั + จำ ไอออนบวก ไออออนลบ Na+ sodium ion Cl- chloride ion 01 K+ potassium ion Br- bromide ion 02 Mg2+ magnesium ion S2- sulfide ion 03 Ca2+ calcium ion H- hydride ion 04 Al3+ aluminium ion O2- oxide ion หนงั สือเรยี นหน้ำท่ี 143-144

ไอออนท่คี วรร้จู กั + จำ ไอออนทเ่ี ปน็ กลมุ่ อะตอม ชือ่ 01 NH4+ ammonium ion CN- NO2- cyanide ion 02 NO3- nitrite ion 03 HSO4- nitrate ion hydrogen sulfate ion 04 หนังสอื เรยี นหน้ำที่ 143-144

ไอออนทคี่ วรร้จู กั + จำ ไอออนทเ่ี ปน็ กลมุ่ อะตอม ชื่อ 01 02 SO42- sulfate ion 03 SO32- sulfite ion 04 S2O32- thiosulfate ion H2PO4- dihydrogen phosphate ion HPO42- hydrogen phosphate ion PO43- phosphate ion HCO3- hydrogen carbonate ion CO32- carbonate ion หนังสือเรยี นหน้ำท่ี 143-144

ไอออนที่ควรรู้จกั + จำ ไอออนทเ่ี ปน็ กลมุ่ อะตอม ชอ่ื 01 02 MnO4- permanganate ion 03 Cr2O72- dichromate ion 04 CrO42- chromate ion hypochlorite ion หนังสอื เรียนหนำ้ ท่ี 143-144 ClO- chlorite ion chlorate ion ClO2- perchlorate ion ClO3- ClO4-

แบบฝึกหัดที่ 3 จงหาสตู รของสารประกอบไอออนกิ 1. Ba กับ O 4. Al กบั O 01 02 2. K กับ S 5. Ba กับ Cl 03 04 3. Mg กับ Cl 6. Ga กบั Cl

แบบฝึกหัดที่ 4 จงหาสตู รของสารประกอบไอออนกิ และอา่ นชอื่ ท่เี กดิ จากการรวมตวั ของไอออนตอ่ ไปนี้ 1. Na 4. Mg 01 กับ SO4 กบั CO3 02 03 2. NH4 5. Ca 04 กบั Cl กับ OH 3. K 6. H กบั NO3 กบั CN

แ บ บ ฝึ ก หั ด เ พิ่ ม เ ติ ม ขอ้ ไอออนบวก ไอออนลบ สูตร ชือ่ สารประกอบ 1 01 02 2 03 04 3 4 5

หลักกำรเรียกช่ือสำรประกอบไอออนิก 01 02 1 เรยี ก ชือ่ ไอออนบวก ตามดว้ ย ชือ่ ไอออนลบ 03 04 2 ไอออนบวก พวก 1 : มีเลขออกซเิ ดชนั ค่าเดียว การเรียกชื่อไอออนเหลา่ น้ัน ให้เรยี กชอื่ ตามชอ่ื ธาตุ พวก 2 : มีเลขออกซิเดชันมากกว่า 1 คา่ คือ กลมุ่ โลหะแทรนซชิ นั ให้เรียกธาตนุ นั้ และ ระบุเลขออกซเิ ดชนั ของไอออนน้นั เป็น เลขโรมนั ไวใ้ นวงเลบ็ หลังชอื่ ธาตุ 3 ไอออนลบ เปลย่ี นพยางคท์ า้ ยเปน็ ไ-ด์ ( -ide ), ไ-ต์ (-ite), เ-ต(-ate)

Transition metals = กรุ๊ปหลำยใจ ระบเุ ลขออกซเิ ดชนั ของ 1=I 5=V Ex. CuSO4 ไอออนนั้น เป็นเลขโรมนั ไว้ 2 = II 6 = VI อา่ นวา่ คอปเปอร(์ II)ซลั เฟต 3 = III 7 = VII ในวงเลบ็ หลังชือ่ ธาตุ 4 = IV 8 = VIII

ตวั อยำ่ งช่อื สำรประกอบไอออนกิ 1. NaF อ่านว่า โซเดยี มฟลูออไรด์ 01 อา่ นว่า โพแทสเซยี มคลอไรด์ 02 2. KCl อา่ นว่า แบเรยี มฟลอู อไรด์ 03 อ่านวา่ แคลเซียมคลอไรด์ 04 3. BaF2 อ่านวา่ โซเดยี มคาร์บอเนต 4. CaCl2 อา่ นวา่ แมกนเี ซยี มฟอสเฟต 5. Na2CO3 อ่านว่า คอปเปอร์(II)ไนเตรท 6. Mg3(PO4)2 อ่านว่า ไอออน(III)คลอไรด์ 7. Cu(NO3)2 อ่านว่า โพแทสเซียมคลอเรต 8. FeCl3 อา่ นวา่ ซลิ เวอร์(I)ไนเตรท 9. KClO3 อา่ นว่า โพแทสเซยี มเปอร์แมงกาเนต 10. AgNO3 อ่านว่า โพแทสเซียมไดโครเมต 11. KMnO4 อ่านวา่ คอปเปอร์(II)ซัลเฟต 12. K2Cr2O7 13. CuSO4 หนังสอื เรยี นหน้ำท่ี 143-144

แบบฝึกหัดท่ี 5 จงเขยี นสตู รและชอ่ื ของสารประกอบไอออนิกจากไอออนตอ่ ไปน้ี 1. Pb2+ และ Pb4+ กบั Cl- 2. Mn2+ และ Mn7+ กบั O2- 01 02 Pb2+ Cl- Mn2+ O2- 03 Pb4+ Mn7+ 04 3. Sn2+ และ Sn4+ กับ SO42- Sn2+ SO42- Sn4+

แบบฝึกหัดที่ 6 01 02 จงเขยี นสตู รสารประกอบตอ่ ไปน้ี 03 04 1. ลิเทยี มคาร์บอเนต 3. คอปเปอร์(II)ซัลเฟต 2. ไอรอ์ อน(II)ไนเตรต 4. แอมโมเนียมไฮดรอกไซด์ 3. คอปเปอร์(II)ซัลเฟต 4. แอมโมเนยี มไฮดรอกไซด์

แ บ บ ฝึ ก หั ด เ พ่ิ ม เ ติ ม ข้อ ไอออนบวก ไอออนลบ สูตร ชอ่ื สารประกอบ 1 Ba2+ S2- 01 2 Al3+ OH- 02 3 Na+ SO42- 03 4 Ca2+ CO32- 04 5 NH4+ PO43-

แจก BONUS +1 01 02 จงอ่ำนชื่อสำรประกอบ Al2(SO4)3 03 04

แจก BONUS +1 01 02 จงอ่ำนชื่อสำรประกอบ FeBr3 03 04

ACTIVITY TIME

พลังงาน 04 01 02 กบั การเกดิ 03 สารประกอบไอออนิก 04

พลังงำนกับกำรเกิดสำรประกอบไอออนิก “พลงั งาน” เขา้ มา พลังงานการเกดิ 01 เกย่ี วข้อง (Heat of formation) 02 03 ∆Hf 04 Na(s) + 12Cl2(g) → NaCl(s) สามารถหาไดจ้ ากการ ทดลอง ∆Hf = -411 kJ/mol



ปฏกิ ริ ยิ ำกำรเกิดสำรประกอบ NaCl 1 2 วดั ไดย้ ากในทางปฏบิ ตั ิ

ส่ิ ง ท่ี ต้ อ ง รู้ สร้ำง = คำย 01 สลำย = ดดู 02 ปฏกิ ิรยิ ำเคมีเก่ียวข้องกับ 2 ส่งิ น้ี 03 04 1. สรำ้ งพนั ธะ - กระบวนกำรคำยพลังำน 2. สลำยพันธะ - กระบวนกำรดูดพลังำน * ปฏิกริ ยิ ำคำยพลังำน Exothermic reaction ปฏกิ ริ ยิ ำดูดพลงั งำน Endothermic reaction


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook